Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาษาเขมร

ภาษาเขมร

Published by sukanya.th37, 2020-06-28 05:50:12

Description: ภาษาเขมร

Search

Read the Text Version

ភាសារខ្មែ រ។

ลกั ษณะคำไทยทมี่ ำจำกภำษำเขมร   ภาษาเขมร มีลักษณะควรสงั เกตดังน้ี ๑. เป็นคา ๒ พยางค์ พยางค์แรกข้นึ ต้นด้วย บัง บัญ บัณ บัน บา บรร เช่น บรรทดั บาเพญ็ บันทกึ บันเทงิ เป็ นต้ น ๒. คาท่มี ีเสยี งควบกลา้ และอกั ษรนา เช่น โตนด (จมูก) ไถง (ดวงอาทติ ย์) เขนย (ขนาด) ไพร (ป่ า) ๓. มักใช้ จ ร ล ญ เป็นตวั สะกด เช่น อานาจ ขจร เผดจ็ อาจ ชาญ ถวิล เชิญ เสดจ็

ลกั ษณะคำไทยท่ีมำจำกภำษำเขมร  ๔. คา ๒ พยางคท์ ่ขี ้ึนต้นด้วย บรร บัง บนั กา คา ชา ดา ตา ทา สา มกั เป็นภาษาเขมร เช่น กาเนิด คานับ ชารดุ บรรทม บรรจุ บงั คม บงั อาจ ดาริ ตารวจ สาราญ สาเรจ็ กาจัด ทาเนียบ ๕. คาราชาศพั ทภ์ าษาเขมรท่ใี ช้ในไทยมีมาก เช่น สรง เสวย โปรด บรรทม เสดจ็ ฯลฯ ๖. คาเขมรท่เี ป็นคาโดดมใี ช้ในไทยจนคิดว่าเป็นคาไทย เช่น แข (ดวงจนั ทร์) มาน (ม)ี อวย (ให้) เลกิ (ยก)

ลกั ษณะคำไทยท่ีมำจำกภำษำเขมร  ๗. คาเขมรมักไม่ใช้วรรณยุกต์ยกเว้นบางคา เช่น เสน่ง (เขาสตั ว์) ๘. คาท่มี ี ข และ ผ นาไม่ประวิสรรชนีย์ มกั มาจากภาษาเขมร เช่น ขจี ขจัด ผสมผสาน ฯลฯ

หลกั สังเกตคำเขมร  คาเขมรส่วนมาก เรานามาใช้โดยเปล่ียนรปู และเสยี งใหม่ตามความถนัด ซ่ึงเป็นเหตุให้รปู ผดิ ไปจากเดมิ และเกดิ การแผลงอกั ษรข้นึ เช่น คำเขมร อ่ำนว่ำ ไทยใช้ แปลว่ำ กรบุ ี กรอ-เบย กระบอื ควาย เกลีร เกลอ เกลอ เพ่ือน เฌอ เฌอ เฌอ ต้นไม้ ตรกง ตรอ-กอง ตระกอง กอด เขมาจ ขม้อจ โขมด ผี

วธิ ีที่เรำนำคำเขมรมำใช้  ๑.ใช้ตามรปู เดมิ เช่น คาว่า กงั วล(ห่วงใย) แข(ดวงเดอื น) ถกล(ก่อสร้าง) ขจร(ฟ้ ุงไป) ๒.เปล่ียนตัวสะกด เช่น คาว่า กราล – กราน (ปู,ลาด) สาราล – สาราญ (สบายใจ, เบาใจ) ๓.เปล่ียนรปู และเสยี ง เช่น คาว่า กญั ฌูส – กระฉูด (พ่งุ ออก) กรุ – กรม (ระทม, ลาบาก)

ลกั ษณะคำภำษำเขมรในภำษำไทย  -มกั สะกดด้วย จ ญ ร ล เช่น เผดจ็ กาธร บาเพญ็ -มกั เป็นคาควบกลา้ เช่น ไกร ขลัง -มักใช้ บัน บัง บา นาหน้าคาท่มี สี องพยางค์ เช่น บังคับ บงั คม บนั ได บันดาล -นิยมใช้อกั ษรนา เช่น สนุก สนาน ถนน เฉลียว เป็นต้น คาเขมรส่วนมากเป็นคาราชาศพั ท์ เช่น ขนง เสวย บรรทม เสดจ็ โปรด เป็นต้น มักแผลงคาได้ เช่น ข กระ เช่น ขดาน = กระดาน ผ ประ เช่น ผสม = ประสม ประ บรร เช่น ประทม = บรรทม

กำรยืมคำภำษำเขมรมำใช้ในภำษำไทย  ๑.ยมื มาใช้โดยตรง เช่น กระดาน กระท่อม กะทิ บัง โปรด ผกา เป็นต้น ๒.ยมื คาท่แี ผลงแล้วมาใช้ เช่น กงั วล บาบัด แผนก ผจญั ๓.ยมื ท้งั คาเดิมและคาท่แี ผลงแล้วมาใช้ เช่น เกดิ -กาเนิด ขลัง-กาลัง เดิน-ดาเนิน ตรา-ตารา บวช-ผนวช ๔.ใช้เป็นคาสามญั ท่วั ไป เช่น ขนุน เจริญ ฉงน ถนอม สงบ เป็นต้น ๕.ใช้เป็นคาในวรรณคดี เช่น ขจี เชวง เมลิ สดา สลา เป็นต้น ๖.ใช้เป็นคาราชาศพั ท์ เช่น เขนาย ตรัส ทูล บรรทม เสวย เป็นต้น ๗.นามาใช้ท้งั เป็นภาษาพูดและภาษาเขียน

ตวั อย่ำงภำษำเขมรในภำษำไทย  กระชับ กระโดง กระเดียด กระบอง กระบือ กระทอ่ ม กระโถน กระพัง ตระพัง ตะพัง กระเพาะ กระแส กงั วล กาจดั กาเดา รัญจวน ลออ สกดั สนอง สนุก สดับ สบง สงั กดั สไบสาราญ สรร สาโรง แสวง แสดง กาแพง กาลัง ขนาน ขจี โขมด จัด เฉพาะ ฉบับ เชลย โดยทรวง ถนน บายศรี ประกายพรึก ปรับ ประจาน โปรด เผดจ็


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook