21 NGO
22
23
24 ,, ,, https://so tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/download/ , ,
25 . , , , ,, ,, , https://so tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/download/ , ,, th.wikipedia.org/w/index.php? ,, th.wikipedia.org/w/index.php? , https://so tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/download/
26 , World Data on Education : Seventh edition 2010-11. (2022). Myanmar. [Online]. Retrieved January 2 From: http://www.ibe.unesco.org/en/document/ world-data-education-seventh-edition-2010-11.
27
* AN INSTRUCTIONAL MODEL OF THAI MYANMAR CROSS CULTURE OF HIGHER EDUCATION INSTITUTES IN THAI SOCIETY Phrapalad Raphin Buddhisaro Phichet Thangtoo Lampong Klomkul Mahachulalongkornrajavidyalaya University Corresponding Author E-mail [email protected] ;; *Received July 31, 2021; Revised August 9, 2021; Accepted August 10, 2021
226 Abstract Objectives of this research were to study the guidelines, the model development, and the presentation of an Instructional Model of Thai - Myanmar Cross Culture using research as a base of higher education Institutions in Thai society using a qualitative research method. The results shown as follows; 1. There was a Burmese Studies Center at Naresuan University that organizes Burmese language classes and Burmese studies courses on linguistics, history traditional culture cross-cultural learning, promotes learning through research networking. So, there were subjects in the curriculum related to ASEAN Studies, Research-based Teaching on Myanmar Culture at Mahachulalongkornrajavidyalaya University. 2. The development of a research- based model for learning about Myanmar culture was in 5 steps: open- mindedness, mindful learning understands the differences and situations cultural paradigm shift. Naresuan University had been done the research on Myanmar, establishes a Burmese Study Center to seek knowledge of Burmese language studies. Mahachulalongkornrajavidyalaya University had conducted research on cross-cultural learning in ASEAN and also organized workshop activities, including a network of ASEAN and ASEAN cross-cultural learning for students. 3. The Instructional Model of Thai - Myanmar Cross Culture used by research as the basis of the two higher education institutions: 1) the instructional model arising from spatial education management, 2) the instructional model arising from workshop activities, and 3) the instructional model arising from teaching and learning activities in the classroom. Keywords: Instructional Model of Cross Culture; Thai-Myanmar; Thai higher education institutes ,, Journal of MCU Social Science Review Vol. No. July September 2021
, 227 , , ,, , , ,, , Journal of MCU Social Science Review Vol. No. July September 2021
228 ) Journal of MCU Social Science Review Vol. No. July September 2021
229 Documentary study) Qualitative research Group interview In depth interview Grounded Theory) F Journal of MCU Social Science Review Vol. No. July September 2021
230 3 1 - Journal of MCU Social Science Review Vol. No. July September 2021
231 \" Cross-Cultural Learning of Chaiwong et al., 2018) CLMV . Journal of MCU Social Science Review Vol. No. July September 2021
232 (Area Studies) Workshop) (Classroom Activities) , , Journal of MCU Social Science Review Vol. No. July September 2021
233 CLMV , Cultural Intelligence: CQ) Cross-cultural Adjustment: CCA) Job Performance: EJP) Journal of MCU Social Science Review Vol. No. July September 2021
234 , Journal of MCU Social Science Review Vol. No. July September 2021
235 Journal of MCU Social Science Review Vol. No. July September 2021
236 : ________ .: . Journal of MCU Social Science Review Vol. No. July September 2021
237 , ,- . . - . -. CLMV ________. ________. : . \" ________. . Journal of MCU Social Science Review Vol. No. July September 2021
238 ). : : : Chaiwong, S. et al. (2018). Cross-Cultural Learning of Burmese in Lampang, Thailand Asian Political Science Review 2 (1), 108-116. Journal of MCU Social Science Review Vol. No. July September 2021
124 15 2556 - The Development of the Model for Public Service Activity Management in Schools under the Primary Education Service Areas on Thailand – Myanmar Border 1, 2, 3, 4 Prajob Khwanmun, Chantana Chanbanchong, Panuwat Pakdeewong, Anucha kornpuang - 10 10 - 2 1. 24 31 3 - 3 2) -1 2 10 30 - - 1) 1 2 ., 3 ., 4 .,
15 2556 125 (P-D-C-A) 3) - - 2. 1) 2) 3) 3. - : -, , Abstract This research aimed to develop a model for public service activity management in public schools under the Primary Education Service Areas on Thailand-Myanmar border. The specific objectives were to identify the current conditions and suggested procedures in three selected schools of good practices located on Thailand-Myanmar border; to develop a model for public service activity management in the schools under the Primary Education Service Areas on Thailand-Myanmar border; and to evaluate the propriety and possibility of the model. The research methodology was qualitative, comprising three stages. Firstly, current conditions and suggested procedures for public service activity management were identified through the semi-structured interviews of principals, teachers and other stakeholders at three schools of good practices which were purposively selected by the researcher. Secondly, a model for public service activity management in the schools under Primary Education Service Areas on Thailand- Myanmar border was drafted by the researcher, using the results of the first stage as its baseline data; then, the drafted model and a set of questionnaire was sent to 24 experts twice, through the Delphi Technique for the evaluation of the propriety of this model. Thirdly, the model was then evaluated of its possibility by 30 stakeholders – composed of 10 principals, 10 teachers and 10 parents of children in the schools under the Primary Education Service Areas on Thailand- Myanmar border after they attended the focus-group seminar held by the researcher. Their answers were analyzed by arithmetic mean and standards deviation. The research results were as follows: 1. The current conditions of public service activity management at the three schools of good practices could be classified into: 1) Inputs - possessing of principals and teachers who recognized
126 15 2556 the significance of public service activities, having the school goals which direct towards developing learners who live peacefully together in muti-cultural society, and having the school policies which encourage the involvement of parents and communities in school management; 2) Process – focusing on participatory practices of public service activities by students, parents, and communities in P-D- C-A process, as suggested by the Office of Basic Education Office (OBEO); and 3) Outputs – high effectiveness in various public service activities such as the Community Cleaning Activity, the Mosquitoes Protection Activity, the All Tribes Children’s Day, etc. The suggested procedures were: to promote the knowledge and understanding of school principals and teachers by the Offices of Primary Education Service Areas as related to public service activity management; and, to encourage these schools to focus on the public service activities which promote peace in multi-cultural societies on Thailand-Myanmar border. 2. The model evaluated as highly appropriated by the experts comprised: 1) Inputs which involve clear school policy as related to public service activity management, supportive school principal, clear assignment and roles of responsible teachers for public service activity management, sufficient budget, appropriate facilities and materials, and appropriate time; 2) Process which involve Planning – Implementing, - Evaluating – Improving – and Participating; and 3) Outputs which involve public-service behaviors of a student towards his/her family, friends, school, community, locality, and any multi-cultural society. 3. The model for public service activity management in schools under the Primary Education Service Areas on Thailand-Myanmar border developed by the researcher was evaluated by the principals, teachers, and parents as highly beneficial and highly applicable. Key words: Thailand – Myanmar Border, Public Service Activity, Management Model 2550 18) ( , 2551, 4 30 2551 49 ( 1. 2550, 15) - , 24 2542 ( 2) 2545 21
2. 15 2556 127 - 2 3 3. - 3 - 1 1. – 10 10 10 30 - - 2. 1. (Best Practice) - 3. - - - –3 / 1 2. - -2
128 15 2556 1 3) - 1) - 2) 2551 1) 3) 3. 2) 1) 1) 2) 2) 3) 1) - 2) 3) 2) 4) 3) 1) 1) 2) 3) (NGO 3) 1) 1) 2) 2) 1)
2) 15 2556 129 3) 1) 4) 2) 5) 6) 3) 1) 2) 1) 2) 3) / 1) / 2) 3) 1) 2551 2) 2 1) - 2)
130 15 2556 1) 1) 4) 3) 2) / 1) 2) 5) 2) 1) 3. 1) 2) 2) 3) 4) - 5) - 6) ( x =4.39) 1. - - 3) //
15 2556 131 - (2549, ) - - 2. - 5 1) 2) 3) 4) 5) - 2551” , (2552, 7-55) 1) 2) 3) 4)
132 15 2556 (2552, ) 1) (Planning: P) 2) (Organizing:O) 3) (Doing:D) 4) (Controlling:C) 5) (Acting:A) (Motivating: M) 2551 3 3 1) 2) 3) 1) 2) 3) 4) 5) 1) 3) 2) 4) (2555, 180) (Inputs) 3 (Outputs) (Process) 2 1 2) 1) : : 5 2
15 2556 133 5) (2543, 112) ( 4 , 2553, 146) 4 1) (Deming Cycle) 2) (2554, ) 3 3) 3. 4) ( - ) ( ) /- 1) - 2) - 3) (2555, 324) / 4) /
134 15 2556 - 1.3 - 1. 1.1 1.4 - - 2. 1.2 2.1 -- - - 2.2 - . (2551). 2551. : . . (2553). . . ,. .. ,. . (2550). : . . . (2550). . ,. . (2552). 4 :.
15 2556 135 . (2552). . .. .: . ., . . (2554). . 2551. . .. 2551. . (2555). . : . ., . . . (2552). . (2552). . .: . (2553). 2551. . (2552). . . ., . . (2555). . . ., : , : , . (2552 ). . . : ... . . (2552). : . Bertalanffy, L.V. (1973). Educational Administration and the Behavioral Science: A Systems Perspective. Boston MA: Allyn and Bacon. Eisner. E. (1976). Education connoisseurship and criticism: Their from and functions in education evaluation. Journal of Aesthetic Education .10 (3/4), 192-193 Koontz Harold D. and Cyril O’Donnell. (1972). Principles of Management: An Analysis of Mannagerial Functions. New York: Mc Graw-Hill. Kast,F.E. and Rosenzweig, J.E. (1985). Organization and Management: A Systems and contingency approach (4thed). New York: McGraw-Hill.
รายงานเชงิ สงั เคราะหแ. ละวเิ คราะห.การเปรยี บเทยี บระบบการศกึ ษา และการบรหิ ารการศึกษาระหว;างประเทศสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลใี ตB) กบั ประเทศไทย นางสาวณฐั สดุ า เกษา 64560407 รายงานเลม) นเ้ี ปน. ส)วนหนง่ึ ของวิชา EDA711 การบรหิ ารการศกึ ษาเชงิ เปรียบเทยี บ (Comparative Educational Administration) หลกั สูตรปรัชญาดุษฎบี ัณฑิต สาขาวชิ าการบรหิ ารการศกึ ษา วทิ ยาลยั บณั ฑิตศึกษาดา] นการจดั การ มหาวทิ ยาลัยศรปี ทุม
2 คำนำ รายงานเชิงสังเคราะห0และวิเคราะห0การเปรียบเทียบระบบการศึกษาและการบริหาร การศึกษาระหว<างประเทศสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใตC) กับประเทศไทย เปFนส<วนหนึ่งของวิชา EDA711 การบริหารการศึกษาเชิงเปรียบเทียบ (Comparative Educational Administration) จัดทำขึ้นเพื่อสังเคราะห0และวิเคราะห0รายงานเชิงสังเคราะห0และวิเคราะห0การเปรียบเทียบระบบ การศึกษาและการบริหารการศึกษาระหว<างสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใตC) โดยมีองค0ประกอบของการ นำเสนอเกี่ยวกับ บริบทสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใตC) นโยบายและยุทธศาสตร0ทางการศึกษาระบบ การศึกษา การผลิตและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาของสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใตC) โดย นำมาเปรียบเทียบกับการดำเนินการจัดการศึกษาหรือการบริหารการศึกษาของประเทศไทยการ วิเคราะห0 สังเคราะห0บทความทางวิชาการที่เกี่ยวขCอง และจุดเด<นของการศึกษาสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต)C และขอC เสนอแนะแนวทางการพฒั นาการศกึ ษาของประเทศไทย การศึกษารายงานเชิงสังเคราะห0และวิเคราะห0การเปรียบเทียบระบบการศึกษาและการ บริหารการศึกษาระหว<างสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใตC)กับประเทศไทย ก<อใหCเกิดประโยชน0ในดCาน การศึกษา ขอขอบคุณ ผศ.ดร.วราภรณ0 ไทยมา ที่ใหCคำปรึกษาแนะนำใหCการดำเนินการจัดทำรายงาน และการนำเสนออยา< งดียงิ่ ณัฐสดุ า เกษา ผCูจดั ทำ
3 สารบัญ เร่ือง หน*า บรบิ ทประเทศสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใตC) Republic of Korea 1 นโยบายและยุทธศาสตร0ทางการศกึ ษาของประเทศสาธารณรฐั เกาหลี (เกาหลใี ตC) 2 ระบบการศกึ ษาของประเทศสาธารณรฐั เกาหลี (เกาหลีใตC) 3 การจัดการศกึ ษากอ< นปฐมวยั 5 การจัดการศึกษาปฐมวยั 6 การจดั การศกึ ษาระดับประถมศกึ ษา 6 การจัดการศึกษาระดบั มธั ยมศึกษา 7 การจัดการศกึ ษาการอาชีวศึกษา อดุ มศึกษา และการฝtกอบรมอาชีพ 9 การจดั การศกึ ษานอกระบบและตามอธั ยาศยั 11 การจัดการศกึ ษาพเิ ศษ และการศึกษาสำหรบั ผดูC Cอยโอกาส 11 การผลิตและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาของประเทศสาธารณรฐั เกาหลี (เกาหลีใตC) 12 วิเคราะห0บทความ เร่ือง การวเิ คราะหจ0 ุดเนCนหลักสูตรการศึกษาขนั้ พ้นื ฐานของสาธารณรฐั เกาหลี 12 วิเคราะห0บทความ เร่อื ง กระบวนการเรยี นการสอนแฮกึมในวทิ ยาลยั ดนตรี มหาวิทยาลยั แหง< ชาติ โซล สาธารณรัฐเกาหลี 15 การเปรียบเทยี บระบบการศกึ ษาและการบริหารการศกึ ษาระหว<างประเทศสาธารณรัฐเกาหลี 18 (เกาหลีใตC) กบั ประเทศไทย จุดเดน< ของการศึกษาประเทศสาธารณรฐั เกาหลี (เกาหลใี ต)C และขอC เสนอแนะแนวทางการพัฒนา 42 การศกึ ษาของประเทศไทย 44 บรรณานุกรม 74 ภาคผนวก
4 สารบัญภาพ ภาพที่ หน*า 1 ประเทศสาธารณรฐั เกาหลี (เกาหลีใต)C Republic of Korea 2 Economic development and educational policy 1 4 3 การจดั องคก์ รของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร สาธารณรัฐเกาหลี 7 8 4 โครงสรา้ งการบรหิ ารงานกระทรวงศึกษาธิการสาธารณรฐั เกาหลี 8 5 โครงสรา้ งองค์การบรหิ ารการศกึ ษาของกรุงโซล สาธารณรัฐเกาหลปี ี ค.ศ. 1996 9 14 6 โครงสรา้ งการบรหิ ารที่เน้นโรงเรียนเป็นฐานการจัดการ 15 19 7 Republic of Korea: Structure of Education system 22 8 ประเทศสาธารณรฐั เกาหลี (เกาหลใี ต)C Republic of Korea 23 9 ลักษณะสำคัญของการจัดการศึกษาปฐมวยั สาธารณรฐั เกาหลี 10 ตารางช่วั โมงเรียนช้ันประถมศึกษา 11 Republic of Korea: Yearly lesson timetable
5 สารบัญตาราง ตารางที่ หน*า 1 การเปรยี บเทยี บการศึกษาประเทศไทยและประเทศสาธารณรัฐเกาหลี 20 (เกาหลใี ตC)
1 บรบิ ทประเทศสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลใี ต)> Republic of Korea ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต*) Republic of Korea ภาพที่ 1 ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลใี ต9) Republic of Korea (สำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา, 2559 : 92) สาธารณรัฐเกาหลี (Republic of Korea) หรือเกาหลีใตC ตั้งอยู<ทางใตCของคาบสมุทรเกาหลี ทิศเหนือติดกับสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) ทิศตะวันออกติดกับ ทะเล ตะวันออก (ทะเลญี่ปุ~น) ทิศตะวันตกติดกับทะเลเหลือง และทิศใตCติดกับช<องแคบเกาหลี (Korea Strait) มีพื้นที่ 99,392 ตารางกิโลเมตร (ประมาณ 1 ใน 5 ของไทย) มีประชากร 51.1 ลCานคน (พ.ศ. 2559) เมืองหลวง คือ กรุงโซล มีระบอบ การปกครองประชาธิปไตยระบบรัฐสภา ( ส ภา เ ดี ย ว ) มีประธานาธิบดีเปFนผูCนำสูงสุด ดำรงตำแหน<งประมุขของรัฐ หัวหนCารัฐบาล และ ผูบC ัญชาการทหารสูงสุด (ขCอมลู ประเทศ และเขตเศรษฐกจิ : เกาหลีใต,C 2561) เกาหลีใตC เปFนประเทศในเอเชียตะวันออก มีพื้นที่ครอบคลุมส<วนใตCของคาบสมุทร เกาหลี พรมแดนทางเหนือติดกับประเทศเกาหลีเหนือ มีประเทศญี่ปุ~นตั้งอยู<ทางตะวันออกเฉียงใตC โดยมีทะเลญี่ปุ~นและช<องแคบเกาหลีกั้นไวCเกาหลีตCองอยู<ภายใตCการปกครองของญี่ปุ~นในปÑ ค.ศ.1910 จนกระทั่งสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศเกาหลีไดCแบ<งเปFน 2 ประเทศ คือ เกาหลีใตC และ เกาหลี เหนือ อย<างถาวร โดยประเทศเกาหลีใตCสถาปนาเปFนสาธารณรัฐเกาหลี ส<วนประเทศเกาหลีเหนือ สถาปนาเปนF สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี ประเทศเกาหลใี ตมC ีพื้นท่ี 99,500 ตารางกโิ ลเมตร มปี ระชากรทั้งสน้ิ 51,784,669 คน (อCางอิง ขCอมูลจากกระทรวงมหาดไทยและความปลอดภัยเมื่อเดือนมีนาคม 2018) จัดอยู<ในอันดับที่ 27 ของ โลก และอัตราความหนาแน<นของประชากรคือ 513 คน/ตารางกิโลเมตร (อCางอิงขCอมูลจากสำนักงาน สถิตแิ หง< ชาติเมือ่ วันที่ 11 สิงหาคม 2017) จดั อยใู< นอนั ดับท่ี 23 ของโลก ประกอบดCวย 9 จงั หวัด
2 โซลเปFนเมอื งหลวงของประเทศและประกอบดวC ยเมอื งใหญ<ๆ 6 เมอื ง คอื ปูซาน แทกู อนิ ชอ็ น ควงั จู แทจ็อน และอลุ ซนั รวมมเี มอื งท้ังหมด 77 เมือง 88 มณฑล ใน 9 จังหวดั เมือง: เกาะเชจ,ู จังหวัดคยอ็ งกี, จังหวัดคงั ว็อน, จงั หวัดชอ็ ลลาใตC ศาสนา ไมน< ับถอื ศาสนา 56.9% พุทธ 15.5% ครสิ ต0นกิ ายโปรเตสแตนต019.7% และนิกาย โรมนั คาทอลิก 7.9% ภาษา ภาษาเกาหลี (ฮันกลึ ) การศึกษา การศกึ ษาภาคบังคับ 9 ปอÑ ัตราการรหูC นังสอื 98% สกลุ เงนิ ตวั ยอR สกุลเงนิ : วอน (won) อตั ราแลกเปลย่ี นตอR 1 ดอลลารVสหรฐั : 1,134.10 วอน : 1 ดอลลารส0 หรฐั อตั ราแลกเปลยี่ นตRอ 1 บาท : 36.63 วอน : 1 บาท (พ.ย.2563) การปกครอง: สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต)C ปกครองในระบอบประชาธิปไตย ประมุขของ ประเทศ คือประธานาธบิ ดี ซงึ่ ไดรC ับการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชนใหCเปFนหวั หนาC ฝ~ายบรหิ าร มี นายกรฐั มนตรี ซึง่ ไดรC ับการแตง< ตง้ั โดยประธานาธิบดีผา< นความเหน็ ชอบจากรฐั สภา รัฐสภาเปนF องค0กร นิติบญั ญัติ และศาลทำหนาC ท่ีทางตลุ าการ ทั้งนี้ เกาหลใี ตมC ีการแบ<งเขตการปกครองเปFน 9 จงั หวดั และ 6 เขตการปกครอง (โซล ปูซาน อินชอน แตกู ควังจู แตชอน) ภูมิประเทศ คาบสมุทรเกาหลีแบ<งออกเปFน 2 ประเทศ บริเวณเหนือเสCนขนานที่ 38 คือ เกาหลีเหนือ ตอนใตC คือ เกาหลีใตCพื้นที่ 70% ของเกาหลีใตCเปFนเทือกเขาและหุบเขา เปFนประเทศที่มี เทือกเขามากที่สุดแห<งหนึ่ง ของโลก เทือกเขาตลอดชายฝåçงดCานตะวันออกมีความสูงชัน และทอดตัว ลงสู<ทะเลตะวันออก ส<วนชายฝåçงทะเล ทางใตCและตะวันตก เทือกเขาค<อย ๆ ลาดลงสู<ที่ราบชายฝåçง ทำ ใหCเปFนแหล<งเกษตรกรรมที่ใหญ<ที่สุดแห<งหนึ่ง ของเกาหลีใตCโดยเฉพาะการปลูกขCาว ชายฝåçงทะเลทั้ง 3 ดาC น มีความยาวรวมกัน 2,413 กม. แม<น้ำสายหลัก คอื แม<น้ำนักตง แม<น้ำฮัน และแม<นำ้ คึม ภูมิอากาศ มี4 ฤดูคือ ฤดูใบไมCผลิ(ปลาย มี.ค.-พ.ค.) ฤดูรCอน (ปลาย มิ.ย.-ก.ย.) ฤดูใบไมCร<วง (ปลาย ก.ย.-พ.ย.) และฤดูหนาว (ธ.ค.-กลาง มี.ค.) ระหว<าง มิ.ย.-ส.ค. เปFนช<วงที่มีฝนตกชุก อุณหภูมิ โดยเฉลี่ย -5 องศา เซลเซียสในฤดูหนาว และ 33 องศาเซลเซียสในฤดูรCอน (ขCอมูลพื้นฐานของ ต<างประเทศ, 2564)
3 นโยบายและยทุ ธศาสตรทV างการศกึ ษาของประเทศสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลใี ต*) องค0กรทร่ี ับผดิ ชอบการบรหิ ารการศึกษาในเกาหลปี ระกอบดวC ย 3 องคก0 รชน้ั อำนาจบรหิ าร : กระทรวงศึกษาธิการระดบั ชาติ สำนักงานการศึกษาระดบั เทศบาลและระดบั จงั หวัดและสำนักงาน ทCองถ่นิ ของการศึกษาระดับอำเภอ สำนกั งานเหล<าน้ีดูแลโดยตรงระดับประถมศกึ ษาและมธั ยมศึกษา ตอนตนC วตั ถปุ ระสงคขV องการศึกษา คอื ชว< ยเหลือทกุ คนในการทำใหCบุคลกิ ภาพของตนสมบรู ณ0 พัฒนา ความสามารถในการบรรลุชีวติ อสิ ระและไดรC บั คุณสมบัติของประชาธิปไตยพลเมอื งและสามารถมีสว< น ร<วมในการสรCางรฐั ประชาธปิ ไตยและส<งเสรมิ ความเจริญรุ<งเรอื งของมวลมนษุ ยชาติ ตามอดุ มคติ เหลา< น้ี หลักสตู รน้ีมงRุ ทีจ่ ะสงR เสริมแบบอยRางของผมู* กี ารศกึ ษาดดี งั ตอR ไปน้ี • ผCทู ี่พยายามพัฒนาบุคลกิ ลักษณะของตนเองผา< นการพัฒนากิจกรรมทีท่ มี ปี ระโยชน0 • ผทCู ่แี สดงความคิดสราC งสรรคโ0 ดยมีพนื้ ฐานท่มี ่ันคงความรูCและทักษะ • ผCทู ี่สำรวจเสCนทางอาชพี ของตนบนพ้นื ฐานของปåญญาทกี่ วCางขวางความรแCู ละทกั ษะทางวิชาการท่ี หลากหลาย • ผูCที่สราC งค<านิยมใหม<บนพน้ื ฐานของความเขาC ใจของชาตวิ ัฒนธรรม ผCทู ี่มสี ว< นช<วยในการพฒั นาชุมชน ท่เี ขาหรอื เธออาศัยอยูบ< นพ้ืนฐานของความเปนF พลเมืองประชาธิปไตย (KEDI, 2007). หลกั สูตรน้มี ุง< ส<งเสริมใหเC กดิ ความเปนF อิสระพลเมืองสราC งสรรคท0 ่สี ามารถเปนF ผนCู ำโลกาภวิ ตั น0 และยคุ สารสนเทศของศตวรรษท่ี21 มีวตั ถุประสงคเ0 พ่อื ใหกC ารศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐานอยา< งครอบคลุมเนCนที่ ความสามารถและความถนดั ของนกั เรียน สง< เสรมิ คา< นิยมเสียงและความคดิ สราC งสรรค0และการพฒั นา ความคิดริเร่ิมในตนเองเพื่อปรับตวั ใหเC ขาC กับโลกาภิวตั นแ0 ละยุคสารสนเทศ (UNESCO-IBE, 2010) แนวคดิ เก่ียวกบั การศึกษาของประเทศเกาหลี สามารถกําหนดของลกั ษณะมนุษย0 ท่พี ึง ประสงค0ไดCดงั ตอ< ไปนี้ 1. ผCูท่ีพัฒนาบุคลิกภาพและดําเนินชวี ติ อยูบ< น พน้ื ฐานการเตบิ โตทม่ี แี บบแผน 2. ผทCู แ่ี สดงความคิดสราC งสรรค0ดวC ยแนวคิด ใหมๆ< และทCาทายบนพื้นฐานของทกั ษะพน้ื ฐาน 3. ผูCทีใ่ ชชC วี ติ อยา< งมีเกียรติบนความเขาC ใจใน ความรทCู างวฒั นธรรมและคณุ คา< ท่หี ลากหลาย 4. ผทCู ่มี สี <วนรว< มในการพฒั นาประชาคมดCวย จติ สาํ นกึ เอาใจใสแ< ละแบง< ปåนในฐานะพลเมอื งท่ี สอื่ สารกบั ทวั่ โลก
4 นโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจและการศกึ ษา ภาพที่ 2 Economic development and educational policy (Journal of International Business and Economy, 2010) การศึกษาของเกาหลีใตCในศตวรรษที่ 21 จึงมุ<งเนCนพัฒนาตามวิสัยทางการศึกษาสำหรับ ศตวรรษที่ 21 ซึ่งรัฐบาลใน ค.ศ. 1995 ไดCประกาศไวCว<า ระบบการเรียนการสอนตCองกระตุCนใหC นักเรียนเปFนประชากร โลก (global citizens) โดยการเปôดโลกทัศน0ใหCกวCางขึ้น ใหCมีความเขCาใน ประเพณีและวัฒนธรรมของ ประเทศต<าง ๆ ใหCความเอาใจใส<ต<อปåญหาสิ่งแวดลCอม ความขัดแยCง ระหว<างอาณาเขตและเชื้อชาติ โดยเฉพาะอย<างยิ่งควรจะมุ<งเนCนทัศนคติที่เปôดใจรับความแตกต<าง และความหลากหลายใหCมากขึ้น (รายงานการวิจัยเปรียบเทียบการปฏิรูปการศึกษาเพื่อกCาวสู<สังคม ฐานความรูC) รัฐบาลในศตวรรษที่ 21 จึงสืบสานเจตนารมนี้ โดยการพัฒนาการศึกษาใหCเปFนแบบ Edutopia และดำเนินพัฒนาการศึกษาใหCเปFนแบบ Smart Education ซึ่งไดCวางรากฐานการศึกษา แบบน้มี าตัง้ แต< ค.ศ. 1996 แลวC ทัง้ ยงั พยายามแกCไขปåญหาที่ เกดิ ในวงการการศกึ ษาของเกาหลใี ตC การศึกษาแบบ Edutopia จากการจัดตั้งคณะกรรมาธิการแห<งประธานาธิบดีเพื่อการปฏิรูปการศึกษา ขึ้นใน ค.ศ. 1994 ซึ่ง คณะกรรมาธิการนี้ไดCวางรากฐานและกำหนดเปõาหมายสูงสุดของระบบการศึกษายุคใหม< ของเกาหลีภายใตC ความคิดที่เรียกว<า Edutopia หรืออุตมรัฐทางการศึกษา (autopia of) ซึ่งหมายถึง ความเปFนรัฐสวัสดิการทาง การศึกษา โดยระบบการศึกษาตCองเปFนระบบเปôดและเปFนการศึกษาตลอด ชีวิตที่ชาวเกาหลีทุกคนสามารถเขCา มาใชCประโยชน0จากการศึกษาไดCทุกเวลาและทุกสถานท่ี คณะกรรมาธิการไดCกำหนดกรอบลักษณะของ Edutopia เพื่อเปFนกรอบความคิดของการปฏิรูป การศึกษาไวดC งั นี้คือ 1. ดCานเวลา ตอC งจัดการศึกษาใหปC ระชาชนเรยี นรูCไดCทุกเวลาตลอดชวี ิต 2. ดCานสถานท่ี ตCองใชCเทคโนโลยีสื่อสารสมัยใหม<อันเฉียบคม เพื่อใหCประชาชนทุกคนสามารถ เปôด ประตสู ู<การศกึ ษาไดCทุกสถานที่ 3. ดCานสถาบัน จัดสรCางระบบเครดิตแบงก0ที่ผูCเรียนสามารถเรียนเพื่อสะสมหน<วยกิต และมีความ สะดวกในการถ<ายโอนหน<วยกิต ขCามโรงเรียนหรือขCามสถาบันการศึกษาตลอดจนขCาม สาขาวชิ าไดC
5 4. ดCานมหาวิทยาลัย ปรับใหCมีการลดจำนวนหน<วยกิต ของวิชาเอกใหCนCอยลงเท<าที่จะนCอยไดC และปรับ ใหCมกี ารการเรยี นการสอนในระบบวิชาเอกคู< (double majors) หรอื 3 วชิ าเอกควบ (triple majors) อีกทั้ง ตCองปรบั ใหภC าควิชาสามารถทำงานร<วมกันโดยไมม< ีพรมแดนความเปFนภาคขดั ขวาง 5. ในแง<มัธยมศึกษา ใหCนักเรียนมีเสรีภาพที่จะถ<ายโอนการเรียนระหว<างอาชีวศึกษาส<ู มัธยมศึกษาตอน ปลายสายสามัญ หรือจากสายสามัญสู<สายอาชีวศึกษา หลักสูตรมัธยมศึกษาตCองมี ความหลากหลายพรCอม ๆ กับเนCนความสามารถเฉพาะดCาน และเปôดใหCนักเรียนไดCมีโอกาสเลือก โปรแกรมเรียนอย<างกวCางขวาง 6 การศึกษาระบบเปôด การศึกษาในระบบอุตมรัฐทางการศึกษาจะตCองเอื้อประโยชน0แก<ผูCที่มี ความบกพร<องทางกายภาพ และบุคคลที่ประสบความยากลำบากในการเขCาสู<ระบบการศึกษาใน โรงเรียน การศึกษาที่พึงประสงค0จึงเปFนการศึกษาที่เรียกว<า “เปFนการศึกษาเพื่อปวงชนที่สูงดCวยคุณค<า แต<ราคาต่ำ” (Low Cost but high quality education for all) (ศักดิ์ชัย นิรัญทวี, 1997: 23) (นางสาวลภัสรดา ศริ ิมานติ ย, 2562 : 21) คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ของผ้เู รยี นภายใตร้ ะบบการศกึ ษาใหม่ 1. มีมนุษยสัมพันธ์ดี เป็นคนที่ให้ความร่วมมือกับผู้อื่น เป็นปกติวิสัย มีนํ้าใจ มีคุณธรรมสูง มีความรับผิดชอบต่อชุมชน มีแนวทาง ปฏิบัติตนอยู่บนความเชื่อมั่นว่ามนุษย์จะสามารถค้นพบ ความหมายของชีวิต ได้ก็ด้วยการรักษาสมั พันธ์ภาพอนั ดีระหว่างมนุษย์ด้วยกัน และระหวา่ งมนุษย์ กับ สิง่ แวดล้อม 2. มีความคิดสร้างสรรค์ เป็นวิญญูชนที่มีความคิดสร้างสรรค์ผู้สามารถติดตามและกระตุ้นให้ เกิดความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วใน ด้านเทคโนโลยีข่าวสารและความรู้ โดยมุ่งมั่นที่จะนําความรู้นั้นมา ช่วยยกระดับ คุณภาพชีวิต ในขณะเดียวกันก็มุ่งรักษาสัมพันธภาพอันดีระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม ไว้ดว้ ย 3. มีใจที่เปิดกว้าง เป็นผู้มีโลกทัศน์กว้างไกลซึ่งตระหนักดีว่าวิถีชีวิตของแต่ละคนมิได้มี ขอบเขตจํากัดอยู่แต่ในบ้านเรือนและประเทศชาติของตนเท่านั้น แต่ยังต้องคบหาสมาคมกับโลก กว้างด้วยโดยที่สามารถดําเนินชีวิตร่วมกับกลุ่มชาติพันธุ์อื่นๆ ได้อย่างสงบสุข นอกจากบุคคล ดังกล่าวจะได้ ชื่อว่าเป็นพลเมืองของโลกอย่างแท้จริงแล้วก็ยังได้ชื่อว่าเป็นพลเมืองเกาหลีผู้มีเกียรติภูมิ สามารถเปิดประตูประเทศชาติออกไปสู่ยุคสมัยโลกาภิวัตน์ ความเป็นสากล และลัทธิเสรีนิยมได้อย่าง เต็มภาคภมู ิ 4. มีความใฝ่ใจในการงาน มิใช่เป็นเพียงผู้ทุ่มเทให้กับหน้าที่การงาน เท่านั้น แต่ยังต้องเป็นผู้มี อิสระและมีความคิดสร้างสรรค์ในการทํางานควบคู่ ไปกับการมีจรรยาบรรณอีกด้วย นอกจากนี้ยังจะ ต้องมองว่างานการทุกประเภทล้วนมีคุณค่าน่ายกย่องเหมือนกันหมด โดยไม่แบ่งแยกงานที่ต้องใช้ แรงกายว่าตา่ํ ต้อย
6 ทิศทางของระบบการศกึ ษาใหม่ ศูนย์กลางอยู่ที่ตัวผู้เรียน ระบบการศึกษาใหม่จะให้ความสําคัญกับความต้องการของผู้เรียน เป็นหลักแทนที่จะเป็นความต้องการของครูและผู้บริหารดังเช่นที่เป็นอยู่ในระบบปัจจุบัน การแข่งขัน ระหว่างสถานศึกษาทั้งหลายจะทําให้นักเรียนและผู้ปกครองมีโอกาสเลือกแผนการเรียนได้หลากหลาย มากย่งิ ขนึ้ การศึกษาที่หลากหลาย การจัดตั้งโรงเรียนที่เชี่ยวชาญเฉพาะด้านและการนําเสนอแผนการ เรียนที่หลากหลาย ซึ่งแตกต่างไปจากระบบ ปัจจุบันที่เน้นแผนการเรียนในลักษณะเหมือนกันหมด จะเปน็ การช่วยบม่ เพาะ ความคดิ สร้างสรรค์และคณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ใหแ้ ก่นกั เรียน การดําเนินงานโดยอิสระของโรงเรียน โรงเรียนมีอิสระในการบริหารงานในโรงเรียนมากข้ึน โดยมีผู้ปกครองและผู้ทรงภูมิปัญญาในชุมชนเป็นอาสาสมคั รเข้ามาชว่ ยงาน เสรีภาพกับความเสมอภาค หลักการจัดการดูแลการให้ บริการทางด้านการศึกษาอยู่ที่การ เปิดโอกาสให้มากที่สุดเพื่อให้ปัจเจกชนทุก คนพัฒนาศักยภาพของตนได้อย่างเต็มขีดความสามารถ ขณะเดียวกันก็ให้ ความช่วยเหลือแก่ผู้ด้อยโอกาสให้สามารถเข้ารับการศึกษาที่มีคุณภาพได้เสรีภาพ และความเสมอภาคเท่านนั้ ทเี่ ปน็ เครอื่ งรับประกันความเป็นเลศิ ทางการ ศึกษา การนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการศึกษา ควรจะได้มีการนําเทคโนโลยีสารสนเทศ และสื่อหลายมิติมาใช้เพื่อเปิดระบบการศึกษาให้ กว้างไกลเหมาะสําหรับศตวรรษที่ 21 ซึ่งจะช่วย เปิดโอกาสใหท้ ุกคนสามารถ เขา้ รับการศกึ ษาได้ทุกเวลาในทุกสถานท่ี ความเป็นเลิศทางการศึกษา เป้าหมายระยะยาวของระบบการศึกษาใหม่คือ การยกคุณภาพ การศึกษาให้สูงถึงระดับความเป็นเลิศของมาตรฐานโลก เป้าหมายอันสูงส่ง เช่นนี้ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ มากมาย อาทิ วัตถุประสงค์และโครงการที่มีคุณประโยชน์กลุ่มนักเรียนเป้าหมาย ครูอาจารย์โรงเรียน การให้ความช่วยเหลือด้านงบประมาณในเวลาที่เหมาะสมตลอดจนการบริหารในลักษณะให้การ สนับสนุน นโยบายการจดั การศึกษาของประเทศเกาหลี การศึกษาในสมัยการปรับปรุงหลักสูตร ครั้งที่ 7 (ค.ศ. 1997) เป็นรากฐานระบบการศึกษา ของสาธารณรัฐเกาหลีจนถึงปัจจุบัน ระบบการศึกษาของสาธารณรัฐเกาหลี มีความเกี่ยวข้องกับ การจัดโครงสรา้ งของการบริหารและการจัดระบบการศกึ ษา ดงั น้ี 1.โครงสร้างการบริหารการศึกษา การบริหารการศึกษาเป็นการจัดสรรทรัพยากรให้เป็น ประโยชน์ต่อการดําเนินงานทางการศึกษา การปรับเปลี่ยนส่วนใหญ่มักถูกเรียกร้องให้กระทําใน ลักษณะเดียวกับประเทศอื่นๆ คือ การกระจายอํานาจการตัดสินใจให้แก่ ชุมชน และโรงเรียน ในปัจจุบันการบริหารการศึกษาของ เกาหลีแบ่งออกเป็น 3 ระดับคือ ระดับชาติ ระดับท้องถิ่น และ ระดับโรงเรยี น
7 การบริหารการศึกษาระดับชาติ มีกระทรวงศึกษาธิการและทรัพยากรมนุษย์เป็นศูนย์กลาง ทําหน้าที่กําหนดนโยบายประสานสัมพันธ์กับกระทรวงและหน่วยงานอื่นกํากับดูแล และการนํา นโยบายไปปฏิบตั ิและเสนอแนะแนวทางการจัดการศึกษาแกค่ ณะกรรมการระดบั ภมู ิภาค ในปี ค.ศ. 1996 กระทรวงศึกษาธิการได้มีการปรับองค์กรของตนเองเพื่อให้สอดคล้อง กับ งานปฏิรปู การศึกษาโดยจดั แบง่ หน่วยงานออกเป็น 3 สํานักงาน ไดแ้ ก่ สาํ นักงานวางแผน และ จัดการ สํานักงานการประถม และมัธยมศึกษา ส่วนสํานักงานการอุดมศึกษามี 4 สํานัก ได้แก่ สํานักงาน วางแผน และนโยบายการศึกษา สํานักวางแผน และนโยบายการศึกษา สํานักบริหารการศึกษาท้อง ถิน่ สํานักการศกึ ษาตลอดชีวติ และสาํ นักการจดั การสารสนเทศทางการศึกษา ดังภาพ ประกอบ ภาพที่ 3 การจัดองค์กรของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร สาธารณรัฐเกาหลี (ศกั ดช์ิ ัย นริ ัฐทว,ี 2543 : 55) การจัดระบบบริหารการศกึ ษาที่เอื้ออาํ นวยแก่การปฏิรูปการศึกษา โครงสร้างการบรหิ ารการศึกษาของสาธารณรัฐเกาหลสี ามารถแบ่งออกได้ 2 ลักษณะ คือ 1. โครงสร้างการบริหารหลัก ได้แก่ การบริหารในระดับประเทศ ระดับท้องถิ่น ระดับ โรงเรยี น 2. โครงสร้างการบริหารเพื่อส่งเสริมการปฏิรูปการศึกษา ได้แก่ การบริหารใน รูปของ คณะกรรมการต่าง ๆ เชน่ คณะกรรมาธกิ ารเพื่อการปฏิรูปการศกึ ษา เป็นตน้
8 ภาพที่ 4 โครงสร้างการบริหารงานกระทรวงศกึ ษาธิการสาธารณรัฐเกาหลี (ศกั ดชิ์ ยั นิรัฐทว,ี 2543 : 55) ภาพที่ 5 โครงสร้างองค์การบริหารการศึกษาของกรงุ โซล สาธารณรฐั เกาหลีปีค.ศ. 1996 (ศักดชิ์ ยั นริ ัฐทว,ี 2543 : 55)
9 ภาพที่ 6 โครงสร้างการบริหารทเี่ นน้ โรงเรียนเปน็ ฐานการจัดการ (ศักดิ์ชยั นิรฐั ทว,ี 2543 : 55) ภาพท่ี 7 เป้าหมายของการบริหารการศกึ ษา คือ EDUTOPIA (ศักดิ์ชยั นริ ฐั ทว,ี 2543 : 55) ระบบการศกึ ษาของประเทศสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต*) สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใตC) เปFนประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เปFนประเทศที่ใหC ความสำคัญกับการศึกษามากนักเรียนเรียน พิเศษนอกโรงเรียนถึงรCอยละ 90 ซึ่งสูงที่สุดในประเทศกลุ<ม OECD และใหคC วามสำคญั กบั การเรยี นภาษาอังกฤษมากควบคูไ< ปกบั การอนุรกั ษแ0 ละเผยแพร<ภาษาของตนเอง ไปสู<นานาประเทศ เปFนประเทศที่มีปริมาณ การส<งออกมากเปFนอันดับ 1 ในกลุ<มประเทศ OECD สินคCาท่ี ส<งออกมาก ที่สุด คืออุปกรณ0และชิ้นส<วนอิเล็กทรอนิกส0และเปFนที่ยอมรับดCานศักยภาพ การพัฒนาเทคโนโลยี และการวางแผนงานต<าง ๆ (เกวสนิ ศรีม<วง. 2555)
10 ปåจจุบัน เด็กเกาหลีใตCจะตCองเขCาเรียนในระบบโรงเรียนเมื่ออายุ 6 ขวบ ถึง 15 ปÑ ในโรงเรียน ประถมศึกษา 6 ปÑ มัธยมศึกษาตอนตCน 3 ปÑ ซึ่งเปFนภาคบังคับ และจะเรียนต<อมัธยมศึกษาตอนปลาย 3 ปÑ โรงเรียนท่ี จัดการศึกษาภาคบังคับส<วนใหญ<สังกัดรัฐบาลทCองถิ่น โรงเรียนมัธยมศึกษา ตอนปลายแบ<ง ออกเปFนสายสามัญและสายอาชพี หรือการเรยี นในสาขา วชิ าเฉพาะ โรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญจัดการศึกษาทั่วไปขั้นสูง และวิชาเลือกสำหรับเตรียมเขCา มหาวิทยาลัย มีโรงเรียนประเภทพิเศษที่ รัฐบาลเรียกว<า “โรงเรียนจุดประสงค0พิเศษ” (Special Purpose Schools) ที่จัดสอนหลักสูตรเฉพาะ เช<น หลักสูตรวิทยาศาสตร0 หรือหลักสูตรภาษา ต<างประเทศ ในขณะที่ โรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายสายอาชีพเนCนการ สอนวิชาชีพเฉพาะทาง เช<น เกษตรกรรม เทคโนโลยี พณิชยกรรม และ ประมง รวมทั้งวิชาชีพหรือวิชาเทคนิคแบบผสมเรียกว<า Comprehensive Vocational/ Technical Schools การเขCาเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย อาจจะมีการสอบเขCา หรือพิจารณาจากผลการ เรียนในระดับมัธยมศึกษา ตอนตCน ถCาจบมัธยมศึกษาตอนปลายสายอาชีพจะไดCรับประกาศนียบัตรวิชาชีพ นอกจากนี้ มีโรงเรียนเฉพาะทางเพื่อบ<มเพาะความสามารถพิเศษ ของนักเรียนกลุ<มเรียนดีที่จะเปFนผูCนำ ในสังคม เช<น โรงเรียนสอนศิลปะและดนตรี กีฬา ภาษาต<างประเทศ และวิทยาศาสตร0 การรับเขCาเรียน ตCองผ<านการสอบที่มีการแข<งขันสูง สถิติการศึกษาของเกาหลีใตCรายงานว<า เด็กเรียนต<อจนจบมัธยมศึกษา ตอนปลายถึงรCอยละ 97 แต<ส<วนใหญ<จะ เรียนมัธยมศึกษาสายสามัญ มีเพียงรCอยละ 30 เท<านั้น ที่เรียนในสาย อาชีพ ระบบการรับเขCามัธยมศึกษาตอนปลายแตกต<างกันไป บางระบบตCองการใหC เกิดความเสมอภาคก็จะ จับสลากทางคอมพิวเตอร0 (Computer Lottery System) เช<น ในเขตกรุงโซล ปูซาน แดกู และกวางจู ซึ่งเปFนเขตที่เรียกว<า “Equalization Areas” ส<วนในเขตอื่น ๆ จะใชCผลการเรียนและการสอบ เขCาดCวย ขอC สอบท่ีโรงเรยี นจัดการเอง (ใน http://www.ncee.org/programs-affiliates/center-on-international- education-benchmarking/ top-performing-countries/ south-korea-overview/south-korea- instructional-systems/) การบริหารการศึกษา อำนาจหนCาที่ในการบริหารการศึกษาของประเทศสาธารณรัฐเกาหลี เปFน ของกระทรวงศึกษาธิการ วิทยาศาสตร0 และเทคโนโลยี (The Ministry of Education, Science and Technology (MEST) ซึ่งกระจายอำนาจการบริหารลงไปที่ระดับจังหวัดและเทศบาล (provincial/ Municipal Office of Education) แ ล ะ ท ี ่ ร ะ ด ั บ ท C อ ง ถ ิ ่ น ( Local Offices of Education) โ ด ย กระทรวงศึกษาธิการฯ ทำ หนCาที่กำกับดูแล (Supervising) การศึกษาทั้งระบบ จัดทำนโยบายการศึกษาของ ชาติ ร<วมมือกับกระทรวงต<าง ๆ และแนะแนวการจัดการศึกษาของจังหวัดและทCองถิ่น เปõาหมายและเนื้อหา ของการศึกษาจะถกู กำหนดท่ีระดับชาติ โดยใหCโรงเรยี น จดั ทำหลกั สตู รสถานศกึ ษาท่สี อดคลอC งกับระดับชาติ เพื่อใหCการศึกษาเปFนกระบวนการเรียนรูCตลอดชีวิต สาธารณรัฐเกาหลี มีคณะกรรมการการศึกษา ตลอดชีวิตแห<งชาติ บริหารงานควบคู<ไปกับ กระทรวงศึกษาธิการฯ โดยมีคณะอนุกรรมการในระดับจังหวัด/ เขตพื้นท่ี การศึกษาอยูใ< นระดับลา< ง
11 มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ วิทยาศาสตร0 และเทคโนโลยี จะปรับปรุง หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานทุก 5 ปÑ ถึง 10 ปÑ เพื่อใชCเปFนกรอบในการจัดการศึกษาซึ่งนอกจาก จะมีการแกCไขเพิ่มเติมเนื้อหาในหลักสูตร ยังอาจจะปรับปรุงเรื่องเวลาเรียนในแต<ละปÑการศึกษาดCวย ทั้งนี้แต< ละโรงเรียนจะตCองสอนตามหลักสูตรที่กระทรวงศึกษาธิการฯ กำหนดแต<ศึกษาธิการ จังหวัด (Superintendents) มีอำนาจในการเพิ่มเนื้อหาและมาตรฐานต<าง ๆ ของการศึกษาไดCตามความจำเปFนของ โรงเรียนทอ่ี ย<ใู นความดูแล ระดับประถมศึกษา นักเรียนไดCเรียนวิชาแกน คือ จริยธรรม ภาษา เกาหลี คณิตศาสตร0 วิทยาศาสตร0 สังคมศึกษา พลศึกษา ดนตรี และศิลปะ (Ethics, Korean Language, Mathematics, Science, Social Studies, PE, Music and the Arts) นอกจากนี้ จะไดCรับการพัฒนาและบ<มเพาะใหCมี ความสามารถในการแกCไขปåญหาขั้นพื้นฐาน (basic problem-solving abilities) ความพึงพอใจประเพณี ดั้งเดิมและวัฒนธรรมของเกาหลี (appreciation of tradition and culture) ความรักชาติและประเทศ เพอ่ื นบาC น (love for neighbors and country) และนิสัยทด่ี ใี นการดำเนนิ ชีวติ (basic life habits) ระดับมัธยมศึกษาตอนต*น หลักสูตรจะจำแนกความสามารถของนักเรียน (a differentiated curriculum, or ability-based grouping) สำหรับบางวิชา เช<น คณิตศาสตร0 ภาษาอังกฤษ ภาษาเกาหลี สังคมศึกษา และวิทยาศาสตร0 แต<ทุกคนจะไดCเรียนบางวิชาที่เหมือนกัน (Core subjects) คือ พลศึกษา ดนตรี วิจิตรศิลป™ และศิลปะปฏิบัติ (PE, music, fine arts and practical arts) นอกจากนี้ ใหCมีหลักสูตร เสริมและวิชาเลือก (extracurricular and optional courses) ซึ่งรวมทั้ง วิชาคหกรรมและ เทคโนโลยี ซึ่ง ยังแยกตามเพศ (gender-based classes) จนถึงเมื่อเร็วๆ น้ี วิชาเลือก ไดCแก< ภาษาอังกฤษ คอมพิวเตอร0 และเทคโนโลยสี ารสนเทศ และ ส่ิงแวดลCอมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญ วิชาแกนยังเหมือนระดับ มัธยมศึกษาตอนตCน แต<จะถูก จัดใหCเรียนแยกสาย เปFนสายวิทยาศาสตร0 (Science) และสายสังคมศึกษา (social studies) โดยสาย วิทยาศาสตร0 ใหCเรียนวิชาฟôสิกส0 เคมี ชีววิทยา และวิทยาศาสตร0เกี่ยวกับโลก (physics, chemistry, biology and earth science) และในสายสังคมศึกษา ใหCเรียนวิชาภูมิศาสตร0 ประวัติศาสตร0 การเมือง เศรษฐศาสตร0 และ วัฒนธรรมศึกษา (geography, history, politics, economics and cultural studies) ส<วนโรงเรียน เฉพาะสาขาวิชาและโรงเรียนอาชีวศึกษาในระดับนี้ จะมีหลักสูตรของตนเอง และจะตCองเรียนวิชาสามัญบาง วิชาดCวย การวัดผลและประเมินผลการศึกษาในประเทศสาธารณรัฐเกาหลี มีระบบประเมินเพื่อวินิจฉัย (diagnostic assessment) 2 ประเภท คือ การทดสอบเพื่อวินิจฉัยทักษะพื้นฐาน ในชั้นปÑที่ 3 เรียกว<า Diagnostic Test for Basic Skills (DTBS) และการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาในระดับชาติ เรียกว<า The National Assessment of Educational Achievement เรยี กยอ< วา< NAEA ซ่ึงสอบ 2 วิชา คอื คณติ ศาสตร0
12 และวิทยาศาสตร0 ในชั้นปÑที่ 6 ปÑที่ 9 และปÑที่ 10 (เทียบกับ ประถมศึกษาปÑที่ 6 และมัธยมศึกษา ปÑที่ 3 และ 4 ของไทย) เปFนการสอบเพื่อใชCเปFนสารสนเทศสำ หรับการ ปรับปรุงมาตรฐานการศึกษา (serve a purely informational purpose) ไมร< ายงานแบบจำแนกรายคน (not reported by individual student) นักเรียนในสาธารณรัฐเกาหลีทุกระดับจะถูกประเมินโดยครูผูCสอนดCวย และจะไดCรับรายงานซ่ึง เรียกว<า “Student School Records” หรือ “Student Activity Records” ซึ่งมีรายละเอียดเกี่ยวกับ ผลการเรียน เปFนรายวิชาการเขCาร<วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรและการบำเพ็ญประโยชน0 หรือใหCบริการ ความสามารถพิเศษ พัฒนาการดCานคุณธรรมจริยธรรม ร<างกาย รางวัลต<างๆ ที่ไดCรับสมุดรายงานผลการเรียน นี้ ไดCถูกนำมาใชCวัดความสามารถของนักเรียนมากขึ้น ในการคัดเลือกเขCาเรียนต<อทั้งระดับ มัธยมศึกษาตอน ปลายและมหาวทิ ยาลยั เพื่อลดความกดดนั จากระบบรับ เขาC ศกึ ษาทว่ี ัดจากการสอบเขCา การสอบวดั มาตรฐานการศึกษาระดบั ชาตชิ ัน้ ปทg ี่ 3, 6, 9 และ 10 ป า ร 0 ค ( Hyan-Jeong Park. 2008, pp.17-15) ใ น บ ท ค ว า ม ช ื ่ อ Korean Perspectives on Assessment of Achievement (ในวารสาร Educational Studies in Japan : International Yearbook. No.3. December 2008) ไดCกล<าวว<า รัฐบาลของสาธารณรัฐเกาหลี เริ่มนำการวัดผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนโดย ใชCขCอสอบระดับประเทศวัดผลกับนักเรียน ทั้งประเทศตั้งแต<ปลายทศวรรษที่ 1980 และไดCสรCางขCอสอบ ระดับชาติ สำหรับวัดทักษะพื้นฐานของนักเรียนชั้นปÑที่ 3 ขึ้นโดยเริ่มนำมาใชCตั้งแต<ปÑ ค.ศ. 2002 ตามดCวย ขCอสอบวัดผลสัมฤทธ์ิชน้ั ปÑที่ 6, 9 และ 10 ลักษณะ ของขCอสอบระดับชาตทิ งั้ สองระดบั คอื 1.ขCอสอบวินิจฉัยทักษะพื้นฐาน (DTBS) ออกขCอสอบตามเนื้อหา ในหลักสูตรแห<งชาติ โดยอิง นโยบาย ท่ีเรยี กว<า “the school education normalization policy” ซึง่ ประกาศใชเC มอ่ื เดอื นมนี าคม ค.ศ. 2002 เพื่อวัดผลอย<างเปFนวิทยาศาสตร0ว<าเด็กไดCรับทักษะพื้นฐานในการอ<าน เขียน เลขคณิต ถึงระดับที่ ตCองการขั้นตํ่าสุดแลCวหรือยัง โดยใหCสถาบัน หลักสูตรและประเมินผล (The Korea Institute for Curriculum and Evaluation หรือ KICE) เปFนผูCจัดการสอบ ในเดือนตุลาคมของทุกปÑ และ แจCงผลใหC โรงเรยี นและนกั เรียนทราบในเดือนธนั วาคมปเÑ ดยี วกัน 2.ขCอสอบวัดผลสัมฤทธิ์ระดับชาติชั้นปÑที่ 6, 9, 10 หรือ NAEA เริ่ม ดำ เนินการมาตั้งแต<ปÑ ค.ศ. 2000 เปFนตัวอย<างเพื่อเทียบเคียงมาตรฐาน การสอบ NAEP หรือ The National Assessment of Educa- tional Progress (NAEP) ในสหรัฐอเมริกา มีจุดมุ<งหมายหลักเพื่อจะวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการศึกษาของเด็ก ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตCน และมัธยมศึกษา ตอนปลาย และเพื่อวิเคราะห0แนวโนCมของผลสัมฤทธ์ิ อย<างเปFนระบบและ เปFนวิทยาศาสตร0และไดCเริ่มเก็บขCอมูลเพื่อการวิจัยมาตั้งแต<ปÑ ค.ศ. 2003 มีรายงานผล ฉบับแรกเมื่อปÑ ค.ศ. 2006 นอกจากนี้ ยังนำผลไปใชCในการ ปรับปรุงหลักสูตรแห<งชาติ และเปFนขCอมูลสำ หรับการปรับปรุงการเรียน การสอนในชั้นเรียน และสำ หรับการปรับปรุงนโยบายของรัฐบาลในการสนับสนุน สิ่งต<าง ๆ เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาดCวย กระบวนการพัฒนา ระบบการสอบ NAEA เริ่มจาก KICE สุ<ม กลุ<มตัวอย<างเพียงรCอยละ 0.5 ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2000 และเพิ่มเปFนรCอยละ 1 ในปÑ ค.ศ. 2001-2003
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424