Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ

สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ

Description: หลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ

Search

Read the Text Version

47 2. การพฒั นาผลการเรยี นรู้ในแต่ละดา้ น 2.1 หมวดวิชาศกึ ษาทว่ั ไป 1. คุณธรรม จรยิ ธรรม 1.1 ผลการเรยี นรู้ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม 1) ซ่อื สตั ย์ ขยนั อดทน มีวินยั และตรงต่อเวลา 2) มีความเสียสละและมจี ิตสาธารณะ 3) ปฏบิ ัติตามกฎระเบียบ และข้อบังคับขององคก์ รและสังคม 1.2 กลยุทธก์ ารสอนท่ีใช้พัฒนาการเรียนรดู้ ้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 1) ให้ความสาคญั ในวินยั การตรงตอ่ เวลา การสง่ งานภายในเวลาทก่ี าหนด 2) เปิดโอกาสใหน้ ักศกึ ษาจดั กจิ กรรมท่เี ปน็ ประโยชน์ตอ่ สงั คม และแสดงถึง การมีเมตตา กรุณา และความเสยี สละ 3) สอดแทรกความซื่อสัตยต์ ่อตนเอง และสังคม 4) จัดกจิ กรรมการพฒั นาคณะ / มหาวทิ ยาลยั / ชุมชน 5) เน้นเรอ่ื งการแต่งกายและปฏิบัติตนท่ีเหมาะสม ถูกตอ้ ง ตามระเบยี บข้อบงั คับของ มหาวิทยาลัย 1.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรดู้ า้ นคุณธรรม จริยธรรม 1) การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าช้นั เรียนและการส่งงานตรงเวลา 2) พิจารณาจากผลการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศกึ ษา 3) สังเกตพฤตกิ รรมของนักศึกษาในการปฏิบตั ิตามกฎระเบยี บและข้อบงั คบั ต่างๆ อย่างต่อเนื่อง 2. ความรู้ 2.1 ผลการเรียนร้ดู า้ นความรู้ 1) มีความรูแ้ ละทกั ษะในเนือ้ หาวิชาทศี่ ึกษา 2) สามารถบรู ณาการความรู้ท่ีศึกษากับความร้ดู า้ นศิลปวฒั นธรรมหรือศาสตร์อน่ื ๆ ทเี่ ก่ียวข้อง 3) สามารถนาความรู้มาปรบั ใชใ้ ห้เหมาะสมกบั สถานการณ์และงานที่รบั ผิดชอบ 2.2 กลยทุ ธ์การสอนท่ีใชพ้ ัฒนาการเรียนรู้ดา้ นความรู้ 1) ใชก้ ารสอนหลายรปู แบบ โดยเนน้ หลักทางทฤษฎแี ละการปฏบิ ตั ิ เพอื่ ให้เกดิ องค์ความรู้ 2) มอบหมายให้ทารายงาน 3) จัดใหม้ กี ารเรยี นรจู้ ากสถานการณ์จรงิ โดยการศึกษาดูงาน 2.3 กลยุทธก์ ารประเมินผลการเรียนรดู้ ้านความรู้ 1) ประเมินจากแบบทดสอบดา้ นทฤษฎี สาหรับการปฏบิ ตั ปิ ระเมนิ จากผลงาน และการปฏิบตั ิการ 2) พิจารณาจากรายงานที่มอบหมาย 3) ประเมินจากรายงานผลการศึกษาดูงาน

48 3. ทักษะทางปัญญา 3.1 ผลการเรยี นรูด้ า้ นทักษะทางปัญญา 1) สามารถประมวลผล วเิ คราะห์ และสรปุ ขอ้ มูลความรู้ 2) สามารถจัดการความคดิ ได้ 3) สามารถประยุกต์ความรู้ และแก้ปญั หาได้ 4) สามารถคดิ สร้างสรรค์งานนวตั กรรม 3.2 กลยทุ ธ์การสอนทีใ่ ชพ้ ัฒนาการเรยี นรดู้ ้านทักษะทางปัญญา 1) ส่งเสริมการเรียนรจู้ ากการแก้ปัญหา ( Problem Based Instruction) 2) ใหน้ กั ศึกษาปฏิบัติการจากสถานการณ์จริง 3) มอบหมายงานทสี่ ่งเสริมการคิด วิเคราะหแ์ ละสังเคราะห์ 3.3 กลยุทธ์การประเมนิ ผลการเรียนรดู้ า้ นทักษะทางปัญญา 1) ประเมนิ จากการรายงานผลการดาเนนิ งานและการแกป้ ญั หา 2) ประเมินผลการปฏบิ ตั ิการจากสถานการณ์จรงิ 3) ประเมินจากการทดสอบ 4. ทกั ษะความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ 4.1 ผลการเรยี นรดู้ า้ นทกั ษะความสัมพันธ์ระหวา่ งบุคคลและความรบั ผิดชอบ 1) มมี นษุ ยสัมพนั ธท์ ีด่ ี มมี ารยาททางสงั คมและมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 2) มีภาวะการเปน็ ผู้นาและผูต้ ามท่ดี ี สามารถทางานเป็นทีมได้ 3) สามารถปรับตวั เข้ากบั สถานการณ์และการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ไดเ้ ป็นอย่างดี 4.2 กลยทุ ธก์ ารสอนทใ่ี ช้พัฒนาการเรยี นรู้ดา้ นทกั ษะความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคล และความรบั ผิดชอบ 1) กาหนดการทางานกล่มุ โดยให้หมุนเวียนการเปน็ ผนู้ าและผ้รู ายงาน 2) ให้คาแนะนาในการเข้าร่วมกจิ กรรมสโมสร กจิ กรรมของมหาวทิ ยาลัยฯ 3) ให้ความสาคญั ในการแบ่งหนา้ ทค่ี วามรับผดิ ชอบและการให้ความรว่ มมอื 4) มอบหมายงานใหส้ มั ภาษณบ์ ุคคลต่างๆ 4.3 กลยทุ ธ์การประเมินผลการเรยี นรูด้ า้ นทักษะความสมั พันธ์ระหวา่ งบคุ คล และความรับผิดชอบ 1) ประเมนิ จากการรายงานหน้าชน้ั เรยี นโดยอาจารยแ์ ละนักศึกษา 2) พิจารณาจากการเขา้ ร่วมกิจกรรมของนักศึกษา 3) ประเมนิ ผลจากแบบประเมนิ ตนเองและกจิ กรรมกลมุ่ 4) ประเมินจากการสงั เกตพฤติกรรม

49 5. ทกั ษะการวเิ คราะหเ์ ชิงตัวเลข การสอ่ื สาร และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ 5.1 ผลการเรียนรู้ด้านทกั ษะการวเิ คราะหเ์ ชงิ ตัวเลข การสอ่ื สาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ 1) มที กั ษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข 2) สามารถใชภ้ าษาเพอ่ื การสอ่ื สารได้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ 3) สามารถใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในการสบื คน้ วิเคราะห์และนาเสนอได้ 4) สามารถเชื่อมองค์ความรแู้ ละมที ักษะในการแสวงหาความร้ไู ด้ด้วยตนเอง 5.2 กลยทุ ธ์การสอนท่ใี ช้พัฒนาการเรียนรดู้ า้ นทกั ษะการวิเคราะห์เชงิ ตัวเลข การสื่อสาร และการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 1) ส่งเสรมิ ให้เหน็ ความสาคญั และฝกึ ให้มีการตดั สินใจบนฐานขอ้ มูลและข้อมลู เชงิ ตัวเลข 2) มอบหมายงานค้นควา้ องค์ความรูจ้ ากแหล่งข้อมลู ตา่ งๆ และใหน้ ักศึกษานาเสนอหน้าช้ัน 3) การใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศในการนาเสนอผลงานท่ีไดร้ ับ มอบหมาย 4) ฝึกการนาเสนอผลงานโดยเน้นความสาคญั ของการใชภ้ าษา และบุคลิกภาพ 5.3 กลยทุ ธก์ ารประเมนิ ผลการเรยี นร้ดู า้ นทกั ษะการวเิ คราะห์เชิงตัวเลข การสือ่ สาร และการใช้ เทคโนโลยสี ารสนเทศ 1) ประเมนิ จากผลงานและการนาเสนอผลงาน 2) สงั เกตการณ์ปฏิบัตงิ าน 2.2 หมวดวชิ าเฉพาะ 1. คณุ ธรรม จริยธรรม 1.1 ผลการเรยี นรดู้ ้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 1. เขา้ ใจและซาบซ้งึ ในวฒั นธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จรยิ ธรรม เสยี สละ และซ่ือสตั ย์สจุ รติ 2. มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและ ข้อบังคับต่างๆ ขององคก์ รและสังคม 3. มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตาม สามารถทางานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไข ข้อขัดแย้ง ตามลาดับความสาคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืน รวมท้ังเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความ เปน็ มนุษย์ 4. สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ต่อบุคคล องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม 5. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะ ผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถงึ เข้าใจถึงบรบิ ททางสังคมของวชิ าชีพวศิ วกรรมในแต่ละสาขาตั้งแต่อดตี จนถึงปัจจบุ นั

50 1.2 กลยุทธก์ ารสอนทใี่ ชพ้ ัฒนาการเรยี นรดู้ า้ นคณุ ธรรม จริยธรรม 1. การเรยี นรูจ้ ากสถานการณ์จรงิ 2. การสอนแทรกในรายวิชา 3. การเปน็ ต้นแบบที่ดีของอาจารย์ 4. การจดั กิจกรรม 5. การสอนจากกรณศี ึกษา 1.3 กลยทุ ธก์ ารประเมินผลการเรยี นรูด้ า้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม 1. นักศึกษาประเมินผลการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง ก่อนและหลงั เรียน 2. การสงั เกตพฤติกรรมโดยอาจารย์ 3. ผูใ้ ช้บัณฑติ ประเมินคุณธรรมจริยธรรมของบัณฑิต 2. ความรู้ 2.1 ผลการเรียนรดู้ ้านความรู้ 1. มีความรู้และความเข้าใจ ทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ พ้นื ฐานเพอื่ ประยกุ ต์ใชก้ ับงานทเี่ กยี่ วข้อง และการสรา้ งนวัตกรรมทางเทคโนโลยี 2. มีความรู้และความเข้าใจเก่ียวกับหลักการท่ีสาคัญ ท้ังในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเน้ือหา ของสาขาวิชาเฉพาะทาง 3. สามารถบูรณาการความรูใ้ นสาขาวชิ าทศี่ ึกษากบั ความรใู้ นศาสตร์อ่นื ๆ ทเ่ี ก่ยี วข้อง 4. สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีท่ีเหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้ เครื่องมือ ได้อย่างเหมาะสม เชน่ โปรแกรมคอมพิวเตอรเ์ ปน็ ต้น 5. สามารถใช้ความร้แู ละทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้ 2.2 กลยุทธก์ ารสอนท่ใี ชพ้ ัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้ 1. ใชก้ ารสอนหลายรปู แบบ โดยเนน้ หลักการทางทฤษฎีและการปฏบิ ัตเิ พอ่ื ใหเ้ กิดองคค์ วามรู้ 2. มอบหมายให้ทารายงานและนาเสนอหน้าช้ันเรียนและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีเน้น ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ 3. จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงาน ฝึกงาน หรือเชิญผู้เช่ียวชาญ ทม่ี ปี ระสบการณต์ รงมาเปน็ วิทยากรพเิ ศษเฉพาะเร่ือง 4. มีการเสนอโครงการสว่ นบคุ คลเพอื่ หาปญั หาทางด้านวศิ วกรรมและกระบวนการผลติ 5. มีการปฏบิ ัติงานในสถานประกอบการ 2.3 กลยุทธก์ ารประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้ 1. การทดสอบย่อย 2. การสอบกลางภาคเรยี นและปลายภาคเรยี น 3. ประเมนิ จากรายงานท่ีนกั ศึกษาจดั ทา 4. ประเมินจากโครงงานที่นาเสนอ 5. ประเมินจากการนาเสนอรายงานในช้ันเรียน 6. ประเมินจากรายวิชาฝึกงาน

51 3. ทกั ษะทางปัญญา 3.1 ผลการเรียนรู้ดา้ นทกั ษะทางปัญญา 1. สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปญั หาและความต้องการ 2. สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ ข้อมูลประกอบ การตดั สินใจในการทางานไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 3. สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพ่ิมเติมได้ด้วยตนเอง เพ่ือการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทนั ตอ่ การเปลี่ยนแปลงทางองคค์ วามรแู้ ละเทคโนโลยีใหม่ ๆ 3.2 กลยุทธ์การสอนทใ่ี ชพ้ ัฒนาการเรยี นรูด้ า้ นทกั ษะทางปัญญา 1. ใช้กรณศี กึ ษาจากสถานการณ์จรงิ ทางดา้ นอิเล็กทรอนกิ ส์อัจฉริยะ เชน่ การศกึ ษาดูงาน เป็นต้น 2. มอบหมายงานโครงงานโดยใชห้ ลักการวจิ ยั 3. ใหน้ กั ศกึ ษามีโอกาสฝกึ ปฏบิ ัติงานจรงิ 3.3 กลยทุ ธก์ ารประเมินผลการเรยี นร้ดู ้านทกั ษะทางปัญญา 1. ประเมนิ ตามสภาพจริงจากผลงาน 2. การปฏบิ ัติของนักศึกษา อาธิ การทารายงานส่วนบุคคลหรือเป็นกล่มุ 3. การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสมั ภาษณ์ 4. ทกั ษะความสมั พันธ์ระหวา่ งบุคคลและความรบั ผิดชอบ 4.1 ผลการเรียนรดู้ ้านทกั ษะความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ 1. สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนท่ีหลากหลาย และสามารถสนทนาท้ังภาษาไทยและ ภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาส่ือสารต่อสังคมได้ในประเด็น ที่เหมาะสม 2. สามารถเป็นผู้ริเร่ิมแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ท้ังส่วนตัว และส่วนรวมพร้อมท้งั แสดงจุดยนื อยา่ งพอเหมาะท้ังของตนเองและของกลุ่มรวมทง้ั ใหค้ วามช่วยเหลือและอานวย ความสะดวกในการแก้ไขปญั หาสถานการณ์ต่างๆ 3. รู้จักบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบในการทางานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและ งานกลุ่ม สามารถปรบั ตวั และทางานร่วมกับผู้อ่ืนทั้งในฐานะผู้นาและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพสามารถวางตัว ได้อย่างเหมาะสมกบั ความรบั ผดิ ชอบ 4. มีจิตสานึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทางาน และการรักษา สภาพแวดล้อม ตอ่ สงั คม 4.2 กลยทุ ธ์การสอนทใี่ ชพ้ ัฒนาการเรียนร้ดู ้านทกั ษะความสมั พันธร์ ะหว่างบุคคลและความ รบั ผดิ ชอบ 1. ปลูกฝังใหม้ ีความรบั ผิดชอบต่อหนา้ ท่ที ่ไี ดร้ ับในงานกล่มุ 2. ส่งเสริมให้นักศึกษากล้าแสดงออกและเสนอความคิดเห็นโดยการจัดอภิปรายและเสวนา งานที่มอบหมายท่ใี หค้ น้ คว้า 3. ใชว้ ิธกี ารสอนแบบเปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็น (Brainstorming) เพ่ือฝึกการยอมรับ ความคดิ เหน็ ของผู้อืน่ ดว้ ยเหตุผล 4. ส่งเสริมการเคารพสทิ ธิและการรบั ฟงั ความคิดเหน็ ของผู้อ่ืน

52 4.3 กลยุทธก์ ารประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสมั พนั ธ์ระหว่างบุคคลและความ รับผิดชอบ 1. ประเมินพฤติกรรมภาวการณ์เป็นผู้นาและผตู้ ามทด่ี ี 2. ติดตามการทางานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะ พร้อมบันทึก พฤติกรรม เป็นรายบคุ คล 3. ประเมนิ จากผลงานการอภปิ รายและเสวนา 4. สังเกตพฤตกิ รรมการระดมสมอง 5. ทกั ษะการวิเคราะห์เชงิ ตวั เลข การสอื่ สาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1 ผลการเรียนรูด้ า้ นทักษะการวเิ คราะห์เชงิ ตัวเลข การส่อื สาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ 1. มีทกั ษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สาหรับการทางานทเี่ ก่ยี วข้องกับวิชาชพี ได้เปน็ อยา่ งดี 2. มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือการแสดงสถิติ ประยุกต์ ตอ่ การแกป้ ญั หาท่เี กี่ยวข้องไดอ้ ยา่ งสร้างสรรค์ 3. มีทักษะในการสือ่ สารขอ้ มูลทัง้ การพูด การเขยี น และการสื่อความหมายโดยใช้ สญั ลกั ษณ์ 4. สามารถใชเ้ ครอ่ื งมอื การคานวณและเครอ่ื งมอื เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาทีเ่ ก่ียวข้องได้ 5.2 กลยทุ ธ์การสอนทใ่ี ชพ้ ัฒนาการเรยี นรูด้ ้านทกั ษะการวเิ คราะห์เชงิ ตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ 1. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จาลอง และสถานการณ์เสมือนจริง และนาเสนอการแก้ปัญหาท่ีเหมาะสมเรียนรู้เทคนิค การประยุกต์เทคโนโลยี สารสนเทศ ในหลากหลายสถานการณท์ ่สี ามารถประยุกตใ์ ช้ ในหอ้ งปฏิบตั ิการ 2. ส่งเสรมิ การคน้ คว้า เรียบเรียงข้อมูลและนาเสนอให้ผู้อ่ืนเข้าใจได้ถูกต้อง และให้ความสาคัญ ในการอา้ งอิงแหล่งทีม่ าของข้อมูล 5.3 กลยุทธก์ ารประเมินผลการเรียนรูด้ า้ นทักษะการวิเคราะห์เชิงตวั เลข การสือ่ สาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 1. ประเมนิ จากเทคนคิ การนาเสนอโดยใช้ทฤษฎีการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หรอื คณิตศาสตรแ์ ละสถิตทิ ่เี กีย่ วขอ้ ง 2. ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงข้อจากัด เหตุผลในการเลือกใช้เคร่ืองมือต่างๆ การอภิปราย กรณศี กึ ษาตา่ งๆ ทม่ี กี ารนาเสนอต่อชัน้ เรยี น 3. สงั เกตพฤติกรรมนักศึกษาด้านความมเี หตุผลและมีการบนั ทกึ เปน็ ระยะ

53 6. ทักษะพิสยั 6.1 ผลการเรยี นรู้ดา้ นทักษะพิสัย 1. มที ักษะในการเลอื กใช้อุปกรณ์ เครอื่ งมอื พนื้ ฐาน ได้อย่างเหมาะสมและมปี ระสิทธิภาพ 2. มีทักษะในการพัฒนาและดัดแปลงใช้อุปกรณ์ เครื่องมือ สาหรับการแก้ปัญหาเฉพาะทาง เพ่อื ใหเ้ กิดผลสมั ฤทธิ์ในงานทด่ี าเนินการ 3. มีทักษะในการออกแบบและสรา้ งสรรคผ์ ลงาน และสามารถนาไปสูก่ ารประกอบอาชีพ 4. มีทกั ษะในการควบคุมและส่ังการกลไกของงานได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 6.2 กลยุทธก์ ารสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ดา้ นทักษะพสิ ยั 1. จัดวัสดุ อุปกรณ์ที่มีความทันสมัย และให้มีคุณสมบัติเทียบเท่าหรือใกล้เคียงกับ สถานประกอบการ 2. มอบหมายงานตามใบฝกึ ปฏิบตั ิ (Job Sheet) 3. จัดใหม้ กี ารศึกษานอกเวลาหรือการศึกษางานอย่างต่อเน่ืองและสม่าเสมอ 4. ใหน้ กั ศกึ ษามีโอกาสฝกึ ปฏบิ ตั ิงานจริง 6.3 กลยทุ ธก์ ารประเมนิ ผลการเรยี นรดู้ า้ นทักษะพสิ ัย 1. ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมระหว่างการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์โดยการบันทึก เปน็ ระยะๆ 2. ประเมินผลจากแบบประเมนิ ตนเองและกจิ กรรมกลุ่ม 3. ประเมินจากผลงานและการนาเสนอผลงาน

54 3. แผนท่แี สดงการกระจายความรบั ผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรียนร้จู ากหลกั สตู รสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) แสดงให้เห็นว่าแต่ละรายวิชาในหลักสูตรรับผิดชอบต่อผลการเรียนรู้ใดบ้าง (ตามท่ีระบุในหมวดท่ี 4 ข้อ 2) โดยระบุว่าเป็นความรับผิดชอบหลักหรือความรับผิดชอบรอง ซ่ึงบางรายวิชาอาจไม่นาสู่ผลการเรียนรู้บางเร่ือง กไ็ ด้ จะแสดงเปน็ เอกสารแนบทา้ ยก็ได้ ผลการเรียนรใู้ นตารางมคี วามหมายดังน้ี หมวดวิชาศกึ ษาทว่ั ไป 1. ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม 1) ซอื่ สตั ย์ ขยนั อดทน มีวินยั และตรงต่อเวลา 2) มคี วามเสียสละและมจี ติ สาธารณะ 3) ปฏิบัตติ ามกฎระเบียบ และข้อบังคบั ขององคก์ รและสังคม 2. ความรู้ 1) มีความรู้และทักษะในเนื้อหาวชิ าท่ศี กึ ษา 2) สามารถบรู ณาการความรูท้ ่ีศึกษากบั ความรู้ด้านศิลปวฒั นธรรมหรอื ศาสตรอ์ ่นื ๆ ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง 3) สามารถนาความรู้มาปรบั ใช้ใหเ้ หมาะสมกับสถานการณ์และงานทีร่ ับผดิ ชอบ 3. ทักษะทางปัญญา 1) สามารถประมวลผล วเิ คราะห์ และสรุปขอ้ มลู ความรู้ 2) สามารถจดั การความคิดได้ 3) สามารถประยุกตค์ วามรู้ และแก้ปัญหาได้ 4) สามารถคดิ สร้างสรรค์งานนวตั กรรม 4. ทักษะความสมั พนั ธ์ระหว่างบคุ คลและความรับผิดชอบ 1) มมี นุษยสัมพนั ธท์ ด่ี ี มีมารยาททางสงั คมและมีความรบั ผดิ ชอบต่อตนเองและสงั คม 2) มีภาวะการเป็นผ้นู าและผู้ตามท่ีดี สามารถทางานเปน็ ทีมได้ 3) สามารถปรบั ตวั เข้ากับสถานการณแ์ ละการเปลย่ี นแปลงต่างๆ ไดเ้ ปน็ อย่างดี 5. ทกั ษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสอื่ สาร และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ 1) มีทักษะการวิเคราะหเ์ ชิงตัวเลข 2) สามารถใชภ้ าษาเพอ่ื การสอื่ สารได้อยา่ งเหมาะสมกับสถานการณ์ 3) สามารถใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในการสืบค้น วิเคราะห์และนาเสนอได้ 4) สามารถเช่ือมองค์ความร้แู ละมีทกั ษะในการแสวงหาความรู้ไดด้ ว้ ยตนเอง

55 แผนท่แี สดงการกระจายความรับผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากห  ความรบั ผิดชอบหลกั 1. คุณธรรม จรยิ ธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะ 1) ซ่อื สตั ย์ ขยัน อดทน มีวินยั 1) มคี วามรูแ้ ละทักษะใน 1) สามารถปร และตรงต่อเวลา 2) มีความเสียสละและมีจิต เนอื้ หาวิชาท่ศี กึ ษา วิเคราะห์ และ สาธารณะ 3) ปฏิบัติตามกฎระเบยี บ และ 2) สามารถบรู ณาการความรู้ที่ 2) สามารถจดั ข้อบังคับขององค์กรและสงั คม ศึกษากับความรู้ด้าน 3) สามารถปร ศลิ ปวัฒนธรรมหรอื ศาสตรอ์ นื่ ๆ และแก้ปัญหาไ ที่เก่ยี วข้อง 4) สามารถคดิ 3) สามารถนาความรมู้ าปรับใช้ นวัตกรรม ใหเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์และ งานที่รับผิดชอบ

5 หลกั สตู รส่รู ายวิชา (Curriculum Mapping) หมวดวิชาศกึ ษาท่วั ไป ก  ความรับผดิ ชอบรอง 5. ทกั ษะการวเิ คราะห์ ะทางปญั ญา 4. ทกั ษะความสัมพนั ธร์ ะหว่าง เชงิ ตวั เลข การสอ่ื สาร และ บุคคลและความรบั ผดิ ชอบ การ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ ระมวลผล 1) มีมนษุ ยสัมพันธ์ทดี่ ี มี 1) มที ักษะการวเิ คราะหเ์ ชิง ะสรุปข้อมลู ความรู้ มารยาททางสังคมและมีความ ตัวเลข ดการความคิดได้ รับผดิ ชอบต่อตนเองและสังคม 2) สามารถใชภ้ าษาเพ่ือการ ระยุกต์ความรู้ 2) มภี าวะการเป็นผูน้ าและผู้ สื่อสารได้อยา่ งเหมาะสมกับ ได้ ตามท่ดี ี สามารถทางานเป็นทีม สถานการณ์ ดสร้างสรรคง์ าน ได้ 3) สามารถใช้เทคโนโลยี 3) สามารถปรบั ตัวเข้ากับ สารสนเทศในการสบื ค้น 55 สถานการณ์และการ วเิ คราะหแ์ ละนาเสนอได้ เปลีย่ นแปลงตา่ งๆ ได้เป็น 4) สามารถเช่ือมองคค์ วามร้แู ละ อย่างดี มที กั ษะในการแสวงหาความรู้ ได้ด้วยตนเอง

56 แผนที่แสดงการกระจายความรบั ผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรยี นร้จู ากห  ความรับผดิ ชอบหลัก รายวชิ า 1. ค จร 01-110-010 สังคมกับเศรษฐกิจ 1 01-110-011 เศรษฐศาสตร์ทว่ั ไป 01-210-001 สารนเิ ทศและการเขียนรายงานทางวิชาการ  01-210-005 จติ วิทยาประยุกต์เพ่อื การทางาน  01-320-001 ภาษาอังกฤษเพ่อื การสื่อสาร 1  01-320-002 ภาษาอังกฤษเพือ่ การสอ่ื สาร 2  01-320-003 สนทนาภาษาองั กฤษ  09-000-001 ทักษะการใช้คอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศ  09-121-015 หลักสถติ ิ  09-121-045 สถิตทิ วั่ ไป   

6 หลกั สตู รสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) หมวดวิชาศกึ ษาทวั่ ไป ก  ความรับผดิ ชอบรอง 4. ทกั ษะ 5. ทักษะการ ความสมั พนั ธ์ วิเคราะห์เชงิ คณุ ธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทาง ระหวา่ ง ตวั เลข การ รยิ ธรรม ปัญญา บุคคลและ สื่อสาร และการ ความ ใช้เทคโนโลยี รบั ผิดชอบ สารสนเทศ 2312312341 2 31234                            56                    OOOOO   OOO O OOOOOO   OOO O

57 หมวดวิชาเฉพาะ 1. ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 1. เข้าใจและซาบซ้ึงในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซ่อื สัตย์สุจรติ 2. มีวนิ ัย ตรงต่อเวลา รบั ผดิ ชอบตอ่ ตนเองและสงั คม เคารพกฎระเบียบและ ข้อบังคับต่างๆ ของ องค์กรและสงั คม 3. มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตาม สามารถทางานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไข ข้อขัดแย้งตาม ลาดับความสาคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืน รวมทั้งเคารพในคุณค่า และ ศักด์ศิ รขี องความเปน็ มนษุ ย์ 4. สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ต่อบุคคล องค์กร สังคม และ สิ่งแวดล้อม 5. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะ ผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถงึ เขา้ ใจถงึ บริบททางสงั คมของวชิ าชีพวศิ วกรรมในแต่ละสาขาตง้ั แต่อดตี จนถึงปจั จบุ นั 2. ความรู้ 1. มีความรู้และความเข้าใจ ทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ พนื้ ฐานเพื่อประยุกต์ใช้กบั งานท่ีเกย่ี วข้อง และการสรา้ งนวตั กรรมทางเทคโนโลยี 2. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการท่ีสาคัญ ท้ังในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหา ของ สาขาวิชาเฉพาะทาง 3. สามารถบรู ณาการความร้ใู นสาขาวชิ าท่ีศกึ ษากบั ความรูใ้ นศาสตร์อนื่ ๆ ทเี่ กี่ยวข้อง 4. สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีท่ีเหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้ เคร่ืองมือ ได้ อยา่ งเหมาะสม เช่น โปรแกรมคอมพวิ เตอรเ์ ปน็ ต้น 5. สามารถใชค้ วามรู้และทกั ษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกตแ์ ก้ไขปัญหาในงานจริงได้ 3. ทกั ษะทางปญั ญา 1. สามารถรวบรวม ศกึ ษา วิเคราะห์ และสรปุ ประเดน็ ปัญหาและความต้องการ 2. สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ ข้อมูลประกอบ การตดั สนิ ใจในการทางานไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 3. สามารถสืบคน้ ข้อมลู และแสวงหาความรเู้ พ่มิ เติมไดด้ ้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และ ทันต่อการเปล่ียนแปลงทางองค์ความรแู้ ละเทคโนโลยีใหม่ ๆ

58 4. ทักษะความสัมพันธร์ ะหว่างบคุ คลและความรับผดิ ชอบ 1. สามารถส่ือสารกับกลุ่มคนท่ีหลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและ ภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสาร ตอ่ สงั คมไดใ้ นประเด็นทเี่ หมาะสม 2. สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ท้ังส่วนตัว และส่วนรวมพร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะท้ังของตนเองและของกลุ่มรวมท้ัง ให้ความชว่ ยเหลือและอานวยความสะดวกในการแกไ้ ขปญั หาสถานการณต์ ่างๆ 3. รู้จักบทบาทหน้าท่ี และความรับผิดชอบในการทางานตามท่ีมอบหมาย ท้ังงานบุคคล และ งานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทางานร่วมกับผู้อ่ืนทั้งในฐานะผู้นาและผู้ตามได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพสามารถวางตวั ได้อยา่ งเหมาะสมกบั ความรบั ผิดชอบ 4. มจี ติ สานกึ ความรบั ผิดชอบดา้ นความปลอดภยั ในการทางาน และการรักษา สภาพแวดล้อมต่อ สังคม 5. ทักษะการวเิ คราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ 1. มีทกั ษะในการใช้คอมพวิ เตอร์ สาหรบั การทางานทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั วชิ าชีพไดเ้ ป็นอย่างดี 2. มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการ แกป้ ัญหาทีเ่ กยี่ วข้องไดอ้ ย่างสรา้ งสรรค์ 3. มีทกั ษะในการส่อื สารข้อมูลท้งั การพูด การเขยี น และการสือ่ ความหมายโดยใช้ สัญลักษณ์ 4. สามารถใชเ้ คร่อื งมือการคานวณและเคร่ืองมือเพือ่ ประกอบวชิ าชีพในสาขาที่เกีย่ วข้องได้ 6. ทกั ษะพสิ ัย 1. มีทกั ษะในการเลือกใช้อปุ กรณ์ เครื่องมอื พ้นื ฐาน ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและมีประสิทธภิ าพ 2. มีทักษะในการพัฒนาและดัดแปลงใช้อุปกรณ์ เครื่องมือ สาหรับการแก้ปัญหาเฉพาะทาง เพื่อใหเ้ กิดผลสมั ฤทธิ์ในงานที่ดาเนินการ 3. มที กั ษะในการออกแบบและสร้างสรรค์ผลงาน และสามารถนาไปสกู่ ารประกอบอาชพี 4. มีทักษะในการควบคุมและส่ังการกลไกของงานได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

59 แผนทีแ่ สดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนร้จู า  ความรบั ผดิ ชอบหลัก 1. คุณธรรม จรยิ ธรรม 2. ความรู้ 3. ทกั ษะทางปญั ญา 1. เข้าใจและซาบซ้ึงในวัฒนธรรม 1. มีความร้แู ละความเขา้ ใจ ทาง 1. สามารถรวบรวม ศกึ ษา 1 ไทย ตระหนกั ในคุณคา่ ของระบบ คณิตศาสตร์พืน้ ฐาน วิศวกรรม วเิ คราะห์ และสรปุ ประเด็น ห คณุ ธรรม จรยิ ธรรม เสยี สละ และ พนื้ ฐาน และเศรษฐศาสตร์ ปญั หาและความต้องการ ภ ซื่อสตั ยส์ จุ รติ พน้ื ฐานเพือ่ ประยุกต์ใชก้ ับงานท่ี 2. สามารถคดิ วิเคราะห์ และ ไ 2. มีวนิ ยั ตรงตอ่ เวลา รับผดิ ชอบ เกีย่ วข้อง และการสรา้ ง แกไ้ ขปญั หาด้านไดอ้ ย่างมีระบบ ค ตอ่ ตนเองและสังคม เคารพ นวัตกรรมทางเทคโนโลยี รวมถึงการใช้ ข้อมูลประกอบ ส กฎระเบียบและ ข้อบงั คบั ต่างๆ 2. มคี วามร้แู ละความเขา้ ใจ การตดั สินใจในการทางานได้ 2 ขององค์กรและสงั คม เก่ียวกับหลักการท่ีสาคญั ทงั้ ใน อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ใ 3. มภี าวะความเป็นผู้นาและผู้ตาม เชงิ ทฤษฎีและปฏิบตั ใิ นเนอื้ หา 3. สามารถสบื ค้นข้อมลู และ ส สามารถทางานเป็นหมู่คณะ ของสาขาวชิ าเฉพาะทาง แสวงหาความรเู้ พ่ิมเติมไดด้ ว้ ย พ สามารถแก้ไข ข้อขัดแย้งตาม 3. สามารถบรู ณาการความรูใ้ น ตนเอง เพอื่ การเรยี นรู้ตลอดชีวติ ท ลาดบั ความสาคญั เคารพสทิ ธแิ ละ สาขาวชิ าทีศ่ ึกษากบั ความรู้ใน และทนั ตอ่ การเปลย่ี นแปลงทาง ใ รับฟังความคดิ เห็นของผ้อู ่ืน ศาสตรอ์ ืน่ ๆ ที่เกยี่ วข้อง องค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ ส รวมทัง้ เคารพในคณุ คา่ และศกั ด์ศิ รี 4. สามารถวเิ คราะหแ์ ละแก้ไข ส ของความเป็นมนษุ ย์ ปญั หา ดว้ ยวิธที เี่ หมาะสม 3 4. สามารถวเิ คราะหแ์ ละ รวมถงึ การประยุกต์ใช้ เครอ่ื งมือ ร ประเมินผลกระทบจากการใช้ ไดอ้ ย่างเหมาะสม เชน่ โปรแกรม ม ความรู้ต่อบุคคล องคก์ ร สังคม คอมพวิ เตอรเ์ ปน็ ตน้ ก และส่ิงแวดล้อม 5. สามารถใช้ความรู้และทกั ษะ ร 5. มจี รรยาบรรณทางวชิ าการและ ในสาขาวิชาของตน ในการ ต วิชาชีพ และมีความรับผดิ ชอบใน ประยุกต์แกไ้ ขปัญหาในงานจริง ว ฐานะ ผปู้ ระกอบวชิ าชีพรวมถึง ได้ ร เขา้ ใจถึงบรบิ ททางสงั คมของ 4 วิชาชพี วศิ วกรรมในแต่ละสาขา ค ตั้งแต่อดตี จนถึงปจั จุบนั ก

9 ากหลกั สตู รสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) หมวดวชิ าเฉพาะ ก  ความรับผดิ ชอบรอง 4. ทักษะความสมั พันธร์ ะหว่าง 5. ทักษะการวเิ คราะห์ บคุ คลและความรับผดิ ชอบ เชิงตัวเลข การสอ่ื สาร และการ 6. ทกั ษะพิสัย 1. สามารถสื่อสารกบั กลมุ่ คนท่ี ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ 1. มที ักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ 1. มที กั ษะในการเลือกใช้ หลากหลาย และสามารถสนทนาท้งั สาหรับการทางานที่เกยี่ วขอ้ งกับ อุปกรณ์ เครือ่ งมือพ้ืนฐาน ได้ ภาษาไทยและ ภาษาตา่ งประเทศ วิชาชีพไดเ้ ปน็ อย่างดี อย่างเหมาะสมและมี ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ สามารถใช้ 2. มที กั ษะในการวิเคราะห์ข้อมูล ประสทิ ธภิ าพ ความรูใ้ นสาขาวชิ าชีพมาสอ่ื สารตอ่ สารสนเทศทางคณติ ศาสตร์ 2. มีทกั ษะในการพัฒนาและ สงั คมได้ในประเด็นทเี่ หมาะสม หรือการแสดงสถติ ิ ประยุกต์ ต่อ ดัดแปลงใช้อปุ กรณ์ เครอ่ื งมือ 2. สามารถเป็นผู้รเิ รมิ่ แสดงประเดน็ การแกป้ ญั หาท่ีเกยี่ วข้องไดอ้ ยา่ ง สาหรบั การแก้ปญั หาเฉพาะทาง ในการแก้ไขสถานการณเ์ ชิง สร้างสรรค์ เพือ่ ให้เกิดผลสมั ฤทธ์ิในงานที่ สร้างสรรคท์ ั้งส่วนตัว และส่วนรวม 3. มที กั ษะในการสือ่ สารข้อมลู ดาเนนิ การ พรอ้ มทง้ั แสดงจดุ ยนื อยา่ งพอเหมาะ ท้งั การพูด การเขียน และการส่ือ 3. มที ักษะในการออกแบบและ 59 ทงั้ ของตนเองและของกลมุ่ รวมทั้ง ความหมายโดยใช้ สญั ลักษณ์ สรา้ งสรรคผ์ ลงาน และสามารถ ให้ความชว่ ยเหลือและอานวยความ 4. สามารถใชเ้ คร่อื งมือการ นาไปสกู่ ารประกอบอาชพี สะดวกในการแกไ้ ขปัญหา คานวณและเครือ่ งมือเพื่อ 4. มีทักษะในการควบคุมและส่งั สถานการณต์ ่างๆ ประกอบวิชาชพี ในสาขาที่ การกลไกของงานไดอ้ ยา่ งมี 3. รู้จกั บทบาทหนา้ ที่ และความ เกย่ี วข้องได้ ประสทิ ธภิ าพ รับผดิ ชอบในการทางานตามที่ มอบหมาย ท้งั งานบคุ คลและงาน กลมุ่ สามารถปรบั ตัวและทางาน ร่วมกบั ผูอ้ ืน่ ทง้ั ในฐานะผ้นู าและผู้ ตามได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพสามารถ วางตวั ได้อยา่ งเหมาะสมกบั ความ รับผดิ ชอบ 4. มีจติ สานกึ ความรับผิดชอบดา้ น ความปลอดภยั ในการทางาน และ การรักษา สภาพแวดล้อมตอ่ สงั คม

60 แผนท่ีแสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรยี นรจู้ า  ความรบั ผดิ ชอบหลกั รายวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2. ควา 12345123 09-111-141 แคลคูลสั สาหรบั วิศวกร 1      09-410-141 02-281-301 ฟสิ ิกส์สาหรับวิศวกร 1    02-281-302 02-281-303 การออกแบบระบบดิจิทัลขน้ั สงู         02-281-304 ตวั ควบคุมตรรกะแบบโปรแกรม  ได้สาหรบั เทคโนโลยอี ัจฉริยะ 02-281-305 ระบบควบคมุ สาหรับ  02-281-306 อิเลก็ ทรอนิกส์อจั ฉริยะ 02-281-407 การแก้ปญั หาทางไฟฟา้ และ 02-281-408 อิเลก็ ทรอนิกสด์ ้วยซอฟแวร์  คอมพิวเตอร์ การประยกุ ต์ใชง้ านไมโครคอน โทรลเลอรส์ าหรับอิเล็กทรอนิกส์         อัจฉริยะ อิเลก็ ทรอนิกสอ์ ตุ สาหกรรมและ อิเลก็ ทรอนกิ ส์กาลังสาหรับ  อเิ ล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ การโปรแกรมแบบกราฟิกสาหรบั         อิเลก็ ทรอนกิ ส์อจั ฉริยะ มอเตอรไ์ ฟฟา้ อตุ สาหกรรมและ  การขบั เคล่ือน

0 ากหลักสตู รสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) หมวดวชิ าเฉพาะ ก  ความรบั ผิดชอบรอง ามรู้ 3. ทักษะ 4. ทักษะ 5. ทกั ษะการ 6.ทักษะ ทางปัญญา ความสมั พนั ธ์ วเิ คราะห์เชิง พสิ ัย ระหว่างบุคคล ตวั เลข การ และความ สื่อสาร และการ รับผิดชอบ ใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศ 45123123412341234                     60        

61 แผนทีแ่ สดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนร้จู า  ความรบั ผดิ ชอบหลัก 1. คุณธรรม จรยิ ธรรม 2. ความรู้ 3. ทกั ษะทางปญั ญา 1. เข้าใจและซาบซ้ึงในวัฒนธรรม 1. มีความร้แู ละความเขา้ ใจ ทาง 1. สามารถรวบรวม ศกึ ษา 1 ไทย ตระหนกั ในคุณคา่ ของระบบ คณิตศาสตร์พืน้ ฐาน วิศวกรรม วเิ คราะห์ และสรปุ ประเด็น ห คณุ ธรรม จรยิ ธรรม เสยี สละ และ พนื้ ฐาน และเศรษฐศาสตร์ ปญั หาและความต้องการ ภ ซื่อสตั ยส์ จุ รติ พน้ื ฐานเพือ่ ประยุกต์ใชก้ ับงานท่ี 2. สามารถคดิ วิเคราะห์ และ ไ 2. มีวนิ ยั ตรงตอ่ เวลา รับผดิ ชอบ เกีย่ วข้อง และการสรา้ ง แกไ้ ขปญั หาด้านไดอ้ ย่างมีระบบ ค ตอ่ ตนเองและสังคม เคารพ นวัตกรรมทางเทคโนโลยี รวมถึงการใช้ ข้อมูลประกอบ ส กฎระเบียบและ ข้อบงั คบั ต่างๆ 2. มคี วามร้แู ละความเขา้ ใจ การตดั สินใจในการทางานได้ 2 ขององค์กรและสงั คม เก่ียวกับหลักการท่ีสาคญั ทงั้ ใน อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ใ 3. มภี าวะความเป็นผู้นาและผู้ตาม เชงิ ทฤษฎีและปฏบิ ตั ใิ นเนอื้ หา 3. สามารถสบื ค้นข้อมลู และ ส สามารถทางานเป็นหมู่คณะ ของสาขาวชิ าเฉพาะทาง แสวงหาความรเู้ พ่ิมเติมไดด้ ว้ ย พ สามารถแก้ไข ข้อขัดแย้งตาม 3. สามารถบรู ณาการความรูใ้ น ตนเอง เพอื่ การเรยี นรู้ตลอดชีวติ ท ลาดบั ความสาคญั เคารพสทิ ธแิ ละ สาขาวชิ าทีศ่ ึกษากบั ความรู้ใน และทนั ตอ่ การเปลย่ี นแปลงทาง ใ รับฟังความคดิ เห็นของผ้อู ่ืน ศาสตรอ์ ืน่ ๆ ที่เกยี่ วข้อง องค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ ส รวมทัง้ เคารพในคณุ คา่ และศกั ด์ศิ รี 4. สามารถวเิ คราะหแ์ ละแก้ไข ส ของความเป็นมนษุ ย์ ปญั หา ดว้ ยวิธที เี่ หมาะสม 3 4. สามารถวเิ คราะหแ์ ละ รวมถงึ การประยุกต์ใช้ เครอ่ื งมือ ร ประเมินผลกระทบจากการใช้ ไดอ้ ย่างเหมาะสม เชน่ โปรแกรม ม ความรู้ต่อบุคคล องคก์ ร สงั คม คอมพวิ เตอรเ์ ปน็ ตน้ ก และส่ิงแวดล้อม 5. สามารถใช้ความรู้และทกั ษะ ร 5. มจี รรยาบรรณทางวชิ าการและ ในสาขาวิชาของตน ในการ ต วิชาชีพ และมีความรับผดิ ชอบใน ประยุกต์แกไ้ ขปัญหาในงานจริง ว ฐานะ ผปู้ ระกอบวชิ าชีพรวมถึง ได้ ร เขา้ ใจถึงบรบิ ททางสงั คมของ 4 วิชาชพี วศิ วกรรมในแต่ละสาขา ค ตั้งแต่อดตี จนถึงปจั จุบนั ก

1 ากหลกั สตู รสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) หมวดวชิ าเฉพาะ ก  ความรับผดิ ชอบรอง 4. ทักษะความสมั พันธร์ ะหว่าง 5. ทักษะการวเิ คราะห์ บคุ คลและความรับผิดชอบ เชิงตัวเลข การสอ่ื สาร และการ 6. ทกั ษะพสิ ัย 1. สามารถสื่อสารกบั กลมุ่ คนท่ี ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ 1. มที ักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ 1. มที ักษะในการเลือกใช้ หลากหลาย และสามารถสนทนาท้งั สาหรับการทางานทเี่ กี่ยวขอ้ งกับ อุปกรณ์ เครอ่ื งมอื พ้ืนฐาน ได้ ภาษาไทยและ ภาษาตา่ งประเทศ วิชาชีพไดเ้ ปน็ อย่างดี อยา่ งเหมาะสมและมี ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ สามารถใช้ 2. มที กั ษะในการวิเคราะห์ข้อมูล ประสทิ ธภิ าพ ความรู้ในสาขาวชิ าชีพมาสอ่ื สารตอ่ สารสนเทศทางคณติ ศาสตร์ 2. มที กั ษะในการพัฒนาและ สงั คมได้ในประเด็นทเี่ หมาะสม หรือการแสดงสถติ ิ ประยุกต์ ต่อ ดัดแปลงใช้อปุ กรณ์ เครอ่ื งมือ 2. สามารถเปน็ ผู้รเิ รมิ่ แสดงประเดน็ การแกป้ ญั หาท่ีเกยี่ วข้องไดอ้ ยา่ ง สาหรบั การแก้ปญั หาเฉพาะทาง ในการแก้ไขสถานการณเ์ ชิง สร้างสรรค์ เพือ่ ให้เกิดผลสมั ฤทธิใ์ นงานที่ สร้างสรรคท์ ั้งส่วนตัว และส่วนรวม 3. มที กั ษะในการสือ่ สารข้อมลู ดาเนนิ การ พรอ้ มทง้ั แสดงจดุ ยนื อย่างพอเหมาะ ท้งั การพูด การเขียน และการส่ือ 3. มที ักษะในการออกแบบและ 61 ทงั้ ของตนเองและของกลุม่ รวมทั้ง ความหมายโดยใช้ สญั ลักษณ์ สรา้ งสรรคผ์ ลงาน และสามารถ ให้ความชว่ ยเหลือและอานวยความ 4. สามารถใชเ้ ครื่องมือการ นาไปสู่การประกอบอาชพี สะดวกในการแกไ้ ขปัญหา คานวณและเครือ่ งมือเพื่อ 4. มที ักษะในการควบคมุ และสัง่ สถานการณต์ ่างๆ ประกอบวิชาชพี ในสาขาที่ การกลไกของงานไดอ้ ยา่ งมี 3. รู้จกั บทบาทหนา้ ที่ และความ เกย่ี วข้องได้ ประสิทธภิ าพ รับผดิ ชอบในการทางานตามที่ มอบหมาย ท้งั งานบคุ คลและงาน กลมุ่ สามารถปรบั ตัวและทางาน ร่วมกบั ผูอ้ ืน่ ทั้งในฐานะผ้นู าและผู้ ตามได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพสามารถ วางตวั ได้อยา่ งเหมาะสมกบั ความ รับผดิ ชอบ 4. มีจติ สานกึ ความรับผดิ ชอบดา้ น ความปลอดภยั ในการทางาน และ การรักษา สภาพแวดลอ้ มตอ่ สงั คม

62 แผนที่แสดงการกระจายความรบั ผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรจู้ า  ความรบั ผิดชอบหลกั รายวชิ า 1.คณุ ธรรม จรยิ ธรรม 2. ควา 12345123 02-281-409 สมั มนา  09-410-142 ปฏบิ ัติการฟสิ กิ สส์ าหรบั วศิ วกร 1  .  02-281-307 ปฏบิ ตั ิการออกแบบระบบดิจิทัล  02-281-308 ขั้นสูง  02-281-309  02-281-310 ปฏบิ ัติการตวั ควบคุมตรรกะแบบ  02-281-312 โปรแกรมได้สาหรบั เทคโนโลยี  02-281-422 อัจฉริยะ  ปฏิบัตกิ ารแก้ปญั หาทางไฟฟ้าและ อเิ ล็กทรอนิกสด์ ว้ ย ซอฟแวรค์ อมพิวเตอร์ ปฏบิ ัตกิ ารประยุกตใ์ ช้งาน ไมโครคอนโทรลเลอรส์ าหรบั อิเลก็ ทรอนกิ ส์อจั ฉรยิ ะ ปฏิบัตอิ ิเล็กทรอนกิ สอ์ ตุ สาหกรรม และอิเล็กทรอนกิ ส์กาลงั สาหรับอเิ ล็กทรอนกิ ส์อจั ฉริยะ ปฏิบัตกิ ารโปรแกรมแบบกราฟิก สาหรับอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์อจั ฉริยะ

2 ากหลกั สูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) หมวดวิชาเฉพาะ ก  ความรับผดิ ชอบรอง ามรู้ 3. ทักษะ 4. ทักษะ 5. ทกั ษะการ 6.ทกั ษะ ทางปัญญา ความสมั พันธ์ วเิ คราะหเ์ ชงิ พิสัย ระหวา่ งบุคคล ตวั เลข การ และความ สือ่ สาร และการ รบั ผดิ ชอบ ใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศ 45123123412341234             

63 แผนทีแ่ สดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนร้จู า  ความรบั ผดิ ชอบหลัก 1. คุณธรรม จรยิ ธรรม 2. ความรู้ 3. ทกั ษะทางปญั ญา 1. เข้าใจและซาบซ้ึงในวัฒนธรรม 1. มีความร้แู ละความเขา้ ใจ ทาง 1. สามารถรวบรวม ศกึ ษา 1 ไทย ตระหนกั ในคุณคา่ ของระบบ คณิตศาสตร์พืน้ ฐาน วิศวกรรม วเิ คราะห์ และสรปุ ประเด็น ห คณุ ธรรม จรยิ ธรรม เสยี สละ และ พนื้ ฐาน และเศรษฐศาสตร์ ปญั หาและความต้องการ ภ ซื่อสตั ยส์ จุ รติ พน้ื ฐานเพือ่ ประยุกต์ใชก้ ับงานท่ี 2. สามารถคดิ วิเคราะห์ และ อ 2. มีวนิ ยั ตรงตอ่ เวลา รับผดิ ชอบ เกีย่ วข้อง และการสรา้ ง แกไ้ ขปญั หาด้านไดอ้ ย่างมีระบบ ค ตอ่ ตนเองและสังคม เคารพ นวัตกรรมทางเทคโนโลยี รวมถึงการใช้ ข้อมูลประกอบ ส กฎระเบียบและ ข้อบงั คบั ต่างๆ 2. มคี วามร้แู ละความเขา้ ใจ การตดั สินใจในการทางานได้ 2 ขององค์กรและสงั คม เก่ียวกับหลักการท่ีสาคญั ทงั้ ใน อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ใ 3. มภี าวะความเป็นผู้นาและผู้ตาม เชงิ ทฤษฎีและปฏบิ ตั ใิ นเนอื้ หา 3. สามารถสบื ค้นข้อมลู และ ส สามารถทางานเป็นหมู่คณะ ของสาขาวชิ าเฉพาะทาง แสวงหาความรเู้ พ่ิมเติมไดด้ ว้ ย พ สามารถแก้ไข ข้อขัดแย้งตาม 3. สามารถบรู ณาการความรูใ้ น ตนเอง เพอื่ การเรยี นรู้ตลอดชีวติ ท ลาดบั ความสาคญั เคารพสทิ ธแิ ละ สาขาวชิ าทีศ่ ึกษากบั ความรู้ใน และทนั ตอ่ การเปลย่ี นแปลงทาง ใ รับฟังความคดิ เห็นของผ้อู ่ืน ศาสตรอ์ ืน่ ๆ ที่เกยี่ วข้อง องค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ ส รวมทัง้ เคารพในคณุ คา่ และศกั ด์ศิ รี 4. สามารถวเิ คราะหแ์ ละแก้ไข ส ของความเป็นมนษุ ย์ ปญั หา ดว้ ยวิธที เี่ หมาะสม 3 4. สามารถวเิ คราะหแ์ ละ รวมถงึ การประยุกต์ใช้ เครอ่ื งมือ ร ประเมินผลกระทบจากการใช้ ไดอ้ ย่างเหมาะสม เชน่ โปรแกรม ม ความรู้ต่อบุคคล องคก์ ร สงั คม คอมพวิ เตอรเ์ ปน็ ตน้ ก และส่ิงแวดล้อม 5. สามารถใช้ความรู้และทกั ษะ ร 5. มจี รรยาบรรณทางวชิ าการและ ในสาขาวิชาของตน ในการ ต วิชาชีพ และมีความรับผดิ ชอบใน ประยุกต์แกไ้ ขปัญหาในงานจริง ว ฐานะ ผปู้ ระกอบวชิ าชีพรวมถึง ได้ ร เขา้ ใจถึงบรบิ ททางสงั คมของ 4 วิชาชพี วศิ วกรรมในแต่ละสาขา ค ตั้งแต่อดตี จนถึงปจั จุบนั ก

3 ากหลกั สูตรสรู่ ายวิชา (Curriculum Mapping) หมวดวชิ าเฉพาะ ก  ความรบั ผดิ ชอบรอง 4. ทักษะความสมั พนั ธร์ ะหว่าง 5. ทักษะการวเิ คราะห์ 6. ทกั ษะพิสัย บุคคลและความรับผดิ ชอบ เชิงตวั เลข การสอ่ื สาร และการ ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ 1. สามารถสอ่ื สารกบั กลมุ่ คนท่ี 1. มที กั ษะในการใช้คอมพิวเตอร์ 1. มที กั ษะในการเลือกใช้ หลากหลาย และสามารถสนทนาทัง้ สาหรับการทางานทเี่ กี่ยวขอ้ งกับ อุปกรณ์ เครือ่ งมือพ้ืนฐาน ได้ ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้ วิชาชีพได้เป็นอย่างดี อย่างเหมาะสมและมี อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ สามารถใช้ 2. มที ักษะในการวิเคราะห์ข้อมูล ประสทิ ธภิ าพ ความรใู้ นสาขาวชิ าชีพมาสื่อสารตอ่ สารสนเทศทางคณติ ศาสตร์ 2. มีทกั ษะในการพัฒนาและ สังคมได้ในประเด็นทเ่ี หมาะสม หรือการแสดงสถติ ิ ประยุกต์ ต่อ ดัดแปลงใช้อปุ กรณ์ เครอ่ื งมือ 2. สามารถเปน็ ผรู้ เิ รม่ิ แสดงประเดน็ การแก้ปัญหาท่ีเกยี่ วข้องไดอ้ ยา่ ง สาหรบั การแก้ปญั หาเฉพาะทาง ในการแกไ้ ขสถานการณเ์ ชิง สร้างสรรค์ เพือ่ ให้เกิดผลสมั ฤทธ์ิในงานที่ สร้างสรรคท์ ง้ั สว่ นตัว และสว่ นรวม 3. มที ักษะในการสือ่ สารข้อมลู ดาเนนิ การ พรอ้ มท้งั แสดงจุดยืนอยา่ งพอเหมาะ ท้งั การพูด การเขียน และการส่ือ 3. มที ักษะในการออกแบบและ ท้งั ของตนเองและของกลุ่มรวมทง้ั ความหมายโดยใช้ สญั ลักษณ์ สรา้ งสรรคผ์ ลงาน และสามารถ 63 ให้ความช่วยเหลือและอานวยความ 4. สามารถใชเ้ ครื่องมือการ นาไปสกู่ ารประกอบอาชพี สะดวกในการแกไ้ ขปัญหา คานวณและเครือ่ งมือเพื่อ 4. มีทักษะในการควบคุมและส่งั สถานการณต์ า่ งๆ ประกอบวชิ าชพี ในสาขาที่ การกลไกของงานไดอ้ ยา่ งมี 3. รจู้ ักบทบาทหนา้ ท่ี และความ เกย่ี วข้องได้ ประสทิ ธภิ าพ รบั ผิดชอบในการทางานตามที่ มอบหมาย ทงั้ งานบคุ คลและงาน กลุม่ สามารถปรับตัวและทางาน ร่วมกับผู้อืน่ ท้ังในฐานะผนู้ าและผู้ ตามไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพสามารถ วางตวั ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกับความ รบั ผิดชอบ 4. มีจิตสานึกความรบั ผดิ ชอบดา้ น ความปลอดภยั ในการทางาน และ การรักษา สภาพแวดล้อมต่อสงั คม

64 แผนทแี่ สดงการกระจายความรบั ผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรยี นรจู้ า  ความรับผิดชอบหลกั รายวชิ า 1.คณุ ธรรม จรยิ ธรรม 2. ควา 12345123 02-281-423 ปฏิบัติการมอเตอรไ์ ฟฟา้  อุตสาหกรรมและการขบั เคลอื่ น 02-281-410 02-281-311 โครงการอิเลก็ ทรอนกิ ส์อจั ฉริยะ         02-281-412 02-281-413 เทคโนโลยีโรงงานอัจฉริยะ  02-281-414 02-281-415 เทคโนโลยสี มองกลฝงั ตัวอัจฉรยิ ะ         02-281-416 02-281-417 หุ่นยนต์ในงานอุตสาหกรรม 4.0         02-281-418 เทคโนโลยีอินเทอรเ์ นต็ ของสรรพสงิ่         02-281-419 ยานยนตไ์ ฟฟ้าอจั ฉริยะ  02-281-420 02-281-421 ฟารม์ อัจฉรยิ ะ  แนวโน้มเทคโนโลยีอเิ ลก็ ทรอนิกส์  อจั ฉรยิ ะ 1 แนวโน้มเทคโนโลยีอเิ ลก็ ทรอนิกส์  อัจฉรยิ ะ 2 เซ็นเซอรอ์ ัจฉรยิ ะ  เทคโนโลยีโครงขา่ ยไฟฟา้ อจั ฉริยะ         เมอื งอจั ฉริยะ 

4 ากหลกั สูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) หมวดวชิ าเฉพาะ ก  ความรบั ผิดชอบรอง ามรู้ 3. ทกั ษะ 4. ทกั ษะ 5. ทักษะการ 6.ทกั ษะ ทางปัญญา ความสมั พนั ธ์ วเิ คราะห์เชิง พิสยั ระหว่างบคุ คล ตัวเลข การ และความ สือ่ สาร และการ รับผิดชอบ ใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศ 45123123412341234   64           

65 แผนที่แสดงการกระจายความรับผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรียนร้จู า  ความรับผดิ ชอบหลัก 1. คุณธรรม จรยิ ธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 1. เขา้ ใจและซาบซ้งึ ในวัฒนธรรม 1. มีความรู้และความเขา้ ใจ ทาง 1. สามารถรวบรวม ศึกษา 1. ไทย ตระหนกั ในคุณคา่ ของระบบ คณติ ศาสตร์พ้นื ฐาน วิศวกรรม วิเคราะห์ และสรปุ ประเดน็ หล คุณธรรม จรยิ ธรรม เสยี สละ พ้ืนฐาน และเศรษฐศาสตร์ ปัญหาและความตอ้ งการ ภา และซอื่ สตั ยส์ ุจรติ พน้ื ฐานเพื่อประยุกตใ์ ชก้ บั งานที่ 2. สามารถคดิ วิเคราะห์ และ อย 2. มวี ินยั ตรงตอ่ เวลา รับผดิ ชอบ เก่ียวขอ้ ง และการสรา้ ง แกไ้ ขปญั หาด้านไดอ้ ย่างมรี ะบบ คว ต่อตนเองและสังคม เคารพ นวตั กรรมทางเทคโนโลยี รวมถึงการใช้ ข้อมูลประกอบ สงั กฎระเบยี บและ ข้อบงั คับตา่ งๆ 2. มีความรู้และความเขา้ ใจ การตดั สนิ ใจในการทางานได้ 2. ขององคก์ รและสังคม เกี่ยวกับหลกั การทีส่ าคญั ท้งั ใน อย่างมปี ระสิทธภิ าพ ใน 3. มีภาวะความเปน็ ผู้นาและผู้ เชิงทฤษฎแี ละปฏบิ ตั ใิ นเนอื้ หา 3. สามารถสบื คน้ ข้อมลู และ สร ตาม สามารถทางานเป็นหมู่คณะ ของสาขาวิชาเฉพาะทาง แสวงหาความรเู้ พิ่มเติมไดด้ ว้ ย พร สามารถแก้ไข ข้อขดั แย้งตาม 3. สามารถบรู ณาการความร้ใู น ตนเอง เพ่อื การเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต ทั้ง ลาดับความสาคญั เคารพสทิ ธิ สาขาวชิ าท่ศี กึ ษากับความรู้ใน และทนั ตอ่ การเปลย่ี นแปลงทาง ให และรับฟงั ความคดิ เห็นของผอู้ นื่ ศาสตรอ์ ื่นๆ ทเี่ ก่ียวขอ้ ง องค์ความร้แู ละเทคโนโลยีใหม่ ๆ สะ รวมทัง้ เคารพในคณุ คา่ และ 4. สามารถวเิ คราะหแ์ ละแกไ้ ข สถ ศักดศ์ิ รีของความเปน็ มนุษย์ ปัญหา ด้วยวิธที ่เี หมาะสม 3. 4. สามารถวเิ คราะหแ์ ละ รวมถึงการประยกุ ตใ์ ช้ เครอื่ งมือ รับ ประเมินผลกระทบจากการใช้ ได้อยา่ งเหมาะสม เช่น โปรแกรม มอ ความรูต้ อ่ บุคคล องคก์ ร สงั คม คอมพิวเตอรเ์ ป็นตน้ กล และส่งิ แวดลอ้ ม 5. สามารถใช้ความรู้และทักษะ ร่ว 5. มจี รรยาบรรณทางวชิ าการ ในสาขาวิชาของตน ในการ ตา และวิชาชีพ และมีความ ประยกุ ตแ์ กไ้ ขปัญหาในงานจริง วา รับผิดชอบในฐานะ ผู้ประกอบ ได้ รบั วิชาชีพรวมถึงเข้าใจถึงบริบททาง 4. สังคมของวิชาชพี วศิ วกรรมในแต่ คว ละสาขาตงั้ แตอ่ ดตี จนถงึ ปจั จบุ ัน กา

5 ากหลกั สตู รส่รู ายวิชา (Curriculum Mapping) หมวดวชิ าเฉพาะ ก  ความรบั ผดิ ชอบรอง 4. ทกั ษะความสัมพันธ์ระหว่าง 5. ทักษะการวิเคราะห์ 6. ทกั ษะพิสยั 65 บุคคลและความรบั ผิดชอบ เชิงตวั เลข การส่อื สาร และการ 1. มีทกั ษะในการเลือกใชอ้ ุปกรณ์ สามารถสือ่ สารกบั กลมุ่ คนท่ี ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ เครื่องมอื พื้นฐาน ได้อยา่ ง ลากหลาย และสามารถสนทนาทั้ง เหมาะสมและมีประสทิ ธิภาพ าษาไทยและภาษาต่างประเทศได้ 1. มที ักษะในการใช้คอมพวิ เตอร์ 2. มที ักษะในการพัฒนาและ ย่างมีประสิทธภิ าพ สามารถใช้ สาหรับการทางานท่เี กย่ี วข้องกับ ดดั แปลงใช้อุปกรณ์ เคร่อื งมอื วามรูใ้ นสาขาวชิ าชีพมาสือ่ สารตอ่ วชิ าชพี ได้เปน็ อย่างดี สาหรับการแก้ปัญหาเฉพาะทาง งคมได้ในประเด็นทเี่ หมาะสม 2. มที ักษะในการวเิ คราะหข์ อ้ มลู เพอ่ื ใหเ้ กดิ ผลสมั ฤทธใ์ิ นงานท่ี สามารถเปน็ ผรู้ เิ รม่ิ แสดงประเดน็ สารสนเทศทางคณติ ศาสตร์ หรือ ดาเนินการ นการแกไ้ ขสถานการณเ์ ชงิ การแสดงสถติ ิ ประยกุ ต์ ต่อการ 3. มีทกั ษะในการออกแบบและ รา้ งสรรคท์ งั้ ส่วนตวั และสว่ นรวม แกป้ ัญหาท่เี กีย่ วข้องไดอ้ ย่าง สร้างสรรคผ์ ลงาน และสามารถ ร้อมทงั้ แสดงจดุ ยนื อยา่ งพอเหมาะ สรา้ งสรรค์ นาไปส่กู ารประกอบอาชพี งของตนเองและของกลุม่ รวมทั้ง 3. มที กั ษะในการส่อื สารข้อมูลท้ัง 4. มีทักษะในการควบคุมและส่ัง หค้ วามชว่ ยเหลอื และอานวยความ การพดู การเขยี น และการส่ือ การกลไกของงานไดอ้ ย่างมี ะดวกในการแกไ้ ขปัญหา ความหมายโดยใช้ สญั ลกั ษณ์ ประสทิ ธภิ าพ ถานการณ์ตา่ งๆ 4. สามารถใชเ้ คร่ืองมือการ ร้จู กั บทบาทหนา้ ท่ี และความ คานวณและเครอื่ งมอื เพื่อ บผิดชอบในการทางานตามที่ ประกอบวิชาชพี ในสาขาท่ี อบหมาย ทั้งงานบคุ คลและงาน เกยี่ วข้องได้ ลุ่ม สามารถปรบั ตวั และทางาน วมกบั ผู้อ่ืนท้งั ในฐานะผูน้ าและผู้ ามไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพสามารถ างตัวไดอ้ ย่างเหมาะสมกบั ความ บผิดชอบ มจี ิตสานึกความรับผิดชอบดา้ น วามปลอดภัยในการทางาน และ ารรักษา สภาพแวดล้อมตอ่ สงั คม

66 แผนทแ่ี สดงการกระจายความรับผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรยี นรูจ้ า  ความรับผิดชอบหลกั รายวิชา 1.คุณธรรม จรยิ ธรรม 2. คว 12345123 02-000-301 การเตรียมความพรอ้ มฝึก  ประสบการณ์วชิ าชพี 02-000-302   02-000-303 สหกจิ ศึกษา   02-000-304   02-000-305 สหกจิ ศึกษาตา่ งประเทศ   02-000-306 ฝึกงาน   02-000-308 ฝึกงานต่างประเทศ   02-000-309   02-000-310 ปัญหาพเิ ศษจากสถาน   ประกอบการ   02-000-311   02-000-312 การจดั ประสบการณต์ น้ หลกั สตู ร ปฏิบัตงิ านภาคสนาม การติดตามพฤติกรรมการ ทางาน การฝกึ เฉพาะตาแหนง่ การฝึกปฏิบตั ิจรงิ ภายหลัง สาเรจ็ การเรยี นทฤษฎี

6 ากหลักสูตรสรู่ ายวิชา (Curriculum Mapping) หมวดวิชาเฉพาะ ก  ความรบั ผดิ ชอบรอง วามรู้ 3. ทักษะ 4. ทักษะ 5. ทกั ษะการ 6.ทกั ษะ ทางปญั ญา ความสัมพันธ์ วเิ คราะหเ์ ชงิ พสิ ยั ระหวา่ งบุคคล ตัวเลข การ และความ สื่อสาร และการ รบั ผิดชอบ ใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศ 345123123412341234   66         

67 หมวดที่ 5 หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา 1. กฎระเบยี บหรือหลักเกณฑใ์ นการใหร้ ะดบั คะแนน (เกรด) การวัดผลและการสาเร็จการศึกษาเป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เร่ือง เกณฑ์การวดั และประเมนิ ผลการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2550 (ภาคผนวก ซ) 2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธิข์ องนักศกึ ษา 2.1 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรขู้ ณะนกั ศกึ ษายงั ไม่สาเรจ็ การศึกษา 1. อาจารย์ผู้สอนดาเนินการสอน ประเมินผลการเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายรายวิชา และเป็นไปตามเกณฑ์ การวัดประเมนิ ผลท่กี าหนดไวใ้ น มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา 2. กรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตรประชุมพิจารณาผลการเรียนรู้ทุกรายวิชาในด้านของความยุติธรรม ความเหมาะสม แล้วนาผลจากการประชุมพิจารณาผลการเรยี นร้ขู องกรรมการผู้รับผดิ ชอบหลักสูตรเสนอต่อ คณะกรรมการประจาคณะพจิ ารณา 3. กรณีที่เป็นรายวิชาที่สอนหลายคน อาจารย์ผู้สอนร่วมกันพิจารณาผลการเรียนรู้เพื่อนาไปใช้ พิจารณาการเรยี นการสอนต่อไป 2.2 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรหู้ ลังนกั ศึกษาสาเรจ็ การศึกษา 1. ประเมินภาวะการได้งานทาของบัณฑิตในด้านระยะเวลาในการหางานทา ความเห็นต่อความรู้ ความสามารถ ความมัน่ ใจของบณั ฑติ ในการประกอบการงานอาชีพ 2. ประเมินผลการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการโดยขอเข้าสัมภาษณ์ หรือส่งแบบสอบถาม เพื่อ ประเมินความพงึ พอใจตอ่ บณั ฑิตที่จบการศกึ ษา 3. ประเมนิ ตาแหนง่ ของบัณฑติ 4. ประเมินจากสถานศกึ ษาอื่น ในกรณที บี่ ณั ฑติ ศึกษาตอ่ โดยส่งแบบสอบถามในระดับความพึงพอใจใน ดา้ นความรู้ ความพรอ้ มและสมบัตดิ ้านอนื่ ๆ 3. เกณฑ์การสาเรจ็ การศกึ ษาตามหลกั สตู ร 3.1 นักศกึ ษาทม่ี สี ิทธไ์ิ ด้รบั ปรญิ ญา ตอ้ งมคี ณุ สมบัติครบถ้วน ดังตอ่ ไปนี้ 3.1.1 เรียนครบหนว่ ยกติ และรายวชิ าตามทม่ี หาวทิ ยาลัยกาหนดไวใ้ นหลักสตู ร 3.1.2 มแี ตม้ ระดบั คะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลกั สตู รไม่กวา่ 2.00 3.1.3 ใช้ระยะเวลาไม่เกิน 2 เท่าของระยะเวลาการศึกษาที่กาหนดไว้ในหลักสูตร ท้ังน้ีไม่นับ ระยะเวลาการลาพักการศึกษาตามท่ีระบุไว้ในหลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต (ต่อเน่ือง) สาขาวิชา อเิ ล็กทรอนิกสอ์ จั ฉริยะ 3.1.4 เปน็ ผ้มู ีคณุ สมบัตเิ หมาะสมกับการเปน็ บณั ฑติ และไม่มหี นส้ี ินผกู พนั ต่อมหาวิทยาลัย 3.1.5 เป็นตามเกณฑ์ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ว่าด้วยการศึกษาระดับ ปริญญาตรี พ.ศ. 2550 (ภาคผนวก ค) และฉบับเพ่ิมเตมิ พ.ศ. 2556 (ภาคผนวก ง)

68 3.2 นักศกึ ษาท่ีมสี ทิ ธิ์แสดงความจานงขอสาเร็จการศึกษา ตอ้ งมีคุณสมบัติครบถว้ น ดังนี้ 3.2.1 เรยี นครบหน่วยกิต และรายวิชาตามท่มี หาวิทยาลยั กาหนดไว้ในหลกั สูตร 3.2.2 มีแต้มระดบั คะแนนเฉล่ียสะสมตลอดหลักสูตรไมต่ ่ากว่า 2.00 3.2.3 ใช้ระยะเวลาไม่เกิน 2 เท่าของระยะเวลาการศึกษาที่กาหนดไว้ในหลักสูตร ท้ังนี้ไม่นับ ระยะเวลาการลาพักการศึกษาตามที่ระบุไว้ในหลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต (ต่อเน่ือง) สาขาวิชา อเิ ลก็ ทรอนิกส์อจั ฉรยิ ะ 3.2.4 เป็นผูม้ ีคณุ สมบัตเิ หมาะสมกบั การเป็นบณั ฑติ และไมม่ หี น้สี นิ ผูกพันต่อมหาวิทยาลัย 3.2.5 เป็นตามเกณฑ์ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ว่าด้วยการศึกษาระดับ ปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2550 (ภาคผนวก ค) และฉบับเพม่ิ เตมิ พ.ศ. 2556 (ภาคผนวก ง) หมวดที่ 6 การพฒั นาคณาจารย์ 1. การเตรียมการสาหรับอาจารยใ์ หม่ 1.1 อาจารย์ใหม่ทกุ คนต้องเขา้ รว่ มการประชุมสมั มนาเชิงปฏิบัติการเรอ่ื งทักษะกระบวนการเรียนการสอน ตามนโยบายของมหาวิทยาลยั ฯ 1.2 มีการปฐมนิเทศแนะแนวการเป็นครูแก่อาจารย์ใหม่ ให้มีความรู้และความเข้าใจนโยบายของ มหาวทิ ยาลยั /คณะ รวมท้งั หลกั สูตรและการจัดการเรียนการสอน การวจิ ยั และการประกนั คุณภาพ 1.3 สง่ เสริมให้มีการเพ่ิมพูนความรู้ เช่น การศึกษาต่อ การฝึกอบรม การดูงานทางวิชาการและวิชาชีพใน องค์กรอ่ืนๆ การประชุมทางวิชาการ เพ่ือเพ่ิมประสบการณ์ในด้านการเรียนการสอน การวิจัยและการบริการ วิชาการอยา่ งตอ่ เนอื่ ง 2. การพัฒนาความร้แู ละทกั ษะให้แกอ่ าจารย์ 2.1 การพัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอน การวดั และการประเมินผล 1) จัดให้มีการฝึกอบรมเพื่อเพ่ิมทักษะการจัดการด้านการเรียนการสอน เช่น การจัดทาส่ือการสอน การวัดผลและประเมนิ ผลทด่ี ีและทนั สมยั การใช้โปรแกรมเฉพาะสาขาในการคานวณผล เป็นต้น 2) ส่งเสริมให้มีการเพิ่มพูนความรู้ด้านการเรียนการสอน เช่น การประชุมทางวิชาการท้ังในและ ต่างประเทศ เพ่ือเพ่ิมประสบการณแ์ ละพัฒนาทักษะการจัดการเรยี นการสอนอยา่ งตอ่ เนื่อง 2.2 การพัฒนาวชิ าการและวิชาชีพดา้ นตา่ ง ๆ 1) ส่งเสริมให้มีการเพิ่มพูนความรู้ เช่น การฝึกอบรม การดูงานทางวิชาการ และวิชาชีพ ในองค์กร อื่นๆ การประชมุ ทางวิชาการท้ังในและต่างประเทศ เพอื่ เพม่ิ ประสบการณก์ ารวจิ ยั และการบริการวชิ าการ 2) สนบั สนนุ ให้อาจารยเ์ ข้ารับประสบการณ์ตรง ณ สถานประกอบการตามนโยบายของ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี 3) ส่งเสริมการทาผลงานทางวชิ าการของอาจารย์ 4) มกี ารกระต้นุ อาจารยเ์ ข้าร่วมทางานเปน็ กล่มุ วิจยั และสรา้ งเครอื ข่ายการวิจัย

69 5) การมีส่วนร่วมในกิจกรรมบริการวิชาการ โดยเฉพาะกับชุมชนท้องถิ่น เพ่ือส่งเสริมให้มี การพฒั นาวชิ าการเพ่อื ใหเ้ กดิ ประโยชน์ต่อชุมชน หมวดที่ 7 การประกนั คุณภาพหลักสูตร 1. การกากบั มาตรฐาน เพ่ือให้การดาเนินการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต (ต่อเน่ือง) สาขาวิชา อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ (หลักสูตรใหม่ พ.ศ.2561) ได้มาตรฐานทางการศึกษา และมาตรฐานวิชาชีพ คณะกรรมการไดด้ าเนินการกากับมาตรฐานของหลกั สูตรดังน้ี 1.1 การบรหิ ารจดั การหลกั สูตรตามเกณฑ์มาตรฐานทกี่ าหนด การบริหารจัดการหลักสูตรให้เปน็ ไปตามเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด ทาให้ผลิตบัณฑิตที่มีคุณลักษณะท่ี พึงประสงค์ คณะกรรมการจงึ ได้กาหนดใหม้ ีระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายในระดบั หลักสตู รดังนี้ 1.1.1 ดาเนินการบริหารจัดการหลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต (ต่อเนื่อง) สาขาวิชา อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ (หลักสูตรใหม่ พ.ศ.2561) เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2558 ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอดุ มศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2552 1.1.2 ดาเนินงาน และการบรหิ ารจัดการหลักสูตรให้มีความเช่ือมโยงกับปรัชญา ปณิธาน เอกลักษณ์ และอัตลักษณ์ของท้ังมหาวิทยาลัยฯ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม และภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสาร การศึกษา และให้สอดคล้องกับตัวบง่ ช้ีผลการดาเนินงานทงั้ 12 ตัวบ่งช้ีท่ีมาตรฐานคุณวฒุ สิ าขาวชิ าชีพกาหนด 1.1.3 ดาเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตรให้เป็นไปตามรอบการประเมินใน แตล่ ะปกี ารศึกษา และจัดทารายงานการประกนั คุณภาพการศกึ ษาของหลักสูตร 1.1.4 การบริหารจัดการหลักสูตร เพื่อให้การดาเนินงานการบริหารหลักสูตรเป็นไปด้วยความ เรียบร้อย และมีประสิทธิภาพ ได้มาตรฐานคุณภาพที่กาหนดไว้ คณะกรรมการจึงมีการดาเนินการกากับ มาตรฐานในการบริหารหลกั สตู ร ดังนี้ หลักสูตรมีคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ประกอบด้วยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรไม่น้อยกว่า 3 คน ทาหน้าท่ีวางแผนและการจัดการเรียนการสอน การประเมิน การประกันคุณภาพและการพัฒนา หลกั สตู ร ซงึ่ มแี นวทางการบริหารหลกั สตู รเพือ่ บรรลุเปา้ หมาย ดังน้ี 1) ก่อนเปิดภาคเรียน มีการประชุมคณาจารย์ที่สอนในหลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต (ต่อเน่ือง) สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ เพ่ือยืนยันการจัดตารางสอน และมอบหมายให้คณาจารย์เตรียม ความพรอ้ มในเรอ่ื งเคร่อื งมือ อุปกรณป์ ระกอบการเรียนการสอน ส่อื การสอน เอกสารประกอบการสอนตา่ งๆ 2) ในระดับคณะฯ มกี ารแตง่ ต้ังคณะกรรมการประเมินหลกั สตู รในทุกๆ ดา้ น 3) จดั ให้มีการประเมินผลการสอนทุกภาคเรียน 4) แจง้ ผลการประเมินให้ อาจารย์ผสู้ อนทราบ เพอ่ื ทาการปรบั ปรุงต่อไป 5) เม่ือสิ้นสุดการเรียนการสอนในแต่ละปีการศึกษา จะต้องส่งผลการประเมินให้คณะเพ่ือ รายงานผลการดาเนนิ การของหลักสูตรต่อมหาวิทยาลยั ฯ 6) ดาเนินการปรับปรงุ หลักสตู รทกุ 5 ปี โดยมแี นวทางดาเนินการดังน้ี

70 เปา้ หมาย การดาเนินการ การประเมนิ ผล 1. หลักสูตรมีความทันสมัย 1. พัฒนาหลกั สตู รให้ทนั สมัย 1. จัดทาหลกั สูตรให้สอดคล้อง และมกี ารปรับปรงุ สม่าเสมอ โดยอาจารยแ์ ละนักศึกษาสามารถ กบั ความต้องการของ 1. ผลการตรวจสอบและ ปรับปรุงหลกั สตู ร กา้ วทนั หรอื เป็นผู้นาในการสร้างองค์ ตลาดแรงงาน ใหม้ ีคณุ ภาพ 2. ผลการประเมินหลักสูตร ความรใู้ หม่ๆ ทางดา้ นอิเล็กทรอนิกส์ 2.ปรับปรงุ หลกั สตู รใหท้ ันสมัย โดยผทู้ รงคณุ วฒุ ิภายใน 3. ผลการประเมินหลกั สูตร อจั ฉริยะ โดยมีการพิจารณาปรับปรงุ โดยผทู้ รงคุณวุฒภิ ายนอก หลักสูตรทุก 5 ปี 2. มกี ารประเมินมาตรฐาน 1. แต่งตัง้ กรรมการประเมนิ ของหลักสูตรอย่างสม่าเสมอ หลักสูตร 2. ตรวจสอบและปรบั ปรงุ หลักสตู รให้มีคณุ ภาพภายใน ระยะเวลา 3 ปี 3. มกี ารประเมินหลกั สตู รโดย คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ภายในทกุ ปี และภายนอก อยา่ งน้อยทกุ 5 ปี 2. บัณฑิต หลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต (ต่อเนื่อง) สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2561) มุ่งเน้นการผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติมืออาชีพท่ีมีความเป็นเลิศทางด้านความรู้ และทักษะ ในการปฏิบัติ ประยุกต์ใช้งาน และถ่ายทอดทางด้านอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ มีความสามารถในการบริหารจัดการ ตลอดจน การประสานงาน และติดตามผลการปฏิบัติงาน ให้บัณฑิตมีความเป็นผู้นา มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ พัฒนา ตนเองให้ก้าวหน้าอยู่เสมอและปลูกฝังให้มีมนุษยสัมพันธ์ คุณธรรม จริยธรรม รับผิดชอบต่อหน้าที่ สังคม สง่ิ แวดลอ้ ม ทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมและมีจรรยาบรรณ ในวิชาชีพ โดยอยู่ในกากับดูแลของคณะกรรมการ รับผิดชอบหลักสูตร และผู้บริหารระดับภาควิชาฯ และคณะฯ โดยได้ดาเนินการเพื่อประกันคุณภาพบัณฑิต ดังนี้ 2.1 คณุ ภาพบณั ฑติ ตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิระดับอุดมศกึ ษาแห่งชาติ หลักสูตรผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ระดับปริญญา ตรอี ิเลก็ ทรอนกิ ส์อัจฉรยิ ะ โดยมีผลลัพธ์การเรียนรู้ 6 ด้านดงั น้ี 2.1.1 คุณธรรม จริยธรรม 1) ซ่อื สัตย์ ขยนั อดทน มวี นิ ัยและตรงต่อเวลา 2) มีความเสยี สละและมีจติ สาธารณะ 3) ปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบยี บ และข้อบังคบั ขององคก์ รและสังคม 2.1.2 ความรู้ 1) มคี วามรแู้ ละทักษะในเนื้อหาวิชาทีศ่ ึกษา 2) สามารถบรู ณาการความรทู้ ่ศี กึ ษากับความรดู้ ้านศิลปวฒั นธรรมหรอื ศาสตร์อืน่ ๆ ท่เี ก่ียวข้อง

71 3) สามารถนาความรู้มาปรบั ใช้ให้เหมาะสมกับสถานการณแ์ ละงานท่ีรบั ผิดชอบ 2.1.3 ทักษะทางปัญญา 1) สามารถประมวลผล วเิ คราะห์ และสรปุ ข้อมูลความรู้ 2) สามารถจัดการความคิดได้ 3) สามารถประยกุ ต์ความรู้ และแกป้ ัญหาได้ 4) สามารถคิดสร้างสรรคง์ านนวตั กรรม 2.1.4 ทักษะความสมั พันธร์ ะหว่างบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ 1) มีมนษุ ยสัมพนั ธท์ ่ดี ี มีมารยาททางสังคมและมีความรบั ผดิ ชอบต่อตนเองและสังคม 2) มภี าวะการเป็นผู้นาและผู้ตามท่ีดี สามารถทางานเปน็ ทมี ได้ 3) สามารถปรับตวั เข้ากบั สถานการณ์และการเปลีย่ นแปลงต่างๆ ได้เปน็ อย่างดี 2.1.5 ทักษะการวิเคราะห์เชงิ ตัวเลข การสื่อสาร และการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ 1) มที ักษะการวิเคราะหเ์ ชิงตวั เลข 2) สามารถใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารได้อยา่ งเหมาะสมกบั สถานการณ์ 3) สามารถใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคน้ วเิ คราะหแ์ ละนาเสนอได้ 4) สามารถเชอ่ื มองค์ความรแู้ ละมีทกั ษะในการแสวงหาความรู้ได้ดว้ ยตนเอง 2.1.6 ทกั ษะพสิ ยั 1) สามารถใช้อุปกรณ์ เคร่ืองมือและซอร์ฟแวร์ ที่จาเป็นต่อการทางานดา้ นอเิ ล็กทรอนิกส์ อัจฉรยิ ะได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐานและปลอดภยั 2) สามารถพัฒนา และประยุกต์ใชเ้ ครือ่ งมือ อุปกรณท์ างด้านอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ ในการ แก้ปัญหาเพอ่ื ใหเ้ กดิ ผลสัมฤทธใิ์ นงานทด่ี าเนนิ การ 3) สามารถวิเคราะห์และประยกุ ตง์ านอิเลก็ ทรอนิกส์อจั ฉริยะในงานอตุ สาหกรรมได้อย่าง ถกู ต้องเหมาะสม 3. นกั ศึกษา บุคคลที่ได้รับการคัดเลือกเป็นนักศึกษาในหลักสูตร ต้องมีคุณสมบัติและความพร้อมในการเรียนตลอด หลักสตู รจนสาเรจ็ การศกึ ษาตามเวลาที่กาหนด หลกั สูตรมีการดาเนนิ การเพ่อื ประกนั คณุ ภาพนักศึกษาดังน้ี 3.1 การรบั นกั ศึกษา ผู้สาเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ประเภทช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชา อเิ ล็กทรอนิกส์ คุณสมบตั ิอ่ืนๆ ให้เปน็ ไปตามดุลยพินจิ ของคณะกรรมการประจาหลักสูตร 3.2 การส่งเสรมิ และการพฒั นานกั ศกึ ษา เป็นการเตรียมนักศึกษาให้มีความพร้อมทางการเรียน เพ่ือเพ่ิมทักษะในการเรียนรู้ท่ีจะส่งผลต่ออัตรา การสาเร็จการศึกษา และความพึงพอใจต่อหลักสูตร โดยมีการพัฒนานักศึกษาอย่างต่อเน่ืองตลอดระยะ 4 ปี หลกั สูตรไดด้ าเนินการดงั นี้

72 3.2.1 หลักสูตรได้เตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษาก่อนเข้าศึกษา โดยการจัดปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ เพือ่ แนะนา และสร้างความเข้าใจเกย่ี วกับระบบการเรียนการสอนในระดบั มหาวทิ ยาลยั ฯ 3.2.2 หลกั สตู รได้มีการพัฒนาศักยภาพนกั ศกึ ษาและการเสรมิ สรา้ งทักษะการเรียนรใู้ น ศตวรรษท่ี 21 3.3 ผลทีเ่ กิดกับนกั ศกึ ษา 3.3.1 การคงอยขู่ องนกั ศึกษาในหลักสตู รอยู่ในระดบั มาก 3.3.2 การสาเร็จการศึกษาเป็นไปตามแผนระยะเวลาทก่ี าหนด 3.3.3 ความพงึ พอใจในการจัดการการเรียนการสอนในหลกั สตู รอยใู่ นระดบั สงู 3.3.4 คุณภาพของนักศึกษา และบัณฑิตที่สาเร็จการศึกษา โดยภาวการณ์มีงานทาและความพึงพอใจ ของผใู้ ชบ้ ัณฑิตอย่ใู นระดับมาก 3.4 การอทุ ธรณข์ องนักศึกษา 3.4.1 กรณีท่ีนักศึกษามีความสงสัยเกี่ยวกับผลการประเมินในรายวิชาใด สามารถท่ีจะยื่นคาร้องขอดู กระดาษคาตอบในการสอบตลอดจนดคู ะแนนและวิธกี ารประเมินของอาจารย์ในแตล่ ะรายวิชาได้ 3.4.2 นกั ศกึ ษาสามารถเสนอความคดิ เหน็ ในดา้ นการเรยี นการสอนของอาจารย์ 3.4.3 นักศกึ ษาสามารถอุทธรณใ์ นกรณที ีไ่ มไ่ ด้รับความยุติธรรม หมายเหตุ นกั ศกึ ษาสามารถรอ้ งเรียนไดท้ างเว็บไซต์ของคณะฯ หรอื ทางตู้รบั ความคดิ เห็น 4. อาจารย์ อาจารย์เป็นปัจจัยท่ีสาคัญในการผลิตบัณฑิต จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งในการคัดเลือกอาจารย์ให้ได้ อาจารยท์ ีม่ คี ุณภาพเหมาะสมสอดคลอ้ งกบั บรบิ ท ปรชั ญา วสิ ัยทัศน์ของสถาบันและหลักสูตร จึงต้องมีการวาง ระบบประกันคุณภาพเพ่ือให้ได้อาจารย์ที่มีคุณสมบัติทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุ ณภาพให้เป็นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานหลักสูตรปริญญาตรี พ.ศ. 2558 และเกณฑ์ของมหาวิทยาลัยฯ กาหนดไว้ ตลอดจนมีการพัฒนา ศักยภาพใหส้ ูงย่ิงข้ึน 4.1 การบริหารอาจารย์ การคัดเลือกอาจารย์ใหม่ หลักสูตรได้ดาเนินการตามระเบียบ และหลักเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี โดยการกาหนดคุณสมบัติของอาจารย์ใหม่ให้เป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับ ปริญญาตรี และเกณฑข์ องมหาวิทยาลัยฯ ทไ่ี ด้กาหนดไว้ ดังน้ี 4.1.1 สาเร็จการศึกษาอย่างน้อยระดับปริญญาโท ในสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ วศิ วกรรมคอมพิวเตอร์ โครงข่ายโทรคมนาคมและคอมพิวเตอร์หรือสาขาอื่นๆ ท่ีเกี่ยวข้องและมีประสบการณ์ ทางานดา้ นการสอนมาไม่ตา่ กวา่ 2 ปี 4.1.2 มคี ะแนนทดสอบความสามารถภาษาอังกฤษได้ตามเกณฑ์ประกาศมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าช มงคลธญั บรุ ี พ.ศ.2559 เรื่อง มาตรฐานความสามารถทางภาษาอังกฤษของอาจารย์ประจา 4.2 การพัฒนาอาจารยใ์ หม่ อาจารย์ใหม่ของหลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต (ต่อเนื่อง) สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ (หลักสูตรใหม่ พ.ศ.2561) ทุกคนจะได้รับการเตรียมความพร้อมในการเป็นอาจารย์ใหม่ท้ังในระดับ มหาวิทยาลัยและระดับคณะ หรือภาควิชา โดยจะมีการเตรียมความพร้อมให้กับอาจารย์ใหม่ดังที่ระบุไว้ใน

73 หมวดที่ 6 ข้อที่ 6.1 4.3 การพฒั นาอาจารย์ 4.3.1 การพฒั นาทักษะการจดั การเรยี นการสอน การวดั และการประเมนิ ผล 1) จัดให้มีการฝึกอบรมเพ่ือเพ่ิมทักษะการจัดการด้านการเรียนการสอน เช่น การจัดทาสื่อการ สอน การวัดผลและประเมนิ ผลทด่ี ีและทนั สมยั การใชโ้ ปรแกรมเฉพาะสาขาในการคานวณผล เป็นต้น 2) ส่งเสริมให้มีการเพ่ิมพูนความรู้ด้านการเรียนการสอน เช่น การประชุมทางวิชาการทั้งใน และต่างประเทศ เพื่อเพิ่มประสบการณแ์ ละพฒั นาทกั ษะการจดั การเรยี นการสอนอย่างต่อเนอื่ ง 4.3.2 การพัฒนาวชิ าการและวชิ าชพี ด้านตา่ งๆ 1) ส่งเสริมให้มีการเพิ่มพูนความรู้ เช่น การฝึกอบรม การดูงานทางวิชาการ และวิชาชีพใน องคก์ รอื่นๆ การประชุมวิชาการทัง้ ในและต่างประเทศ เพอ่ื เพิ่มประสบการณก์ ารวจิ ยั และการบริการวิชาการ 2) สนับสนุนให้อาจารย์เข้ารับประสบการณ์ตรง ณ สถานประกอบการตามนโยบายของ มหาวทิ ยาลยั ฯ 3) ส่งเสริมการทาผลงานทางวิชาการของอาจารยใ์ นสาขาวชิ าอเิ ล็กทรอนกิ สอ์ จั ฉรยิ ะ 4) มกี ารกระตุ้นอาจารย์เขา้ รว่ มทางานเปน็ กลมุ่ วจิ ัยและสร้างเครือข่าย 5) การมีส่วนร่วมในกิจกรรมบริการวิชาการ โดยเฉพาะกับชุมชนท้องถิ่น เพื่อส่งเสริมให้มีการ พฒั นาวิชาการเพอื่ ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ ่อชมุ ชน 5. หลักสตู ร การเรียนการสอน การประเมินผเู้ รยี น คณะกรรมการไดด้ าเนินการจดั ทาหลกั สตู รอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต (ต่อเน่ือง) สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ อัจฉริยะ (หลักสูตรใหม่ พ.ศ.2561) เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2558 ตาม กรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอุดมศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2552 โดยมรี ะบบการเปิด-ปิดหลักสูตรเป็นไปตามแนว ปฏิบัติของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีและมีคาส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร และ คณะกรรมการรบั ผิดชอบหลักสูตรในการดาเนนิ งานเพ่ือนาหลกั สตู รไปใช้ 5.1 การบริหารจดั การหลักสตู ร 5.1.1 ออกแบบร่างหลักสูตร โดยแต่งต้ังคาส่ังคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร และคณะกรรมการ รบั ผิดชอบหลักสูตร ให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2558 ตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 และสอดคล้องกับแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2551-2565) และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2559 – 2564) ท่ีให้ ความสาคัญกับการพัฒนาคุณภาพและสังคมไทยสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ โดยมีส่วนเก่ียวข้องต่อ การพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์ พัฒนาเศรษฐกิจ โดยการสร้างความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนในการ พัฒนากาลังคนและแรงงานให้มีทักษะความรู้และสมรรถนะท่ีสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงง าน เพ่ือยกระดับและพฒั นาสมรรถนะแรงงานไทยดว้ ยเทคโนโลยี 5.1.2 การบริหารจัดการหลักสูตร คณะกรรมการประจาคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมเห็นชอบใน หลักสูตร นาเสนอต่อคณะกรรมการด้านหลักสูตรและการเรียนการสอนของสภามหาวิทยาลัยฯ เพ่ือให้ความ เหน็ ชอบกรอบโครงสรา้ งของหลักสตู ร 5.1.3 ดาเนินการวพิ ากษห์ ลักสูตรโดยผทู้ รงคุณวุฒภิ ายนอก สถานประกอบการภาครัฐและเอกชน ผู้ใช้ บัณฑิต และศิษย์เก่า เพ่ือนาเสนอต่อคณะกรรมการบริหารวิชาการและวิจัย คณะกรรมการสภาวิชาการ

74 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะกรรมการด้านหลักสูตรและการเรียนการสอ นของสภา มหาวทิ ยาลัยฯ และคณะกรรมการสภามหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ีพิจารณาให้ความเห็นชอบ และ ดาเนินการเปดิ ใชห้ ลักสตู ร 5.1.4 คณะกรรมการบริหารหลักสูตรวางระบบผู้สอนและผู้เรียน และการประเมินผู้เรียนโดย คณะกรรมการผู้รบั ผิดชอบหลักสตู รจะดาเนนิ การจัดการเรียนการสอนใหเ้ ปน็ ไปตามแผนท่ีกาหนด 5.1.5 เมื่อการจัดการเรียนการสอนครบกาหนดในการพัฒนา ดาเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนา หลักสตู ร เพื่อการพฒั นาปรบั ปรงุ หลักสูตรใหม้ คี วามทนั สมยั กา้ วทนั ความกา้ วหนา้ ทางวิชาการ 5.2 การวางระบบผสู้ อนและกระบวนการจดั การเรยี นการสอนในแต่ละรายวชิ า ในการกาหนดผสู้ อน อาจารย์ประจาหลกั สตู รพจิ ารณาจานวนชั่วโมงสอนในรายวิชาให้แก่อาจารย์ผู้สอน ตามความถนดั และเชี่ยวชาญของแต่ละบคุ คล และจดั ให้มจี านวนชัว่ โมงทเี่ หมาะสมและใกล้เคียงกัน โดยผู้สอน ต้องเป็นผมู้ คี วามรคู้ วามชานาญ มคี วามเชย่ี วชาญในการสอนวชิ านนั้ โดยมเี กณฑก์ ารวางระบบผูส้ อนดังนี้ 5.2.1 คณะกรรมการบริหารคณะกาหนดภาระการสอน และแจ้งประธานหลักสูตรอุตสาหกรรม ศาสตรบณั ฑิต (ตอ่ เน่อื ง) สาขาวชิ าอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์อัจฉรยิ ะทราบ เพอ่ื ใชป้ ระกอบการกาหนดผูส้ อน 5.2.2 อาจารย์ประจาหลักสูตรร่วมพิจารณาอาจารย์ผู้สอน โดยกาหนดผู้สอนในรายวิชาต่างๆ ตาม ความเหมาะสมโดยพิจารณาจากคุณวฒุ ิการศกึ ษา ความเชย่ี วชาญในวิชาที่สอน การทาวิจัย ประสบการณ์การ ทางานด้านวิชาชพี ในรายวชิ านน้ั ๆ และมีการจัดการเรียนรู้ที่ทาให้ผู้เรียนบรรลุผลตามผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง อยา่ งดเี ป็นหลัก 5.2.3 อาจารย์ประจาหลักสูตรได้เสนอชื่ออาจารย์ผู้สอน ให้ฝ่ายวิชาการและงานวิจัย เสนอ คณะกรรมการบรหิ ารคณะ เพอื่ พิจารณา 5.2.4 ฝ่ายวิชาการและงานทะเบียน สรุปรายช่ืออาจารย์ผู้สอน จานวนวิชาท่ีสอน จานวนกลุ่มที่สอน นาเสนอรองคณบดฝี า่ ยวชิ าการและวิจัย และนาเสนอคณะกรรมการบริหารคณะ 5.2.5 ประธานหลักสูตรแจ้งรายวิชาท่ีเปิดสอนและมอบหมายผู้รับผิดชอบรายวิชาดาเนินการ จัดทา รายละเอยี ดรายวชิ าตามแบบ มคอ. 3 ในระบบสารสนเทศของสานกั ส่งเสริมวิชาการและทะเบียน มทร.ธัญบุรี ทั้งนี้จากการดาเนินงานการจัดทารายละเอียดวิชาตามแบบ มคอ. 3 ผ่านระบบ พบว่าอาจารย์ผู้สอนบาง รายวิชาไม่สามารถกรอกข้อมูลในระบบได้ จึงติดต่อประสานงานไปยังเจ้าหน้าท่ีที่รับผิดชอบระบบตรวจสอบ ปญั หาการเขา้ ระบบ 5.2.6 เม่ือส้ินสุดในแต่ภาคการศึกษา อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน จัดทา มคอ.5 เพื่อสรุปผลการสอนในแต่ละรายวิชา แล้วจัดส่ง มคอ.5 ไปยังกรรมการประจาหลักสูตร ภายใน 30 วัน หลังจากปดิ ภาคเรียน 5.2.7 อาจารย์ประจาหลักสูตรดาเนินการประชุม เพื่อสรุปผลและพิจารณาจากรายงาน มคอ.5 เพ่ือ นาไปปรบั ปรุงและหาทางแก้ไขจากประเดน็ ข้อเสนอแนะของผ้สู อนแตล่ ะรายวิชา 5.3 การประเมนิ ผู้เรียน 5.3.1 มีการประเมนิ โดยใหผ้ ู้เรียนประเมินตนเอง และอาจารย์ประเมินผู้เรียน และการประเมินผู้เรียน จากการสอบภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอนในรายวิชาเป็นผู้ประเมินและ

75 ติดตามผลการประเมนิ ตามแบบประเมนิ ทไ่ี ดก้ าหนด 5.3.2 คณะกรรมการรับผิดชอบหลักสูตรทาหน้าท่ีกากับดูแลการประเมินให้เป็นไปตามท่ีกาหนดในแต่ ละรายวชิ า 5.4 การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนเป็นไปตามแผนการศกึ ษาที่ได้กาหนดไว้ 5.5 ผลการดาเนนิ งานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอุดมศกึ ษาแห่งขาติ มีการประเมินผลการดาเนินงานหลักสูตรทุกปีการศึกษาตามตัวบ่งช้ี การดาเนินงานตามกรอบมาตรฐาน ระดบั อุดมศึกษาที่ได้กาหนดไวแ้ ละผลการดาเนินงานอยู่ในระดับดี โดยคณะกรรมการรับผิดชอบหลักสูตรเป็น ผู้รายงานการดาเนนิ งานในแตล่ ะปกี ารศกึ ษา 6. ส่ิงสนบั สนนุ การเรยี นรู้ ปัจจัยสาคัญในการสนับสนุนการเรียนรู้ ประกอบด้วยสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ทั้งภายในและภายนอก หอ้ งเรยี น ความพรอ้ มทางด้านอปุ กรณแ์ ละเทคโนโลยี คณะกรรมหลักสูตรจงึ ได้ดาเนนิ การจัดหาทรัพยากรการ เรียนการสอนท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ของนักศึกษา เช่น ตารา ส่ือการเรียนการสอน โสตทัศนูปกรณ์ และวัสดุ ครภุ ัณฑ์ เพ่ือสนับสนุนการเรียนการสอนในชั้นเรียน และสร้างสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับการเรียนรู้ และ ใหเ้ ปน็ ไปตามเกณฑ์การรบั รองมาตรฐานหลกั สูตร 6.1 ทรพั ยากรการเรียนการสอน 6.1.1 อาคารสถานท่ี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ได้วางแผนการบริหาร และดาเนินการด้านอาคาร สถานท่ี เพ่ือใช้ในการเรียนการสอน โดยจัดต้ังอาคารคณะครุศาสตร์ ตั้งอยู่ภายในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี เทคโนโลยี 39 หมูท่ ี่ 1 ถนนรังสติ -นครนายก ตาบลคลองหก อาเภอธญั บรุ ี จังหวัดปทมุ ธานี 12110 6.1.2 หอ้ งเรยี น/หอ้ งปฏิบัติการ จานวนห้องเรียนท่ีใช้ในการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตร มีห้องบรรยาย จานวน 12 ห้อง จานวนห้องปฏิบัติการ 8 ห้อง ดังน้ี 1) ห้องปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส์กาลังและการขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้า 2) ห้องปฏิบัติการนิวเมติกส์และไฮโดรลิค 3) ห้องปฏิบัติการพีแอลซี 4) ห้องปฏิบัติการไมโครคอนโทรลเลอร์ 5) ห้องปฏิบัติการระบบสมองกลฝังตัว 6) ห้องปฏิบัติการระบบควบคุมอัตโนมัติ 7) ห้องปฏิบัติการระบบ ดิจิทัล 8) ห้องปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม และ 9) ห้องปฏิบัติการการโปรแกรมแบบกราฟิกและ ซอฟแวรค์ อมพิวเตอร์ 6.1.3 ห้องสมดุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จัดให้มีห้องสมุดกลางของมหาวิทยาลัยท่ีสานักวิทย บริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ (สวส.) ซึ่งเป็นอาคาร 5 ช้ัน เปิดให้บริการ วันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 8.30-24.00 น. วันเสาร์-วันอาทติ ย์ เวลา 8.30-21.00 น. เว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์ โดยจัดให้มีห้องประชุมกลุ่ม ย่อย 12 หอ้ ง และมีฐานขอ้ มูลท่ีสามารถใหน้ กั ศกึ ษาสืบค้นข้อมลู ด้วยตนเอง 6.2 การจัดการทรัพยากรการเรยี นการสอน 1) คณะกรรมการรับผิดชอบหลักสูตร มีหน้าท่ีกากับดูแลการใช้ทรัพยากรการเรียนการสอน วางแผน จดั หา และตดิ ตามการใช้ทรัพยากรการเรยี นการสอนของหลักสตู ร 2) อาจารย์ผ้สู อนในแตล่ ะรายวิชาสามารถเสนอชอ่ื สือ่ หนงั สอื ตารา และวัสดุอุปกรณท์ ใ่ี ช้ในการเรียน

76 การสอน เพื่อเสนอตอ่ คณะกรรมการบริหารคณะฯ พจิ ารณา และขออนุมตั ิ 6.3 การประเมนิ ความเพยี งพอของทรัพยากร คณะกรรมการรับผิดชอบหลักสูตร มีหน้าท่ีประเมินความต้องการ และความพอเพียงของทรัพยากร โดยประเมินจากอาจารย์และนกั ศกึ ษา 7. ตวั บง่ ช้ผี ลการดาเนนิ งาน (Key Performance Indicators) ผลการดาเนินการบรรลตุ ามเปา้ หมายตัวบ่งชี้ท้ังหมดอยู่ในเกณฑด์ ีตอ่ เนื่อง 2 ปี การศกึ ษาเพื่อตดิ ตามการ ดาเนนิ การตาม TQF ต่อไป ทั้งน้เี กณฑก์ ารประเมนิ ผา่ น คือ มีการดาเนนิ งานตามข้อ 1-5 และอย่างน้อย ร้อยละ 80 ของตวั บ่งช้ีผลการดาเนินงานทีร่ ะบไุ วใ้ นแต่ละปี ดชั นบี ่งช้ผี ลการดาเนนิ งาน ปีที่ 1 ปที ี่ 2 ปีที่ 3 ปีท่ี 4 ปที ี่ 5 1. อาจารยผ์ รู้ บั ผิดชอบหลักสตู ร มีการประชมุ หลักสตู รเพ่ือวางแผน ติดตาม และทบทวนการดาเนินงานหลกั สตู ร อย่างน้อยปกี ารศึกษา X X X X X ละ 2 ครัง้ 2. มีรายละเอยี ดของหลกั สตู ร ตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคลอ้ งกบั กรอบ X X X X X มาตรฐานคณุ วฒุ ิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวชิ า 3. มรี ายละเอียดของรายวชิ า และรายละเอียดของประสบการณ์ ภาคสนาม (ถ้าม)ี ตามแบบ มคอ.3 และมคอ. 4 อยา่ งน้อยก่อน X X X X X การเปดิ สอนในแตล่ ะภาคการศกึ ษาให้ครบทกุ รายวิชา 4. จัดทารายงานผลการดาเนนิ การของรายวชิ า และรายงานผลการ ดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม ตามแบบ มคอ. 5 และ X X X X X มคอ. 6 ภายใน 30 วัน หลงั สนิ้ สดุ ภาคการศกึ ษาท่เี ปดิ สอนให้ครบ ทุกรายวิชา 5. จดั ทารายงานผลการดาเนนิ การของหลักสูตร ตามแบบ มคอ. 7 XXXXX ภายใน 60 วัน หลังสนิ้ สุดปีการศึกษา 6. มกี ารทวนสอบผลสัมฤทธ์ิของนักศกึ ษาตามมาตรฐานผลการเรยี นรู้ ท่ี กาหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 (ถา้ มี) อย่างนอ้ ยรอ้ ยละ 25 ของ XXXXX รายวชิ าในหมวดวชิ าชีพเฉพาะ ทีเ่ ปิดสอนในแตล่ ะปกี ารศึกษา 7. มกี ารพัฒนา/ปรบั ปรงุ การจดั การเรยี นการสอน กลยุทธก์ ารสอน หรือ การประเมินผลการเรยี นรจู้ ากผลการประเมินการดาเนนิ งาน XXXX ในรายงาน ใน มคอ. 7 ปที แี่ ล้ว 8. อาจารย์ใหมท่ กุ คน ไดร้ ับการปฐมนเิ ทศหรอื คาแนะนาดา้ น การ XXXXX จดั การเรยี นการสอน และจดั ให้มีระบบอาจารยพ์ ่ีเล้ยี ง 9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลกั สูตรและอาจารยป์ ระจาหลกั สตู รทุกคน ได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวชิ าชีพ อยา่ งน้อยปลี ะ หน่ึง X X X X X คร้งั 10. จานวนบคุ ลากรสนบั สนุนการจดั การเรยี นการสอน (ถ้ามี) ไดร้ บั XXXXX การพฒั นาวิชาการ และ/หรอื วชิ าชพี อยา่ งน้อยปลี ะหนึง่ ครงั้ 11. ระดับความพงึ พอใจของนกั ศกึ ษาปสี ดุ ทา้ ย/บณั ฑติ ใหมท่ ีม่ ีต่อ XXXX คุณภาพหลกั สูตร เฉลี่ยไม่นอ้ ยกวา่ 3.5 จากคะแนนเต็ม 5

77 ดัชนบี ่งชีผ้ ลการดาเนนิ งาน ปีท่ี 1 ปที ่ี 2 ปีที่ 3 ปที ี่ 4 ปีท่ี 5 12. ระดบั ความพงึ พอใจของผใู้ ช้บณั ฑิตท่มี ีต่อบณั ฑติ ใหม่ เฉลีย่ ไม่นอ้ ย XXX กวา่ 3.5 จากคะแนนเตม็ 5 รวมตัวบ่งชี้บงั คบั ทีต่ อ้ งดาเนนิ การ (ข้อ 1-5) ในแตล่ ะปี 55555 รวมตัวบง่ ช้ีในแต่ละปี (ตามที่คณะกาหนด) 9 11 12 12 12 หมวดท่ี 8 การประเมนิ และปรับปรงุ การดาเนนิ การของหลักสตู ร 1. การประเมนิ ประสิทธผิ ลของการสอน 1.1 การประเมินกลยุทธก์ ารสอน ช่วงก่อนการสอนควรมีการประเมินกลยุทธ์การสอนโดยทีมผู้สอนหรือระดับภาควิชา และ/หรือการ ปรึกษาหารือกับผู้เช่ียวชาญด้านหลักสูตรหรือวิธีการสอน ส่วนช่วงหลังการสอนควรมีการวิเคราะห์ผลการ ประเมินการสอน โดยนักศึกษาและการวิเคราะหผ์ ลการเรยี นของนกั ศึกษา ด้านกระบวนการนาผลการประเมินไปปรับปรุง สามารถทาโดยรวบรวมปัญหา/ข้อเสนอแนะเพื่อ ปรบั ปรุงและนาเสนอตอ่ ประธานหลกั สูตรและทีมผูส้ อนนาไปปรบั ปรงุ และรายงานผลต่อไป 1.2 การประเมนิ ทกั ษะของอาจารยใ์ นการใชแ้ ผนกลยุทธก์ ารสอน 1) ประเมินโดยนักศกึ ษาในแต่ละสาขาวิชา 2) การสงั เกตการณ์ของผ้รู บั ผดิ ชอบหลักสูตร/ประธานหลักสตู ร และ/หรือทีมผู้สอน 3) ภาพรวมของหลักสตู รประเมนิ โดยบณั ฑติ ใหม่ 4) การทดสอบผลการเรียนรขู้ องนกั ศึกษาเทียบเคียงกบั สถาบันอ่นื ในหลักสูตรเดยี วกัน 2. การประเมินหลักสตู รในภาพรวม การประเมินหลักสูตรในภาพรวม โดยสารวจข้อมลู จาก 2.1 นกั ศกึ ษาชั้นปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ 2.2 สถานประกอบการ 2.3 ผูท้ รงคณุ วฒุ ิ 2.4 ผลสัมฤทธิ์ของบัณฑิต 3. การประเมินผลการดาเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตร มกี ารประเมินผลการดาเนนิ งานตามหลักสูตร ตามดชั นตี วั บ่งชผี้ ลการดาเนินงานทีร่ ะบุ ในหมวดท่ี 7 ข้อ 7 โดยดาเนินการตามเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และตามเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาภายนอก ของสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คณุ ภาพการศึกษา (สมศ.)

78 4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรงุ หลักสูตรและแผนกลยุทธ์การสอน 4.1 รวบรวมขอ้ เสนอแนะ/ข้อมูล จากการประเมนิ จากนักศึกษา ผูใ้ ชบ้ ณั ฑิต ผทู้ รงคุณวฒุ ิ 4.2 วิเคราะห์ทบทวนข้อมลู ข้างตน้ โดยผรู้ ับผิดชอบหลกั สูตร/ประธานหลกั สตู ร 4.3 เสนอการปรบั ปรุงหลกั สูตรและแผนกลยุทธ์ (ถ้าม)ี

79 ภาคผนวก ก คำส่งั แตง่ ตั้งคณะกรรมกำรพัฒนำหลักสตู รระดบั ปริญญำตรี หลักสตู รอุตสำหกรรมศำสตรบณั ฑิต สำขำวชิ ำอิเล็กทรอนกิ ส์อัจฉริยะ (ต่อเนอื่ ง) (หลกั สตู รใหม่ พ.ศ. 2561) ข ประวตั ิ ผลงำนทำงวิชำกำร ประสบกำรณ์กำรสอนของอำจำรยผ์ ู้รบั ผิดชอบหลักสูตร และอำจำรยป์ ระจำหลักสตู ร ค ขอ้ บงั คบั มหำวทิ ยำลยั เทคโนโลยรี ำชมงคลธญั บรุ วี ่ำด้วย กำรศกึ ษำระดบั ปรญิ ญำตรี พ.ศ. 2550 ง ข้อบงั คับมหำวทิ ยำลยั เทคโนโลยรี ำชมงคลธญั บุรีวำ่ ดว้ ย กำรศึกษำระดับปรญิ ญำตรี (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2556 จ ข้อบังคับมหำวทิ ยำลยั เทคโนโลยรี ำชมงคลธญั บุรีวำ่ ด้วย กำรจัดกำรระบบสหกิจศึกษำ พ.ศ. 2550 ฉ ระเบียบมหำวทิ ยำลยั เทคโนโลยีรำชมงคลธญั บุรวี ำ่ ด้วย กำรเทยี บโอนผลกำรเรียน พ.ศ. 2550 ช ระเบียบมหำวิทยำลัยเทคโนโลยรี ำชมงคลธญั บุรวี ่ำดว้ ย กำรเทยี บโอนผลกำรเรียน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2552 ซ ประกำศมหำวทิ ยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธญั บุรี เร่ือง เกณฑ์กำรวดั ผลและประเมินผลกำรศึกษำระดับปรญิ ญำตรี ฌ ประกำศมหำวทิ ยำลยั เทคโนโลยีรำชมงคลธัญบรุ ีเร่ือง เกณฑ์กำรวดั ผลและ ประเมินผลกำรศึกษำระดับปรญิ ญำตรี ฌ ตำรำงวิเครำะหห์ ลกั สูตร/สมรรถนะ ญ กิจกรรมในหลักสูตร และกำรจดั กำรเรยี นกำรสอนในสถำนศกึ ษำ และสถำนประกอบกำร

80 ภาคผนวก ก คาสั่งแต่งตง้ั คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรระดบั ปรญิ ญาตรี หลักสตู รอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอเิ ลก็ ทรอนิกสอ์ จั ฉรยิ ะ (ตอ่ เนื่อง) (หลักสตู รใหม่ พ.ศ. 2561)

81

82

83 ภาคผนวก ข ประวัติ ผลงานทางวิชาการ ประสบการณก์ ารสอนของ อาจารย์ผูร้ บั ผดิ ชอบหลกั สูตรและอาจารยป์ ระจาหลักสตู ร

84 ประวตั แิ ละผลงานทางวชิ าการ 1. ชือ่ -สกลุ นำยยุทธชัย ศลิ ปวิจำรณ์ 2. ตาแหนง่ ทางวิชาการ ผ้ชู ่วยศำสตรำจำรย์ (ดำ้ นเทคโนโลยีไฟฟ้ำ) 3. สงั กดั หนว่ ยงาน คณะครศุ ำสตร์อตุ สำหกรรม 4. ทอ่ี ยู่ปัจจบุ ัน 31/551 ม.1 ต.รงั สติ อ.ธัญบุรี จ.ปทุมธำนี 5. ประวัติการศกึ ษา คณุ วฒุ ิ สาขาวชิ าท่จี บ ปีท่ีจบ สถาบันการศึกษา วศ.ด. วศิ วกรรมไฟฟ้ำ 2557 มหำวิทยำลยั เชียงใหม่ วศ.ม. วิศวกรรมไฟฟำ้ 2542 จุฬำลงกรณ์มหำวทิ ยำลัย วศ.บ. วิศวกรรมไฟฟำ้ -ไฟฟ้ำกำลงั 2537 สถำบันเทคโนโลยีรำชมงคล 6. ประสบการณ์ทางาน/การสอน - อำจำรย์ ตงั้ แต่ พ.ศ. 2537 – ปัจจุบัน มหำวทิ ยำลัยเทคโนโลยรี ำชมงคลธญั บรุ ี 7. ผลงานทางวิชาการ (ตามประกาศ ก.พ.อ. ฉบับท่ี 9 และ 10 พ.ศ. 2556) 7.1 บทความทางวิชาการ - 7.2 ตารา/หนังสือ 7.2.1 ตารา - 7.2.2 หนังสอื - 7.3 งานวิจัย [1] Yutthachai Sillapawicharn. (2016). An Isolated Snubberless Single-Switched Boost Converter for High Step-Up Conversion Applications. 13th International Conference on Electrical Engineering/Electronics Computer, Telecommunications and Information Technology (ECTI-CON 2016), Thailand (International). 28 June – 1 July 2016. pp. 1-4. [2] Yutthachai Sillapawicharn. (2016). An Improvement of a Fast Single-Phase Voltage Sag Detection Method under Distorted Grid Voltages. 13th International Conference on Electrical Engineering/Electronics Computer, Telecommunications and Information Technology (ECTI-CON 2016) ,Thailand (International). 28 June – 1 July 2016. pp. 100-103. [3] Yutthachai Sillapawicharn. (2016). A Fast Voltage Sag Detector Based on Peak Detection. 12th International Conference on Electrical Engineering Electronics, Computer, Telecommunications and Information Technology (ECTI-CON2015), Thailand (International). 24-27 June 2015. pp. 1-4.

85 7.4 ผลงานทางวชิ าการรับใชส้ งั คม - 7.5 งานแปล - 7.6 ผลงานทางวิชาการในลักษณะอ่ืน - 8. อน่ื ๆ (ลกั ษณะงาน/ประสบการณท์ ่ีเกี่ยวข้องกับสาขาวชิ าท่ีเปดิ สอน) -

86 ประวตั ิและผลงานทางวชิ าการ 1. ช่อื -สกลุ นำยทองอินทร์ สุยะทำ 2. ตาแหน่งทางวิชาการ อำจำรย์ 3. สงั กดั หน่วยงาน คณะวิศวกรรมศำสตร์ 4. ทีอ่ ยปู่ ัจจุบัน 78 แขวงบำงโคล่ เขตบำงคอแหลม กรงุ เทพมหำนคร 5. ประวัตกิ ารศกึ ษา คุณวุฒิ สาขาวิชาทจ่ี บ ปีทีจ่ บ สถาบนั การศึกษา วศ.ม. วิศวกรรมไฟฟ้ำ 2558 มหำวทิ ยำลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้ำ ธนบรุ ี วศ.บ. วิศวกรรมไฟฟ้ำ 2555 มหำวทิ ยำลยั เทคโนโลยีรำชมงคล กรงุ เทพ 6. ประสบการณท์ างาน/การสอน - อำจำรย์ ตง้ั แต่ พ.ศ. 2561 – ปัจจุบัน มหำวิทยำลยั เทคโนโลยรี ำชมงคลธัญบรุ ี 7. ผลงานทางวชิ าการ (ตามประกาศ ก.พ.อ. ฉบบั ที่ 9 และ 10 พ.ศ. 2556) 7.1 บทความทางวชิ าการ - 7.2 ตารา/หนังสือ 7.2.1 ตารา - 7.2.2 หนงั สอื - 7.3 งานวจิ ัย [1] Tarasantisuk, C., Anusurain, E.,and Suyata, T., 2016, \" Enhancing Power Electronics and Grid Converter Laboratory Based on Embedded System \", The 13th Eco-Energy and Materials Science and Engineering Symposium (EMSES2016), December 1-4, Centara Hotel & Convention Centre Udon Thani, Udonthani, Thailand. pp.12-16. [2] Tarasantisuk, C., Suyata, T., Tarateeraseth, V.,and Witheephanich, K.,2016, \" Active and Reactive Power Control for Three-Phase Grid Inverters with Proportional Resonant Control Strategies \", The 13th International Conference on Electrical Engineering/Electronics, Computer, Telecommunications and Information Technology (ECTI-CON 2016), June 28 – July 1, the downtown, Chiang Mai, Thailand. pp.1-6.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook