Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore EDA711 Group2

EDA711 Group2

Published by NATSUDA KESA, 2022-02-19 07:10:57

Description: ประเทศสิงคโปร์
ประเทศสหภาพเมียนมา
ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้)
ประเทศนิวซีแลนด์
ประเทศมาเลเซีย

Search

Read the Text Version

94

95

96

97

98

99

100

101

102

103

104

105

106

107

108

รายงานเชงิ สงั เคราะหแ ละวเิ คราะห การเปรยี บเทยี บระบบการศกึ ษาและการบรหิ ารการศึกษา ระหวา งประเทศนวิ ซแี ลนดแ ละประเทศไทย นางสาวศศมพรรณ มยาเศส รหัสนกั ศกึ ษา 64560154 รายงานเลม นเ้ี ปน สวนหนึ่งของวิชา EDA711 การบรหิ ารการศกึ ษาเชิงเปรียบเทียบ (Comparative Educational Administration) หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑติ สาขาวชิ าการบรหิ ารการศึกษา วิทยาลัยบัณฑติ ศกึ ษาดานการจดั การ มหาวทิ ยาลยั ศรีปทมุ วิทยาเขตบางเขน จังหวัดกรุงเทพมหานคร

คำนำ รายงานเชงิ สงั เคราะหแ ละวเิ คราะหการเปรยี บเทียบระบบการศึกษาและการบรหิ ารการศึกษาระหวาง ประเทศนิวซีแลนดและประเทศไทย เปนสวนหนึ่งของวิชา EDA711 การบริหารการศึกษาเชิงเปรียบเทียบ (Comparative Educational Administration) จัดทำขึ้นเพื่อสังเคราะหและวิเคราะหร ายงานเชิงสังเคราะห และวิเคราะหการเปรียบเทียบระบบการศึกษาและการบริหารการศึกษาระหวางประเทศนิวซีแลนดและ ประเทศไทย โดยมีองคประกอบของการนำเสนอเกี่ยวกับ บริบทของประเทศนิวซีแลนด หลักการและ จุดมุงหมายทั่วไปในการจัดการศึกษา (Principles and general objectives of education) กฎหมาย การศกึ ษาหรือกฎระเบยี บตา ง ๆ ท่เี ก่ยี วของกบั การศึกษา (Laws and other basic regulations concerning education) โครงสรางและการจัดระบบการศึกษา (Structure and organization of education system) การจดั การศึกษา (The Educational Process) โดยนำมาเปรียบเทียบกับการดำเนินการจัดการศกึ ษาหรือการ บริหารการศึกษาของประเทศไทย การวิเคราะห สังเคราะหบทความทางวิชาการที่เกี่ยวของ และสิ่งที่นำมา ประยุกตใ ชในการจัดการศึกษาของประเทศไทย การศึกษารายงานเชิงสังเคราะหและวิเคราะหการเปรียบเทียบระบบการศึกษาและการบริหาร การศกึ ษาระหวางประเทศนวิ ซแี ลนดและประเทศไทย ตอ งขอขอบคณุ ผศ.ดร.วราภรณ ไทยมา ท่ใี หคำปรึกษา แนะนำใหก ารดำเนนิ การจดั ทำรายงานและการนำเสนออยางดยี ิง่ ศศมพรรณ มยาเศส ผจู ดั ทำ

สารบัญ เรอื่ ง หนา 1. บรบิ ทประเทศนิวซีแลนดแ ละประเทศไทย (Context of Country) .......................... 1 2. หลักการและจุดมงุ หมายทวั่ ไปในการจดั การศึกษา (Principles and general 4 objectives of education) ......................................................................................... 3. กฎหมายการศกึ ษาหรือกฎระเบียบตางๆ ท่ีเก่ยี วขอ งกับการศึกษา (Laws and 6 other basic regulations concerning education) ................................................. 9 4. โครงสรา งและการจดั ระบบการศึกษา (Structure and organization of 16 29 education system) .................................................................................................... 31 5. การจัดการศึกษา (The Educational Process) .......................................................... 6. ครูผสู อน ........................................................................................................................ 7. บทความเรือ่ งการจดั การเรยี นรูโ ดยใชวจิ ัยเปน ฐานในประเทศนวิ ซแี ลนด .................... บรรณานกุ รม ..................................................................................................................... 32

สารบัญภาพ หนา ภาพท่ี 1 1 แผนท่ีประเทศนิวซีแลนด 2 2 ธงชาติประเทศนวิ ซีแลนด 2 3 แผนทปี่ ระเทศไทย

บรบิ ทของประเทศนิวซีแลนดแ ละประเทศไทย (Context of Country New Zealand and Thailand) ประเทศนวิ ซีแลนด ภาพท่ี 1 แผนทป่ี ระเทศนิวซีแลนด ประเทศนิวซีแลนดม ีการตัง้ ฐานโดยชาวเมารี (Maori) และชนพ้นื เมืองจากหมูเกาะในแปซิฟก ใต ป ค.ศ. 1642 พ.ศ. 2185 นกั เดนิ เรือชาวเนเธอรแลนด ในคาบสมุทรแปซิฟกมีประเทศหมูเกาะหนึ่ง คือ ประเทศนิวซีแลนด ใกลขั้วโลกใต ทางตอนใตของ เครือรัฐออสเตรเลีย ในพื้นที่ประมาณ 2.68 ตารางกิโลเมตร สภาพพื้นที่เปนเกาะ มีเกาะใหญ 2 เกาะ ไดแก เกาะเหนือ และเกาะใต มีทัศนียภาพที่สวยงามทั้งภูเขาและทุงหญา กรุงเวลลิงตัน (Wellington) เปนเมือง หลวง เมืองทใี่ หญท ี่สุด คอื เมืองโอคแลนด (Auckland) ประชากรประมาณ 4.3 ลา นคนเศษ ประกอบไปดวย ชาวผิวขาว และชาวเมารี (Aotearoa) ที่เปนชนพื้นเมืองดั้งเดิม แปลวา ดินแดนสายเมฆขาว (The land of the ling white cloud) ประชากรสวนใหญของประเทศนิวซีแลนดอาศัยอยูบริเวณแนวชายฝงและตอนเหนอื ของประเทศ มีการปกครองโดยระบบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา ประชาชนจึงมีวิถีชีวิตที่สงบสุขภายใต สวัสดิการของรัฐ อาชีพสวนใหญข องคนในประเทศนิวซแี ลนด ไดแก การเลี้ยงสัตว และผลิตภัณฑแปรรปู จาก สัตว โดยเฉพาะแกะ และวัว ป ค.ศ. 2010 พ.ศ. 2553 รายไดเฉลี่ยของประชากร ตอคนตอป 30,108.41 ดอลลารส หรัฐอเมริกา (ใช 33 บาทเปนอตั ราแลกเปล่ยี น คิดเปน เงิน 993,577.53 บาทตอ ป หรอื 82,798.13 บาทตอเดือน) ป ค.ศ. 2012 พ.ศ. 2555 ความสามารถในการแขง ขันนานาชาติ อันดับที่ 21 จากการจัดอันดับ

ของสถาบันการจัดการนานาชาติ อัตราการวางงาน รอ ยละ 6.8 อายเุ ฉลยี่ ของประชากร ประมาณ 82 ป อัตรา การรหู นงั สือของประชาชน รอ ยละ 99 โดยประเทศนิวซแี ลนดใหค วามสำคญั กบั การศึกษาวา “เปน รากฐาน สำคัญของการพัฒนาประเทศ” ภาพที่ 2 ธงชาตปิ ระเทศนวิ ซีแลนด ถา กลา วถึงขนแกะยเู น่ียนแจ็กและประเทศผูสง ออกผลติ ภัณฑนมตอ งมปี ระเทศนวิ ซีแลนดเปน หนง่ึ ในน้ัน มีชือ่ เสยี งในฐานะ และแสดงถงึ สถานะความสัมพนั ธอ ันแนนแฟนกบั ประเทศองั กฤษตง้ั แตอ ดีต หากสังเกตในธง ชาติมดี าว 4 ดวง หมายถึง กลมุ ดาวกางเขนใต อนั เปน สัญลักษณของซึกโลกใต การตดิ ตอส่ือสารดวยการใชภาษาองั กฤษและภาษาเมารี ประเทศไทย ภาพท่ี 3 แผนท่ีประเทศไทย ในเอเชียตะวันออกเฉียงใตประเทศไทยมีขนาดใหญเปนอันดับที่ 50 ของโลกและเปนอันดับท่ี 3 เรื่อง ขนาดของพนื้ ที่ โดยรองจาก ประเทศอินโดนเี ซียมีพ้นื ท่ีประมาณ 1,910,931 ตารางกโิ ลเมตร

ประเทศพมามพี ืน้ ท่ีประมาณ 676,578 ตารางกโิ ลเมตร ประเทศไทยมีพื้นทปี่ ระมาณ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีขนาดใกลเ คียงกบั ประเทศสเปนมพี น้ื ท่ปี ระมาณ 505,370 ตารางกโิ ลเมตร มากท่สี ุด ประเทศไทยแบงออกเปน 6 ภาค ซึ่งแตละภาคมีลักษณะทางภูมิศาสตรและลักษณะภูมิประเทศที่ หลากหลายทีแ่ ตกตา งกนั ดงั น้ี ภาคเหนือปกคลุมดว ยปา ไมอ นั เปนตน น้ำท่ีสำคญั ของประเทศ จึงเปน แหลงตนน้ำท่ีสำคัญ เนือ่ งจากมีภูเขาสงู สลับซบั ซอ นเหนอื ระดับนำ้ ทะเลโดยจดุ สงู สุดคอื ดอยอินทนนท 2,565 เมตร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีสภาพของดินคอนขางแหงแลงและไมเอื้อตอการเพาะปลูก สว นใหญเ ปนที่ราบสูงโคราช ภาคกลางเปนท่ีราบลุมแมน ้ำเจาพระยามีความอดุ มสมบูรณที่สดุ ในประเทศไทย ซ่ึงแมน้ำ เจาพระยาเกดิ จากแมน ้ำปงและยมทีไ่ หลมาบรรจบกนั ที่ปากนำ้ โพ จังหวดั นครสวรรค ทำใหภาค กลางกลายเปน ท่รี าบลมุ แมน้ำทถ่ี ือไดวาเปนแหลง ปลกู ขา วที่สำคัญแหง หน่ึงของโลก ภาคใตทั้งสองฝงติดทะเลเปนสวนหนึ่งของคาบสมุทรไทย-มาเลย มีจุดที่แคบลง ณ คอคอดกระ แลวขยายใหญจ ึงกลายเปน คาบสมุทรมลายู ภาคตะวันออกมชี ายฝง ทะเลเรียบขาวและโคง เวา ภาคตะวันตกมีหุบเขาและแนวเทือกเขาซึ่งพาดตัวมาจากทางทิศตะวันตกของภาคเหนือ ทศิ เหนอื ตดิ กบั เมียนมารและลาวทิศตะวนั ตก ติดกับทะเลอนั ดามันและเมียนมารทิศตะวันออก ติดกบั ลาวและกัมพชู าทศิ ใต ติดกบั อา วไทยและมาเลเซยี ประเทศไทยมภี าษาประจำชาตแิ ละภาษาราชการ คือ ภาษาไทย ระบอบการปกครองในประเทศไทยมีรูปแบบรัฐเปนราชาธิปไตยภายใตร ัฐธรรมนญู และใชก ารปกครอง ระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา หรือที่รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยเรียกรวมกันวา ระบอบ ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ทรงเปน ประมุข รัฐธรรมนญู ฉบบั ปจ จบุ ัน คอื รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจักร ไทย พุทธศักราช 2550 ซง่ึ เปนฉบับท่ี 18 อันกำหนดรปู แบบองคก รบรหิ ารอำนาจทงั้ สามสวน

หลักการและจดุ มุงหมายทวั่ ไปในการจัดการศึกษา (Principals and general objectives of education) ประเทศนิวซแี ลนด ประเทศนิวซแี ลนดไดช ื่อวา เปน ประเทศท่ีประสบผลสำเรจ็ ทางการศกึ ษาเปนอยา งสูงในลำดับตน ๆ ของ โลกจากการทดสอบสมรรถนะทางการอาน คณิตศาสตร และวิทยาศาสตร ในโครงการประเมินผลนักเรียน รวมกับนานาชาติ (Programmed for International Student Assessment: PISA) ครั้งที่ 4 เม่ือป ค.ศ. 2009 พ.ศ. 2552 อยใู นอันดบั 7 จาก 65 ประเทศ เปน ผลพวงหน่ึงจากการปฏิรปู ประเทศและปฏริ ูปการศึกษา ทั้งระบบ เมื่อป ค.ศ. 1989 พ.ศ. 2532 โดยการกระจายอำนาจทางการศึกษาจากกระทรวงศึกษาการไปยัง สถานศึกษาโดยตรงในความรับผิดชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา (Board of Trustee) ที่ไมมีองคกร ทางการบรหิ ารอ่นื มาค่ันกลาง มสี ำนกั งานตรวจสอบคุณภาพการศึกษา (Education Review Office) ขึ้นตรง ตอรฐั มนตรผี ูรับผิดชอบตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษา ทำหนาท่ีติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษาทุก 5 ป ใน ลกั ษณะของการตรวจสอบและถว งดุลทค่ี วบคกู ับการกระจายอำนาจ (Adams, 2009) และมสี ำนักงานรับรอง คณุ วุฒิการศกึ ษาของนวิ ซีแลนด (The New Zealand Qualification Authority) สงั กัดกระทรวงศึกษาธิการ ทำหนาที่ดูแลมาตรฐาน คุณภาพและการรับรองคุณวุฒิการศึกษาการจัดการศึกษาตามกฎหมายการศึกษา แหงชาติ ค.ศ. 1989 มีแนวทางแหง ชาตวิ า ดว ยการศกึ ษา (National Guidelines) เปาหมายการศึกษาแหง ชาติ (Education Goal) และกรอบคุณวุฒแิ ละหลักสูตรแหงชาติ เปนแนวดำเนินการบนพื้นฐานปรัชญาการศึกษา เพื่อชีวิต ดวยหลักของการกระจายอำนาจทางการศึกษา หลักการมีสวนรวมของประชาชน และหลักการ ตรวจสอบและถว งดุลโดยยดึ แนวคดิ ในการดำเนนิ งานเพอื่ การปฏิรปู การศึกษาดังน้ี 1) โรงเรียนเปนแหลงท่ีทกุ คนเขามาใชได 2) โรงเรยี นเปน แหลงทีเ่ ด็กเขา มาเลน ได 3) โรงเรียนเปนแหลงของความรแู ละความสำเรจ็ และ 4) ครูจะตองมีประสทิ ธภิ าพ (สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา, 2555) ที่พิเศษสำหรบั การจัดการศึกษาของนิวซีแลนด ก็คือ การใหความสำคัญกบั ชนเผาดั้งเดิม คือ ชาวเมารี จากขอ บญั ญตั ขิ องสนธสิ ัญญาไวทงั กิ ทีก่ ำหนดใหรัฐบาลตองใหความสำคัญของความเปนมนษุ ยและสิทธิท่ีเทา เทียมกัน โดยเฉพาะการไดรับการศึกษาที่แมจะมีชาวเมารีเพียงคนเดียวในโรงเรียน โรงเรียนนั้น ๆ ก็ตองจัด หลกั สูตรการเรยี นการสอนใหกบั ชาวเมารีเปนการเฉพาะ (สุเมธ งามกนก และนพมณี เชื้อวัชรินทร, 2558) ประเทศไทย ตามพระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ. 2552 แกไ ขเพ่ิมเตมิ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2553 ในหมวด 1 บทท่วั ไป ความมุงหมายและหลักการ มาตรา 6 กลา ววา การจัดการศึกษาตองเป็นไปเพือพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยที่สมบูรณทังรางกาย จติ ใจ สตปิ ญญา ความรู และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยูรวมกับผูอ่ืนได อยา งมีความสขุ

มาตรา 7 กลาววา ในกระบวนการเรียนรูตองมุงปลูกฝงจิตสำนึกที่ถูกตองเกี่ยวกับการเมืองการ ปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข รูจักรักษาและสงเสริมสิทธิ หนาที่ เสรีภาพ ความเคารพกฎหมาย ความเสมอภาค และศักด์ิศรีความเปนมนุษย มีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย รูจักรักษาผลประโยชนสวนรวมและของประเทศชาติ รวมทัง้ สงเสริมศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมของชาติ การ กีฬา ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทย และความรูอันเปนสากล ตลอดจนอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม มีความสามารถในการประกอบอาชีพ รูจักพึ่งตนเอง มคี วามริเริ่มสรางสรรค ใฝรูและเรียนรูดวย ตนเองอยางตอเนอ่ื ง มาตรา 8 กลาววาการจัดการศึกษาใหยึดหลักดังน้ี (๑) เปนการศกึ ษาตลอดชีวิตสำหรับประชาชน (๒) ใหสังคมมีสว นรวมในการจัดการศึกษา (๓) การพฒั นาสาระและกระบวนการเรียนรใู หเ ปนไปอยางตอเนอื่ ง มาตรา 9 ก ล า ว ว า การจดั ระบบ โครงสราง และกระบวนการจดั การศึกษา ใหยดึ หลักดังนี้ (๑) มีเอกภาพดานนโยบาย และมีความหลากหลายในการปฏิบตั ิ (๒) มีการกระจายอานาจไปสูเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา สถานศึกษา และองคกรปกครองสวนทอ งถ่นิ (๓) มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษา และจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับ และประเภทการศึกษา (๔) มีหลักการสงเสริมมาตรฐานวิชาชีพครู คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษา และ การพฒั นาครู คณาจารย และบคุ ลากรทางการศกึ ษาอยา งตอ เน่ือง (๕) ระดมทรพั ยากรจากแหลง ตาง ๆ มาใชใ นการจดั การศกึ ษา (๖) การมีสวนรวมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคกรปกครองสวน ทองถน่ิ เอกชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอ่ืน

กฎหมายการศึกษาหรือกฎระเบียบตา ง ๆ ทเ่ี กยี่ วขอ งกบั การศกึ ษา (Laws and other basic regulations concerning education) ประเทศนิวซแี ลนด รัฐบาลมีกระทรวงศึกษาธิการเปนหนวยงานกลางมีหนาที่รับผิดชอบแนวทางการจัดการศึกษา เพ่ือ สง เสริมใหป ระชาชนในประเทศนิวซแี ลนดม คี วามรู ทกั ษะ และคณุ คา ทจ่ี ะเปนพลเมืองท่ปี ระสบความสำเร็จ จึง มเี ปา หมายการทำงานแบบสามเสารว มกับ กลา วคือ 1) ผปู กครอง 2) สถานศกึ ษา 3) ชุมชน ดำเนินการจัดทำ วิเคราะห วางแผน สนบั สนุนงบประมาณ และการนำสูการปฏิบตั ิ ดังนี้ 1. นโยบายทางการศึกษาและรฐั บาล 2. การสนับสนุนงบประมาณและทรพั ยากรใหโรงเรยี น 3. การตดิ ตามและสงเสรมิ การนำนโยบายไปสูการปฏบิ ัติ 4. การบรหิ ารจัดการเรียนการศึกษาสำหรบั ผมู คี วามตอ งการพิเศษ 5. ศึกษาวิจยั เกบ็ รวบรวมขอมลู และประมวลผลดา นสถติ ิและขอ มลู ทางการศึกษา มาตรฐานการศกึ ษาในประเทศนิวซีแลนด ในแตล ะสถาบันการศึกษาในประเทศนิวซีแลนด มีพนั ธกิจหลักคอื ใหการศกึ ษาที่มีคุณภาพกับผูท่ีเขามา ศึกษา ดังนั้นรัฐบาลนิวซีแลนด จึงมีขั้นตอนการรับประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อที่จะมั่นใจไดวาผูที่เขามา ศึกษาในสถาบนั นั้น ๆ จะไดรบั ความรูทกั ษะตามความตองการและคมุ คากับคา เลาเรยี น รัฐบาลมีการควบคุมคุณภาพการศึกษา และระบบการศึกษาตาง ๆ ซึ่งไดควบคุมผานองคกร NZQA (New Zealand Qualifications Authority) การศึกษาของประเทศนิวซแี ลนดข นึ้ กับกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เปนที่ยอมรบั ในระดับนานาชาติ และระดับ โลก ดังนั้นสถาบันการศึกษาของนิวซีแลนด จะเปดรับนักศึกษาใหมในชวงตนปการศึกษา คือ ในชวงเดือน กมุ ภาพันธ ซง่ึ เปน เทอม 1 แตบ างโรงเรยี นก็จะเปดในเทอมการศึกษาท่ี 2 ดวย ชว งเดือนกรกฎาคม หลักสูตรการเรียนการสอนในแตละโรงเรียนจะตองอยูภายใตการควบคุมดูแล อนุมัติหลักสูตรจาก กระทรวงศึกษาธกิ ารและไดรับการรับรองคุณภาพจาก New Zealand Qualification Authority (NZQA) จะ แตกตางจากระบบการศึกษาที่ประเทศไทย โดยทป่ี ระเทศนวิ ซีแลนดนักเรียนจะตองเรียนมัธยมเปนระยะเวลา 7 ป (Year 7 – Year 13) แตถากลับมาไทย เรียนแคถึง year 12 โรงเรียนมีทั้งที่เปนของรัฐบาล และ ของ เอกชน นกั เรยี นไทย และ ตา งชาติ สามารถเขาเรยี นไดต ้งั แตชว งอายุ 11 ปขึ้นไป สำหรบั Year 7 และ ชว งอายุ 13 ปข ึน้ ไป สำหรบั Year 9 ทกุ โรงเรยี นในประเทศนิวซแี ลนดจ งึ มีมาตรฐานเหมอื นกันทงั้ ประเทศ Year 11 ของโรงเรียน นิวซีแลนด นักเรียนตองเรียนใหผานวิชาระดับพื้นฐานซึ่งจะอยูในระบบ National Certificate Education Academic (NECA) ใน NCEA-Level 1 ประกอบดวย วิชาภาษาอังกฤษ วิชาคณติ ศาสตร วชิ าวิทยาศาสตรแ ละ วิชาอน่ื ๆ นักเรียนจะตอ งเรยี นวิชาท้ังหมดประมาณ 6 วิชา

Year 12 ของโรงเรยี นนวิ ซีแลนด นกั เรียนจะเรียนในวิชา NCEA-Level 2 เรียน 6 วิชา และมีวิชาเลือก อ่ืน ๆ ใหน กั เรยี นลงเรยี นได นอกจากวิชาพน้ื ฐานทวั่ ไป นักเรยี นไทยท่ตี อ งการกลับมาเรียนตอมหาวิทยาลัยใน ประเทศไทย ตอง เรียนจบ Year 12 และสอบผาน NCEA-Level 2 ปสุดทา ย Year 13 ของโรงเรยี นนิวซีแลนดก อนเขามหาวทิ ยาลัย นกั เรียนจะเรยี นในวชิ า NCEA-Level 3 เรียน 6 วิชา ซึ่งนกั เรียนควรเลือกวิชาท่สี อดคลอ ง กับสาขาวิชาที่สนใจศึกษาตอในระดับมหาวทิ ยาลัย โดยปกติ 1 ปก ารศกึ ษานน้ั จะแบง เปน 4 เทอม เรียนประมาณ 10-11 สปั ดาห และมชี ว งปด เทอมสั้น ๆ ระหวางเทอม ครั้งละ 2 สัปดาห เชน ปใหมจะหยุดถึงกลางมกราคม เปนตน แตละโรงเรียนสามารถจัด หลักสูตรการเรียนการสอนเองได แตตองผานการรับรองจาก New Zealand Qualification Authority (NZQA) ดงั นน้ั ผูปกครอง จึงไมตอ งกังวลเลยวาหลักสูตรและมาตรฐาน การศกึ ษาจะไมม คี ุณภาพหากไปเรียน โรงเรยี นขนาดเลก็ ๆ หลักสูตรในระดับมัธยมศึกษาของประเทศนิวซีแลนด จะมีวัตถุประสงคใกลเคียงกัน หรือในทิศทาง เดียวกัน คือ เนนนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเพื่อเตรียมความพรอมแกนักเรียนในการสอบใหได ประกาศนยี บตั รตามที่รฐั บาล พรอ มจดั ทีพกั เมือ่ อยทู ป่ี ระเทศนวิ ซีแลนด หลังจากเรียนจบ Year 13 แลว เลือกตอในสถาบันอบรมวิชาชีพ (Polytechnics and Institute of Technology) ที่เนนหลักสูตรการอบรมสายวิชาชีพธุรกิจ และ การพาณิชย เนนดานการปฏิบัติเพื่อนำไปใช งานจริง สถาบันโพลีเทคนิคในประเทศนิวซแี ลนดตั้งกระจายอยูในเกาะเหนือ 18 แหง และเกาะใตอีก 7 แหง โดยสถาบนั การศึกษาเหลานจ้ี ะไดร ับการสนบั สนนุ จากรัฐบาล การรับประกันคุณภาพการศกึ ษาสำหรับโรงเรียนระดบั มธั ยมศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ ารไดพฒั นาเปา หมายทางการศกึ ษา และหลกั สูตรสำหรับโรงเรยี นระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษาเอาไว อยางไรกต็ ามยังมีการเขยี นมาตรฐานทางการศึกษาของระดับมัธยมศึกษาเพ่ิมเตมิ โดย ทาง NZQA ไดตรวจสอบคุณภาพของการประเมินและสื่อการเรียนการสอนที่ใชในโรงเรียน นอกจากนี้ ทาง Education Review Office ยงั ตรวจสอบคณุ ภาพทางการศกึ ษา และการดูแลนักเรยี นในโรงเรยี นอกี ดวย ประเภทและระดับของหลกั สูตรโพลีเทคนคิ และสถาบันเทคโนโลยี มดี ังน้ี คอื 1. ประกาศนียบตั ร (Certificates) 2. อนปุ ริญญา (Diploma) 3. ปรญิ ญาตรี (Bachelor's Degree) 4. ปรญิ ญาโท (Master's Degree) การรับประกนั คุณภาพการศกึ ษาสำหรับสถาบันในระดับอดุ มศกึ ษา NZQA ยงั ตรวจสอบคุณภาพของสถาบันการศกึ ษาดังตอ ไปนี้ • Institutes of technology and polytechnics • Private training establishments (PTEs) • Wānanga (tertiary education delivered in a Māori cultural context) • Industry training organizations (ITOs)

• Government training establishments (for example, The New Zealand Army and the New Zealand Navy) ประเทศไทย ตามพระราชบญั ญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2552 แกไ ขเพ่มิ เตมิ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2553 ในหมวด 2 สิทธิและหนา ท่ที างการศึกษา มาตรา ๑๐ การจัดการศกึ ษา ตองจัดใหบคุ คลมีสิทธิและโอกาสเสมอกนั ในการรับการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน ไมน อยกวาสบิ สองปท ีร่ ฐั ตองจัดใหอ ยางทวั่ ถงึ และมคี ุณภาพโดยไมเก็บคาใชจา ย การจัดการศึกษาสำหรับบุคคลซึ่งมีความบกพรองทางรางกาย จิตใจ สติปญญา อารมณ สังคม การ ส่อื สารและการเรยี นรู หรอื มีรางกายพกิ าร หรอื ทพุ พลภาพหรือบคุ คลซึ่งไมสามารถพึ่งตนเองไดหรือไมมีผูดูแล หรือดอยโอกาส ตองจดั ใหบคุ คลดังกลาวมสี ทิ ธิและโอกาสไดรับการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานเปนพเิ ศษ การศกึ ษาสำหรับคนพกิ ารในวรรคสอง ใหจ ัดต้ังแตแ รกเกิดหรือพบความพกิ ารโดยไมเสยี คา ใชจาย และ ใหบุคคลดังกลาวมีสิทธิไดรับสิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ บริการ และความชวยเหลอื อืน่ ใดทางการศึกษา ตาม หลกั เกณฑแ ละวิธีการทกี่ าหนดในกฎกระทรวง การจัดการศึกษาสำหรับบุคคลซึ่งมีความสามารถพิเศษ ตองจัดดวยรูปแบบที่เหมาะสมโดยคำนึงถึง ความสามารถของบุคคลนั้น มาตรา ๑๑ บดิ า มารดา หรอื ผูปกครองมีหนาที่จัดใหบุตรหรือบุคคลซึ่งอยใู นความดูแลไดรับการศึกษา ภาคบังคับตามมาตรา ๑๗ และตามกฎหมายที่เกี่ยวของตลอดจนใหไดรับการศึกษานอกเหนือจากการศึกษา ภาคบังคบั ตามความพรอมของครอบครวั มาตรา ๑๒ นอกเหนือจากรัฐ เอกชน และองคกรปกครองสวนทองถิ่น ใหบุคคล ครอบครัว องคกร ชมุ ชน องคกรเอกชน องคก รวชิ าชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสงั คมอื่น มีสิทธิในการจัด การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน ทง้ั น้ี ใหเ ปน ไปตามทก่ี าหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๑๓ บิดา มารดา หรือผปู กครองมสี ทิ ธิไดรบั สิทธปิ ระโยชน ดังตอไปนี้ (๑) การสนบั สนนุ จากรัฐ ใหม ีความรคู วามสามารถในการอบรมเล้ียงดู และการใหก ารศกึ ษาแกบุตรหรือ บคุ คลซ่ึงอยูในความดแู ล (๒) เงินอุดหนุนจากรัฐสำหรับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของบุตรหรือบุคคลซึ่งอยูในความดูแลท่ี ครอบครัวจดั ให ทงั้ น้ี ตามทก่ี ฎหมายกำหนด (๓) การลดหยอนหรอื ยกเวนภาษีสาหรบั คา ใชจา ยการศึกษาตามที่กฎหมายกำหนด มาตรา ๑๔ บุคคล ครอบครวั ชมุ ชน องคกรชมุ ชน องคก รเอกชน องคก รวิชาชพี สถาบนั ศาสนา สถาน ประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น ซึ่งสนับสนุนหรือจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีสิทธิไดรับสิทธิประโยชนตาม ควรแกกรณี ดงั ตอไปน้ี (๑) การสนับสนนุ จากรฐั ใหมคี วามรคู วามสามารถในการอบรมเล้ยี งดบู คุ คลซ่งึ อยูในความดูแลรับผิดชอบ (๒) เงินอดุ หนนุ จากรัฐสาหรบั การจัดการศึกษาข้นั พ้ืนฐานตามทีก่ ฎหมายกำหนด (๓) การลดหยอ นหรอื ยกเวนภาษีสำหรบั คาใชจายการศกึ ษาตามทก่ี ฎหมายกำหนด

การบริหารและการจดั การระบบการศึกษา (Administration and management of the education system) ประเทศนวิ ซแี ลนด ในประเทศนิวซีแลนดมีระบบการศึกษาอยูระดับมาตรฐานสากล ชาวนิวซีแลนดทุกคนไดรับความรู เพิ่มขึ้น มีทักษะหลากหลาย และคุณคาที่จะกอใหเปนพลเมืองที่ประสบความสำเร็จในศตวรรษที่ 21 ทำใหมี ความรูทันเหตุการณปจจุบัน สามารถเรียนรูวิธีการแกปญหาการดำเนินชีวิตประจำวันได ใชกระบวนการ แกปญหาแยกรายละเอียดที่สำคัญนำมาสังเคราะหขอมูล เพื่อสามารถทำงานรวมกันไดอยางสรางสรรค เกิด นวตั กรรมทเี่ ขากับปญหา ซึ่งหัวใจของระบบการศกึ ษาในประเทศนิวซีแลนดด งั ท่ีกลาวมา ระบบการจัดการศึกษาของประเทศนิวซีแลนดทุกอณูมีการเปลี่ยนแปลงตลอดสองศตวรรษตั้งแตมี ประเทศ การมุงเนนใหผูเรียนมีความพรอมทัง้ ทักษะและความรูที่จำเปนตอการประกอบอาชีพและดานอื่นๆ เปนทกั ษะดา นการบรหิ ารจัดการหลกั สูตร การจดั การเรียนการสอน กระบวนการเรยี นรูข องผูเ รียน ซงึ่ เปน ผลที่ เกิดขึ้นทุกปการศึกษา นำไปสูการประกันคุณภาพ การประเมินคุณภาพการศึกษา นิวซีแลนดเปนประเทศที่ ไดรับการยอมรบั จากนานาชาตวิ ามีการจดั การศึกษาที่มีคุณภาพ เพราะมีการนำแนวคิดและวิธีการใหม ๆ ไป ประยกุ ตใชจ นประสบผลสำเร็จ โดยมีงานวิจัยและขอมูลหลักฐานทางวิชาการรองรับจำนวนมาก ซ่ึงมีลักษณะ ของการบรหิ ารการศกึ ษาและการจัดระดับการศึกษาในแตล ะระดบั ดงั น้ี 1. การบรหิ ารการศกึ ษา การบรหิ ารการศึกษาของนิวซีแลนด ใชห ลักการกระจายอำนาจ ควบคูก บั หลักการประกันคุณภาพ โดย มีกระทรวงศึกษาธิการทำหนาที่และรับผิดชอบในการพัฒนานโยบายเชิงยุทธศาสตรใหการสนับสนุน และ จัดสรรทรัพยากรทางการศึกษาสำหรับการศึกษาปฐมวัย ประถมศึกษา และมัธยมศึกษาจัดการทรัพยสินของ โรงเรยี นท่ีจัดตงั้ โดยงบประมาณของรัฐ จดั ทำแฟมสะสมรายการทรัพยส นิ และการจดั การทรัพยสิน จดั ซ้ือและ กอสรางอาคารสถานที่ที่จำเปน ตรวจสอบและจำหนายสินทรัพยที่หมดสภาพ และการดูแลบานพักครูและ บานพักภารโรง จัดทำแนวทางการปฏิบัติงานดานการเรียนการสอนจัดทำหลักสูตรระดับชาติและกำหนด มาตรฐานหลักสูตร จัดสรรทรัพยากรเพื่อสนับสนนุ การเรียนหลักสูตรการสอน และการประเมินผลการเรยี นรู และจัดหลกั สูตรพฒั นาวชิ าชพี ครู ทุนการศึกษา และรางวลั ตาง ๆ สำหรับครูและผูบริหารสถานศึกษา รวมทั้งบริหารบัญชีเงินเดือน สำหรับครูจัดการศึกษาสำหรับ กลุม เปาหมายพิเศษ ซ่ึงรวมถงึ บรกิ ารการศึกษาพิเศษสำหรบั เดก็ พิการ ใหบรกิ ารชว ยเหลือโดยผมู คี วามรูเฉพาะ ทาง สนับสนุนงบประมาณและทรพั ยากรอืน่ ๆ นอกจากน้ียังมหี นา ทีพ่ ัฒนานโยบายเชงิ กลยุทธอุดมศกึ ษาและ การศึกษานานาชาติ ทำวิจัยและวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับอุดมศึกษา กำกับติดตาม ผลการปฏิบัติงานและขีด ความสามารถของสถาบันอดุ มศึกษา (Ministry of Education, New Zealand government,2013) แนวทางการบริหารการศึกษาของประเทศนิวซีแลนดไดบัญญัติไวในกฎหมายการศึกษา (Education Act 1989) และนโยบายของรัฐ ชื่อ Achievement 2001 และมีหนวยงานเพื่อกำกับดูแลและประเมินผล การศึกษาตามกรอบคุณสมบัติแหงชาติทางการศึกษา ซึ่งเรียกวา New Zealand Qualification Authority: NZQA) จดั ตงั้ ขนึ้ เมอื่ ป ค.ศ. 1990 แนวทางการบริหารการศึกษาทั้ง 3 ระดบั สรุปไดดังน้ี

1.1 การบริหารการศึกษาปฐมวยั บุคคลหรือองคกรตาง ๆ ที่มีคุณสมบตั ิตามที่กฎหมาย กำหนด สามารถจะขออนุญาตเปนผูจัด (Providers) ยกเวนในการจัดกลุมการเลน ตองมีใบ ประกาศนียบัตร (Certificate) ดวย กระทรวงศึกษาธิการจะจัดสรรเงินอุดหนุนใหผูจัดตาม ระเบยี บ พอ แมข องเดก็ ตอ งจา ยคา ใชจายบางสวน การสนบั สนุนมี 5 รปู แบบ 1) การอุดหนุนทัว่ ไป พิจารณาจากรายชัว่ โมงและรายหัว สัปดาหละไมเกิน 30 ช่วั โมง เรียกวา ECE Funding Subsidy 2) การอุดหนนุ สำหรับบริการที่มีมาตรฐานสูงกวาท่ัวไป อดุ หนนุ สูงกวาทั่วไป สำหรับ 20 ชั่วโมงแรก เรียกวา 20 Hours ECE แลวอุดหนุนอัตราปกติ ในสวนที่ เหลอื ไมเกิน 10 ชัว่ โมง 3) การอุดหนุนเพื่อความเสมอภาคทางโอกาสสำหรับชุมชนที่มีปญหาทาง เศรษฐกิจและสงั คม เรยี กวา Equity Funding 4) การอุดหนนุ เพิม่ เติมไมต ำ่ กวา 1.65 เทา ของเงนิ อดุ หนุนท่ัวไป สำหรับใน พื้นที่ชนบทหางไกลขนาดเลก็ ซึ่งไดเงินอุดหนนุ ทั่วไป ไมเกินปละ 20,000 เหรียญ เรยี กวา Annual Top-up Isolated Service (ATIS) 5) การอุดหนุนการจางครูท่ีมใี บประกอบวิชาชีพ (Ministry of Education, New Zealand government, 2013) 1.2 การบรหิ ารการศึกษาระดบั โรงเรียน การศกึ ษาระดับประถมและมธั ยมศกึ ษาเปนภาค บังคับที่ไมเสียคาใชจายจนกวาเด็กจะอายุครบ 16 ป การบริหารตามแนวทาง The National Administration Guidelines: NAGs) มีคณะกรรมการสถานศึกษา ทำหนาที่บริหารคุณภาพ การศึกษารว มกบั ผบู ริหารสถานศกึ ษาและครู เชน 1) พฒั นานโยบายดานบุคลากรและการจัดการธรุ กจิ ของสถานศึกษา ภายใตกรอบนโยบายและกระบวนการที่รัฐกำหนด เพื่อยกระดับคุณภาพ การปฏบิ ตั งิ านของบุคลากร ใชท รัพยากรอยา งมปี ระสิทธิผล และสนองความ ตอ งการจำเปนของนักเรยี น และเปน ผูจางท่ีดี 2) พัฒนายุทธศาสตรสถานศึกษา เปนลายลักษณอักษร ซึ่งสะทอน นโยบาย แผนงานโครงการหลักสูตรสถานศึกษา การมุงบรรลุมาตรฐาน ระดับชาติ การประเมินผล การพัฒนาวิชาชีพครู และผูบริหารสถานศึกษา การทบทวนผลงานของสถานศึกษาอยางตอเน่ือง การรายงานผลการเรียน เปนรายบุคคล ใหเด็กและผูปกครองทราบ การรายงานใหชุมชนทราบทั้ง ผลสัมฤทธิ์ในภาพรวมและจำแนกตามกลุมเสี่ยง ตองรายงานความกาวหนา การจัดการศึกษาชั้นปที่ 1-8 โดยอิงมาตรฐานระดับชาติ (National Standards) ใหเดก็ และผปู กครองทราบ อยา งนอยปละ 2 คร้งั 3) พัฒนาหลกั สูตร และการจดั การเรยี นการสอนใหน กั เรยี นทุกคนใน ช้ันปที่ 1-10 บรรลผุ ลสำเร็จตามหลกั สูตรแหงชาติ สัมพนั ธกับความตองการ

และความสนใจของเด็ก บอกไดวาคนใดกลุมใดตองการความชวยเหลือเปน พิเศษและพัฒนายุทธศาสตรการเรียนการสอนและใชคนหาความตองการ และแกไขปญหาของเดก็ เหลา นี้ 4) จัดใหมีสิ่งแวดลอมที่ปลอดภัยตอรางกายและจิตใจของเด็ก สงเสริมใหทุกคนไดรบั ประทานอาหารสุขภาพ ถูกหลักโภชนาการและปฏิบัติ ตามกฎหมายและระเบียบขอบงั คับท่ีเกี่ยวของหรือกำหนดขอ บังคับเพ่ิมเติม เพ่ือประกนั วา นกั เรียนและพนกั งานของโรงเรียนจะปลอดภยั 1.3 การบริหารอุดมศึกษา ถูกควบคุมคุณภาพโดย New Zealand Qualification Authority: NZQA) เชนเดียวกับการศึกษาปฐมวัย และการศึกษาระดับโรงเรียน โดยมีกรอบคุณสมบัติระดับชาติ (National Qualification Framework: NQE) ซ่งึ มีหลกั การและจดุ หมาย 5 ประการ คือ 1) การเรียนรูที่ชัดเจนและมีเสนทางอาชีพที่ชัดเจน (Clear Learning and Career Pathways) 2) การเรียนรูทถ่ี กู ตอ งและยืดหยนุ ได (Relevant and Flexible Learning) 3) การเขาถึงการเรียนรูและยอมรับผลการการเรยี นรูท่ีสอดคลองกับบริบท และสถานการณ(Access to Learning and Portability of Recognition) 4) การจัดการศึกษาที่ประกันและประเมินคุณภาพ (Quality Assured Provision and Assessment) 5) การอุดหนุนการจางครูที่มใี บประกอบวชิ าชีพ (Ministry of Education, New Zealand government, 2013) 2. ระดับการศึกษาของประเทศนวิ ซีแลนด การจดั การศกึ ษาในประเทศนวิ ซีแลนดเ นนการเรียนรูตลอดชวี ิต (Life – long Learning) ของผูเ รยี นแต ละคน จึงสามารถพัฒนาศักยภาพของตนเอง การใชสื่อที่เปนวสั ดุ อุปกรณ เทคโนโลยี และประสบการณการ เรียนรูที่หลากหลาย ชวยสงเสริมการคิดวิเคราะหอยางมีวิจารณญาณ เปนกลไกอันหนึ่งในการยกผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนของผูเรียน โดยเนนการใชตัวอยางการปฏิบัติที่ดีที่สุดจากการศึกษาหลักฐานวิจัย (research – evidenced best practices) ประเทศนิวซีแลนดเอื้อใหผูเรียนไดพัฒนาบนเสนทางที่มีความยืดหยุนและหลากหลายมิติ จึงแบง การศึกษาออกเปนระดับ คือ การศึกษาปฐมวัย การศึกษาในระบบโรงเรียน และการอุดมศึกษา ซึ่งมี รายละเอยี ด ดังน้ี 2.1 การศึกษาปฐมวัย (Early Childhood Education: ECE) เปนยุทธศาสตรเพื่อ ประเทศนิวซีแลนดใหมีการศึกษาและการดูแลเด็กตั้งแตเปนทารกแรกเกิดจนถึงอายุ 6 ขวบ ที่ เนนการสรางพ้ืนฐานการใชช ีวติ เพ่ือประสบความสำเร็จ (the lifelong foundation of success) ใหการรับรองคุณภาพที่เขมแข็งและหลักสูตรการจัดการศึกษาชั้นนำระดับโลก การศึกษาของ ประเทศนิวซีแลนดมีสวนรวมในระดับสูงและการสงเสริมพัฒนาคุณภาพของผูสอน กระทรวงศึกษาธกิ ารมีอำนาจหนาท่ีอนุมัตใิ หจดั ตงั้ สถานศึกษา สนับสนุนการดำเนินงาน จัดสรร

งบประมาณอุดหนุน และกำกับดูแลการจัดการศึกษาปฐมวัยของผูรับใบอนุญาต (Providers) ระเบยี บกระทรวงศึกษาธกิ าร ซ่ึงมผี ลบงั คบั ใชต้งั แตว ันท่ี 29 กันยายน ค.ศ. 2009 พ.ศ. 2552 1) การจัดการศึกษาปฐมวัยโดยครูเปนผูนำ แบงออกเปน 3 ประเภท คือ ศนู ยการศกึ ษาและการดแู ลเด็ก (Education and Care Centers) โรงเรียนอนบุ าล (Kindergarten or Pre-School) จัดโดยสมาคมโรงเรียนอนุบาล และบริการ การศกึ ษาและดูแลในครอบครัว (Home Based Education and Care Services) เปนบริการในครอบครวั อายุ 3-5 ป ไมรับนักเรยี นตา งชาติ 2) การจัดการศึกษาปฐมวยั โดยพอ แมเ ดก็ เปนผูนำแบง ออกเปน 2 ประเภท (1) ศูนยการเลน (Playcenters) ไดรับใบอนุญาตจาก กระทรวงศึกษาธกิ ารใหจ ัดบรกิ ารแกเดก็ ปฐมวยั โดยผบู ริหารและจัด การศึกษา คอื พอแม กลุม ครอบครวั ในระบบครอบครวั ขยายของเด็ก เมารี (Whanau) และผูดูแลเด็ก (Caregivers) (2) กลมุ การเลน (Playgroups) เปนบรกิ ารการศึกษาปฐมวัยที่ มคี วามเปนทางการนอยท่ีสุดเมื่อเทียบกบั ประเภทอนื่ ๆ จัดโดยพอแม ครอบครัวเด็ก และผูดูแลเด็ก เพื่อใหเด็ก ๆ มีโอกาสพบกัน และเลน ดวยกันในโปรแกรมการเลน ท่ีกลมุ จดั ให 2.2 การศึกษาในระบบโรงเรียน (Schooling) [ระดับโรงเรียนประถมศึกษาและ โรงเรียนมัธยมศึกษาเปนการศึกษาภาคบังคับ] ประเทศนิวซีแลนดเปนการศึกษาแบบใหเปลา เกือบ 2,600 แหง ไดรับงบประมาณสนบั สนุนจากรัฐบาล มีการดำเนินการตามหลักสูตรการจัด การศึกษาระดับชาติ มีแนวคิดวาชมุ ชนเปนเจาของโรงเรยี น (Publicly owned) สามารถบริหาร จัดการดวยตนเอง (self - management) ไดรับการดูแลจากคณะกรรมการบริหารสถานศึกษา (Board of trustee) ประเทศนิวซีแลนดมีเปาหมายเพือ่ ยกระดับมาตรฐาน เนนการสรางความเขมแข็งดาน การอา นออกเขยี นได คดิ คำนวณเปน จัดหลกั สตู รแบบ Broad and balanced curriculum ซึ่งเปนหลักสูตรออกแบบใหเหมาะสมกับผูเรียนแตละคน เนนการมีสวนรวม การสนับสนุน สงเสริมการเรียนรู มีผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น จึงเปนแนวคิดหลักใหเยาวชนอยูในระบบสถานศึกษา มากกวา ทำใหสำเร็จการศึกษาดวยคุณภาพในระดับที่สูงขึ้น เพื่อเขาใจถึงการเปลี่ยนผานจาก ระดบั มธั ยมศึกษาเขา สูการศึกษาอยา งตอเนือ่ ง เกิดการทำงาน จากการฝก งาน ประเทศนิวซีแลนด เรียกการประถมและมัธยมศึกษาสายสามัญวา การศึกษาในระบบ โรงเรยี น (Schooling) ซงึ่ ชวงอายุ 6-16 ป เปน การศึกษาภาคบังคับ (Compulsory) แตเด็กสวน ใหญในประเทศนี้มักจะเริ่มเขาเรียนตั้งแตอายุ 5 ป โรงเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษา มี หลายประเภทดังนี้ 1) โรงเรยี นระดับประถมศกึ ษา (Primary Schools) จดั การศกึ ษาตงั้ แตช ้ันป ที่ 1 ถงึ 8 (Year1-8) อายุประมาณ 7 - 13 ป

2) โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา เปนประเภทของรัฐบาล กึ่งรัฐบาล และ เอกชน โรงเรียน สวนมากเปนโรงเรียนสหศึกษาซึ่งรัฐบาลของประเทศนิวซีแลนด เปนผูสนับสนุนดแู ลโดยมโี รงเรียนชายลวน และหญิงลวน อยูประมาณรอยละ 10 จัดการเรียนการสอนชั้นปที่ 9-15 หรือชั้นปที่ 7-15 ซึ่งมีทั้งโรงเรียนมัธยมของรฐั และเอกชน กระบวนการจดั การเรยี นรูเปน รายวิชา และสนบั สนุนใหค ำปรกึ ษาเร่ือง อาชีพ สงผลใหสถานศึกษาจัดทรัพยากรตาง ๆ ประกอบดวย ขอมูลสารสนเทศ ขาวสารทุกชนิด และเทคโนโลยีการสื่อสารในรูปแบบตาง ๆ ที่เหมาะสมสำหรับ ผเู รียน การนำเสนอแนวทางใหม ๆ เพื่อใหผูเรียนเขา ถึงความรแู ละเรียนรูไดดีอยาง ท่วั ถึง 3) โรงเรียนการศึกษาพิเศษ รวมถึงการจัดการศึกษาพิเศษในคายสุขภาพ (Health Camps) โรงเรียนในโรงพยาบาล (Hospital Schools) แตไมรวมการจัด ใหเด็กพิเศษที่เรียนรวมในโรงเรียนปกติ โรงเรียนการศึกษาพิเศษสำหรับผูมีสิทธิ ออกเสยี งเลอื กต้ังอืน่ ๆ 4) โฮมสกูล (Home Schooling) เปนการจัดการศึกษาในครอบครัว ตามท่ี กระทรวงศึกษาธิการอนุญาต 2.3 การอุดมศึกษา (Tertiary education) ในประเทศนิวซแี ลนดมยี ุทธศาสตร Ka Hikitia ให การสงเสริมการจัดการเรียนรูที่มีคุณภาพสำหรับเยาวชนชาวเมารีพื้นเมือง มีแผนพัฒนาการศึกษา (Pasifika Education) ที่สงเสริมการมีสว นรวมและผลสัมฤทธ์ิของผูเรียนที่มีเชื้อสายมาจากประเทศใน มหาสมุทรแปซิฟกใต จึงมงุ เนนคณุ ภาพท่ีสมั พันธกับผลการศึกษาที่ผา นมา มีงานวจิ ยั ทสี่ ามารถสนบั สนนุ ในโลกความเปน จริงของเปาหมายและการพัฒนาชาติ ประเทศนิวซีแลนดแบงออกเปน หลายประเภท คอื 1) มหาวิทยาลัย (Universities) จัดการอุดมศึกษา ระดับปริญญาตรี หรือสงู กวา เนนภาคทฤษฎี 2) วานังกะ (Wananga) คือ สถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่จัดในบริบท วฒั นธรรมเมารี 3) สถาบันเทคโนโลยีหรือวิทยาลัยโปลิเทคนิค (Institutes of Technology/Polytechnics) คือ สถาบันอุดมศึกษาของรัฐหรอื เอกชน 4) ว ิ ท ย า ล ั ย ว ิ ช า ก า ร ศ ึ ก ษ า ( College of Education) คื อ สถาบันการศึกษาที่รัฐจัดขึ้นเพื่อการเตรียมบุคคลเปนครูระดับปฐมวัย ประถมศกึ ษา และมัธยมศึกษา 5) ส ถ า บ ั น ฝ  ก อ บ ร ม อ า ช ี พ ข อ ง เ อ ก ช น ( Private Training Establishments: PTEs)

6) หนวยฝกงานในระบบอุตสาหกรรม (Industry Training Organization: ITOs) เพื่อใหความยืดหยุนและสอดคลองกับความตองการ ของผูเรียนท่ีเปนผูใหญ ประเทศนวิ ซีแลนดมีคณุ ภาพและโปรแกรมการจัดการศกึ ษาในระดับอุดมศกึ ษาเปน ท่ยี อมรับในระดบั นานาชาติ ประเทศไทย ตามพระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ. 2552 แกไ ขเพมิ่ เตมิ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 ในหมวด ๓ ระบบการศกึ ษา มาตรา ๑๕ การจัดการศึกษามีสามรูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศกึ ษานอกระบบ และการศึกษา ตามอัธยาศยั (๑) การศึกษาในระบบ เปนการศึกษาที่กำหนดจุดมุงหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาของ การศึกษา การวดั และประเมินผล ซง่ึ เปนเงือ่ นไขของการสำเรจ็ การศกึ ษาที่แนน อน (๒) การศกึ ษานอกระบบ เปนการศกึ ษาท่มี คี วามยืดหยุน ในการกำหนดจดุ มงุ หมาย รปู แบบ วิธีการจัดการ ศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมนิ ผล ซ่งึ เปน เงือ่ นไขสำคัญของการสำเร็จการศึกษา โดยเนอื้ หา และหลกั สูตรจะตอ งมคี วามเหมาะสมสอดคลองกับสภาพปญ หาและความตอ งการของบคุ คลแตละกลุม (๓) การศึกษาตามอัธยาศัย เปนการศึกษาที่ใหผูเรียนไดเรียนรูดวยตนเองตามความสนใจ ศักยภาพ ความพรอม และโอกาส โดยศกึ ษาจากบุคคล ประสบการณ สังคม สภาพแวดลอม สอื่ หรือแหลง ความรอู น่ื ๆ สถานศึกษาอาจจัดการศึกษาในรปู แบบใดรปู แบบหนง่ึ หรือท้งั สามรูปแบบกไ็ ด ใหมีการเทียบโอนผลการเรียนที่ผูเ รียนสะสมไวในระหวางรูปแบบเดียวกนั หรือตา งรูปแบบได ไมวาจะ เปนผลการเรียนจากสถานศึกษาเดยี วกันหรือไมก็ตาม รวมทั้งจากการเรยี นรูนอกระบบ ตามอัธยาศัย การฝก อาชีพ หรอื จากประสบการณการทำงาน มาตรา ๑๖ การศึกษาในระบบมสี องระดบั คือ การศึกษาข้ันพื้นฐาน และการศกึ ษาระดับอดุ มศกึ ษา การศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบดวย การศึกษาซึ่งจดั ไมนอยกวาสิบสองปกอนระดับอุดมศึกษา การแบง ระดบั และประเภทของการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน ใหเปนไปตามท่ีกำหนดในกฎกระทรวง การศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษาแบง เปน สองระดับ คอื ระดับตำ่ กวา ปริญญา และระดบั ปริญญา การแบงระดับหรือการเทียบระดับการศึกษานอกระบบหรือการศึกษาตามอัธยาศัย ใหเปนไปตามที่ กำหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๑๗ ใหมีการศึกษาภาคบังคับจำนวนเกาป โดยใหเด็กซึ่งมีอายุยางเขาปที่เจ็ด เขาเรียนใน สถานศึกษาขัน้ พ้ืนฐานจนอายุยางเขาปที่สิบหก เวนแตสอบไดชั้นปที่เกา ของการศึกษาภาคบังคบั หลักเกณฑ และวิธกี ารนบั อายุใหเ ปน ไปตามท่กี าหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๑๘ การจดั การศกึ ษาปฐมวยั และการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานใหจัดในสถานศกึ ษา ดงั ตอ ไปน้ี

(๑) สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ไดแก ศูนยเด็กเล็ก ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก ศูนยพัฒนาเด็กกอนเกณฑของ สถาบันศาสนา ศูนยบริการชวยเหลือระยะแรกเริ่มของเด็กพิการและเด็กซ่ึงมีความตองการพิเศษ หรือสถาน พัฒนาเด็กปฐมวยั ที่เรียกชือ่ อยางอนื่ (๒) โรงเรยี น ไดแ ก โรงเรยี นของรัฐ โรงเรียนเอกชน และโรงเรียนที่สังกดั สถาบนั พทุ ธศาสนาหรือศาสนาอ่นื (๓) ศูนยการเรยี น ไดแก สถานที่เรียนที่หนวยงานจัดการศึกษานอกโรงเรียน บุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ โรงพยาบาล สถาบันทางการแพทย สถานสงเคราะห และสถาบันสังคมอนื่ เปน ผูจัด มาตรา ๑๙ การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาใหจัดในมหาวิทยาลัย สถาบัน วิทยาลัย หรือหนวยงานที่ เรยี กช่อื อยางอื่น ท้งั น้ี ใหเปน ไปตามกฎหมายเกยี่ วกับสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา กฎหมายวาดวยการจัดตั้ง สถานศกึ ษาน้นั ๆ และกฎหมายท่ีเกย่ี วขอ ง มาตรา ๒๐ การจัดการอาชีวศึกษา การฝกอบรมวิชาชีพ ใหจัดในสถานศึกษาของรัฐ สถานศึกษาของ เอกชน สถานประกอบการ หรือโดยความรวมมือระหวา งสถานศึกษากับสถานประกอบการ ท้งั นี้ ใหเ ปนไปตาม กฎหมายวาดว ยการอาชีวศกึ ษาและกฎหมายทเ่ี ก่ยี วขอ ง มาตรา ๒๑ กระทรวง ทบวง กรม รัฐวสิ าหกจิ และหนวยงานอ่นื ของรัฐ อาจจดั การศกึ ษาเฉพาะทางตาม ความตอ งการและความชำนาญของหนวยงานนั้นได โดยคานึงถึงนโยบายและมาตรฐานการศึกษาของชาติ ทัง้ นี้ ตามหลกั เกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขทีก่ าหนดในกฎกระทรวง

โครงสรางและการจดั ระบบการศกึ ษา (Structure and organization of education system) โครงสรา งระบบการศึกษาของประเทศนิวซีแลนด ระบบการศึกษาของประเทศนิวซีแลนดจะแตกตางจากประเทศอ่นื รวมถึงประเทศไทยเล็กนอย คอื การ เรียนระดับประถมศึกษาทั้งหมด 6 ปซึ่งเหมือนกบั ประเทศอื่น ๆ แตระดับมัธยมศึกษาจะเรียนทั้งหมด 7 ป การศึกษา นิวซีแลนดเปนประเทศที่เปนแหลงการศึกษาที่มีคุณภาพประเทศหนึ่งที่เปดรับนักเรียนนักศึกษา ตางชาตเิ ขา มาเรยี นตั้งแตระดบั ประถมศกึ ษา มธั ยมศึกษา ภาษาองั กฤษ จนกระท่ังการเรยี นระดับมหาวิทยาลัย ซึ่งมีหลกั สตู รใหเลือกมากมาย ดงั แผนภาพของบริษัทวฒั นาสาธิตซทัดดี้ ทัวร จำกดั แผนภาพแสดงโครงสรางระบบการศึกษาและการเรียกช่ือของประเทศนิวซีแลนด การจดั ระบบการศกึ ษา โรงเรียนมัธยมศึกษาในนิวซีแลนดมปี ระมาณ 400 แหง ทั้ง โรงเรียนรัฐบาล กึ่งรัฐบาล (โรงเรียนไดรับ เงินสนับสนนุ จากรัฐบาล) และเอกชน โรงเรยี นแตละแหงท่ีสามารถจดั การเรยี นการสอนเองไดแตตอ งไดรับการ รับรองคุณภาพจาก New Zealand Qualification Authority (NZQA) หลักสูตรและมาตรฐานการศึกษาจะ คลายคลึงกันและมีจุดประสงคเดียวกันคือเตรียมความพรอมใหกับนักเรียน เพื่อสอบใหไดประกาศนียบัตร ระดับมธั ยมศึกษาท่รี ัฐบาลกำหนด นกั เรียนทกุ คนเม่ือจบระดบั ฟอรม 5 (ระดบั มัธยมศกึ ษาปท ่ี 5)จะตองสอบไล ขอสอบกลางของประเทศที่เรยี กวา School Certificate และเมื่อจบฟอรม 6 (ระดับมัธยมศึกษาปที่ 6) ตอง สอบขอสอบทโ่ี รงเรยี นเปน ผูจ ัดสอบเพ่ือรับ Sixth Form Certificate ดังนั้นการเลอื กโรงเรยี นจงึ เปนส่งิ สำคญั

โรงเรียนมธั ยมสวนใหญจะรับนักเรียนนักตา งชาติเขา เรียนในฟอรม 3 (ระดบั มธั ยมศึกษาปที่ 3 อายุ 13 ป) บางโรงเรียนรับตั้งแตฟอรม 1 (ระดับมัธยมศึกษาปที่ 1) นักเรียนระดับฟอรม 3-4 ถือเปนชั้นมัธยมศึกษา ตอนตน นกั เรยี นจะเรยี นวิชาบงั คับพนื้ ฐาน เชน วชิ าภาษาอังกฤษ วชิ าสังคมศาสตร วิชาวทิ ยาศาสตร วิชาสุข ศึกษา วิชาพลศึกษา วิชาดนตรี วิชาศิลปะ สวนวิชาเลือกอาจจะมีวิชาคหกรรมศาสตร วิชาเศรษฐศาสตร วิชา ภาษาตา งประเทศ นกั เรียนระดับฟอรม 5-6 ถือเปนมธั ยมตอนปลาย จะมที างเลอื กตามความถนัดมากขึ้นและ วิชาบังคับนอยลง วิชาบังคับคือ ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร วิทยาศาสตร เมื่อจบฟอรม 5 นักเรียนตองสอบ School Certificate Examination ซึ่งจัดสอบโดยกระทรวงศึกษาธิการและ สอบ Sixth Form Certificate ซึ่งโรงเรียนเปน ผจู ดั สอบเมื่อจบฟอรม 6 นกั เรยี นระดับฟอรม 7 เปนปสดุ ทายในระดับโรงเรียนมัธยม นักเรียน จะตองสอบ Bursary and Scholarship Examination เพื่อใชผลคะแนนสอบ ในการสมัครเขามหาวิทยาลัย นักเรยี นตางชาตกิ ็สามารถสอบเขา ไดนักเรยี นในฟอรม 5-6-7 ควรเลอื กวิชาท่เี ปนพ้นื ฐานของการเรียนในระดับ ปริญญาตรีที่ตนสนใจ เชน ถาสนใจเรียนปริญญาตรีทางดานธุรกิจก็ควรเลือกวิชาเลข สถิติ การบัญชี เศรษฐศาสตร เปนตน สวนนักเรียนที่จะเรยี นทางดานวิทยาศาสตรก ็ควรเลือกเรียนวชิ า เคมี ฟสิกส ชีววิทยา เปนตน ภาคเรียนแบง ออกเปน 4 เทอม จะปดใหน ักเรยี นพัก 2 สัปดาห โรงเรยี นมัธยมถกู กำหนดใหม กี ารสอน ไมนอ ยกวา190 วันตอ ป กำหนดวันเปด และปดเรยี นประจำภาคดังนี้ เทอม 1 กุมภาพนั ธ – เมษายน เทอม 2 เมษายน - มิถุนายน เทอม 3 กรกฎาคม – กันยายน เทอม 4 ตุลาคม – ธันวาคม ประเทศไทย กรณสี มัครเขา เรียนจากชนั้ สูงสุดที่จบจากประเทศไทยสามารถสมัครเขาเรียนได และสามารถสมัครเขา เรียนจากผลการเรียน อายุ และพื้นฐานภาษาอังกฤษ แตการรับนักเรียนขึ้นอยูกับการตัดสินใจของแตละ โรงเรียน ประกาศกรมวิชาการ เรื่อง การพิจารณาเทยี บความรูวุฒิจากประเทศนิวซแี ลนด ในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย ณ วนั ท่ี 8 มถิ ุนายน 2541 โดยมนี ายพยงุ ศักด์ิ จนั ทรสุรินทร เปน อธบิ ดกี รมวิชาการ ตามทีก่ ระทรวงศกึ ษาธิการอนุมตั ิใหเทียบความรูระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย หรอื เทยี บเทา มัธยมศึกษา ตอนปลายจากประเทศนิวซีแลนดใหเทามัธยมศึกษาตอนปลายตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการกรม วชิ าการขอประกาศใหทราบรายระเอยี ด ของการเทียบความรู ดงั นี้ 1. เทียบความรูว ุฒิ Form 6 เทา มัธยมศึกษาตอนปลาย 2. เทียบความรูวุฒิ Form 6 รวมกับ Unit Standards เทามัธยมศึกษาตอนปลาย หรือ เทียบความรู Unit Standards เทามัธยมศึกษาตอนปลาย 3. เทียบความรวู ุฒิ Form 6 รวมกับวุฒิ Form 7 เทา มัธยมศึกษาตอนปลาย

ท้งั น้ี ใหเปนไปตามเกณฑการพจิ ารณาเทียบความรูเปนรายบคุ คลดงั นี้ 1. สำเร็จการศึกษา Form 6 และไดรบั Sixth Form Certificate ท่แี สดงรายวิชาไมตำ่ กวา 5 รายวิชา ซงึ่ ออกโดย New Zealand Qualification Authority NZQA 2. สำเรจ็ การศึกษา Form 6 รวมกบั Unit Standards 3. สำเร็จการศึกษา Unit Standards ตามระบบใหม และไดรับ Record of Learning ซึ่งออกโดย NZQA ที่แสดงจำนวนหนวยกิต Credits และแสดงจุดประสงค Unit Standards โดยเทียบจุดประสงคใน ขอบเขตที่เปนรายวิชาเดียวกัน ตองไมต่ำกวา 7 หนวยกิต ใน Level 2 เปนอยางต่ำ จะเทียบไดเทากับ 1 รายวชิ า นับรวมแลวไมต่ำกวา 5 รายวชิ า โดย NZQA เปนผูออกหนังสือรบั รองช่อื รายวิชา สำหรับการศึกษา Form 6 รวมกับ Form 7 และไดรับ Sixth Form Certificate และ High School Certificate ที่ออกโดย NZQA และไดรับหลักฐานแสดงผลการสอบ University Entrance & Bursaries นับ รายวชิ ารวมกันไมตำ่ กวา 5 รายวชิ า

การจัดการศกึ ษา (The Education Process) ประเทศนวิ ซีแลนด การจัดการศึกษาของรัฐในนิวซีแลนดพฒั นามาจากแนวความคิดเกี่ยวกับการศึกษาแบบประชาธปิ ไตย และการศึกษาแบบกา วหนา ในชวงปลายศตวรรษที่สิบเกา การสรา งระบบการศึกษาท่ีมงุ ลดความเหล่ือมล้ำและ เปดใชงานการเคลอ่ื นยายทางสงั คมเปนเปา หมายสำคญั สำหรับนักปฏริ ูปการศึกษาในยคุ แรกของนิวซแี ลนด ตน กำเนดิ ของโรงเรียนประถมศึกษา การผานพระราชบัญญตั กิ ารศึกษา พ.ศ. 2420 ไดจ ดั ต้ังระบบการศึกษาระดบั ประถมศกึ ษาแบบโลกภาค บังคับและแบบเสรีแหง แรกของนิวซีแลนด ภายใตพระราชบญั ญัตบิ ังคบั ใหเด็กอายุตั้งแต 7 ถึง 13 ปเขาเรยี น ในโรงเรียนประถมศึกษา พระราชบัญญัตนิ ย้ี ังพยายามกำหนดมาตรฐานคุณภาพการศึกษาเนอื่ งจากโรงเรียนมี ทรัพยากรและแนวทางที่แตกตางกันอยางมาก กอนหนานี้เด็ก ๆ เขาเรียนในโรงเรียนที่ปกครองโดยรัฐบาล จังหวัดหรือโบสถหรือโรงเรียนเอกชน เชนเดียวกับกฎหมายทั้งหมดประสิทธิผลของพระราชบัญญตั ิขึ้นอยูกบั ความสามารถในการปฏบิ ัติไดและทรัพยากรในการบังคบั ใช เด็กหลายคนยังคงเผชญิ กับความยากลำบากในการ เขาเรียนในโรงเรียนโดยเฉพาะอยา งยิง่ เด็กจากชนบททีก่ ารใชแ รงงานคนมคี วามสำคญั ตอครอบครวั พระราชบัญญัติป พ.ศ. 2420 ไดสรางความแตกตางใหกับชาวเมารีและผูหญิงทำใหมีสัดสวนเพียง เล็กนอ ยในการศกึ ษาตอในระดับสงู ตวั อยางเชนเดก็ หญงิ ชาวเมารีกวา 500 คนไปโรงเรียน Hukarere Native Girls 'ในอาว Hawkes ระหวางป ค.ศ. 1877 ถึง 1900 Apirana Ngata ไปเรียนท่ี Te Aute College เมอ่ื อายุ 10 ปในป ค.ศ. 1884 ไดรับทุนการศึกษาและกลายเปนชาวเมารีคนแรกท่ีสำเร็จการศึกษาใน มหาวิทยาลัยใน นวิ ซแี ลนดแ ละเปน นกั การเมืองช้ันนำ ตน กำเนิดของโรงเรียนมธั ยมศกึ ษา ประมาณป พ.ศ. 2443 โดยท่ัวไปแลว การเรียนในระดับมัธยมศกึ ษาสำหรับชนช้ันสงู ทีร่ ำ่ รวยทตี่ ั้งใจจะไป เรียนตอในมหาวทิ ยาลยั หรอื เขาสูอาชีพการงานและมันไมฟรี ในป พ.ศ. 2444 มีผูที่มอี ายุระหวาง 12 - 18 ป นอยกวารอยละ 3 เขาเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษาของรัฐ อีกรอยละ 5 เขาเรียนในโรงเรียนมัธยมประจำเขต หรอื ช้นั Standard 7 โอกาสทางการศึกษาดขี ้นึ จากราวป พ.ศ. 2445 เม่อื โรงเรยี นมัธยมศึกษาไดรับทุนเพื่อรับ นกั เรยี นเพม่ิ ข้นึ พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษา ค.ศ. 1914 จำเปน ตอ งมโี รงเรยี นมธั ยมทจี่ ะนำเสนอการศึกษาฟรใี หกับทุกคน ท่ีผา นการตรวจสอบวัดความรู ใบรับรองความเช่ยี วชาญจงึ กลายเปนปจจัยสำคัญของโอกาสในการทำงานและ อาชีพ ภายในป พ.ศ. 2464 เกือบ 13 เปอรเซ็นตของเด็กอายุ 12 - 18 ปเขาเรียนในสถาบันการศึกษาระดับ มัธยมศกึ ษา (โดยปกตจิ ะใชเวลาอยา งนอยสองป) หา ปต อมาในป พ.ศ. 2469 และในป พ.ศ. 2482 มรี อยละ 25 ท่ที ำเชนน้นั

โรงเรียนสวนใหญยังคงพยายามเสนอหลักสูตรที่มีองคประกอบแบบดั้งเดิมและเผด็จการที่เขมแข็ง โรงเรียนพยายามทีจ่ ะสรางสมดุลของการศึกษาทางวัฒนธรรมและศีลธรรมแบบ 'อารยะ' กับ 'ประโยชน' ความ ตองการการฝกอบรมวชิ าชีพ สิ่งนี้ทำใหผิดหวังผูที่กระตุนใหมุงเนนไปที่การเตรียมกำลังแรงงานมากขึ้น การ ตอ สรู ะหวา งความจำเปนดา นการศกึ ษาสายอาชีพและวัฒนธรรมยงั คงดำเนนิ ตอ ไปในปจจบุ ัน แนะนำโรงเรยี นมธั ยมเทคนคิ ความพยายามที่จะตอบสนองความตองการการฝกอบรมพนักงานเกิดขึ้นในชวงตนศตวรรษที่ 20 โดย การแนะนำโรงเรียนมัธยมดานเทคนิค พวกเขาเสนอการฝกอบรมเชิงปฏบิ ัติที่มุงเนน ดา นอาชีพ อยางไรก็ตาม พวกเขาไมป ระสบความสำเร็จ โรงเรียนมธั ยมศึกษาแบบดงั้ เดมิ ถูกมองโดยผูป กครองวาเปนหนทางสูอาชีพที่มี สถานะสูงและมชี ีวติ ที่ดขี ึน้ โรงเรยี นเทคนคิ ไดร ับการยกยอ งวามคี วามสามารถนอย มีแนวโนมที่จะใหความสำคัญกับการฝกอาชีพมากขึ้นในชวงทศวรรษที่ 1920 และ 1930 ซึ่งเปนสวน หนึ่งของกระแสตะวนั ตกสมัยใหมในชว งครึง่ แรกของศตวรรษท่ีหางจากการศึกษาทางจิตวญิ ญาณศีลธรรมและ วัฒนธรรมเพอื่ มงุ เนน ไปทกี่ ารศึกษาของแรงงาน กอนคริสตทศวรรษ 1940 นักเรียนจะไดรับหลักสูตรที่แตกตางกันไปในโรงเรียนมัธยมศึกษาประเภท ตา ง ๆ ตัวอยา งเชน ในป พ. ศ. 2469 นกั เรยี นระดบั มธั ยมศึกษาหนง่ึ ในสีไ่ ปโรงเรียนเทคนิครอ ยละ 2 โรงเรียน เมารี (ซึ่งเนนทักษะการใชมือ)รอยละ 12 ไปโรงเรียนมัธยมประจำเขตหรือเกษตรกรรม 10 เปอรเซ็นตไป โรงเรียนเอกชน (รวมทงั้ โรงเรียนคาทอลกิ ) และเพยี งมากกวา รอ ยละ 50 ไปโรงเรียนมัธยมศึกษาของรัฐ การจัดการศึกษาของนิวซีแลนดแตกตางจากประเทศอื่น ๆ ที่ไมเปดโอกาสใหองคกรปกครองสวน ทอ งถ่นิ จัดการศกึ ษา แตก ารศึกษากระจายไปใหประชาชนจดั การศกึ ษาโดยตรง ทงั้ รัฐ เอกชน พอ แม ผูป กครอง หรือโบสถ การศกึ ษาทีจ่ ดั ในโรงเรียนของรัฐ เปนการจดั ในรปู ของคณะกรรมการบริหารสถานศกึ ษา (Board of Trustee) ทีม่ าจากประชาชน (ผูปกครอง ตวั แทนชุมชน/ทองถิน่ ) โดยตรง คณะกรรมการบริหารสถานศึกษาดังกลาว ประกอบดว ยผูบ ริหารโรงเรยี น ตวั แทนครู ตัวแทนผูป กครอง ผูแทนชุมชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น ประมาณ 5-7 คน ตามขนาดของโรงเรียน และหากเปนโรงเรียน ระดับมัธยมศึกษาจะมีตัวแทนนักเรียนรวมเปนกรรมการดวย มีอำนาจเบ็ดเสร็จทางการบริหารทั้งดาน งบประมาณ วิชาการ การบริหารงานบุคคล การบริหารกิจการนักเรียน และการบริหารทั่วไป ที่ทำหนาที่รับ นโยบายจากกระทรวงศึกษาธิการโดยตรง ตามกฎหมายการศึกษา ค.ศ. 1989 กลา วคือ 1. การบรหิ ารวิชาการ การบริหารงานวิชาการในระดับรัฐ มีการกำหนดแนวทางการศึกษาของชาติ เปาหมายการศึกษาของ ชาติ และกรอบหลักสูตรของนิวซีแลนด รวมถึงกำหนดธรรมนูญของโรงเรียน เพื่อเปนแนวทางการบริหาร วิชาการของโรงเรยี น และกำหนดแนวทางในการจดั การศกึ ษา ซึ่งเปนเสมอื นแผนแมบทในการจดั การศกึ ษาของ ทุกหนวยงาน และเปนแนวทางในการสนับสนนุ ของรัฐที่มีตอหนวยงานทางการศึกษา ในดานการบริหารงาน วิชาการมีลักษณะของการกระจายอำนาจใหคณะกรรมการบริหารสถานศึกษา มีอำนาจหนาที่ทุกเรื่องที่ เกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และทุกเรื่องที่เกี่ยวกับการดำเนินงานในโรงเรียนตามที่กำหนดไวในแนว ทางการจัดการศึกษาของชาติ ตามหลักการกระจายอำนาจและการบรหิ ารคุณภาพ

การบริหารงานวิชาการในระดบั สถานศกึ ษา กรรมการบรหิ ารโรงเรยี นไดรบั การกระจายอำนาจใหทำทุก เรื่องเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทั้งการพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และการประเมินผล การเรียน โดยการมีสวนรวมของผูมีสวนไดสวนเสีย ไดแก สื่อมวลชน ครู ผูปกครอง และนักธุรกิจตาง ๆ ทุก ขั้นตอน ผานกระบวนการตาง ๆ เชน การระดมความคิดเห็น การประชาพิจารณ ประชุมสัมมนาและการ เผยแพรสมู วลชน เพือ่ รับการวิพากษว ิจารณแกไ ข กลาวคอื 1.1 การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนพัฒนาหลักสูตร จากกรอบหลักสูตรแหงชาติที่รัฐกำหนดโดยคณะ กรรมการบริหารฯ ครู ผูปกครอง และชุมชน รวมกันกำหนด เลือกใชหลักสูตรและพัฒนาใหสอดคลองกับ หลกั สูตรกลางและสภาพของทองถ่นิ และสถานศกึ ษา ครอบคลุมสาระการเรียนรู 7 สาระ คอื ภาษาประจำชาติ ภาษาองั กฤษ และภาษาอน่ื ๆ คณิตศาสตร วิทยาศาสตร เทคโนโลยี สงั คม ศิลปะ สุขศกึ ษาและพลานามัย โดย มุงปลูกฝงคานิยมและคุณลักษณะอันพงึ ประสงคของพลเมือง และทักษะที่จำเปน 8 ประการ คือ ทักษะการ สอื่ สาร การคำนวณ ทักษะดา นสารสนเทศ ทกั ษะการแกป ญหา ทักษะการจัดการตนเองและการแขง ขนั ทักษะ ทางสังคมและการรวมมือกัน ทักษะทางกายภาพ ทักษะในการทำงานและการเรียนรู โดยชั้นประถมจะเนน ภาษาและคณิตศาสตร ที่เปนพื้นฐานไปเรียนตอวิชาอื่นไดตอไป หลังการปรับปรุงหลักสูตรป ค.ศ. 2010 พ.ศ. 2553 มีการกำหนดสมรรถนะของผูเรยี นดงั นี้ คือ สมรรถนะดา นการคดิ การใชภาษา สัญลักษณและตำรา เรียน การจัดการตนเอง การสรางความสัมพันธกับผูอื่น และการมีสวนรวมและสนับสนุนชวยเหลือที่แตละ โรงเรียนตองใหความสำคญั และพัฒนาผูเรียนใหเปนไปตามนโยบาย เปาหมาย หลักสูตร และแนวทางแหงชาติ วาดว ยการศกึ ษา ปก ารศึกษาในระดับมธั ยมนน้ั จะแบง เปน ระบบสภี่ าคการศกึ ษา โดยมกี ารปด ภาคการศึกษาชวงสน้ั ๆ ครั้ง ละสองสัปดาหในเดอื นเมษายน กรกฎาคม และกนั ยายน มีการแยกกลุมสาระการเรยี นรูชดั เจน มีโอกาสเลอื ก วิชาเลือกมากขึน้ เพอ่ื ใหเดก็ คน พบตวั เอง และหลายวชิ าเนน ภาคปฏบิ ัติ กลาวคอื โรงเรียนมัธยมศึกษาเนน ให นักเรยี นคนพบอตั ลกั ษณข องตนเอง 1.2 การจัดการเรยี นการสอน เปน หนาทขี่ องครูที่จะนำหลักสูตรท่ีไดพัฒนาแลวมาวางแผนการสอน และเลือกตำราเรยี นไดเอง และเพ่ือใหเกิดการเรยี นรแู ละทักษะตา งๆ โดยทวั่ ไป ใชหลกั 4 ประการ คือ 1) จัดการเรียนรูตามระดับความสามารถ 2) สนับสนนุ ทัศนคตเิ ชิงบวกตอการเรยี นรูสิ่งใหม 3) จัดการเรยี นรูท่ีหลากหลาย และ 4) กำหนดสภาพความสำเรจ็ และตัวช้วี ัดการประเมินผลทีช่ ัดเจน และ การตดิ ตามชวยเหลอื ในการนี้กรอบหลักสูตรแหงชาติไดก ำหนดแนวทางวิธกี ารสอนของครูทีค่ วรคำนงึ คือการกระตุนใหเ ดก็ ไดค ิดเปน ทำเปนการสรางสภาพแวดลอมการเรียนรูทเี่ หมาะสม การพฒั นาวธิ กี ารใหส อดคลองกบั ความรใู หม ๆ การอำนวยความสะดวกในการมีสวนรวมการเรียนรู การสรางความสัมพันธระหวางการเรียนรูและ ประสบการณ โอกาสท่จี ะเรยี นรู และการสอนแบบต้ังคำถาม

โรงเรียนประถมศึกษาเนนการรภู าษา (การอา นและการเขียน) และวิชาคณิตศาสตร เพราะเปนพื้นฐาน สำหรับการคิดและการเรยี นรู มักจะจัดเปน หัวขอและบูรณาการกลุมสาระตาง ๆ หลักสูตรในแตละโรงเรยี นมี ความยืดหยุนพอสมควร เชน สอดแทรกเรื่องศาสนา หรือเรื่องราวในทองถิ่น ระดับประถมศึกษาจะเนนการ สอนแบบคละชั้น ครูจะมีกติกาชั้นเรียนชัดเจน ที่เนนการใหเด็กทำงานเปน กลุม ทำกิจกรรมและครูจะตดิ ตาม ดูแลในแตละกลุม เม่อื มีนักเรยี นไมมาก ทำใหครดู ูแลใกลชดิ และสามารถรจู ดุ ออนจุดแขง็ ของเด็กแตละคน แต ละหนว ยการเรยี นรมู วี ตั ถุประสงคก ารเรียนรู ทักษะสำคญั ควรไดร ับกระบวนการเรียนรูและเกณฑการประเมิน ที่ชดั เจน โดยครูจะบนั ทกึ เพื่อติดตามความกา วหนาการสอนของตนเองในระดบั ประถมศึกษา จะใหความสำคัญ กบั ผลงานของนกั เรยี น โดยรวบรวมและจัดแสดง เพือ่ ใหเ ด็กภาคภมู ใิ จ ในระดับมธั ยมศึกษาทน่ี ักเรียนมีความพรอมมากขึน้ การสอนจะแบง ระดบั ชั้น จดั เปนช้ันเรียนแตก็จะมี กิจกรรมกลุมที่ทุกคนจะทำกจิ กรรมเดียวกัน มีหองเรียนเฉพาะตาง ๆ เชน หองปฏิบัตกิ าร หองตามวิชาเลือก หองสมุด ฯลฯ ใหเ ลอื กทำกจิ กรรม ผูบริหารหรือผูอำนวยการและรองผูอำนวยการโรงเรียน จะตองมีสวนในการสอนทุกคน ไมมากก็นอย ตามสดั สวนภาระการบรหิ าร ดังนนั้ ผูบริหารจึงมีความเขา ใจในการบริหารงานวิชาการเปนอยา งดี 1.3 การประเมินผลการเรียน เปนหนาที่ของครูโดยตรง ที่จะประเมินอยางอิสระดวยวิธีการตาง ๆ ในป ค.ศ. 2010 พ.ศ. 2553 รฐั ไดพัฒนากรอบการประเมนิ ขึ้น และยึดเปนแนวทางในการประเมินผูเรยี น ในการน้ีครู จะประเมินผูเรียนอยางหลากหลาย เชน การสังเกตพัฒนาการของผูเรียน ผลงาน/รายงาน การประเมินตนเอง ของผูเรียน การประเมินโดยบุคคลภายนอก แฟมสะสมผลงาน ตัวชี้วัด การประชุมพิจารณารวมกันและการ ทดสอบ ทง้ั นรี้ ัฐมกี ารจดั ทำเครื่องมือการประเมนิ ใหแกครู เพอ่ื งายตอ การประเมิน รวมทั้งผปู กครองจะมีสว นรวม ในการประเมิน/ใหขอ มลู ดวย เพอ่ื ประโยชนในการรับทราบพัฒนาการ ทักษะและความตอ งการของเด็ก 2. การบรหิ ารงบประมาณ รายไดของสถานศึกษามาจาก 1) เงินอุดหนุนของรัฐตามรายหัวนกั เรยี นและแผนงาน/โครงการทีเ่ สนอขอ เปนเงนิ อุดหนนุ (Lump sum) 2) คาเลา เรยี นที่เก็บจากนักเรียน นักศกึ ษาตา งชาติ 3) จากการบรจิ าคของชมุ ชนและการจัดกจิ กรรมหารายไดข องสถานศกึ ษา นอกจากเงนิ 3 ประเภทดงั กลา วแลว ในสว นของรฐั หรอื กระทรวงศึกษาธิการ ยงั มกี ารจดั สรรเงินอุดหนุน ตามนโยบายและโครงการพิเศษ ใหกับสถานศึกษาแลวแตกรณี ไดแก เงินอุดหนุน ชวยเหลือครู เงินอุดหนุน ตามเปา หมายผลสัมฤทธทิ์ างการศกึ ษา เงินอุดหนนุ การศึกษาพิเศษ เงนิ อุดหนนุ ความร/ู แนะแนวดานอาชพี เงิน อดุ หนุนการแกไขปญหาสังคม เงนิ คาบำรงุ รักษาอาคารสถานท่ี และเงินคาสาธารณูปโภค เปนตน ในสวนงบประมาณของรัฐ การจัดการศึกษาตั้งแตระดบั ประถมศึกษา ถงึ ระดบั อุดมศึกษาเปนการศึกษา ใหเปลาของรัฐ รายรับของโรงเรียนสวนใหญไดมาจากรัฐบาลโดยรัฐบาลจะจัดสรรงบประมาณเปนกอนตาม สภาพเศรษฐกจิ ของพ้นื ทใ่ี หแกโ รงเรียนโดยตรงแบงเปน 3 สว นใหญ ๆ คอื เงินเดอื นครู (ปจ จบุ ันรฐั สง เงินเขา บัญชีของครูโดยตรง) งบดำเนินการและงบสนับสนุน ตามที่กลาวขางตน โดยคณะกรรมการบริหาร สถานศึกษาจะบริหารการใชจายงบประมาณเองโดยอิสระ มีอำนาจเบ็ดเสร็จในการจัดตั้งงบประมาณตามท่ี กำหนดไวในธรรมนญู โรงเรียน และเสนอเปนแผนงานหรือโครงการฯ ไวกับกระทรวงศึกษาธิการ โรงเรียนจะ วางแผนการใชเงินในเรอื่ งตา ง ๆ หากมคี วามจำเปน เรงดวนอยางอน่ื มากกวา ก็มสี ทิ ธเิ ปลยี่ นแปลงไดแ ละหากใช

งบประมาณไมห มดกจ็ ะสามารถนำไปใชในปถัดไปได รฐั จะตรวจสอบการใชงบประมาณจากการท่ีกำหนดไวใน ธรรมนูญโรงเรียน โดยมีสำนักงานตรวจสอบคุณภาพการศึกษาเปนผูรับผิดชอบดำเนินการ การบริหาร งบประมาณ รัฐบาลมีการวางแผนการบริหารงบประมาณแบบมุง เนนผลงาน ในการจัดสรรงบประมาณ รัฐยดึ หลกั ความเสมอภาคหรือความเทาเทียมของผูเรยี นที่จะไดรับการศึกษา ดังนั้นการจัดสรรงบประมาณใหก บั สถานศกึ ษาของรฐั จึงจัดตามเกณฑที่กำหนดของสถานศึกษาออกเปน 10 ระดบั ระดับ 1 เปนสถานศกึ ษาท่อี ยใู นถิ่นยากจนทีส่ ุด และระดับ 10 เปนสถานศกึ ษาทีม่ คี วามพรอมและอยูใน ถน่ิ ร่ำรวยที่สดุ โดยเพิม่ งบสนับสนนุ ใหก บั โรงเรียนเพิม่ ตามระดบั ความยากจนดังกลาวขา งตน สำหรับธรรมนูญโรงเรียน (School Charter) เปนเสมือนแผนแมบทในการจัดการศึกษาของ โรงเรียน ซง่ึ รฐั บาลกำหนดใหท กุ โรงเรียนตองจดั ทำธรรมนูญโรงเรยี น โดยกระทรวงศึกษาธิการเปนผูจัดทำ ธรรมนูญโรงเรยี นกลางไว ที่ประกอบดวยวัตถุประสงค เปาหมายการศกึ ษา หลกั สูตรแตล ะระดับ ฯลฯ และ โรงเรียนโดยคณะกรรมการบริหารโรงเรยี นจะเปน ผูจัดทำธรรมนูญโรงเรียนรวมกับผูบริหาร ครู และชุมชน ภายใตแ นวทาง เปาหมาย กรอบหลักสตู รการศึกษาของชาติ และสภาพความตอ งการของชมุ ชน พรอมทั้ง แผนงาน โครงการ จัดสง ใหก ระทรวงพจิ ารณาอนมุ ตั แิ ละจัดสรรงบประมาณตามธรรมนญู โรงเรียนดังกลาว 3. การบริหารงานบุคคล คณะกรรมการบริหารโรงเรียนมีอำนาจเต็มในการบริหารงานบุคคล โดยมี กระบวนการบริหารงานบุคคล การสรรหา การพัฒนา การบำรุงรักษาครูไวในระบบ การปฐมนิเทศ การสราง ขวญั และกำลัง การพฒั นา การสรา งและปลูกฝง เจตคติของครู การใหออกจากงาน โดยเนนระบบคุณภาพ 4. การบริหารทั่วไป ในที่นี้จะกลาวถึงเฉพาะการติดตามและประเมินผล และการมีสวนรวมของ ประชาชน ดังนี้ 4.1 การติดตามและประเมินผล มีการติดตาม 2 ระบบ คือ (1) การตดิ ตามประเมนิ ผลภายใน ไดแก สำนกั ประเมนิ และตรวจสอบภายใน เพ่อื ติดตาม ผลการดำเนินงานตามนโยบาย และสำนักงานรับรองมาตรฐานคุณภาพการศึกษา เพื่อรับรอง มาตรฐานคณุ ภาพการจดั การศกึ ษา รับรองวิทยฐานะ (2) การติดตามประเมินผลภายนอก ระบบการประเมินผลภายนอกโดยสำนักงาน ตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษา (องคก รอิสระ) ตรวจสอบคณุ ภาพฯ ทกุ 5 ป/ โรงเรียน ตามที่กำหนด ไวในแนวทางของชาตฯิ เปาหมายการศกึ ษาของชาติ และกรอบหลักสูตรแหงชาติ และธรรมนูญ โรงเรียนแลวสงผลการตรวจสอบไปยงั กระทรวงศึกษาธิการ และคณะกรรมการบริหารโรงเรียน นั้น ๆ เพื่อการปรับปรุงพัฒนาและมีผลตอการจัดสรรงบประมาณในปตอไป รวมทั้งเผยแพรต อ สาธารณะเพื่อใหสาธารณะชนทราบ ชุมชนรับรูการพัฒนาและเลือกที่จะสงบุตรหลานเขา ศึกษา หรือเขามามีสวนรวมในการพัฒนาโรงเรยี นตอ ไป การประเมนิ ผลหลกั สูตรในระดบั โรงเรียน มกี ารจางกลมุ วิชาการจดั ทำแบบทดสอบประเมินบทเรียน ผล การดำเนินการเผยแพรสูสาธารณชนทราบ สวนการประเมินผลการเรียนในรายวิชาทักษะอาชีพจะเชิญ ผทู รงคุณวุฒิในสาขาวชิ าชพี ตางๆ เปนกรรมการประเมนิ รวมกับครผู ูสอนในวชิ าน้ัน ๆ ดว ย

4.2 การมีสวนรวมของประชาชน ในการบริหารจัดการสถานศึกษาของนิวซแี ลนด ยึดหลักการมีสวน รวมของประชาชนเปนหลักการหนึ่งในการบริหาร นับตั้งแตการวางแผนการดำเนินการการจัดการเรียนการ- สอน การประเมินผล พอแมผูปกครองและชุมชนจะเขามามีสวนรวมทุกขั้นตอน รวมทั้งการเขามาเปน กรรมการบริหารโรงเรียนที่มีอำนาจเบ็ดเสร็จทางการบริหารดังกลาวขางตน ซ่ึงเปนไปตามหลกั ความอิสระของ สถานศึกษา ประเทศไทย ตามพระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2552 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2553 ในหมวด 4 แนวการจัดการศกึ ษา มาตรา ๒๒ การจัดการศกึ ษาตอ งยึดหลักวาผูเรียนทกุ คนมคี วามสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได และ ถือวาผูเรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเ รียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพ มาตรา ๒๓ การจัดการศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ตองเนน ความสำคญั ท้งั ความรู คุณธรรม กระบวนการเรียนรแู ละบรู ณาการตามความเหมาะสมของแตละระดับ การศกึ ษาในเร่อื งตอไปนี้ (๑) ความรูเรื่องเกี่ยวกับตนเอง และความสัมพันธของตนเองกับสังคม ไดแก ครอบครัว ชุมชน ชาติ และสังคมโลก รวมถึงความรูเกี่ยวกับประวัติศาสตรความเปน มาของสังคมไทยและ ระบบการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ทรงเปน ประมุข (๒) ความรูและทักษะดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รวมทั้งความรูความเขาใจและ ประสบการณเรื่องการจัดการ การบารุงรักษาและการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและ สง่ิ แวดลอมอยา งสมดุลยง่ั ยนื (๓) ความรเู กย่ี วกบั ศาสนา ศลิ ปะ วัฒนธรรม การกฬี า ภมู ิปญญาไทย และการประยกุ ตใช ภูมิปญญา (๔) ความรู และทกั ษะดานคณติ ศาสตร และดา นภาษา เนนการใชภาษาไทยอยางถูกตอง (๕) ความรู และทกั ษะในการประกอบอาชพี และการดารงชีวติ อยางมีความสุข มาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเรยี นรู ใหส ถานศกึ ษาและหนวยงานทีเ่ ก่ียวขอ งดาเนนิ การ ดงั ตอ ไปนี้ (๑) จดั เนอ้ื หาสาระและกจิ กรรมใหสอดคลองกับความสนใจและความถนัดของผูเรียน โดย คานึงถงึ ความแตกตา งระหวางบคุ คล (๒) ฝกทักษะ กระบวนการคดิ การจดั การ การเผชิญสถานการณ และการประยกุ ตความรู มาใชเ พอื่ ปองกนั และแกไขปญ หา (๓) จัดกิจกรรมใหผ ูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริง ฝกการปฏิบัติใหทำได คิดเปน ทำเปน รกั การอานและเกดิ การใฝร ูอยา งตอเนื่อง (๔) จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรูดานตาง ๆ อยางไดสัดสวนสมดลุ กนั รวมท้งั ปลูกฝงคุณธรรม คา นยิ มที่ดงี ามและคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคไ วในทุกวิชา

(๕) สงเสริมสนบั สนุนใหผ ูสอนสามารถจดั บรรยากาศ สภาพแวดลอ ม สือ่ การเรียน และอา นวยความสะดวกเพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูและมีความรอบรู รวมทั้งสามารถใชการวิจัยเปน สวนหนึ่งของกระบวนการเรยี นรู ทั้งนี้ ผูสอนและผูเรยี นอาจเรียนรูไปพรอมกันจากสื่อการเรยี น การสอนและแหลงวิทยาการประเภทตาง ๆ (๖) จัดการเรียนรูใหเกิดขึ้นไดทุกเวลาทุกสถานที่ มีการประสานความรวมมือกับบิดา มารดา ผูปกครอง และบคุ คลในชมุ ชนทกุ ฝา ย เพ่ือรว มกนั พัฒนาผูเรียนตามศักยภาพ มาตรา ๒๕ รัฐตองสงเสริมการดาเนินงานและการจัดตั้งแหลงการเรียนรูตลอดชีวิตทุกรูปแบบ ไดแก หองสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ หอศิลป สวนสัตว สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร อุทยานวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี ศูนยการกีฬาและนันทนาการ แหลงขอมูล และแหลงการเรียนรูอื่นอยางพอเพียงและมี ประสทิ ธภิ าพ มาตรา ๒๖ ใหส ถานศึกษาจัดการประเมินผูเ รยี นโดยพิจารณาจากพฒั นาการของผูเรียน ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียน การรวมกิจกรรมและการทดสอบควบคูไปในกระบวนการเรียนการสอนตาม ความเหมาะสมของแตละระดบั และรปู แบบการศกึ ษา ใหสถานศึกษาใชวิธีการที่หลากหลายในการจัดสรรโอกาสการเขาศึกษาตอ และใหนาผลการประเมิน ผูเรียนตามวรรคหนึง่ มาใชป ระกอบการพิจารณาดว ย มาตรา ๒๗ ใหคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐานกาหนดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานเพ่ือ ความเปนไทย ความเปน พลเมอื งที่ดีของชาติ การดารงชีวติ และการประกอบอาชีพตลอดจนเพื่อการศึกษาตอ ใหสถานศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานมีหนาทจี่ ัดทาสาระของหลกั สูตรตามวตั ถุประสงคใ นวรรคหนง่ึ ในสวนที่เก่ียวกับสภาพ ปญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปญญาทองถิ่น คุณลักษณะอันพึงประสงคเพื่อเปนสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สงั คม และประเทศชาติ มาตรา ๒๘ หลักสูตรการศึกษาระดับตาง ๆ รวมทั้งหลักสูตรการศึกษาสาหรับบุคคลตามมาตรา ๑๐ วรรคสอง วรรคสาม และวรรคสี่ ตองมีลกั ษณะหลากหลาย ท้งั น้ี ใหจดั ตามความเหมาะสมของแตละระดับโดย มุงพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคลใหเหมาะสมแกวัยและศักยภาพ สาระของหลักสูตร ทั้งที่เปนวิชาการ และ วิชาชีพ ตองมุงพัฒนาคนใหมีความสมดุล ทั้งดานความรู ความคิด ความสามารถ ความดีงาม และความ รับผดิ ชอบตอสังคม สำหรับหลกั สูตรการศึกษาระดับอุดมศึกษา นอกจากคุณลักษณะในวรรคหน่งึ และวรรคสองแลวยังมีความ มุงหมายเฉพาะทจ่ี ะพัฒนาวชิ าการ วชิ าชพี ชั้นสงู และการคน ควา วิจัย เพอ่ื พัฒนาองคค วามรูแ ละพฒั นาสังคม มาตรา ๒๙ ใหสถานศึกษารวมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคกรปกครองสวนทองถ่ิน เอกชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น สงเสริมความ เขมแข็งของชุมชนโดยจัดกระบวนการเรยี นรูภายในชมุ ชน เพือ่ ใหชุมชนมีการจัดการศกึ ษาอบรม มีการแสวงหา ความรู ขอ มลู ขา วสาร และรจู กั เลอื กสรรภมู ิปญญาและวทิ ยาการตาง ๆ เพื่อพัฒนาชุมชนใหส อดคลองกับสภาพ ปญ หาและความตองการ รวมท้งั หาวธิ ีการสนบั สนุนใหมีการแลกเปลี่ยนประสบการณการพัฒนาระหวา งชุมชน มาตรา ๓๐ ใหส ถานศกึ ษาพัฒนากระบวนการเรยี นการสอนท่มี ีประสิทธภิ าพ รวมทง้ั การสงเสรมิ ใหสอน สามารถวจิ ยั เพอื่ พฒั นาการเรียนรทู เ่ี หมาะสมกบั ผูเรียนในแตละระดับการศึกษา

ตามพระราชบญั ญัติการศึกษาแหง ชาติ พ.ศ. 2552 แกไ ขเพ่มิ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 ในหมวด 4 แนวการจัดการศึกษา หมวด ๕ การบรหิ ารและการจัดการศกึ ษา มาตรา ๓๑ กระทรวงมีอานาจหนาที่เกี่ยวกับการสงเสริม และกากับดูแลการศึกษาทุกระดับและทุก ประเภท กาหนดนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษา สนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา สงเสริมและ ประสานงานการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และการกีฬาเพื่อการศึกษา รวมทั้งการติดตามตรวจสอบ และ ประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษาและราชการอื่นตามทมี่ ีกฎหมายกาหนดใหเปนอานาจหนา ที่ของกระทรวงหรือสวน ราชการทีส่ งั กัดกระทรวง มาตรา ๓๒ การจัดระเบยี บบริหารราชการในกระทรวงใหมอี งคกรหลักที่เปนคณะบุคคลในรูปสภาหรือ ในรปู คณะกรรมการจานวนสีอ่ งคกร ไดแก สภาการศึกษา คณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน คณะกรรมการ การอาชวี ศึกษา และคณะกรรมการการอุดมศึกษา เพอ่ื พจิ ารณาใหค วามเหน็ หรือใหคาแนะนาแกรฐั มนตรี หรือ คณะรัฐมนตรี และมอี านาจหนา ที่อืน่ ตามทกี่ ฎหมายกาหนด มาตรา ๓๓ สภาการศกึ ษา มหี นา ที่ (๑) พิจารณาเสนอแผนการศึกษาแหงชาติท่ีบรู ณาการศาสนา ศิลปะ วฒั นธรรม และกีฬา กับการศึกษาทกุ ระดบั (๒) พิจารณาเสนอนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษาเพื่อดาเนินการใหเปนไปตาม แผนตาม (๑) (๓) พจิ ารณาเสนอนโยบายและแผนในการสนับสนุนทรพั ยากรเพ่อื การศึกษา (๔) ดาเนินการประเมนิ ผลการจัดการศึกษาตาม (๑) (๕) ใหความเหน็ หรือคาแนะนาเกีย่ วกับกฎหมายและกฎกระทรวงทอ่ี อกตามความในพระราชบัญญัตนิ ้ี การเสนอนโยบาย แผนการศึกษาแหงชาติ และมาตรฐานการศึกษา ใหเสนอตอคณะรัฐมนตรีให คณะกรรมการสภาการศึกษา ประกอบดวย รัฐมนตรีเปนประธาน กรรมการโดยตำแหนงจากหนวยงานที่ เกีย่ วขอ ง ผแู ทนองคก รเอกชน ผแู ทนองคก รปกครองสว นทองถ่ิน ผูแทนองคกรวิชาชพี พระภกิ ษุซึ่งเปนผูแทน คณะสงฆ ผูแทนคณะกรรมการกลางอิสลามแหงประเทศไทย ผูแทนองคกรศาสนาอื่นและกรรมการ ผูทรงคณุ วฒุ ิ ซ่งึ มจี านวนไมนอ ยกวา จานวนกรรมการประเภทอ่นื รวมกัน ใหสานกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา เปน นิติบุคคล และใหเลขาธิการสภาเปน กรรมการและเลขานุการ จำนวนกรรมการ คณุ สมบตั ิ หลักเกณฑ วธิ ีการสรรหา การเลอื กกรรมการ วาระการดำรงตำแหนง และการพน จากตำแหนง ใหเ ปน ไปตามทกี่ ฎหมายกาหนด มาตรา ๓๔ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหนาที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนามาตรฐาน และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานที่สอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติและ แผนการศึกษาแหงชาติ การสนับสนุนทรัพยากร การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษาข้ัน พื้นฐาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษามีหนาที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนา มาตรฐานและหลักสูตรการ อาชีวศึกษาทุกระดับ ที่สอดคลองกับความตองการตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติและแผนการ

ศกึ ษาแหงชาติ การสงเสรมิ ประสานงานการจัดการอาชวี ศกึ ษาของรัฐและเอกชน การสนบั สนุนทรพั ยากร การ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการอาชวี ศึกษา โดยคานงึ ถึงคุณภาพและความเปน เลิศทางวิชาชีพ คณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา มหี นาทีพ่ จิ ารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานการอุดมศึกษา ที่สอดคลองกับความตองการตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และแผนการศึกษาแหงชาติ การ สนับสนุนทรัพยากร การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยคานึงถึง ความเปนอิสระและความเปนเลิศทางวิชาการของสถานศึกษาระดับปริญญาตามกฎหมายวาดวยการจัดตั้ง สถานศกึ ษาแตละแหง และกฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ ง มาตรา ๓๕ องคประกอบของคณะกรรมการตามมาตรา ๓๔ ประกอบดวย กรรมการโดยตำแหนงจาก หนวยงานที่เกี่ยวของ ผูแทนองคกรเอกชน ผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่น ผูแทนองคกรวิชาชีพ และ ผทู รงคณุ วุฒิซงึ่ มีจานวนไมน อยกวาจานวนกรรมการประเภทอื่นรวมกนั จำนวนกรรมการ คณุ สมบตั ิ หลักเกณฑ วิธกี ารสรรหา การเลือกประธานกรรมการและกรรมการ วาระ การดารงตำแหนง และการพน จากตำแหนง ของคณะกรรมการแตละคณะ ใหเปนไปตามทกี่ ฎหมายกาหนด ทง้ั นี้ ใหคานงึ ถึงความแตกตางของกจิ การในความรับผิดชอบของคณะกรรมการแตละคณะดวย ใหสานักงานคณะกรรมการตามมาตรา ๓๔ เปนนิติบุคคล และใหเลขาธิการของแตละสานักงานเปน กรรมการและเลขานุการของคณะกรรมการ มาตรา ๓๖ ใหสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาเปนนิติบุคคล และอาจจัดเปนสวน ราชการหรือเปน หนวยงานในกากบั ของรัฐ ยกเวนสถานศึกษาเฉพาะทางตามมาตรา ๒๑ ใหส ถานศึกษาดังกลา วดาเนนิ กจิ การไดโดยอิสระ สามารถพฒั นาระบบบรหิ าร และการจัดการทเี่ ปน ของ ตนเอง มีความคลองตัว มเี สรีภาพทางวิชาการ และอยูภายใตก ารกากบั ดูแลของสภาสถานศกึ ษา ตามกฎหมาย วาดวยการจดั ตง้ั สถานศึกษาน้ัน ๆ มาตรา ๓๗ การบริหารและการจดั การศึกษาขั้นพื้นฐานใหยดึ เขตพื้นที่การศกึ ษาโดยคานึงถงึ ระดับของ การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน จานวนสถานศึกษา จานวนประชากร วฒั นธรรมและความเหมาะสมดานอื่นดว ย เวนแต การจัดการศึกษาขัน้ พ้นื ฐานตามกฎหมายวา ดว ยการอาชีวศกึ ษา ใหรัฐมนตรีโดยคาแนะนาของสภาการศึกษา มีอานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากาหนดเขตพื้นท่ี การศึกษาเพื่อการบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน แบงเปนเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาและเขต พ้ืนทีก่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา ในกรณีทส่ี ถานศกึ ษาใดจดั การศึกษาขนั้ พนื้ ฐานทัง้ ระดับประถมศกึ ษาและระดับมัธยมศกึ ษาการกาหนด ใหสถานศึกษาแหงนั้นอยูในเขตพื้นที่การศึกษาใด ใหยึดระดับการศึกษาของสถานศึกษานั้นเปนสำคัญ ทั้งน้ี ตามที่รัฐมนตรีประกาศกาหนดโดยคาแนะนาของคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน ในกรณที เ่ี ขตพืน้ ท่ีการศึกษาไมอาจบริหารและจัดการไดต ามวรรคหน่ึง กระทรวงอาจจัดใหม ีการศึกษา ขน้ั พื้นฐานดงั ตอไปนเ้ี พ่ือเสรมิ การบริหารและการจัดการของเขตพ้ืนท่ีการศึกษากไ็ ด (๑) การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานสาหรับบคุ คลที่มีความบกพรองทางรางกาย จิตใจ สติปญญา อารมณ สังคม การส่อื สารและการเรียนรู หรือมีรางกายพิการหรือทุพพลภาพ (๒) การจดั การศึกษาขัน้ พน้ื ฐานทจ่ี ดั ในรูปแบบการศกึ ษานอกระบบหรือการศึกษาตามอัธยาศยั

(๓) การจัดการศึกษาขน้ั พืน้ ฐานสาหรับบุคคลที่มีความสามารถพเิ ศษ (๔) การจดั การศกึ ษาทางไกล และการจัดการศึกษาทใี่ หบริการในหลายเขตพ้นื ท่ีการศึกษา มาตรา ๓๘ ในแตละเขตพื้นที่การศึกษา ใหมีคณะกรรมการและสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามีอานาจ หนาท่ีในการกากับดูแล จดั ตั้ง ยุบ รวม หรอื เลกิ สถานศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานในเขตพนื้ ที่การศึกษาประสาน สงเสริม และสนับสนุนสถานศึกษาเอกชนในเขตพื้นที่การศึกษา ประสานและสงเสริมองคกรปกครองสวนทองถิ่น ให สามารถจดั การศึกษาสอดคลอ งกับนโยบายและมาตรฐานการศึกษา สงเสรมิ และสนบั สนุนการจัดการศึกษาของ บคุ คล ครอบครัว องคกรชมุ ชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ และสถาบัน สงั คมอ่ืนทีจ่ ดั การศกึ ษาในรปู แบบทห่ี ลากหลายในเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษา คณะกรรมการเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประกอบดว ย ผูแทนองคก รชุมชน ผแู ทนองคก รเอกชน ผูแทนองคก ร ปกครองสว นทอ งถิ่น ผูแทนสมาคมผปู ระกอบวชิ าชพี ครู ผแู ทนสมาคมผูประกอบวิชาชีพบริหารการศกึ ษา ผูแ ทนสมาคมผูปกครองและครู และผูทรงคุณวุฒดิ า นการศึกษา ศาสนา ศิลปะ และวฒั นธรรม จำนวนกรรมการ คุณสมบตั ิ หลกั เกณฑ วธิ ีการสรรหา การเลือกประธานกรรมการและกรรมการ วาระ การตารงตำแหนง และการพนจากตำแหนง ใหเปนไปตามท่กี าหนดในกฎกระทรวง ใหผูอานวยการสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาเปนกรรมการและเลขานุการของคณะกรรมการเขตพื้นท่ี การศกึ ษา ในการดาเนนิ การตามวรรคหน่งึ ในสว นทีเ่ กย่ี วกับสถานศึกษาเอกชนและองคกรปกครองสวนทองถิ่น วา จะอยูในอานาจหนาที่ของเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาใด ใหเ ปน ไปตามท่ีรัฐมนตรีประกาศกาหนดโดยคาแนะนาของ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มาตรา ๓๙ ใหกระทรวงกระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษา ทั้งดานวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารทั่วไปไปยังคณะกรรมการ และสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และ สถานศึกษาในเขตพนื้ ที่การศึกษาโดยตรง หลักเกณฑแ ละวธิ ีการกระจายอานาจดังกลา ว ใหเปนไปตามท่กี าหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๔๐ ใหม คี ณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน สถานศกึ ษาระดับอุดมศกึ ษาระดับต่ำกวาปริญญา และสถานศึกษาอาชีวศึกษาของแตละสถานศึกษาเพื่อทาหนาที่กากับและสงเสริม สนับสนุนกิจการของ สถานศึกษา ประกอบดวย ผูแทนผูปกครอง ผูแทนครู ผูแทนองคกรชุมชน ผูแทนองคกรปกครองสว นทอ งถิ่น ผแู ทนศษิ ยเ กาของสถานศึกษา ผแู ทนพระภกิ ษุสงฆห รือผแู ทนองคก รศาสนาอื่นในพื้นท่ี และผูทรงคณุ วฒุ ิ สถานศกึ ษาระดับอุดมศึกษาระดบั ต่ำกวาปริญญาและสถานศึกษาอาชีวศึกษาอาจมีกรรมการเพ่ิมขึ้นได ท้งั นี้ ตามท่กี ฎหมายกาหนด จำนวนกรรมการ คณุ สมบตั ิ หลกั เกณฑ วธิ กี ารสรรหา การเลอื กประธานกรรมการและกรรมการ วาระ การดารงตำแหนง และการพน จากตำแหนง ใหเปนไปตามทก่ี าหนดในกฎกระทรวง ใหผ บู ริหารสถานศึกษาเปนกรรมการและเลขานุการของคณะกรรมการสถานศกึ ษา ความในมาตรานไ้ี มใชบังคับแกส ถานศึกษาตามมาตรา ๑๘ (๑) และ (๓)

ครผู ูสอน (Teaching staff) ประเทศนิวซแี ลนด คณะกรรมการบรหิ ารงานบุคคลเปน ผูสรรหาและคดั เลอื กผูบรหิ าร และมอบอำนาจใหผูบริหารคัดเลือก ครูผูบริหาร และครทู กุ คน เปนพนกั งานครู ท่ีตองมใี บอนญุ าตประกอบวชิ าชีพ และขนึ้ ทะเบียนเปนครูท่ีมาจาก การจา งและทำสัญญาจา งกับคณะกรรมการบรหิ ารโรงเรียน และผูบ ริหารโรงเรียน แลวแตก รณเี ปน รายป ราย 3 ป หรือครูประจำการ แลวแตการประเมินผานคุณสมบัติ ครูของนิวซีแลนด ไดรับการยกยองวา เปนวิชาชพี ชั้นสูง ที่มีเงินเดือนโดยเฉลี่ย ป ค.ศ. 2010 ประมาณ 54,000 ดอลลารสหรัฐ ที่นับวาสูงมากสำหรับอาชีพ โดยทั่วไปการสรรหาผูบริหารโรงเรียนดำเนินการโดยกำหนดคุณสมบัติตามเกณฑท ีต่ องการและประกาศลงใน วารสารของกระทรวง การคัดเลือกกระทำโดยการสัมภาษณการสรรหาครู ผูบริหารโรงเรียนจะจัดทำแผน บุคลากรของโรงเรียนระยะ 5 ป เพื่อการสรรหาครแู ละพฒั นาครูแตละป เสนอคณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี น ในแตล ะป จะประกาศความตอ งการครูผา นสื่อสาธารณะ และวารสารของกระทรวง ในการน้ีสภาครูไดกำหนด มาตรฐานระดับสงู ของครไู วว า ตองมีคุณสมบตั ดิ งั น้ี คอื เปนผูซอ่ื สตั ย ไวว างใจได มคี วามนา เช่ือถือ มคี วามเห็น อกเห็นใจผูอ ่นื ยอมรบั และนบั ถอื ผอู น่ื เปน ผูมีจินตนาการ กระตอื รอื รน อทุ ศิ ตน มคี วามสามารถในการส่ือสาร และสุขภาพกายและใจที่ดอี าจกลาวไดวา ผทู ีจ่ ะเปน ครตู อ งเปนคนดแี ละมีคุณธรรมจริง ๆ ในดานการพัฒนาครู ในแตละป ครูทุกคนตองไดร บั การพัฒนา ในการน้ีมีการจัดสรรงบพัฒนาบุคลากร ใหแกครูที่สามารถเลือกเขารบั การพัฒนาดวยตนเอง โดยกระทรวงมอบหมายใหม หาวิทยาลัยโดยเฉพาะคณะ ศึกษาศาสตร เปนผูดำเนินการพัฒนา และประกาศสาขาการพัฒนาไปยังสถานศึกษาทีค่ รูสามารถเลอื กเขารบั การพัฒนาตามความตองการการพัฒนาของตน นอกจากนั้นครูตองหาความรูดวยตนเอง เชน การศึกษา ทางไกล การอานวารสาร เขา รวมสมั มนา ฯลฯ ประเทศไทย ตามพระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหง ชาติ พ.ศ. 2552 แกไขเพิม่ เติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2553 ในหมวด 4 แนวการจดั การศกึ ษา หมวด ๗ ครู คณาจารย และบคุ ลากรทางการศึกษา มาตรา ๕๒ ใหกระทรวงสงเสริมใหมีระบบ กระบวนการผลิต การพัฒนาครู คณาจารย และบุคลากร ทางการศึกษาใหมีคุณภาพและมาตรฐานที่เหมาะสมกับการเปนวิชาชีพชั้นสูง โดยการกากับและประสานให สถาบันที่ทาหนาที่ผลิตและพัฒนาครู คณาจารย รวมท้ังบุคลากรทางการศึกษาใหมีความพรอมและมีความ เขม แขง็ ในการเตรยี มบคุ ลากรใหมและการพัฒนาบุคลากรประจาการอยางตอเน่ือง รฐั พงึ จดั สรรงบประมาณและจัดตง้ั กองทุนพัฒนาครู คณาจารย และบคุ ลากรทางการศึกษาอยา งเพียงพอ มาตรา ๕๓ ใหม ีองคก รวชิ าชพี ครู ผูบ รหิ ารสถานศึกษา และผบู รหิ ารการศึกษา มีฐานะเปน องคก รอิสระ ภายใตการบริหารของสภาวิชาชีพ ในกากับของกระทรวง มีอานาจหนาที่กาหนดมาตรฐานวิชาชีพ ออกและ เพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ กากับดูแลการปฏิบัติตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพ รวมท้ัง การพฒั นาวิชาชีพครู ผูบ รหิ ารสถานศกึ ษาและผูบริหารการศึกษา

ใหครู ผูบริหารสถานศึกษา ผูบริหารการศึกษา และบุคลากรทางการศึกษาอื่น ทั้งของรัฐและเอกชนตองมี ใบอนญุ าตประกอบวิชาชีพตามที่กฎหมายกาหนด การจัดใหมีองคกรวิชาชีพครู ผูบริหารสถานศึกษา ผูบริหารการศึกษา และบุคลากรทางการศึกษาอ่ืน คณุ สมบตั ิ หลกั เกณฑ และวธิ ีการในการออกและเพิกถอนใบอนญุ าตประกอบวิชาชพี ใหเปนไปตามท่ีกฎหมาย กำหนด ความในวรรคสองไมใชบังคับแกบุคลากรทางการศึกษาที่จัดการศึกษาตามอัธยาศัย สถานศึกษาตาม มาตรา ๑๘ (๓) ผบู รหิ ารการศกึ ษาระดบั เหนือเขตพื้นทก่ี ารศึกษาและวทิ ยากรพเิ ศษทางการศึกษา ความในมาตรานี้ไมใชบังคับแกคณาจารย ผูบริหารสถานศึกษา และผูบริหารการศึกษาใน ระดบั อดุ มศกึ ษาระดับปริญญา มาตรา ๕๔ ใหมอี งคก รกลางบริหารงานบุคคลของขาราชการครู โดยใหค รูและบุคลากรทางการศึกษาทั้ง ของหนวยงานทางการศึกษาในระดับสถานศึกษาของรฐั และระดับเขตพืน้ ที่การศึกษาเปนขาราชการในสังกดั องคกรกลางบริหารงานบุคคลของขาราชการครู โดยยึดหลักการกระจายอานาจการบริหารงานบุคคลสูเขต พนื้ ท่ีการศกึ ษา และสถานศกึ ษา ทัง้ นี้ ใหเปนไปตามท่กี ฎหมายกาหนด มาตรา ๕๕ ใหม ีกฎหมายวาดว ยเงินเดือน คาตอบแทน สวสั ดิการ และสิทธิประโยชนเก้ือกูลอน่ื สาหรับ ขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาเพอื่ ใหมีรายไดท่ีเพียงพอและเหมาะสมกับฐานะทางสงั คมและวิชาชีพ ใหมกี องทุนสงเสรมิ ครู คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษา เพ่อื จดั สรรเปน เงินอุดหนุนงานริเริ่มสรางสรรค ผลงานดีเดน และเปนรางวัลเชิดชูเกียรติครู คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษา ทั้งนี้ ใหเปนไปตามที่ กำหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๕๖ การผลิตและพัฒนาคณาจารยและบุคลากรทางการศึกษา การพัฒนา มาตรฐาน และ จรรยาบรรณของวิชาชีพ และการบริหารงานบุคคลของขาราชการหรือพนักงานของรัฐในสถานศึกษาระดับ ปรญิ ญาที่เปนนติ บิ ุคคล ใหเ ปน ไปตามกฎหมายวา ดว ยการจัดตัง้ สถานศึกษาแตละแหง และกฎหมายที่เก่ยี วของ มาตรา ๕๗ ใหห นว ยงานทางการศึกษาระดมทรพั ยากรบุคคลในชุมชนใหมีสว นรวมในการจัดการศึกษา โดยนาประสบการณ ความรอบรู ความชานาญ และภูมิปญญาทองถิ่นของบุคคลดังกลาวมาใช เพื่อใหเกิด ประโยชนทางการศกึ ษาและยกยอ งเชิดชูผทู ี่สง เสริมและสนับสนนุ การจัดการศึกษา

บทความเร่อื งการจดั การเรียนรโู ดยใชวิจยั เปนฐานในประเทศนวิ ซีแลนด Research-Based Learning (RBL) in New Zealand สภุ าภรณ มาชัยวงศ, สุทธิวรรณ ปตภิ าคยพงษ, มงคล จิตรโสภณ และ วภิ ารัตน แสงจันทร ตามทรรศนะของ Healey ซึ่งเปน รูปแบบทเี่ ชือ่ มโยงการเรยี นการสอนกบั การวจิ ยั ลกั ษณะที่ 1 สอนจากผลวจิ ยั ผูเรียนมบี ทบาทเปน ผรู บั ผสู อนเปน ผถู า ยทอด ลกั ษณะท่ี 2 สอนจากระบวนการวจิ ยั ผูสอนนำกระบวนการวจิ ยั มาใช เปน การจัดการเรยี นการสอนแบบสืบเสาะ ลักษณะที่ 3 สอนการทำวิจัย ผเู รียนลงมอื ปฏิบตั ทิ ำงานวจิ ยั ดวยตนเอง เรยี นรผู านวิธีการสืบเสาะ ลักษณะที่ 4 สอนจากการสัมมนาผลการวิจัย ผูเรียนไดเลือกเรื่องทำวิจัยตามความสนใจของตนเอง ผูเรยี นไดศึกษาคนควาศกึ ษางานวิจัย อภิปรายรวมกนั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook