Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วย3

หน่วย3

Published by ajsmanchan, 2018-05-10 01:53:38

Description: หน่วย3

Search

Read the Text Version

วิธีการเก็บเกยี่ วพืชแต่ละประเภท 2560 ใบความรู้ หนว่ ยการเรียนท่ี 3ชื่ อวชิ า: การจัดการหลังการเกบ็ เกย่ี ว สอนสัปดาห์ท่ี 3-6ช่ื อหนว่ ย :วิธกี ารเกบ็ เกย่ี วพืชแต่ละประเภท ช่ัวโมงรวม 16 ช่ัวโมงเน้ือหาสาระโดยสรปุ วธิ กี ารเก็บเก่ียวพืชแต่ละประเภท  พืชผกั กนิ ราก เชน่ ผกั กาดหัว มนั เทศ แครอท บที ตอ้ งเกบ็ เกย่ี วตามอายุและขนาดท่ีกาหนดไว้ อยา่ ปลอ่ ยใหแ้ กฟ่ ่ามหรือมเี ส้ียน และตอ้ งไมข่ ดุ ใหเ้ กดิ แผลหรือรอยช้า  พชื ผกั พวกลาตน้ ใตด้ ิน เชน่ มนั ฝร่ัง เผอื ก ควรปลอ่ ยให้ใบแหง้ กอ่ น เกบ็ เกยี่ วเพอื่ ใหห้ วัมคี วามชืน้ ต่า การใชเ้ ครื่องทนุ่ แรงในการเกบ็ เกย่ี วผลผลติ ตอ้ งระวงั ปัญหาการเสียหายของหวั พชื ผกั กนิ ใบและลาตน้ เชน่ ผกั กาดและกะหลา่ ตา่ งๆ เกบ็ เกย่ี วเมอ่ื ตน้ เจริญไดค้ ณุ ภาพเต็มที่ โดยใชม้ ดี คมๆ ตดั ใหใ้ กลช้ ิดรากมากทส่ี ุด และควรเกบ็ เกย่ี วใหเ้ สร็จภายในคร้ังเดียว การเกบ็เกย่ี วควรทาในตอนเชา้ ตรู่ ตอ้ งกระทาดว้ ยความระมดั ระวงั เพราะจะเกดิ ปัญหาการเปราะหกั ของใบและจะเป็นผลทาให้เกดิ โรคระบาดอยา่ งรวดเร็ว 1 อาจารย์สมาน จนั ทรโยธา

วธิ กี ารเกบ็ เก่ยี วพืชแต่ละประเภท 2560  พืชผกั พวกหอม กระเทยี ม เกบ็ เกยี่ วเมอื่ โคนตน้ (Core) แห้งหรือปลายใบ โคง้ งอลงมาโดยทาการขดุ ข้ึนมาท้งั ตน้ แลว้ ทงิ้ ไวใ้ นแปลง 1-2 สัปดาห์ เพอ่ื ใหต้ น้ และ หวั แห้ง กอ่ นทจี่ ะทาการเกบ็ รกั ษา พืชผกั กนิ ดอก เชน่ บร็อคโคลี่ และกะหลา่ ดอก เกบ็ เกย่ี วเมอื่ ดอกอดั แนน่ และขยายใหญ่เตม็ ท่ี โดยตดั ทโ่ี คนตน้ ให้มใี บติดมาดว้ ย 3-4 ใบ เพอื่ ให้หอ่ ดอก ปอ้ งกนั การถกู กระทบกระแทกในขณะขนสง่ การใชแ้ ผน่ พลาสตกิ หอ่ หุม้ หวั แตล่ ะหวั จะลดปัญหาการสูญเสียได้ พชื ผกั กนิ ผลและเมลด็ เชน่ ขา้ วโพดหวาน ถว่ั ตา่ งๆ แตงตา่ งๆ มะละกอ ควรเกบ็ ในตอนเชา้ จะทาให้มนี ้าตาลสูงกวา่ การเกบ็ ในตอนบา่ ย และเกบ็ โดยใชม้ ดี ตดั โดยระมดั ระวงั อยา่ ให้ผลผลิตตกลงพ้ืนดินในระหวา่ งการเกบ็ เกย่ี ว 2 อาจารย์สมาน จันทรโยธา

วธิ กี ารเกบ็ เกยี่ วพืชแต่ละประเภท 2560 การเกบ็ เกย่ี วผลผลิตของพชื ผกั ปลอดสารพษิ เป็นขน้ั ตอนสุดทา้ ยของการปลูกผกั ในภาคสนาม การเกบ็ เกย่ี วพชื ผกั แตล่ ะชนิดจะตอ้ งพิจารณาจากสิ่งตอ่ ไปน้ี 1. ศึกษาอายุการเกบ็ เกีย่ วของพืชผักปลอดสารพิษ ผักแตล่ ะชนิดจะมีอายุการเกบ็ เกย่ี วท่ีเหมาะสมคอ่ นขา้ งคงที่ ผปู้ ลกู ควรเกบ็ เกยี่ วในชว่ งเวลาท่ีกาหนด อยา่ เกบ็ กอ่ นหรือหลงั ระยะเวลากาหนดมากเกนิ ไป เพราะจะทาใหค้ ณุ ภาพของผลผลิตเปลี่ยนแปลง 2. การสงั เกตลกั ษณะของผกั การเกบ็ เกย่ี วผกั โดยการสังเกตด้วยสายตาต้องอาศัยความชานาญจากประสบการณ์ คือสงั เกตดูรูปรา่ ง สีหรือหลายลกั ษณะประกอบกนั 3. การฟังเสียง พชื ผกั สวนครวั หลายชนิดทผี่ ปู้ ลกู ใชว้ ธิ ีเคาะหรือดีด เพ่ือฟังเสียงแล้วบอกได้วา่แกห่ รือออ่ น เชน่ แตงกวา แตงโม เป็นตน้ 4. ชว่ งเวลาการเกบ็ เกยี่ วการเกบ็ เกยี่ วผกั บางชนิดตอ้ งเก็บตอนเชา้ อากาศไมร่ ้อน เชน่ ขา้ วโพดฝักออ่ นเพราะถา้ หากเกบ็ ไวค้ า้ งคืนความหวานจะลดลง สว่ นผกั ท่ีกา้ นเปราะหักง่าย ควรเกบ็ ตอนที่มีแดดเพอื่ ใหต้ น้ คายน้าออกไปบา้ ง กา้ นจะไมห่ ักท่ีงา่ ย3 อาจารย์สมาน จนั ทรโยธา

วธิ กี ารเกบ็ เกยี่ วพืชแต่ละประเภท 2560ระยะเวลาในการเกบ็ เกยี่ วการเกบ็ เกย่ี วพืชผกั โดยทวั่ ไปแบง่ ออกเป็น 3 ประเภทคือ 1. การเกบ็ เกย่ี วเมอ่ื ผกั ยงั ออ่ น พชื ผกั ทีม่ กี ารเกบ็ เกย่ี วประเภทน้ีเชน่ แตงกวา บวบ ถว่ั ลนั เตา ผกัตาลึง 2. การเกบ็ เกยี่ วเมอื่ พืชผกั โตเต็มที่ พืชผกั ทมี่ กี ารเกบ็ เกย่ี วประเภทน้ีเชน่ ฟักทอง กะหลา่ คะน้า 3. การเกบ็ เกยี่ วเมอื่ ผลสุก พชื ผกั ทม่ี กี ารเกบ็ เกย่ี วประเภทน้ีเชน่ มะเขือเทศ แตงไทย แตงโมลักษณะของพชื ผกั ทค่ี วรเก็บเกยี่ ว ชอ่ื ผกั ประมาณอายุจากวนั ปลกู ถงึ วนั เก็บ ลกั ษณะของผกั ทเ่ี หมาะแก่การเก็บเกย่ี วกะหล่ำปล ีกะหล่ำดอก 45-60 วันจำกวันยำ้ ยปลูก หวั แนน่ ใส เคำะดเู สยี งแนน่ และหนกัคะนำ้ผักกำดขำวปล ี 45-60 วนั จำกวนั ยำ้ ยปลกู สคี รมี ออ่ น แนน่ผกั กำดหอมผักกำดเขยี วปลี 50 วันจำกวนั เพำะเมลด็ ลำตน้ อวบ ใบขยำยเต็มท่ีหอมแบง่ผกั ชี 40-60 วนั จำกวนั เพำะเมลด็ หอ่ ปลี ขำวแนน่ผกั กวำงตงุ ้ผักบงุ ้ 40-50 วนั จำกวันเพำะเมลด็ ขณะยั งไม่ออกดอกมะเขอื เทศถั่วฝั กยำว 60 วันจำกวันเพำะเมลด็ เขำ้ ปลี กำ้ นใบอวบอว้ นถว่ั ลนั เตำมะระ 50 วนั จำกวันปลูก ตน้ เขยี วสด อว้ น หวั ยังไม่พองแตงกวำผักกำดหวั 40-50 วนั จำกวันปลูก ขณะยั งไม่ออกดอกกระเทยี ม 35-45 วันจำกวันปลกู กำลงั ขน้ึ ลำออกดอก 25-35 วนั จำกวนั ปลกู ขณะทย่ี ังออ่ นอยู่ 60-80 วนั จำกวนั ยำ้ ยปลกู ผลเรม่ิ เปลย่ี นสจี ำกขำวนวลเป็ นสเี หลอื ง , 50-60 วนั จำกวันปลกู แดง 45-60 วันจำกวันปลกู ฝักเจรญิ เตม็ ท่ี แตฝ่ ักยังไม่พอง 50-60 วันจำกวันปลูก 45-60 วนั จำกวนั ปลกู ขณะฝักยังออ่ น เมล็ดยังไมแ่ ก่ 50-70 วันจำกวันปลูก ขณะทผ่ี ลฟู สเี ขยี วอ่อน 75-120 วันจำกวนั ปลูก ผลยังออ่ นและมขี นออ่ น หวั ยังไม่ฟ่ ำม ตน้ ยังไมอ่ อกดอก4 อาจารย์สมาน จนั ทรโยธา

วธิ กี ารเกบ็ เก่ียวพืชแต่ละประเภท 2560ป๋ วยเหล่ง 55-60 วันจำกวันปลูก หวั ยังไม่ฟ่ ำมหอมแดง 55-70 วันจำกวันปลกู ขณะทย่ี ังอ่อนอยู่ ไมม่ ดี อกมะเขอื 60 วนั จำกวันยำ้ ยปลกู ขณะทต่ี น้ และใบแหง้ขงิ 4-6 วันจำกวนั ปลูกเดอื น เกบ็ ผลทยี่ ังออ่ นอยู่ 10-12 เดอื นวันจำกวันปลกู สำหรับขงิ แก่ สำหรับขงิ อ่อนดัชนีการเกบ็ เกีย่ ว การเกบ็ เกยี่ วพืชผกั เร็วเกนิ ไปจะทาให้ไดค้ ณุ ภาพไมด่ ี แตถ่ า้ ชะลอการเกบ็ เกยี่ วจะทาให้ผลผลิตเนา่ เสีย พชื ผกั หลายชนิดทีส่ ังเกตอายุการเกบ็ เกย่ี วท่ีเหมาะสมยาก ดงั น้นั จึงมกี ารหาวิธีเพื่อใชเ้ ป็นเคร่ืองช้บี อกอายุการเกบ็ เก่ียวที่เ หมาะสมซ่ึง เรี ยกวา่ “ดัชนีใน การเ ก็บเ ก่ียว ” ซ่ึงอาจพจิ ารณาไดจ้ าก 1. การประมาณอายุจากวนั ปลูกถงึ วนั เกบ็ เก่ียว ภายใต้การเจริญเติบโตท่ีเหมาะสม เม่ือ ปลกู ผกั ในสภาพอากาศเยน็ เชน่ ในฤดหู นาว อายกุ ารเจริญเติบโตและการเกบ็ เกยี่ วจะ ยดื นานออกไปแลว้ แตช่ นิดของผกั แตเ่ ม่อื ปลูกผกั ในสภาพปกติท่ีเหมาะสมแลว้ จะ สามารถประมาณอายผุ กั แตล่ ะชนิดได้ 2. การประมาณอายุจากวนั ทดี่ อกผสมเกสรจนถงึ วนั แกเ่กบ็ เก่ยี ว วิธีน้ีสามารถใช้ไดผ้ ลดีกบัผกั พวกกนิ ผล เชน่ พชื ตระกลู ฟักแฟง และแตงตา่ งๆ ตระกลู พริก มะเขือ และพวกกินฝัก เชน่ พวกตระกลู ถวั่ ตา่ งๆ ขา้ วโพดหวาน เป็นตน้ การประมาณอายุ การเกบ็ เกย่ี วดว้ ยวธิ ีน้ีของพชื ผกั บางชนิด 3. การประมาณดว้ ยสายตา แบง่ ไดห้ ลายลกั ษณะ 3.1 การเปลีย่ นแปลงของสี โดยดูการเปลี่ยนแปลงของสีทผี่ ิวผล เชน่ มะเขอื เทศ เป็นตน้ 3.2 ขนาด พจิ ารณาดขู นาดของใบ ตน้ หรือผล วา่ ไดข้ นาดตามตอ้ งการหรือไม ่ เชน่แตงกวา คะน้า ผกั กาดเขียวกวางตงุ้ ผกั กาดขาวปลี เป็นตน้ 5 อาจารย์สมาน จันทรโยธา

วิธีการเกบ็ เกยี่ วพืชแต่ละประเภท 2560 3.3 การเปลย่ี นแปลงที่ผิว ผกั กนิ ใบตา่ งๆ ดใู บอวบนวล แตงเทศ ผวิ บริเวณข้วั ผลเกดิ รอยแตก เป็นตน้ 4 .การประมาณดว้ ยประสาทสัมผสั สว่ นอื่นๆ เชน่ การฟังเสียงจากการเคาะ หรือใชน้ ิ้วดดี ทผ่ี ล การชมิ รส การดมกลน่ิ ซ่งึนอกเหนือจากการประมาณดว้ ยสายตา 4.1 การชมิ รส ใชก้ บั ผกั กนิ ผล กนิ ตน้ หรือกนิ รากหลายชนิด เชน่ แตงกวา ผกั กาดหวั แรดชิ แตงโม ขา้ วโพดหวาน ฯลฯ 4.2 การฟังเสียง นิยมใชก้ บั แตงโม 4.3 การดมกลิ่น ผกั กนิ ผล เชน่ แตงเทศ จะสง่ กลิ่นเมื่อสุก เป็ นตน้ แตว่ ิธีน้ีมกั จะลา่ ช้าเกนิ ไปสาหรบั การเกบ็ เกยี่ วเพอื่ สง่ ตลาด เพราะผลผลติ จะสุกงอมเกนิ ไปเมอ่ื ถงึ มือผู้บริโภคเครื่องมืออุปกรณใ์ นการเก็บเกีย่ วพืชผัก 1. มดี มดี ทใ่ี ชใ้ นการเกบ็ เกยี่ ว ตอ้ งมคี วามคมเพื่อใชส้ าหรับตัด 2. รถเขน็ อาจเป็นรถเขน็ ลอ้ เดยี วหรือสองลอ้ ก็ไดเ้ พอ่ื ใชใ้ นการลาเลยี งผกั 3. ภาชนะใสผ่ กั เชน่ เขง่ ตะกรา้ แตไ่ มค่ วรใชถ้ งั หรือภาชนะอื่นๆท่ีเป็ นโลหะซ่ึงอาจทาให้ผักช้า หรือเห่ียวเฉา 4. บวั รดน้า ใชส้ าหรับเกบ็ เกย่ี วผักบางชนิดท่ีตอ้ งถอนข้ึนมาซ่ึงจะตอ้ งรดน้ าให้ชมุ่ เสียกอ่ นถอน 5. เชอื ก ใชส้ าหรับมดั ผกั 6. จอบหรือเสียม ใชส้ าหรับขดุ ผกั ประเภทหัวตา่ งทม่ี าhttp://www.ras.ac.th/link15/webpasert/sec5.1.htmhttp://www.triamudomsouth.ac.th/07_g/31107_2_52/ch011_les11.html6 อาจารย์สมาน จันทรโยธา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook