Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Best-Practice-อัธยาศัย 66

Description: Best-Practice-อัธยาศัย 66

Search

Read the Text Version

คำรบั รองของผู้บังคับบัญชา วิธีปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practice) ของบุคลากรห้องสมุดประชาชนอำเภอป่าซาง สังกัดศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน เพื่อส่งเสริมสนับสนุน ให้มีการใช้หนังสือสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และเพื่อส่งเสริมสนับสนุน ใหน้ กั ศกึ ษา กศน.อำเภอป่าซาง มนี สิ ยั รักการอ่านและการแสวงหาความรูด้ ว้ ยตนเอง คอื นางสาวเสาวนยี ์ แกว้ ติบ๊ ตำแหนง่ บรรณารกั ษ์ ได้ตรวจสอบแลว้ √ ถูกตอ้ งและเป็นความจริงทกุ ประการ ไมถ่ กู ต้องและไม่เป็นความจริง (นางพินจิ อุประโจง) ครูชำนาญการพิเศษ รักษาการในตำแหน่ง ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอปา่ ซาง พฤษภาคม 2566

คำนำ เอกสารเล่มนี้ เป็นวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ อ่านดีมีชัย ด้วยสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ ประจำปี 2566 ห้องสมุดประชาชนอำเภอป่าซาง สังกัดศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน โดยเอกสารเล่มนี้ เนื้อหาประกอบด้วย ความเป็นมา ความสำเร็จที่ปรากฏ วธิ ดี ำเนินการ ปัจจยั ป้อน ปจั จยั ที่ส่งผลสำตอ่ ความสำเร็จ ตลอดจนปญั หา อุปสรรค ขอ้ เสนอแนะวิธีปฏิบัติงาน และเอกสารหลกั ฐานอา้ งอิงการปฏิบตั งิ าน จากการปฏิบัติงาน อ่านดีมีชัย ด้วยสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ ห้องสมุดประชาชน อำเภอป่าซาง ที่ปรากฏในปีงบประมาณ ๒๕๖6 ทั้งนี้เกิดจากการดูแล ติดตามผลการปฏิบัติงาน ให้ข้อเสนอแนะและการให้การสนับสนุนจากผู้อำนวยการ กศน.อำเภอป่าซาง กลุ่มงานการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอป่าซาง จังหวดั ลำพนู ผูจ้ ดั ทำเอกสารขอกราบขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้ นางสาวเสาวนีย์ แก้วติ๊บ พฤษภาคม ๒๕๖6

สารบญั หน้า คำนำ 1 สารบัญ 1 วิธปี ฏิบตั ิทเ่ี ปน็ เลิศ (Best Practice) 1 2 ความเป็นมา 3 ความสำเร็จที่ปรากฏ/จดุ เดน่ 3 วธิ ดี ำเนินการ 3 ปัจจยั ปอ้ น 3 ปจั จยั ที่สง่ ผลต่อความสำเร็จ 4 ปญั หา อุปสรรค ข้อเสนอแนะวธิ ปี ฏิบัติงานท่ีจะทำให้ดียิ่งขนึ้ การเผยแพร่ ภาพประกอบ

๑ 1. ชือ่ ผลงาน : อา่ นดีมีชยั ด้วยสารานุกรมไทยสำหรบั เยาวชนฯ 2. ความเปน็ มา สํานักงาน กศน. เป็นหน่วยงานที่มีภารกิจในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตระหนักถึงความสําคัญของการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต ได้มุ่งมั่นขับเคลื่อนภารกิจหลักตามแผนพัฒนา ประเทศ และนโยบาย และจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ที่คํานึงถึงการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี สารสนเทศ การสื่อสาร และปฏิบัติการด้านข้อมูลข่าวสาร การสร้างบรรยากาศในการทํางานและการเรียนรู้ ตลอดจนการใช้ทรพั ยากรดา้ นการจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพ โดยเนน้ การพัฒนาคุณภาพการศกึ ษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย ใน 4 ประเด็นใหญ่ ประกอบด้วย การจดั การเรียนรูค้ ณุ ภาพ การสรา้ งสมรรถนะและทกั ษะคุณภาพ องคก์ ร สถานศึกษา และแหลง่ เรียนรู้คณุ ภาพ และการบริหารจัดการคณุ ภาพ อนั จะนําไปสู่การสร้างโอกาสและลดความเหลือ่ มล้ำทางการศกึ ษา การยกระดับ คุณภาพและเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการให้บรกิ ารสาํ หรับทุกกลมุ่ เปา้ หมาย และสรา้ งความพึงพอใจให้กบั ผูร้ บั รกิ าร สำนักงาน กศน. ได้กำหนดให้มีการจัดการแข่งขันตอบคำถามสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ ประจำปี 2566 ขึ้นเพ่ือเทิดพระเกียรติสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและเพื่อส่งเสริมการอ่าน สืบสานคุณค่าสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ ตลอดจนสร้าง ความตื่นรู้ในคุณค่าของสารานุกรมไทย โดยกำหนดให้จัดกิจกรรมการแข่งขันตอบคำถามสารานุกรมสำหรับ เยาวชนฯ ทงั้ ระดับอำเภอ ระดบั จังหวดั และระดบั กลุม่ สำนักงาน กศน.จงั หวดั (กล่มุ หล่ายดอย) 3. ความสำเร็จทปี่ รากฏ/จดุ เด่น นางสาวธันย์ศญา นิธิพรกิตติภัทร์ นักศึกษา กศน.ตำบลมะกอก อำเภอป่าซาง ได้รับรางวัลชนะเลิศ ระดับจังหวัด และได้เป็นตัวเทนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ในการเข้าร่วมการแข่งขันในระดับกลุ่มสำนักงาน กศน.จงั หวดั (กลมุ่ หล่ายดอย) 4. วธิ ดี ำเนินการ การดำเนินงาน อ่านดีมีชัย ด้วยสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ ได้ดำเนินการตามแนวทางวงจร คณุ ภาพเดมมิง่ (Deming Cycle : PDCA) ดังน้ี P (Plan) : การวางแผน 1 มกี ารประชุมวางแผนและออกแบบรปู แบบการดำเนินงาน ร่วมกับผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา หวั หน้ากลุ่ม งานอธั ยาศัย คณะครู และบรรณารักษ์ 2. ชีแ้ จงแนวทางการดำเนนิ กิจกรรมใหแ้ ก่ผทู้ ่ีเกยี่ วข้องทราบ D (Do) : การปฏบิ ตั ิ 1. ประชาสัมพนั ธ์รบั สมคั รผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรม และช้แี จงรายละเอยี ดในการเข้ารว่ มกิจกรรม 2. บรรณารักษ์จัดหาสื่อและจัดทำข้อสอบสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เพื่อเตรียมจัดการแข่งขัน การตอบคำถามสารานกุ รมไทย สำหรับเยาวชนฯ ระดับอำเภอป่าซาง 3. บรรณารักษ์ ดำเนินการแข่งขันตอบคำถามสารานกุ รมไทยสำหรับเยาวชนฯ ระดับอำเภอ แบ่งเปน็ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ผ่านระบบ Online (Google Form) เพ่อื คดั เลอื กหาตวั แทนแต่ละระดบั เข้ารว่ มการแข่งขนั ในระดับจังหวดั

๒ C (Check) : การตรวจสอบประเมนิ ผล 1. ผู้บริหารสถานศึกษา ร่วมสังเกตการณ์ในการดำเนินกิจกรรม เพื่อตรวจสอบ ติดตาม ให้ ข้อเสนอแนะ และแนวทางในการพฒั นารปู แบบการดำเนนิ กจิ กรรมให้ดียิ่งข้ึน 2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมตอบแบบประเมินความพึงพอใจต่อการดำเนินกิจกรรม บรรณารักษ์สังเคราะห์ และวเิ คราะห์ขอ้ มูลความพงึ พอใจ A (Action) : การตรวจสอบประเมินผล 1. บรรณารักษ์ สรุปผลการดำเนินกิจกรรม อ่านดีมีชัย ด้วยสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ ทั้งแบบ รปู เลม่ และเผยแพรผ่ า่ นสือ่ ออนไลน์ 2. กศน.อำเภอป่าซาง ประชุมสรุปผลการติดตามประเมินผล การดำเนินงาน อ่านดีมีชัย ด้วยสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เพื่อนำไปปรับปรุง แก้ไข และนำคำแนะนำไปพัฒนา ต่อยอดการจัด กจิ กรรมในคร้ังตอ่ ไป 5. ปจั จัยปอ้ น ในการดำเนินงาน อ่านดีมีชัย ด้วยสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ ให้ประสบความสำเร็จตามท่วี างไว้ จำเปน็ ต้องอาศัยปจั จยั ป้อนตามหลกั 4M1E ดังนี้ 1. คน (Man) : การบรหิ ารจัดการคน ผู้บริหารสถานศึกษาให้การสนับสนุนและอำนวยการให้ดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบการดำเนินกิจกรรม มีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ในเรื่องการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน และได้รับความร่วมมือ จากครูตำบล และครูอาสาสมัครในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ร่วมกันดูแล และช่วยเหลือนักศึกษา ตลอดจนได้รับความร่วมมือในการเข้าร่วมกิจกรรมจากนักศึกษา กศน.อำเภอป่าซาง ซึ่งมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และมที ศั คติทีด่ ีตอ่ การอา่ น 2. งบประมาณ (Money) : การบริหารงบประมาณ ในการดำเนินกจิ กรรม ไม่ได้ใช้งบประมาณในการดำเนินการ 3. สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ (Material) : การบริหารทรพั ยากร การดำเนินงาน อ่านดีมีชัย ด้วยสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ ให้บรรลุความสำเร็จนั้น จำเป็นต้อง อาศัยความร่วมมือและการสนับสนุนทรัพยากรจากหน่วยงานต้นสังกัด และหน่วยงานภายใน ได้แก่ การออกแบบกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน และการแบ่งปันยืมทรัพยากรสารสนเทศระหว่างห้องสมุดประชาชนใน จังหวดั ลำพนู หนงั สือสารานกุ รมไทยสำหรบั เยาวชนเลม่ ที่ 42 เพ่อื ใช้ในการดำเนนิ กิจกรรม 4. การบรหิ ารจดั การ (Method) : การบริหารจดั การดำเนนิ งาน กศน.อำเภอป่าซาง ได้นำหลักบริหารจัดการดำเนินงานตามแนวทางวงจรคุณภาพเดมมิ่ง (Deming Cycle : PDCA) เพือ่ สร้างสังคมแหง่ การอ่านและการเรยี นรู้ให้เกดิ ขน้ึ ในอำเภอป่าซาง

๓ 1. สภาพแวดลอ้ ม (Environment) : การบรหิ ารจดั การสง่ิ แวดล้อม บรรยากาศ อาคาร สถานท่ี สภาพแวดล้อมในการอ่านเป็นปัจจัยสำคญั ทีส่ ่งผลกระทบต่อพฤติกรรมการอ่านของผู้เข้าร่วมกิจกรรม หากมีอาคาร สถานที่ บรรยากาศ สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการอ่านย่อมส่งผลให้ผู้อ่านมีพฤติกรรมการอ่านที่ดี ขึ้น ในการดำเนินกิจกรรมอ่านดีมีชัย ด้วยสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ ห้องสมุดประชาชนอำเภอป่าซาง ได้จัดมมุ สารานุกรมไทยสำหรบั เยาวชนฯ จัดสถานท่ีใหส้ วยงาม นา่ นง่ั อ่านหนังสือ สร้างบรรยากาศที่เหมาะสม กับการอา่ น และจดั หาสื่อออนไลนส์ ำหรับผู้ที่ไม่สะดวกเดินทางมาใช้บริการทห่ี ้องสมุด รวมไปถึงการช่วยเหลือ ดูแลอย่างใกล้ชิดของครูผู้สอน ทำให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเกิดความรู้สึกผ่อนคลายและพร้อมที่จะร่วมกิจกรรม มากยงิ่ ขึน้ 6. ปัจจัยทีส่ ่งผลตอ่ ความสำเรจ็ 6.1 ผู้บริหารสถานศึกษา และ หัวหน้ากลุ่มงานการศึกษาตามอัธยาศัย ให้ความสำคัญ สนับสนุน ในการดำเนนิ การ 6.2 บรรณารักษส์ ่งเสริมจดั หาสื่อ ใหแ้ นวทางในการเข้ารว่ มแขง่ ขนั สารานกุ รมไทยสำหรับเยาวชนฯ 6.3 นักศกึ ษามีความสนใจและให้ความรว่ มมือในการเขา้ รว่ มแขง่ ขนั สารานกุ รมไทยสำหรับเยาวชนฯ 6.4 ครู กศน.ตำบล ช่วยในการประชาสมั พันธ์การเขา้ ร่วมแข่งขันสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ 6.5 สอ่ื ทใี่ ช้ในการแข่งขันสารานกุ รมไทยสำหรับเยาวชนฯ มีความพร้อม 7. ปัญหา/อปุ สรรค จากการดำเนินงาน อ่านดีมีชัย ด้วยสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ พบปัญหา/อุปสรรคในการ ดำเนินการแข่งขันตอบคำถามสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ ประจำปี 2566 คือนักศึกษาในระดับ ประถมศึกษาส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ ขาดพื้นฐานความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ทำให้ไม่สามารถส่งตัวแทน นักศกึ ษาในระดบั ประถมศกึ ษาเข้ารว่ มกิจกรรมได้ 8. ขอ้ เสนอแนะวิธีปฏบิ ตั งิ านท่ีจะทำให้ดียง่ิ ขน้ึ จากการดำเนินงาน อ่านดีมีชัย ด้วยสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ ทำให้เห็นแนวทางในการพัฒนา และต่อยอดขยายผลการดำเนินงาน อ่านดีมีชัย ด้วยสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ คือ ดำเนินการอ่านและ ศึกษาสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนในเล่มอื่นๆ เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้เกี่ยวกับสารานุกรมสำหรับ เยาวชนฯ ในเล่มอื่นๆ ด้วย และพัฒนาให้นักศึกษาในระดับประถมศึกษา มีพื้นฐานความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีมากขึ้น เพื่อสามารถเข้าร่วมการดำเนินงาน อ่านดีมีชัย ด้วยสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ ได้ ในปตี อ่ ไป 9. การเผยแพร่ ผา่ นเว็บไซตห์ อ้ งสมุดประชาชนอำเภอปา่ ซาง ช่ือเว็บไซต์ ➔ ระบบเชอื่ มโยงแหลง่ เรยี นรู้

๔ 10. ภาพประกอบ บรรณารักษ์จดั หาสื่อและจดั ทำขอ้ สอบสารานกุ รม ไทยสำหรับเยาวชนฯ ประชมุ วางแผนและออกแบบรปู แบบการดำเนินงาน ดำเนินการแขง่ ขันตอบคำถามสารานกุ รมไทยสำหรบั ผูอ้ ำนวยการ รว่ มสงั เกตการณ์ในการดำเนินกิจกรรม เยาวชนฯ ระดบั อำเภอ ดำเนนิ การแข่งขันตอบคำถามสารานุกรมไทย นางสาวธนั ย์ศญา นิธพิ รกติ ตภิ ัทร์ นกั ศึกษา กศน. สำหรบั เยาวชนฯ ระดับจงั หวดั ตำบลมะกอก อำเภอป่าซาง ไดร้ บั รางวลั ชนะเลิศ ระดบั จังหวัด และไดเ้ ปน็ ตวั เทนระดับมัธยมศกึ ษา ตอนตน้ ในการเขา้ รว่ มการแข่งขันในระดับกล่มุ สำนักงาน กศน.จังหวัด (กลมุ่ หล่ายดอย)

คณะผจู้ ัดทำ ทป่ี รกึ ษา ๑. นางพนิ ิจ อุประโจง ครูชำนาญการพิเศษ รกั ษาการในตำแหนง่ ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอปา่ ซาง ๒. นางสาวจันทร์ศิริ ปัญญาวงค์ ครู ผูจ้ ัดทำ บรรณารกั ษ์ นางสาวเสาวนยี ์ แก้วตบ๊ิ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook