Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore EDA 711 Group2

EDA 711 Group2

Published by NATSUDA KESA, 2022-02-16 14:42:49

Description: การศึกษาเปรียบเทียบ
ประเทศสิงคโปร์
ประเทศสหภาพเมียนมา
ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้)
ประเทศนิวซีแลนด์
ประเทศมาเลเซียกับประเทศไทย

Search

Read the Text Version

95

96

97

98

99

100

101

102

103

104

105

106

107

108

รายงานเชงิ สังเคราะห์และวเิ คราะห์การเปรยี บเทียบระบบการศกึ ษาและ การบรหิ ารการศึกษาระหว่างประเทศสหพนั ธรฐั มาเลเซยี กบั ประเทศไทย นายชนิ กฤต ศรีสขุ 64560109 รายงานเลม่ นีเ้ ปน็ สว่ นหน่งึ ของวชิ า EDA711 การบริหารการศึกษาเชงิ เปรยี บเทยี บ (Comparative Educational Administration) หลกั สตู รปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าการบรหิ ารการศกึ ษา วิทยาลยั บณั ฑิตศึกษาดา้ นการจัดการ มหาวิทยาลยั ศรีปทุม

2 คำนำ รายงานเชิงสังเคราะห์และวิเคราะห์การเปรียบเทียบระบบการศึกษาและการบริหาร การศึกษาระหว่างประเทศสหพันธรัฐมาเลเซียกับประเทศไทย เป็นส่วนหนึ่งของวิชา EDA711 การบริหารการศึกษาเชิงเปรียบเทียบ (Comparative Educational Administration) จดั ทำข้ึนเพ่ือ สังเคราะห์และวเิ คราะห์การเปรยี บเทียบระบบการศึกษาและการบริหารการศึกษาประเทศสหพันธรัฐ มาเลเซีย โดยมีองค์ประกอบของการนำเสนอเกย่ี วกบั บรบิ ทประเทศสหพนั ธรฐั มาเลเซยี นโยบายและ ยุทธศาสตร์ทางการศึกษาระบบการศึกษา การผลิตและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาของ ประเทศสหพันธรัฐมาเลเซีย และนำมาเปรียบเทียบกับการดำเนินการจัดการศึกษาหรือการบริหาร การศึกษาของประเทศไทย การวิเคราะห์ สังเคราะห์บทความทางวิชาการและเอกสารที่เกี่ยวข้อง รวมถึงจุดเด่นของการศึกษาประเทศสหพันธรัฐมาเลเซีย และข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนา การศึกษาของประเทศไทย การศึกษารายงานเชิงสังเคราะห์และวิเคราะห์การเปรียบเทียบระบบการศึกษาและ การบริหารการศึกษาระหว่างประเทศสหพันธรัฐมาเลเซียกับประเทศไทย ก่อให้เกิดประโยชน์ ในด้านการศึกษา ขอขอบคุณ ผศ.ดร.วราภรณ์ ไทยมา อาจารย์ประจำรายวิชาที่ใหค้ ำปรึกษาแนะนำ ให้การดำเนินการจดั ทำรายงานและการนำเสนออยา่ งดยี ่ิง ชนิ กฤต ศรสี ุข ผ้จู ดั ทำ

3 สารบัญ เรอื่ ง หน้า บริบทประเทศสหพันธรัฐมาเลเซยี Malaysia…………………………………………………….. 1 นโยบายและยทุ ธศาสตร์ทางการศกึ ษาของประเทศสหพนั ธรฐั มาเลเซยี ………………… 2 ระบบการศึกษาของประเทศสหพนั ธรฐั มาเลเซีย………………………………………………… 3 5 การจัดการศกึ ษาก่อนปฐมวยั 6 การจดั การศกึ ษาปฐมวัย 6 การจดั การศกึ ษาระดบั ประถมศึกษา 7 การจัดการศึกษาระดับมัธยมศกึ ษา 9 การจัดการศึกษาการอาชวี ศกึ ษา อุดมศกึ ษา และการฝกึ อบรมอาชพี 11 การจดั การศกึ ษานอกระบบและตามอัธยาศยั 11 การจัดการศึกษาพเิ ศษ และการศึกษาสำหรบั ผู้ดอ้ ยโอกาส 11 การผลิตและพฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาของประเทศสหพันธรฐั มาเลเซยี .... วิเคราะหบ์ ทความ เรอ่ื ง ศึกษาการพัฒนาการศึกษาเพื่อการบรรลุเป้าหมาย 13 การพฒั นาทีย่ งั่ ยนื ของโลก : กรณีศกึ ษาประเทศมาเลเซีย……………………………………… วิเคราะหบ์ ทความ เรอื่ ง การสังเคราะห์เปรียบเทยี บนโยบายและยทุ ธศาสตร์ 16 ทางการศกึ ษาของประเทศเวยี ดนามมาเลเซีย และอินโดนีเซยี และประเทศไทย…….. การเปรยี บเทียบระบบการศึกษาและการบรหิ ารการศกึ ษาระหวา่ ง 19 ประเทศสหพนั ธรฐั มาเลเซียกบั ประเทศไทย............................................………………… จุดเด่นของการศึกษาประเทศสหพันธรฐั มาเลเซีย และข้อเสนอแนะแนวทาง 44 การพัฒนาการศึกษาของประเทศไทย………………………………………………………………… 47 บรรณานุกรม………………………………………………………………………………………………….. 50 ภาคผนวก................................................................................................................... บทความ เรื่อง ศึกษาการพัฒนาการศึกษาเพ่อื การบรรลุเปา้ หมายการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื 51 ของโลก : กรณีศกึ ษาประเทศมาเลเซีย............................................................................... บทความ เรื่อง การสังเคราะห์เปรยี บเทียบนโยบายและยุทธศาสตร์ทางการศกึ ษา 75 ของประเทศเวียดนามมาเลเซยี และอินโดนเี ซยี และประเทศไทย……...............................

4 สารบญั ภาพ ภาพท่ี หน้า 1 ประเทศสหพันธรฐั มาเลเซยี Malaysia…………………………………………………………. 1 2 Malaysia Education System………………………………………………………………..… 3 3 Education in Malaysia……………………………………………………………………………. 4 4 การจดั เวลาเรยี นตามหลกั สตู รการศึกษาก่อนประถมศึกษาของมาเลเซีย ปี พ.ศ. 2553……………………………………………………………………………………………. 5 5 เปรยี บเทียบจดุ เน้นหลักสูตร พ.ศ.2554 กบั หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ.2560 ของประเทศสหพนั ธรฐั มาเลเซยี ………………………………………………………………….. 7 6 บทบาทของสถาบันเทคนิคศึกษา อาชวี ศกึ ษา และการฝึกอบรมระดับสูงกวา่ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย……………………………………………………………………………….. 10

5 สารบญั ตาราง ตารางท่ี หน้า 1 การเปรยี บเทียบการศกึ ษาประเทศไทยและประเทศสหพนั ธรฐั มาเลเซยี …………… 20

1 บริบทประเทศสหพันธรัฐมาเลเซีย Malaysia ประเทศสหพันธรฐั มาเลเซีย Malaysia ภาพท่ี 1 ประเทศสหพนั ธรัฐมาเลเซยี Malaysia (สำนกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2559 : 122) ประเทศสหพันธรัฐมาเลเซยี ตง้ั อยู่ในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใตใ้ ช้ระบอบประชาธิปไตย แบบสหพนั ธรัฐ มพี ระมหากษตั รยิ ์เปน็ ประมขุ ภายใต้รัฐธรรมนูญ เน้นนโยบายเศรษฐกจิ เน้นพึ่งตนเอง นโยบายทางสังคม คือ การสร้างค่านิยมอิสลาม แต่ไม่ถึงระดับสุดขั้วเพราะประกอบด้วยคนหลาย เช้อื ชาติ มีการดำเนินนโยบายต่างประเทศเชงิ รกุ มาตลอดและพยายามสร้างอำนาจตอ่ รองกบั ประเทศ ที่พัฒนาแล้ว (สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2559) ประเทศสหพันธรัฐมาเลเซีย แบ่งเป็น 2 สว่ น ซึ่งก้ันโดยทะเลจนี ใต้ สว่ นแรก คือ คาบสมทุ รมลายู ส่วนท่ีสองอยู่ทางเหนอื ของเกาะบอร์เนียว พื้นที่ทั้งประเทศ ประมาณ 330,257 ตารางกิโลเมตร มาเลเซียประกอบด้วยชนจากหลายเผ่าพันธุ์ มีประชากรประมาณ 30 ล้านคน ประกอบด้วยเชื้อชาติใหญ่ 3 กลุ่ม คือ มลายู จีน และอินเดีย ส่วนใหญ่อาศยั อยบู่ นแหลมมลายู ปกครองในระบอบประชาธิปไตยแบบสหพนั ธรัฐ มพี ระมหากษัตริย์ เป็นประมุข ภายใต้รัฐธรรมนูญ มีรัฐบาลกลางตั้งอยู่ ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ แนวโน้มทางเศรษฐกิจ มีนโยบาย 4 เสาหลัก

2 1) หนึง่ มาเลเซีย ประชาชนมากอ่ น และปฏิบตั ทิ นั ที 2) โปรแกรมการปฏริ ูปการปกครอง 3) แนวคิดต้นแบบเศรษฐกิจใหม่ มีจุดประสงค์หลัก 3 ประการ คือ 1) เพิ่มรายได้ 2) กระจายรายไดแ้ ละผลประโยชน์ใหค้ รอบคลมุ ทุกภาคสว่ น 3) พฒั นาอยา่ งย่งั ยืน 4) แผนมาเลเซยี ฉบับท่ี 10 มีเปา้ หมายหลกั คือ พฒั นามาเลเซียใหก้ า้ วไปสู่ประเทศท่ีมีรายได้ สงู (ทกั ษ์ อดุ มรัตน์, 2564) นโยบายและยุทธศาสตร์ทางการศึกษาของประเทศสหพันธรัฐมาเลเซยี มาเลเซยี มงุ่ พัฒนาระบบการศึกษาเพื่อลดความเหล่ือมล้ำระหว่างการศึกษาในกลุ่มชาติพันธ์ุ 3 กลุม่ หลกั ชนกลมุ่ น้อย และกลมุ่ ผูด้ ้อยโอกาส มีจดุ แขง็ คือ มรดกของระบบการศึกษาแบบอังกฤษ ที่ได้รับไว้เมื่อครั้งเป็นอาณานิคม และมีความพยายามสร้างความเท่าเทียมทางการศึกษาให้กับ กลุ่มชาตพิ ันธม์ุ าเลย์โดยนโยบาย “ภูมิบตุ ร” ประเทศสหพันธรัฐมาเลเซีย มีการจัดทำพิมพ์เขียวทางการศึกษา 2 ฉบับ ฉบับแรก ในปี ค.ศ. 2006-2010 และฉบับที่ 2 ปี ค.ศ. 2013-2025 โดยฉบับที่ 2 มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ ได้แก่ (1) เพอ่ื ให้เข้าใจว่าผลการปฏิบัตงิ านทางการศึกษาเปน็ อยา่ งไร และมสี ง่ิ ท้าทายอะไรบ้าง (2) เพือ่ กำหนดวสิ ยั ทศั น์และหลักการในการจัดการศึกษา (3) เพอ่ื กำหนดกรอบและโครงสร้างการปฏริ ูปการศกึ ษาที่ครอบคลุมทุกด้านรวมทั้งสิ่งสำคัญ ท่ีกระทรวงจะต้องเปลยี่ นแปลง อีกทั้งมีเป้าหมายหลัก 5 ประการ คือ (1) การเข้าถึง (2) คุณภาพ (3) ความเท่าเทียม (4) ความมีเอกภาพ และ (5) ความมีประสิทธิภาพ และมุ่งบรรลุเป้าหมายด้านพฤติกรรมผู้เรียน 6 ประการ คือ (1) ความรู้ (2) ทักษะการคิด (3) ทักษะภาวะผู้นำ (4) ความสามารถใช้สองภาษา (5) มีจริยธรรมและจติ ใจงดงาม และ (6) มีอัตลกั ษณ์ของชาติ สำหรับนโยบายวิสัยทัศน์ 2020 แผนพัฒนาการศึกษาของชาติ หรือ Malaysia Education Blueprint 2013-2025 นโยบายการพัฒนาครู และการสร้างอัตลักษณ์ผ่านระบบการศึกษา เพื่อพัฒนามนุษย์ที่สมบูรณ์ที่นำประเทศไปสู่การเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว มียุทธศาสตร์ 11 ข้อ เพ่ือปฏิรูปการศกึ ษา

3 1. จัดใหเ้ กิดความเสมอภาคในโอกาสทีจ่ ะเขา้ ถงึ การศกึ ษาทมี่ คี ุณภาพระดบั มาตรฐานสากล 2. ประกันว่าเด็กทุกคนสามารถใช้ภาษามลายูและภาษาอังกฤษ และได้รับการส่งเสริม ให้เรียนภาษาอนื่ ๆ เพิ่มอกี 1 ภาษา 3. พัฒนาชาวมาเลเซียทีม่ ีค่านิยมที่พงึ ประสงค์ เน้นเรือ่ งความซื่อสัตย์ สุจริต ความยุติธรรม การเห็นแก่ประโยชนส่วนรวม การเป็นพลโลกทม่ี อี ตั ลักษณ์แห่งชาติมาเลเซีย 4. ปฏริ ปู การสอน เพื่อให้เลือกเรยี นวชิ าอาชพี มากขึน้ 5. ประกนั ว่าผ้นู ำของโรงเรยี นทกุ โรงปฏิบตั ิงานอยา่ งมปี ระสิทธิภาพและประสิทธผิ ลสงู 6. เสริมพลังสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและโรงเรยี นต่างๆ ให้สามารถแก้ปัญหาการศึกษา ไดต้ รงกับความต้องการของผเู้ รยี น 7. ยกระดับเทคโนโลยีการสื่อสารและสารสนเทศเพื่อเพิ่มคุณภาพการเรียนรู้ทั่วประเทศ มาเลเซีย 8. ปฏิรูปขีดความสามารถของกระทรวงศึกษาธิการในการสง่ ผา่ นนโยบายไปสกู่ ารปฏบิ ัติ 9. เปน็ หนุ้ ส่วนในทุกๆ เร่อื งกับพ่อแมผ่ ้ปู กครอง ชมุ ชน และภาคเอกชน 10. ใช้เงนิ ทุกริงกิตใหเ้ กดิ ผลสูงสดุ กบั นักเรยี น 11. เพิ่มความโปรง่ ใสเพอ่ื ให้สาธารณชนสามารถตรวจสอบการศกึ ษาได้โดยตรง ระบบการศกึ ษาของประเทศสหพนั ธรฐั มาเลเซีย ภาพที่ 2 Malaysia Education System (UNESCO, 2021)

4 การศึกษาภาคบังคับของประเทศสหพันธรัฐมาเลเซีย รวมทั้งหมด 11 ปี (6-3-2) โดยการศึกษาก่อนปฐมวัย ไม่บังคับส่วนใหญ่จะเริ่มเข้าเรียนเมื่ออายุ 3 ปี การจัดการศึกษาปฐมวัย สำหรับเด็กอายุ 4-6 ปี ใช้หลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ การจัดการศึกษาระดับประถมศึกษา ตั้งแต่อายุ 6 ปี ใช้เวลาเรียน 6 ปี การจัดการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ใช้เวลาเรียน 5 ปี เรียกว่า Form หรือ Tingkatan ระดับมัธยมต้น 3 ปี (Form 1-3) ระดับมัธยมปลาย 2 ปี (Form 4-5) การจัดการศึกษาการอาชีวศกึ ษา อุดมศึกษา และการฝึกอบรมอาชีพ เตรียมอุดมศึกษา มีระยะเวลา เรียน 1-2 ปี นักเรียนที่จบมัธยมศึกษาตอนปลาย หลังจากสอบ SPM ถ้าเลือกเรียนต่อมหาวิทยาลัย จะเรียนในชั้นเตรียมอุดม เรียกว่า Form 6 และ การจัดการศึกษาอุดมศึกษาใช้เวลาเรียน ตามหลักสูตร สามารถนำเสนอรายละเอียดของระบบการศึกษาของของประเทศสหพนั ธรัฐมาเลเซีย ดงั ตารางภาพต่อไปนี้ ภาพที่ 3 Education in Malaysia (ASEM Education, 2021)

5 จากตารางภาพ และจากการศึกษาระบบโครงสร้าง การจดั การศึกษาของประเทศสหพันธรัฐ มาเลเซีย ของ (ทักษ์ อุดมรัตน์, 2564), (วีระเทพ ปทุมเจริญวัฒนา และคณะ, 2560), และ (สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2559) สามารถอธิบายระบบการศึกษาและการจัดการศึกษา ในแตล่ ะระดับของประเทศสหพันธรัฐมาเลเซยี ไดด้ ังน้ี การจัดการศกึ ษาก่อนปฐมวัย ไมบ่ ังคบั ส่วนใหญ่จะเริม่ เข้าเรียนเมือ่ อายุ 3 ขวบ การจัดการเรียนการสอน เนน้ ภาษาองั กฤษ และภาษามลายู และภาษาอื่น ๆ ตามความต้องการของนักเรียนและผู้ปกครอง คณิตศาสตร์ และ การบูรณาการกิจกรรมต่าง ๆ ตามตารางการจัดเวลาเรียนตามหลักสูตรการศึกษากอ่ นประถมศึกษา ของมาเลเซีย ปี พ.ศ. 2553 สามารถนำเสนอการจัดเวลาเรียนตามหลักสูตรการศึกษาก่อน ประถมศกึ ษาของมาเลเซยี ไดต้ ามตารางภาพ ดังนี้ ภาพท่ี 4 การจดั เวลาเรยี นตามหลักสตู รการศกึ ษากอ่ นประถมศกึ ษาของมาเลเซีย ปี พ.ศ. 2553 (ทกั ษ์ อุดมรัตน์, 2564 : 21)

6 การจดั การศกึ ษาระดบั ปฐมวยั การจัดการศึกษาระดบั ปฐมวยั สำหรบั เด็กอายุ 4-6 ปี ใช้หลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ เน้น 4 R’s Reading, Writing, Arithmetic, Reasoning (การอ่าน การเขียน เลขคณิต และการใช้ เหตผุ ล) เปา้ หมายเพือ่ พฒั นาศักยภาพของเด็กอายุ 4-6 ปี อยา่ งเป็นองค์รวม ท้งั รา่ งกาย จติ ใจ สังคม สติปัญญา ซึ่งมุ่งพัฒนาอย่างสมดุลทุกด้าน ประกอบด้วย การสื่อสาร, จิตวิญญาณ เจตคติ ค่านิยม, ความเป็นมนุษย์, บุคลิกภาพเสริมสร้างภาวะผู้นำ, ร่างกายและสุนทรียภาพ และ วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี การวัดและประเมินผลการศึกษาปฐมวัย เน้นการประเมินกระบวนการและโครงสร้าง ซึง่ ในเชงิ กระบวนการนั้น จะพิจารณาประสบการณ์ต่างๆ ซ่งึ เด็กได้รบั ในชีวิตประจำวนั เมื่ออยู่ในศูนย์ ดูแลเดก็ หรือในโรงเรยี นอนบุ าล การจดั การศกึ ษาระดับประถมศึกษา การจัดการศึกษาระดับประถมศึกษา รับนักเรียนตั้งแต่อายุ 6 ปี นับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ของแตล่ ะปี ใชเ้ วลาเรยี น 6 ปี แบ่งเป็น 2 ระดับ - หลักสตู รระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้น (ปที ่ี 1-3) เนน้ ทักษะการอา่ น การเขียน เลขคณติ - หลักสูตรระดับประถมศึกษาตอนปลาย (ปีที่ 4-6) เน้น การอ่านคล่อง เขียนคล่อง คิดเลขคล่อง วิชาบังคับในโรงเรียนประถมศึกษา คือภาษามาเลย์ และภาษาอังกฤษ และภาษาที่ 3 เช่น ภาษาจีนเป็นวิชาบังคับของโรงเรียนจีน ภาษาทมิฬก็เป็นวิชาบังคับสำหรับโรงเรียนทมิฬ และ เลื่อนชั้นเป็นแบบอัตโนมัติ ในหลักสูตรใหม่ คือ สะเต็มศึกษา โดยเน้นการทำกจิ กรรมโครงงาน และ เทคนิคการตั้งคำถามเพื่อพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูงและเพื่อให้ผู้เรียนเห็นความเชื่อมโยงของ สหวิทยาการ และการจัดการศึกษาของประเทศสหพันธรัฐมาเลเซีย ได้ปรับหลักสูตร พ.ศ.2554 เป็นหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2560 สามารถเปรียบเทียบจุดเน้นหลักสูตร พ.ศ.2554 กับหลักสูตร ปรับปรุง พ.ศ.2560 ของประเทศสหพนั ธรัฐมาเลเซยี ได้ดังนี้

7 ภาพที่ 5 เปรยี บเทยี บจดุ เน้นหลักสูตร พ.ศ.2554 กับหลกั สูตรปรบั ปรงุ พ.ศ.2560 ของประเทศสหพันธรัฐมาเลเซีย (ทกั ษ์ อุดมรัตน์, 2564 : 23) การสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนจบประถมศึกษาช้นั ปีท่ี 6 เรียกว่า Ujian Pencapaian Sekolah Rendah หรือ UPSR โดยสอบวิชาความเข้าใจภาษามาเลย์ (Malay compre-hension), การเขียน ภาษามาเลย์ (Malay writing), ความเข้าใจภาษาอังกฤษ (English writing), วิทยาศาสตร์, และ คณิตศาสตร์ ถ้าเรียนในโรงเรียนภาษาจีน ต้องสอบวิชาความเข้าใจและการเขียนภาษาจีน หรือ ถา้ เรยี นในโรงเรียนภาษาทมิฬกจ็ ะตอ้ งสอบวชิ าความเขา้ ใจและการเขยี นภาษาทมฬิ ด้วย นักเรียน ที่จบระดับชั้นประถมศึกษา จะเข้าเรียน ม.1 (Form 1) ต้องสอบผ่าน UPSR วิชาภาษามาเลย์ เกรดท่ีไม่ต่ำกวา่ C ถ้าไม่ผ่านตามเกณฑ์ ต้องเข้าเรยี น ในช้นั เตรียมมัธยม 1 ปี ท้ังนี้ เพราะการเลือ่ นขั้นในระดบั ประถมศึกษาเป็นแบบอัตโนมตั ิที่ไม่มกี ารสอบตก การจัดการศึกษาระดบั มธั ยมศกึ ษา การจัดการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ใช้เวลาระยะเวลาเรียน 5 ปี เรียกว่า Form หรือ Tingkatan แบ่งเป็น 2 ระดับ ระดับมัธยมต้น 3 ปี (Form 1-3) และระดับมัธยมปลาย 2 ปี (Form 4-5)

8 - หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น (Form 1-3) เรียนวิชาแกน คือ ภาษามลายู ภาษาอังกฤษ มุสลมิ ศึกษาหรอื จริยศึกษา คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ประวัตศิ าสตร์ และวชิ า บงั คับ คือ ภูมิศาสตร์ ทักษะการใช้ชีวิต ศิลปศึกษา ดนตรีศึกษา สุขศึกษา พลศึกษา และมีวิชาเพิ่มเติม คือ ภาษาจีน ภาษาทมิฬ ภาษาอารบิกเพอื่ การส่อื สาร เมื่อเรียนจบมัธยมศึกษาปีที่ 3 จะต้องสอบข้อสอบระดับชาติ เรียกว่า (PMR หรือ LSA) PenilaianMenengahRendah/Lower Secondary Assessment) ซึ่งมีผลต่อการเรียนต่อ ใน มัธยมศึกษาตอนปลาย เพื่อนำไปประกอบการพิจารณาเลือกเส้นทางศึกษาต่อ 3 สาย คือ (1) สายวชิ าการ (วิทย์/ศิลป)์ , (2) สายเทคนิคและอาชพี และ(3) สายศาสนา - หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (Form 4-5) มี 2 สาย คือ สายวิชาการ และสายเทคนิค และอาชีวศึกษา นอกจากนี้ มีโรงเรียนสอนศาสนาอิสลามท่ีจัดตัง้ โดยรัฐบาล มีวิชาแกน คือ อิสลาม ศึกษาและอารบิกศึกษา เพอื่ เตรียมทำงานเกี่ยวกบั ศาสนาอิสลาม เมื่อจบมัธยมศึกษาตอนปลาย (หลักสูตร 2 ปี) จะต้องสอบข้อสอบระดับชาติ เรียกว่า SijilPelajaran Malaysia/Malaysian Certificate of Examination (เรียกย่อว่า SPM หรือ MCE) และหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายสายอาชีพ มีข้อสอบ The Vocational Malaysian Certificate of Examination เทยี บเท่ากับข้อสอบประกาศนียบัตรมาเลเซีย ในระดับมัธยมศึกษา นักเรียนทุกคนต้องทำกิจกรรมเสริมหลักสูตร (Co-curricular activities) ซึ่งรัฐส่วนใหญ่ ให้ทำกิจกรรมเสริมหลักสูตรไม่น้อยกว่า 2 กิจกรรม แต่รัฐซาราวัค บงั คบั ไมต่ ่ำกว่า 3 กจิ กรรม การวัดและประเมินผลการศึกษาประถมศึกษาและมัธยมศึกษาเริ่มใช้ในปี พ.ศ. 2560 คือ ให้เพิ่มคำถามที่ทดสอบทักษะการคิดขั้นสูง เช่น การประยุกต์ใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการประเมนิ ไมเ่ น้นเร่อื งความรู้ความจำและความเข้าใจมากเกินไป การสอบโดยส่วนกลางผสม กับการประเมินระหว่างเรียนในรปู แบบตา่ งๆ ได้แก่ - การประเมินโดยครูที่โรงเรียน เรียกว่า School Assessment ซึ่งมีหลากหลายวิธี เช่น การให้ทำข้อทดสอบแบบเขียนตอบ (Written Tests) ระหว่างเรียน เพื่อนำผลไปปรับปรุง การเรียนและการสอน

9 - การประเมินจากส่วนกลาง เรียกว่า Central Assessment เป็นการประเมินโดย ให้ทำข้อสอบแบบเขียนตอบ ทำโครงงาน หรือสอบปากเปล่า (วิชาภาษา) ซึ่ง LP ในส่วนกลางเป็น ผูพ้ ัฒนาประเด็นคำถาม - การประเมนิ ทางจิตวิทยา เรยี กวา่ Psychometric Assessment เป็นการทดสอบความ ถนัดและคน้ หาบคุ ลิกลกั ษณะต่างๆ ของนักเรยี น - การประเมินกิจกรรมการออกกำลังกาย การกีฬาและกิจกรรมเสริมหลักสูตร เรียกว่า Physical Activities, Sports and Co-curricular Assessment การจดั การศึกษาการอาชวี ศึกษา อดุ มศกึ ษา และการฝกึ อบรมอาชีพ - หลักสูตรเตรียมอุดมศึกษา มีระยะเวลาเรียน 1-2 ปี นักเรียนที่จบมัธยมศึกษาตอนปลาย หลังจากสอบ SPM ถ้าเลือกเรียนต่อมหาวิทยาลัยจะเรียนในชั้นเตรียมอุดม เรียกว่า Form 6 หรือ matriculation (pre-university) - หลักสูตรเทคนิคศึกษา อาชีวศึกษา และการฝึกอบรม (TVET) หลักสูตรอาชีวศึกษา แบ่งเป็น 2 ระดับ อาชวี ศึกษาชัน้ ต้น และ วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษา 1. อาชีวศึกษาชั้นต้น Junior Vocational Education-KAV) ให้เป็นเส้นทางเลือกหลังจาก เรียนจบประถมศึกษาปีที่ 6 นักเรียนที่จบ จะได้รับประกาศนียบัตรเทียบเท่าคุณสมบัติอาชีวศึกษา แห่งชาติ ระดบั 2 หรือ SKM2 ตัง้ แตอ่ ายุ 15 ปี โดยไม่ต้องรอจนถงึ อายุ 17 ปี 2. วิทยาลัยอาชีวศึกษา (Vocational College-KV) ปฏิรูปจากโรงเรียนมัธยมศึกษา ตอนปลายสายอาชีพ เพื่อจัดการเรียนการสอนทั้งหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูง และ ระดับอนุปริญญา ทั้งน้ีบทบาทของสถาบันเทคนิคศึกษา อาชีวศึกษา และการฝึกอบรมระดับสูงกวา่ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย สามารถนำเสนอได้ตารางต่อไปนี้

10 ภาพท่ี 6 บทบาทของสถาบนั เทคนิคศกึ ษา อาชวี ศึกษา และการฝกึ อบรมระดับสงู กวา่ มัธยมศึกษาตอนปลาย (ทกั ษ์ อุดมรัตน์, 2564 : 17) จากตารางภาพที่ 6 บทบาทของสถาบันเทคนิคศึกษา อาชีวศึกษา และการฝึกอบรม ระดับสูงกว่ามัธยมศึกษาตอนปลาย วิทยาลัยอาชีวศึกษา (Vocational colleges) กลุ่มเป้าหมาย 16 ปี หลังจบ Form 3 คุณสมบัติในการเข้าเรียน PT3 : -เกรด D และ E ผ่าน BM สำหรับ SKM2 และ เกรด A, B, C, D สำหรับ SVM, Diploma (DVM) วทิ ยาลยั ชมุ ชน (Community colleges) กลุ่มเป้าหมาย 18 ปี หลงั จบ Form 5 หรือผู้ใหญ่ ทมี่ งี านทำ คณุ สมบัตใิ นการเขา้ เรยี น SPM และ 1 นก. เพือ่ รบั ประกาศนียบัตร และ ประกาศนียบัตร เพอ่ื WBL Diploma โพลีเทคนิค (Polytechnics) กลุ่มเป้าหมาย 18 ปี หลังจบ Form 5 คุณสมบัติในการเข้า เรียน SPM และ 3-6 นก. เพื่อรับประกาศนียบตั ร และ ประกาศนียบัตร เพื่อ WBL Adv. Diploma, WBL Bachelor

11 Malaysia Technical University Network (MTUN) กลุ่มเป้าหมาย 18-20 ปี หลังจบ Form 5 คุณสมบัติในการเข้าเรียน SPM และ 5 นก. เพื่อรับประกาศนียบตั ร และ ประกาศนียบัตร เพื่อ Adv. Diploma, Bachelor การจัดการศึกษานอกระบบและตามอธั ยาศยั การจดั การศึกษาแบบนอกระบบ (Non-formal Lifelong Learning) ซ่งึ อยู่ภายใตก้ ระทรวง ทรัพยากร มนุษย์ เมื่อปี พ.ศ.2549 ให้มีการจัดตั้งสภาพัฒนาทักษะแห่งชาติ ชื่อย่อว่า NSDC มศี นู ยฝ์ ึกอบรมอาชพี ทั้งสิ้น 877 ศูนย์ การจดั การศกึ ษาพเิ ศษ และการศึกษาสำหรบั ผู้ดอ้ ยโอกาส การจัดการศกึ ษาพเิ ศษ และการศึกษาสำหรับผดู้ ้อยโอกาส แบง่ ออกเป็น 3 กลุ่ม 1. การศกึ ษาสำหรับเด็กที่มีความตอ้ งการพเิ ศษ จำแนกเปน็ 3 ประเภท คือ - โรงเรยี นการศึกษาพิเศษ (Special Education School) - โปรแกรมการศกึ ษาพเิ ศษบรู ณาการ - โปรแกรมการเรยี นรวม 2. โปรแกรมการศึกษาสำหรับเด็กในโรงพยาบาล School in Hospital” เรียกย่อว่า SDH เป็นความร่วมมือระหว่างกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงสาธารณสขุ 3. การศึกษาสำหรับเด็กด้อยโอกาสกลุ่มอื่นๆจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้เพื่อการศึกษาทางเลือก สำหรับเด็กด้อยโอกาส มสี ถาบันการศึกษาทางเลือก 177 แห่ง การผลติ และพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาของประเทศสหพนั ธรัฐมาเลเซีย การผลติ และพฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาของประเทศสหพันธรฐั มาเลเซีย อยู่ภายใต้ การกำกบั ดูแลของสถาบันการฝึกหัดครแู หง่ ชาติมาเลเซยี ซึง่ มีกระบวนการดำเนินงาน 7 เรือ่ ง 1. เพิ่ม ความเข้มขน้ และใชร้ ะบบท่ีเปน็ องค์รวม ในการรบั เข้าศึกษาในสถาบนั ฝกึ หัดครู 2. ปรบั ปรุงหลกั สูตรการฝกึ หัดครูและเพมิ่ ชว่ั โมงฝึกประสบการณเ์ ปน็ 40% ของเวลาเรยี น/ หน่วยกติ ทั้งหมด

12 3. ปรับปรงุ ภาวะผู้นำของผบู้ ริหารวทิ ยาเขตต่างๆ ของสถาบนั ฝึกหัดครู 4. ยกระดบั คุณภาพของอาจารย์ผู้สอนในสถาบันฝกึ หดั ครู 5. ยกระดับโครงสร้างพน้ื ฐานของสถาบันการฝึกหัดครู 6. เพิม่ กิจกรรมการวจิ ยั นวตั กรรม 7. ยกระดับการยอมรบั คุณภาพของสถาบันการฝึกหัดครู การพฒั นาครูปฐมวัย 1. ต้องผ่านการฝึกหัดครูหรอื ได้รับประกาศนยี บตั รชนั้ สงู ทางการสอน 2. ฝึกอบรมโดยกระทรวงต้นสังกัดอีก 6 เดือน และสำหรัสังกัดกรมเอกภาพและบูรณาการ ของชาติ ตอ้ งไดร้ ับการฝึกอบรมโดยกระทรวงต้นสังกดั อีก 3 สัปดาห์ 3. หลกั สูตรการฝึกหดั ครทู ่ีกระทรวงศึกษาธิการอนมุ ตั ิใหส้ ถาบนั อุดมศึกษาเป็นผู้จัด 4. การฝึกอบรมครูปฐมวัย โดยสมาคมโรงเรียนอนุบาลแห่งมาเลเซีย 5. การฝึกอบรมเจ้าของศูนย์ดูแลเด็กและผู้ดูแลเด็กปฐมวัย ทั้งสองตำแหน่ง ต้องได้รับการ ฝกึ อบรมโดยกระทรวงพฒั นาสตรี ครอบครัว และชุมชน ใชเ้ วลา 10 วนั จดั หลักสตู รแบบโมดูล การพัฒนาครโู ดยครูพีเ่ ลีย้ งท่ชี ำนาญการพเิ ศษ ในช่วงแรก เนน้ 3 วชิ า คอื ภาษาบาฮาซามาเลเซยี ภาษาองั กฤษ คณติ ศาสตร์ และถ้าครชู ำนาญการพิเศษด้านวทิ ยาศาสตรม์ เี พียงพอก็จะจัดส่งออกไปช่วยครู วิทยาศาสตร์ด้วย ทั้งนี้ จะมีอาจารย์จากสถาบันการฝึกหัดครูแห่งชาติ (IPG lecturers) เป็นผู้ให้การ สนบั สนนุ แก่ครพู ี่เล้ยี งและการจดั ทำหลักสตู รพัฒนาครใู นโครงการน้ี การพัฒนาผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา 1. ตรวจทานและปรบั ปรุงเกณฑ์การคดั เลือกผบู้ ริหารสถานศกึ ษา 2. สรา้ งผูน้ ำเพือ่ ใหม้ ีผ้พู รอ้ มจะเปน็ ผู้บริหารสถานศกึ ษา 3. ปรับปรุงการพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาตั้งแต่เตรียมเข้าสู่ตำแหน่งไปจนตลอดเส้นทาง วิชาชพี 4. จดั การผลงานผู้บรหิ ารสถานศึกษาโดยใชผ้ ลงานและสมรรถนะเปน็ ฐาน

13 วิเคราะห์บทความ เร่อื ง ศึกษาการพฒั นาการศึกษาเพอื่ การบรรลุเป้าหมายการพฒั นาท่ยี ัง่ ยนื ของโลก : กรณีศึกษาประเทศมาเลเซยี บทความ : วิจยั เชงิ คุณภาพ เร่อื ง : ศกึ ษาการพฒั นาการศึกษาเพอ่ื การบรรลเุ ปา้ หมายการพัฒนาท่ียงั่ ยืนของโลก : กรณศี กึ ษา ประเทศมาเลเซยี วตั ถปุ ระสงค์การวจิ ยั 1. เพื่อศึกษานโยบายการพัฒนาการศึกษาของประเทศมาเลเชีย เพื่อการบรรลุเป้าหมาย การพฒั นาท่ยี ง่ั ยนื ของโลก 2. เพ่ืออธบิ ายปจั จยั สู่ความสำเร็จและนำบทเรยี นจากการศกึ ษาประเทศมาเลเชีย การพฒั นา การศึกษาที่จัดให้พลเมืองทุกคนได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างครอบคลุมและเท่าเทียม และ มีการสนบั สนุนโอกาสในการเรียนรู้ตลอดชวี ิต 3. เพื่อจัดทำข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการศึกษาของประเทศไทย ที่เหมาะสมกับ บริบทไทย โดยม่งุ เน้นใหบ้ รรลุเปา้ หมายการพฒั นาที่ย่งั ยนื ของโลก ภายในปี พ.ศ. 2573 วธิ ีการดำเนินการ ใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ เน้นการค้นคว้าจากเอกสาร และการสัมภาษณ์ ผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อสรุปสภาพปัจจุบันของระบบการศึกษาของประเทศมาเลเชีย ที่มีปฏิบัติการที่ดี ในระยะเวลาของการสิ้นสุดปี พ.ศ. 2560 และนำเสนอเป็นข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและ การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติในการพัฒนาการศึกษาไทย เพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ของโลกจากเอกสารเชิงนโยบาย กฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และอิงความเห็นผู้ทรงคุณวุฒิ แบบกลมุ่ ยอ่ ย (Focus Group) กบั ประชมุ ระดมความคิด (Brainstorming) จากผู้มสี ว่ นไดส้ ่วนเสยี

14 ผลการวิจัย 1) นโยบายการพัฒนาการศึกษาของประเทศมาเลเซีย มงุ่ สู่เป้าหมายการพฒั นาทยี่ ่งั ยืน และ มีความก้าวหน้าไปมากทุกเร่ือง เมื่อพิจารณาตามเป้าประสงค์หลัก 7 ประการ ขององค์การยูเนสโก และเป้าประสงค์อื่นๆ ที่สนับสนุน ยกเว้นเรือ่ งการขยายทุนการศึกษาไปให้กับประเทศทีก่ ำลงั พัฒนา และการร่วมพฒั นาครูของประเทศที่กำลังพฒั นา 2) ข้อเสนอแนะแนวทางการประยุกต์ใช้กับประเทศไทย คือ ยุทธศาสตร์ที่ใช้ในการพัฒนา การศึกษาและการดูแลเด็กปฐมวัย ยุทธศาสตร์ในการเพิ่มโอกาสด้านเทคนิคศึกษา อาชีวศึกษา และ อดุ มศกึ ษา ใหท้ กุ คนเข้าถึงไดโ้ ดยไมจ่ า่ ยแพงเกนิ ไป และยุทธศาสตร์การยกระดบั การอ่านออกเขียนได้ คิดเลขเป็น ของเยาวชนและผใู้ หญ่ การนำมาใช้ ในการประยุกต์ใช้จากการศึกษา บทความเรื่อง ศึกษาการพัฒนาการศึกษาเพื่อการบรรลุ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของโลก : กรณีศึกษาประเทศมาเลเซีย นั้นในเชิงนโยบายประเทศไทย ไดม้ ีการพฒั นาการศึกษาตามทิศทางการพัฒนาท่ีย่ังยืน และตามยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี มุง่ ให้ประเทศ ไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ควรเสริมสร้างความแข็งแกร่งของศาสตร์พระราชาและปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง อ้างอิง ทักษ์ อุดมรตั น์. (2564). ศกึ ษาการพัฒนาการศึกษาเพือ่ การบรรลุเปา้ หมายการพัฒนาทยี่ ัง่ ยืนของโลก : กรณศี ึกษาประเทศมาเลเซีย. สักทอง : วารสารมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ (สทมส.), 27 (2), 9-32. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/tgt/article/view/252400/170795

15 บทความของประเทศไทยทเี่ กีย่ วข้อง เรือ่ ง รปู แบบการพฒั นาการจัดการศกึ ษาทางเลอื กตามแนวพระราชดําริเศรษฐกจิ พอเพียง เพอื่ การพฒั นาที่ย่งั ยืน อา้ งอิง ปรชิ ัย ดาวอดุ ม, เจษฎา เนตะวงศ์, อจั ฉราภรณ์ ทองแฉลม้ , วมิ ลพรรณ ดาวดาษ และ เชิดชาย ชชู ว่ ย สุวรรณ. (2564). รปู แบบการพฒั นาการจดั การศึกษาทางเลือกตามแนวพระราชดําริ เศรษฐกิจพอเพยี งเพ่ือการพฒั นาที่ยัง่ ยืน. วารสารวจิ ัยและพฒั นาหลกั สูตร, 11 (1), 200- 210. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jrcd/article/view/252452/169454 ซง่ึ บทความนส้ี อดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) เป็นยุทธศาสตร์ชาติ ฉบบั แรกของประเทศไทยตามรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย ซ่ึงจะตอ้ งนำไปส่กู ารปฏบิ ตั เิ พอ่ื ให้ ประเทศไทยบรรลุวสิ ัยทัศน์ ประเทศไทยมีความมั่นคง มัง่ คั่ง ยัง่ ยืน เปน็ ประเทศพัฒนาแลว้ ด้วยการ พัฒนาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพื่อความสขุ ของคนไทยทุกคน อา้ งองิ สำนักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. สำนักงานเลขานุการของ คณะกรรมการยทุ ธศาสตร์ชาติ. ยุทธศาสตรช์ าติ พ.ศ. 2561 – 2580. พิมพ์ครง้ั ที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนกั งานเลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ สำนกั งานคณะกรรมการ พฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ. และในวิสัยทศั น์ของแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 250-2579 กำหนดไว้ ดงั นี้ คนไทยทกุ คน ได้รบั การศกึ ษาและเรียนรตู้ ลอดชวี ิตอย่างมีคุณภาพ ดำรงชีวติ อย่างเป็นสุข สอดคลอ้ งกบั หลกั ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21 อ้างอิง สำนกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. พมิ พค์ ร้ังท่ี 1. กรุงเทพฯ : บรษิ ัท พรกิ หวานกราฟฟิค จำกัด.

16 วเิ คราะห์บทความ เรื่อง การสังเคราะห์เปรยี บเทียบนโยบายและยุทธศาสตร์ทางการศึกษาของ ประเทศเวียดนามมาเลเซยี และอินโดนีเซยี และประเทศไทย บทความ : วจิ ัยเชิงคุณภาพ เร่อื ง : การสังเคราะห์เปรียบเทียบนโยบายและยุทธศาสตร์ทางการศกึ ษาของประเทศเวียดนาม มาเลเซีย และอินโดนเี ซีย และประเทศไทย วตั ถปุ ระสงคก์ ารวจิ ัย 1. เพอ่ื สงั เคราะหเ์ ปรยี บเทียบนโยบายและยทุ ธศาสตร์ทางการศึกษา ปัจจยั และเงื่อนไขและ กลไกขับเคลื่อนที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์ทางการศึกษาของ ประเทศเวียดนาม มาเลเซีย และอินโดนีเซยี กบั ประเทศไทย 2. เพื่อจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายและยุทธศาสตร์ทางการศึกษาในการปฏิรูปการศึกษา สำหรับประเทศไทย วิธีการดำเนินการ แบง่ เปน็ 3 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 การศึกษานโยบายและยุทธศาสตร์ทางการศึกษาที่สำคัญ ปัจจัยและเงื่อนไขและ กลไกขับเคลื่อนที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์ทางการศึกษาของ ประเทศเวียดนาม มาเลเซีย และอินโดนีเซียในรอบ 3 ทศวรรษ โดยการวิเคราะห์เอกสาร บทความ หนังสอื ตารา งานวจิ ัยสารนพิ นธ์ วทิ ยานิพนธ์ และข้อความ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมประเทศ แผนพัฒนาการศึกษาแหง่ ชาติ แผนยุทธศาสตร์ทางการศึกษาของประเทศเวียดนาม มาเลเซีย และ อินโดนีเซีย ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เป็นเอกสารที่จัดทำขึ้นในระยะ 30 ปีที่ผ่านมา (ระหว่าง ค.ศ. 1980 2013) และการสัมภาษณ์เชงิ ลึกโดยเครื่องมือที่ใชใ้ นการวิจัยคือ แบบวิเคราะห์ เอกสาร แบบสมั ภาษณ์ ระยะที่ 2 การสังเคราะห์เปรียบเทียบนโยบายและยุทธศาสตร์ทางการศึกษา ปัจจัยและ เงื่อนไขและกลไกขับเคลื่อนที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์ ทางการศึกษาของประเทศเวียดนาม มาเลเซีย และอินโดนีเซียกับประเทศไทย โดยนำข้อมูลจากการ

17 วิเคราะหเ์ ปรยี บเทียบในระยะที่ 1 มาสังเคราะห์เพื่อเปรียบเทียบระหว่างประเทศเวยี ดนาม มาเลเซีย และอินโดนีเซียกับบริบทและเงื่อนไขของประเทศไทย ในประเด็นบริบทที่ส่งผลต่อการกำหนด นโยบายและยุทธศาสตร์ทางการศึกษา นโยบายและยุทธศาสตร์ทางการศึกษาที่สำคัญ กลไกในการ ขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์ทางการศึกษา และผลการนำนโยบายและยุทธศาสตร์ทางการ ศึกษาไปใช้ ทั้งในด้านประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ผลกระทบคุณภาพการศึกษา ความสอดคล้อง สมั พนั ธ์ความยั่งยนื ระยะที่ 3 การจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายและยุทธศาสตร์ทางการศึกษาในการปฏิรูป การศึกษาสำหรับประเทศไทย โดยนาข้อมลู จากการสงั เคราะห์ในระยะท่ี 2 มาเปน็ กรอบแนวคดิ จัดทำ (ร่าง) ขอ้ เสนอเชินโยบายและยุทธศาสตรท์ างการศกึ ษาในการปฏริ ปู การศกึ ษาสาหรบั ประเทศไทย ผลการวิจัย ทั้งประเทศประเทศเวยี ดนาม มาเลเซยี อินโดนีเซีย มีนโยบายและยุทธศาสตรท์ างการศึกษา ระหว่าง ค.ศ. 1980 2013 เพ่ือตอบรับกับวิสัยทัศนก์ ารกาหนดนโยบายในการพฒั นาประเทศท้ังในเชิง เศรษฐกิจและสังคมในระยะยาวเพื่อการก้าวสู่การเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ดังที่เวียดนามกำหนด นโยบายโดย่ เหมย่ (Doi Moi) มาเลเซยี คอื นโยบายวสิ ยั ทัศน์ 2020 และอินโดนีเซยี คือแผนพัฒนา เศรษฐกิจอินโดนีเซีย ค.ศ. 2011-2025 ซึ่งเมื่อเทียบกับประเทศไทย คือ การมีแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติในระยะที่สั้นกว่า การสังเคราะห์เปรียบเทียบปัจจัยเงื่อนไขและกลไกที่ส่งผลต่อ การขบั เคลือ่ นนโยบายและยทุ ธศาสตร์ทางการศึกษาที่สำคญั พบว่ามปี จั จัยเง่อื นไข และกลไกที่สำคัญ ที่เป็นจุดร่วมกนั ของทั้งประเทศเวียดนาม มาเลเซีย และอินโดนีเซีย คือ การมีนโยบายการศึกษาท่มี ี ความต่อเนื่อง และเป็นแผนระยะยาว สามารถนาไปสู่การปฏิบัติได้ การมีหน่วยงานที่รับผิดชอบ ในการดำเนินนโยบายด้านการศึกษาโดยเฉพาะ การมีระบบการเมืองที่มั่นคงและการมีผู้นำและ ผ้บู รหิ ารประเทศท่ีมีวิสัยทศั น์ทางการศกึ ษาอย่างชัดเจน และการมมี าตรการส่งเสริมความร่วมมือกับ เครือขา่ ยในการจดั การและสนบั สนนุ การศกึ ษา ซ่ึงจากการศกึ ษาเปรียบเทยี บนโยบายและยุทธศาสตร์ ทางการศึกษาของท้งั สามประเทศและประเทศไทย จงึ มีขอ้ เสนอเชงิ นโยบายและยุทธศาสตร์ทางการ ศึกษาในการปฏิรูปการศกึ ษาสำหรับประเทศไทย ดังนี้ คือ นโยบายการพัฒนาและติดตามผลการใช้

18 นโยบายการศึกษา นโยบายดา้ นการพฒั นาครู นโยบายการกระจายอำนาจการจดั การศกึ ษา นโยบาย การสรา้ งความรับผดิ รบั ชอบในการจัดการศึกษา และนโยบายการวัดและประเมนิ ผลการศึกษา การนำมาใช้ ในการประยุกต์ใช้จากการศึกษา บทความเรื่อง การสังเคราะห์เปรียบเทียบนโยบายและ ยทุ ธศาสตร์ทางการศกึ ษาของประเทศเวียดนามมาเลเซีย และอนิ โดนีเซีย และประเทศไทย น้ัน พบว่า นโยบายและยทุ ธศาสตรท์ างการศกึ ษาของประเทศไทย มจี ุดเดน่ และสง่ิ ที่ควรพฒั นาอยูห่ ลายประเด็น หากในอนาคตจะมกี ารปรับปรุงหรือวางแผนนโยบายและยุทธศาสตร์ทางการศกึ ษาของประเทศไทย ควรทำให้ครอบคลุมในทกุ ดา้ น เชน่ การศึกษา บคุ คล งบประมาณ เศรษฐกิจและสงั คม เพ่ือยกระดับ คุณภาพของคนไทยทกุ ดา้ นและสามารถดำรงชวี ติ ได้อย่างมคี ณุ ภาพ อา้ งองิ วีระเทพ ปทุมเจริญวัฒนา, อาชัญญา รัตนอุบล, มนัสวาสน์ โกวิทยา, วรรัตน์ ปทุมเจริญวัฒนา, ณัฏฐลักษณ์ ธาระวานิช และ สุวิธิดา จรุงเกียรติกุล. (2560). การสังเคราะห์เปรียบเทียบ นโยบายและยุทธศาสตร์ทางการศกึ ษาของประเทศเวียดนามมาเลเซยี และอินโดนีเซยี และ ประเทศไทย. วารสารวิชาการ Veridian E –Journal, Silpakorn University ฉบับ ภาษาไทย สาขามนษุ ยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศิลปะ, 10 (2), 2373-2391. https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/107435 บทความของประเทศไทยท่เี กย่ี วข้อง เรื่อง ความทา้ ทายใหม่ในการจัดทำยทุ ธศาสตรก์ ารศึกษา อา้ งองิ ดนัย เทยี นพุฒ. (2558). ความท้าทายใหมใ่ นการจดั ทำยุทธศาสตรก์ ารศึกษา. วารสารบริหาร การศึกษา มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น, 11 (2), 1-22. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/EDMKKU/article/view/47886

19 การเปรียบเทียบระบบการศึกษาและการบริหารการศึกษาระหว่างประเทศสหพันธรัฐ มาเลเซียกับประเทศไทย จากการศกึ ษาสังเคราะห์และวเิ คราะห์เปรยี บเทียบระบบการศกึ ษาและการบริหารการศึกษา : ประเทศสหพันธรัฐมาเลเซีย จากบทความทางวิชาการและเอกสารที่เกี่ยวข้อง ของ (กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2560), (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551), (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร สำนักมาตรฐาน การอาชีวศึกษาและวิชาชีพ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา, 2562), (สำนักงานเลขาธิการ สภาการศึกษา, 2556), (สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2559), (สำนักงานเลขาธิการสภา การศึกษา, 2560), (สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย, 2565), (พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542, 2542), (พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสำหรับ คนพิการ พ.ศ. 2551, 2551), (ทิวา คงเสน, 2548), (ทวีโชค เรืองขจรเมธี, 2555), (พารีดี ลาบูอาปี, 2557), (นารีลักษณ์ ธีระวัฒนะชาติและสพลณภัทร์ ศรีแสนยงค์, 2557), (เพชรรัตน์ ชวาลิตและ นันทิยา น้อยจันทร์, 2559), (ธัญรัศม์ มิ่งไชยอนันต์, 2559), (พิฆเนศ บัวสนิทและธานี เกสทอง, 2559), (วีระเทพ ปทุมเจริญวัฒนาและคณะ, 2560), (นเรศ ปู่บุตรชาและคณะ, 2562), (วชิระ พลพทิ กั ษและคณะ, 2563) และ (ทักษ์ อดุ มรตั น์, 2564), สามารถนำเสนอประเด็นการเปรียบเทียบ ระบบการศึกษาและการบริหารการศึกษาระหว่างประเทศสหพันธรัฐมาเลเซียกับประเทศไทย ได้ดังต่อไปนี้ 1. สภาพและแนวโน้มทางสังคม, 2. สภาพและแนวโน้มทางการเมือง, 3. สภาพและ แนวโน้มทางเศรษฐกจิ , 4. สภาพปัจจบุ ันและปญั หาของระบบการศึกษา, 5. นโยบายและยุทธศาสตร์ ทางการศึกษา, 6. นโยบาย/กฎหมายการศึกษา, 7. ระบบการศึกษา, 8. การจัดการศึกษาก่อน ประถมศึกษา, 9. การจดั การศกึ ษาปฐมวัย, 10. การจัดการศึกษาระดับประถมศกึ ษา, 11. การจดั การ ศึกษาระดับมัธยมศึกษา, 12. การจัดการศึกษาการอาชีวศึกษา อุดมศึกษา และการฝึกอบรมอาชีพ, 13. การจดั การศึกษานอกระบบและตามอธั ยาศยั , 14. การจัดการศกึ ษาพิเศษ และการศกึ ษาสำหรับ ผดู้ อ้ ยโอกาส, 15. การวัดและประเมนิ ผลการศึกษา, 16. การทดสอบระดบั ชาติ, 17. สถาบันผลิตครู, และ 18. การผลิตและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ในประเด็นที่กล่าวมาข้างต้นสามารถ นำเสนอการเปรียบเทียบระบบการศึกษาและการบริหารการศึกษาระหว่างประเทศสหพันธรัฐ มาเลเซียกบั ประเทศไทย ไดด้ ังตารางท่ี 1 ดงั ตอ่ ไปนี้

ตารางท่ี 1 การเปรยี บเทียบระบบการศึกษาและการบรหิ ารการศึกษาระหว ประเดน็ ประเทศไทย 1. สภาพและแนวโนม้ ทาง มีแนวโน้มลดลงอย่างตอ่ เนอื่ งในทุกช่ว สังคม อตั ราการเจรญิ พันธ์ทุ ลี่ ดลง ยกเวน้ ประช ขน้ึ ไป (ผู้สูงวยั ) ที่มแี นวโนม้ เพ่ิมขน้ึ อยา่ ง ประเทศเร่มิ เขา้ สูส่ งั คมสูงวยั ปญั หาโครง จะสง่ ผลกระทบต่อเศรษฐกจิ และสงั คมเน จะเพ่ิมสูงขึน้ สถานการณส์ ังคมสงู วยั ในป คณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและส ประมาณการสัดส่วนผู้สงู วยั ไวว้ า่ ในปี 25 60 ปีขึน้ ไปถงึ รอ้ ยละ 13.8 ซึง่ ถอื วา่ เปน็ ก อยา่ งสมบรู ณ และในปี 253 จะมีประชา เพม่ิ ขึน้ เป็นร้อยละ 19.1 หรือเข้าใกล้สังค การไมย่ อมรับในความคิดเหน็ ท่ีแตกต่า ของกลุ่มบุคคลทีน่ ิยมใช้ความรุนแรงได้แ ประเทศมากขน้ึ ความขดั แย้งในเชงิ ความ มมี ากข้นึ

20 ว่างประเทศสหพนั ธรฐั มาเลเซยี กบั ประเทศไทย ประเทศมาเลเซยี วงวัย ซึง่ เป็นผลจาก ประเทศสหพันธรฐั มาเลเซยี แบ่งเป็น 2 ส่วน ซึง่ กั้นโดย ชากรที่มีอายุ 60 ปี ทะเลจนี ใต้ สว่ นแรก คือ คาบสมทุ รมลายู สว่ นที่สองอย่ทู างเหนือ งตอ่ เนื่อง ส่งผลให้ ของ เกาะบอรเ์ นยี ว พืน้ ที่ทง้ั ประเทศ ประมาณ 330,257 ตาราง งสรา้ งประชากรนี้ กิโลเมตรมาเลเซยี ประกอบด้วยชนจากหลายเผ่าพันธ์ุ มีประชากร น่ืองจากอัตราการพึง่ พิง ประมาณ 30 ล้านคน ประกอบด้วยเชอ้ื ชาติใหญ่ 3 กลมุ่ คือ มลายู ประเทศไทย สำนกั งาน จีน และอินเดีย ส่วนใหญอ่ าศยั อยู่บนแหลมมลายู สงั คมแห่งชาติได้ 558 จะมปี ระชากรอายุ การเข้าสู่สังคมสงู วัย ากรอายุ 60 ปีข้นึ ไป คมสงู วยั ระดบั สงู สุด างกัน และพฤตกิ รรม แพรก่ ระจายไปสู่นานา มคดิ เหน็ ของคนในสงั คม

ตารางท่ี 1 การเปรียบเทยี บระบบการศึกษาและการบรหิ ารการศึกษาระหว ประเด็น ประเทศไทย 2. สภาพและแนวโน้มทางการ ปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย มพี ร เมือง เปน็ ประมขุ ภายใต้รัฐธรรมนญู มีรัฐบาล ณ กรุงเทพมหานคร 3. สภาพและแนวโนม้ ทาง สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศ เศรษฐกจิ แห่งชาติ ไดก้ ำหนดวิสยั ทศั น์ คอื “ประเท ย่ังยนื เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ดว้ ยการพ ของเศรษฐกิจพอเพียง” โดยมเี ป้าหมายใ เปน็ ประเทศทม่ี รี ายสูงภายในปี 2579 ภา และสังคมไทยทมี่ กี ารพัฒนาอย่างมั่นคงแ ธรรมในสงั คม ประเทศไทยมบี ทบาทสำค ระบบเศรษฐกิจดิจทิ ัลเข้มแขง็ และเตบิ โต และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห วตั ถุประสงค์เพอื่ ให้คนไทยทุกชว่ งวัย มีท ความสามารถ และพฒั นาตนเองไดอ้ ยา่ ง

21 ว่างประเทศสหพนั ธรัฐมาเลเซยี กับประเทศไทย (ต่อ) ระมหากษัตริย์ ประเทศมาเลเซีย ลกลางต้งั อยู่ ปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยแบบสหพันธรฐั มพี ระมหากษัตรยิ เ์ ป็นประมุข ภายใต้รฐั ธรรมนญู มีรฐั บาลกลาง ศรษฐกจิ และสังคม ตัง้ อยู่ ณ กรงุ กัวลาลมั เปอร์ ทศมคี วามม่นั คง มัง่ ค่งั มนี โยบาย 4 เสาหลัก พฒั นาตามหลักปรชั ญา 1 หนง่ึ มาเลเซีย ประชาชนมากอ่ น และปฏบิ ตั ิทันที ให้ประเทศไทยเข้าสู่การ 2 โปรแกรมการปฏิรปู การปกครอง ายใต้ระบบเศรษฐกิจ 3 แนวคดิ ต้นแบบเศรษฐกิจใหม่ และยั่งยนื มีความเป็น มีจุดประสงคห์ ลกั 3 ประการ คือ 1) เพ่มิ รายได้ 2) กระจายรายได้ คญั ในภูมิภาคและโลก และผลประโยชน์ให้ครอบคลุมทกุ ภาคสว่ น 3) พัฒนาอย่างยัง่ ยนื ตอย่างมีคุณภาพ 4 แผนมาเลเซยี ฉบับที่ 10 มีเป้าหมายหลักคอื พฒั นามาเลเซยี ห่งชาติ ฉบับที่ 12 มี ให้ก้าวไปสปู่ ระเทศทีม่ ีรายได้สูง ทักษะ ความรู้ งตอ่ เนื่องตลอดชวี ิต

ตารางที่ 1 การเปรียบเทียบระบบการศกึ ษาและการบริหารการศึกษาระหว ประเด็น ประเทศไทย 4. สภาพปจั จุบันและปญั หา การจดั การศึกษาในปจั จุบันจึงต้องป ของระบบการศึกษา กับทศิ ทางการผลติ และการพัฒนากำลังค การจดั การเรยี นการสอนเพ่อื ใหผ้ เู้ รียนมีท เพือ่ ให้ไดท้ ั้งความรู้และทกั ษะที่จำเปน็ ตอ้ การประกอบอาชพี และการพฒั นาเศรษ ประเทศทา่ มกลางกระแสแห่งการเปลี่ยน ทกั ษะสำคัญจำเป็นในโลกศตวรรษท ทักษะทเ่ี รียกตามคำย่อวา่ 3Rs + 8Cs ประชากรกลุ่มอายวุ ัยเรยี น มีโอกาสเ ระดับการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน (อนุบาล – ม เพ่ิมสงู ขน้ึ ซง่ึ เปน็ ผลสืบเนอ่ื งจากนโยบาย ปี ของรฐั บาล ตามสิทธิท่ีบญั ญัตใิ นรัฐธร ราชอาณาจักรไทย เพอ่ื เพิ่มโอกาสและคว ทางการศกึ ษาใหก้ ับประชาชนอย่างทัว่ ถึง

22 ว่างประเทศสหพันธรัฐมาเลเซยี กบั ประเทศไทย (ต่อ) ปรับเปลี่ยนให้ตอบสนอง ประเทศมาเลเซยี คนดังกลา่ ว โดยมุง่ เน้น มาเลเซยี มุ่งพฒั นาระบบการศกึ ษาเพื่อลดความเหลือ่ มล้ำ ทักษะในศตวรรษท่ี 21 ระหว่างการศึกษาในกล่มุ ชาติพนั ธุ์ 3 กลุ่มหลกั ชนกลุ่มน้อย และ องใช้ในการดำรงชวี ติ กลุ่มผดู้ อ้ ยโอกาส มีจุดแข็ง คือ มรดกของระบบการศกึ ษาแบบ ษฐกิจและสังคมของ อังกฤษทไี่ ดร้ บั ไวเ้ มอ่ื คร้งั เปน็ อาณานคิ ม และมีความพยายามสรา้ ง นแปลง ความเท่าเทยี มทางการศกึ ษาใหก้ ับกลุ่มชาติพันธ์ุมาเลยโ์ ดยนโยบาย ที่ 21 ประกอบดว้ ย “ภูมบิ ุตร” เข้ารับการศึกษาใน มัธยมศกึ ษาตอนปลาย) ยโครงการเรยี นฟรี 15 รมนญู แหง่ วามเสมอภาค ง

ตารางท่ี 1 การเปรยี บเทยี บระบบการศกึ ษาและการบริหารการศึกษาระหว ประเด็น ประเทศไทย 5. นโยบายและ วิสัยทัศนของแผนการศึกษาแหง่ ชาต ยุทธศาสตรท์ างการศึกษา กำหนดไว้ดังน้ี คนไทยทกุ คนได้รบั การศึก ชวี ิตอย่างมีคุณภาพ ดำรงชวี ิตอย่างเปน็ ส หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และก โลกศตวรรษที่ 21 โดยมีวตั ถปุ ระสงคใ์ นการจดั การศึกษา 4 1. เพอ่ื พฒั นาระบบและกระบวนการจดั ก และมีประสิทธิภาพ 2. เพื่อพัฒนาคนไทยใหเ้ ป็นพลเมอื งดี มคี สมรรถนะทส่ี อดคล้องกับบทบญั ญตั ิของร ราชอาณาจักรไทยพระราชบัญญตั กิ ารศึก ยทุ ธศาสตร์ชาติ 3. เพื่อพัฒนาสงั คมไทยให้เป็นสงั คมแหง่ คณุ ธรรม จริยธรรม รู้รักสามคั คี และร่วม การพัฒนาประเทศอยา่ งย่งั ยืน ตามหลักป พอเพียง

23 ว่างประเทศสหพันธรัฐมาเลเซียกบั ประเทศไทย (ต่อ) ติ พ.ศ. 250-2579 ประเทศมาเลเซยี กษาและเรียนร้ตู ลอด นโยบายวิสยั ทัศน์ 2020 แผนพัฒนาการศึกษาของชาติ หรือ สุข สอดคลอ้ งกบั Malaysia Education Blueprint 2013-2025 นโยบายการพัฒนา การเปล่ียนแปลงของ ครู และการสรา้ งอตั ลกั ษณผ์ ่านระบบการศกึ ษา เพอ่ื พฒั นามนุษย์ท่ี สมบูรณท์ น่ี ำประเทศไปสู่การเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว 4 ประการ คือ มียทุ ธศาสตร์ 11 ข้อ เพือ่ ปฏิรปู การศกึ ษา การศกึ ษาที่มคี ุณภาพ 1. จัดให้เกิดความเสมอภาคในโอกาสทจี่ ะเข้าถงึ การศึกษาทีม่ ี คณุ ภาพ คุณลกั ษณะ ทกั ษะและ ระดบั มาตรฐานสากล รัฐธรรมนญู แห่ง 2. ประกันว่าเด็กทุกคนสามารถใชภ้ าษามลายแู ละภาษาองั กฤษ และ กษาแห่งชาติและ ได้รับการ ส่งเสริมใหเ้ รยี นภาษาอ่ืนๆ เพิม่ อกี 1 ภาษา 3. พัฒนาชาวมาเลเซียที่มีคา่ นิยมท่พี ึงประสงค์ เน้นเรอ่ื งความ งการเรยี นรู้ และ ซื่อสตั ย์สุจรติ ความยตุ ธิ รรม การเหน็ แกป่ ระโยชนส่วนรวม มมอื ผนึกกำลังม่งุ สู่ การเปน็ พลโลกทม่ี อี ตั ลักษณ์แห่งชาตมิ าเลเซยี ปรชั ญาของเศรษฐกจิ 4. ปฏิรูปการสอน เพื่อให้เลือกเรยี นวิชาอาชีพมากข้นึ 5. ประกนั วา่ ผนู้ ำของโรงเรียนทกุ โรงปฏิบตั งิ านอยา่ งมีประสิทธิภาพ และประสิทธผิ ลสงู

ตารางที่ 1 การเปรียบเทียบระบบการศกึ ษาและการบริหารการศึกษาระหว ประเด็น ประเทศไทย 5. นโยบายและ 4. เพื่อนำประเทศไทยกา้ วข้ามกบั ดกั ประ ยุทธศาสตร์ทางการศึกษา ปานกลาง และความเหลื่อมลำ้ ภายในปร (ต่อ) กำหนดยทุ ธศาสตรใ์ นการพัฒนาการศกึ ษ หลักทส่ี อดคล้องกบั ยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 การจัดการศึกษาเพอื่ คว ประเทศชาติ ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 การผลิตและพัฒนากำล นวตั กรรรม เพื่อสร้างขีดความสามารถใน ประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศกั ยภาพคนท การสรา้ งสงั คมแห่งการเรียนรู้ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 การสร้างโอกาส ความเส ความเทา่ เทยี มทางการศกึ ษา ยุทธศาสตรท์ ี่ 5 การจดั การศกึ ษาเพอ่ื สร เปน็ มติ รกบั สิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ท่ี 6 การพัฒนาประสทิ ธภิ าพ การศกึ ษา

24 วา่ งประเทศสหพนั ธรัฐมาเลเซยี กับประเทศไทย (ตอ่ ) ะเทศที่มีรายได้ ประเทศมาเลเซยี ระเทศลดลงและ 6. เสรมิ พลงั สำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาและโรงเรียนต่างๆ ษาภายใต้ 6 ยทุ ธศาสตร์ ใหส้ ามารถแก้ปญั หาการศึกษาได้ตรงกบั ความตอ้ งการของผู้เรียน ปี 7. ยกระดบั เทคโนโลยกี ารสอ่ื สารและสารสนเทศเพอ่ื เพม่ิ คณุ ภาพ วามมน่ั คงของสังคมและ การเรียนรู้ท่วั ประเทศมาเลเซีย 8. ปฏริ ปู ขดี ความสามารถของกระทรวงศึกษาธิการ ในการสง่ ผา่ น ลงั คน การวจิ ัย และ นโยบายไปสกู่ ารปฏบิ ัติ นการแข่งขันของ 9. เป็นหนุ้ สว่ นในทุกๆ เรอ่ื งกบั พ่อแมผ่ ปู้ กครอง ชุมชน และ ภาคเอกชน ทกุ ชว่ งวัย และ 10. ใช้เงินทุกริงกิตใหเ้ กดิ ผลสูงสุดกับนักเรียน 11. เพ่มิ ความโปร่งใสเพื่อให้สาธารณชนสามารถตรวจสอบการศึกษา สมอภาค และ ไดโ้ ดยตรง ร้างเสริมคุณภาพชวี ติ ที่ พของระบบบริหารจดั

ตารางท่ี 1 การเปรยี บเทยี บระบบการศึกษาและการบริหารการศึกษาระหว ประเดน็ ประเทศไทย 6. นโยบาย/กฎหมาย พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ มี 4 การศกึ ษา ฉบบั ที่ 1 พ.ร.บ.การศึกษาแหง่ ชาติ พ ฉบับท่ี 2 พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ(ฉ ฉบับที่ 3 พ.ร.บ.การศกึ ษาแห่งชาติ(ฉ ฉบบั ที่ 4 พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาต(ิ ฉ โดยมคี วามมุ่งหมาย ตามมาตรา 6 การจ เพอื่ พฒั นาคนไทยให้เป็นมนษุ ยท์ ส่ี มบรู ณ สติปัญญา ความรู้ และคณุ ธรรม มจี ริยธร ในการดำรงชวี ิต สามารถอยู่ร่วมกับผ้อู ่ืน และตามมาตรา 8 การจัดการศกึ ษาให้ยดึ (1) เป็นการศึกษาตลอดชวี ิตสำหรับประช (2) ให้สังคมมสี ว่ นรว่ มในการจดั การศกึ ษ (3) การพฒั นาสาระและกระบวนการเรยี ต่อเนอ่ื ง

25 ว่างประเทศสหพันธรัฐมาเลเซยี กับประเทศไทย (ต่อ) 4 ฉบับ ประเทศมาเลเซีย พ.ศ.2542 มกี ารจดั ทำพมิ พ์ เขียวทางการศกึ ษา 2 ฉบบั ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545 ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ.2553 - ฉบับท่ี 1 คือ ปี ค.ศ. 2006-2010 ฉบับท่ี 4) พ.ศ.2562 - ฉบับที่ 2 คอื ปี ค.ศ. 2013-2025 จดั การศึกษาตอ้ งเปน็ ไป โดยฉบบั ท่ี 2 มวี ตั ถุประสงค์ 3 ประการ ไดแ้ ก่ ณท์ ัง้ ร่างกายจติ ใจ (1) เพื่อใหเ้ ข้าใจวา่ ผลการปฏิบตั ิงานทางการศึกษาเปน็ อย่างไร และ รรมและวฒั นธรรม มีส่ิงท้าทายอะไรบา้ ง นได้อยา่ งมคี วามสุข (2) เพอื่ กำหนดวิสัยทัศน์และหลกั การในการจดั การศกึ ษา (3) เพ่อื กำหนดกรอบและโครงสรา้ งการปฏิรูปการศกึ ษาทีค่ รอบคลมุ ทุกด้านรวมทง้ั สงิ่ สำคัญทกี่ ระทรวงจะต้องเปล่ียนแปลง ดหลกั ดังน้ี มีเปา้ หมายหลกั 5 ประการ คือ (1) การเขา้ ถงึ (2) คุณภาพ ชาชน (3) ความเทา่ เทียม (4) ความมเี อกภาพ และ (5) ความมี ษา ประสิทธิภาพ ยนรู้ให้เป็นไปอย่าง และมุ่งบรรลุเปา้ หมายด้านพฤตกิ รรมผเู้ รียน 6 ประการ คือ (1) ความรู้ (2) ทกั ษะการคิด (3) ทกั ษะภาวะผู้นำ (4) ความสามารถ ใชส้ องภาษา (5) มีจริยธรรมและจิตใจงดงาม และ (6) มีอตั ลักษณ์ ของชาติ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook