Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore EDA 711 Group2

EDA 711 Group2

Published by NATSUDA KESA, 2022-02-16 14:42:49

Description: การศึกษาเปรียบเทียบ
ประเทศสิงคโปร์
ประเทศสหภาพเมียนมา
ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้)
ประเทศนิวซีแลนด์
ประเทศมาเลเซียกับประเทศไทย

Search

Read the Text Version

รายงานเชิงสงั เคราะห์และวิเคราะห์การเปรียบเทียบระบบการศึกษา และการบริหารการศึกษาระหวา่ ง ประเทศสิงคโปร์ ประเทศสหภาพเมยี นมา ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต)้ ประเทศนวิ ซีแลนด์ ประเทศมาเลเซียกบั ประเทศไทย สมาชิกกลุ่ม พนั โทกรเี ทพ เขมะเพช็ ร รหัสนักศึกษา 64560034 นางสาวกฤษณา จริ ะมะกร รหสั นักศกึ ษา 64560010 นางสาวณัฐสุดา เกษา รหสั นักศึกษา 64560407 นางสาวศศมพรรณ มหายศ รหัสนักศึกษา 64560154 นายชินกฤต ศรีสขุ รหัสนักศึกษา 64560109 รายงานเลม่ นีเ้ ปน็ สว่ นหนึง่ ของวิชา EDA711 การบริหารการศึกษาเชงิ เปรียบเทียบ (Comparative Educational Administration) หลกั สตู รปรชั ญาดษุ ฎบี ัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศกึ ษา วทิ ยาลัยบณั ฑิตศึกษาด้านการจดั การ มหาวทิ ยาลัยศรปี ทุม

รายงานเชงิ สงั เคราะห์และวิเคราะหก์ ารเปรยี บเทยี บระบบการศกึ ษาและ การบรหิ ารการศกึ ษาระหว่างประเทศไทยและสาธารณรัฐสิงคโปร์ จดั ทำโดย พันโท กรเี ทพ เขมะเพ็ชร รหสั นักศกึ ษา 64560034 รายงานฉบับนีเ้ ป็นส่วนหนง่ึ ของการศึกษารายวิชา EDA 711 การบริหารการศึกษาเชงิ เปรียบเทียบ หลักสูตรปรชั ญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวชิ าการบริหารการศกึ ษา วทิ ยาลัยบัณฑิตศึกษาด้านการจัดการ มหาวิทยาลยั ศรปี ทมุ ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2564

1 คำนำ รายงานเชิงสังเคราะห์และวเิ คราะห์การเปรียบเทียบระบบการศึกษาและการบริหารการศึกษาระหวา่ ง ประเทศไทยและประเทศกัมพูชา เป็นส่วนหนึ่งของวิชา EDA711 การบริหารการศึกษาเชิงเปรียบเทียบ (Comparative Educational Administration) จัดทำขึ้นเพื่อสังเคราะห์และวิเคราะห์รายงานเชิงสังเคราะห์และ วิเคราะห์การเปรียบเทยี บระบบการศึกษาและ การบริหารการศกึ ษาระหว่างประเทศไทยและสาธารณรัฐสงิ คโปร์ โดย มีองค์ประกอบของการนำเสนอเกี่ยวกับ บริบทของสาธารณรัฐสิงคโปร์ หลักการและจุดมุ่งหมายทั่วไปในการจัด การศึกษา (Principles and general objectives of education) กฎหมายการศึกษาหรือกฎระเบียบต่างๆ ท่ี เก่ยี วข้องกับการศึกษา (Laws and other basic regulations concerning education) โครงสร้างและการจัดระบบ การศกึ ษา (Structure and organization of education system) การจดั การศกึ ษา (The Educational Process) ครูผ้สู อน (Teacher) โดยนำมาเปรียบเทียบกับการดำเนินการจัดการศึกษาหรอื การบริหารการศกึ ษาของประเทศไทย การวิเคราะห์ สังเคราะหบ์ ทความทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง และสิ่งทน่ี ำมาประยุกต์ใช้ในการจัดการศกึ ษาของประเทศไทย ระบบการศึกษาของประเทศสิงคโปร์จัดได้ว่าเป็นหนึ่งในระบบการศึกษาที่ดีที่สุดของโลก จากการ เปรียบเทียบคะแนนในโครงการเพื่อการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ หรือ PISA (Programme for International Student Assessment) ซึ่งได้จัดอนั ดับให้สิงคโปร์เป็นอนั ดับที่ 1 ของ PISA ในด้าน คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ การอ่าน จากกว่า 70 ประเทศทั่วโลก และเนื่องจากสิงคโปร์เคยเป็นอาณานิคมของอังกฤษ ระบบการศึกษาของ สิงคโปร์จงึ มคี วามคล้ายคลงึ กบั ระบบการศกึ ษาขององั กฤษ กล่าวคือ ใช้หลักสตู ร GCSE และ A level ขององั กฤษ ระบบการศึกษาของสิงคโปร์นั้น มีที่มาสำคัญจากนโยบายของรัฐบาล ในปี พ.ศ. 2490 หรือหลัง สงครามโลกครั้งที่สอง ที่มีนักเรียนจำนวนมากที่ต้องออกจากโรงเรียนกลางคัน รัฐบาลจึงดำเนินโครงการ นโยบาย การศึกษาระยะสิบปี (Ten Years Programme for Education Policy) ระหว่างปี พ.ศ. 2493 ถงึ พ.ศ. 2503 เพือ่ ให้ เกิดระบบการศึกษาทีเ่ ตรียมความพร้อมของประชาชนสำหรับการปกครองตนเองภายหลังได้รับเอกราชจากประเทศ อังกฤษ ในเวลาต่อมา เมื่อสิงคโปร์เริ่มมีการพัฒนาเศรษฐกิจของตนเอง รัฐบาลจึงได้ดำเนินนโยบายทาง การศกึ ษาทีเ่ น้น “การศึกษาเพ่ือความอยู่รอด” (survival-drain education) เพื่อใหไ้ ด้แรงงานทม่ี ีทักษะที่เหมาะสม และเปน็ ทต่ี ้องการสำหรบั การพัฒนาอุตสาหกรรม และลดอตั ราการว่างงานภายในประเทศ มกี ารจดั ต้งั สถาบนั อาชีวะ และโครงการ Gifted Education Programme นอกจากความจำเป็นทางเศรษฐกิจแล้ว การศึกษายังช่วยในเรื่อง การรวมชาติ โดยเริ่มจากนโยบายการส่งเสริมและรกั ษาคณุ ภาพส่งิ แวดล้อม การ ใช้ทรพั ยากรธรรมชาติ ได้ใช้นโยบาย รายงานการศึกษาเชงิ เปรยี บเทยี บระบบการศกึ ษาไทย - สงิ คโปร์ พนั โท กรีเทพ เขมะเพช็ ร 64560034

2 การเรียนสองภาษาในโรงเรียน ที่ถูกนำมาใช้เมื่อปี พ.ศ. 2503 ซึ่งกำหนดให้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลักในการเรียน การสอน เพ่ือใช้เป็นภาษากลางระหว่างประชากรต่างเช้อื ชาติ การศึกษารายงานเชิงสังเคราะห์และวิเคราะหก์ ารเปรียบเทียบระบบการศกึ ษาและการบรหิ ารการศึกษา ระหว่างประเทศไทยและสาธารณรัฐสิงคโปร์ ต้องขอขอบคุณ ผศ.ดร.วราภรณ์ ไทยมา ที่ให้คำปรึกษาแนะนำให้การ ดำเนินการจัดทำรายงานและการนำเสนออย่างดยี งิ่ พนั โท กรีเทพ เขมะเพ็ชร ผจู้ ัดทำ รายงานการศึกษาเชงิ เปรียบเทยี บระบบการศึกษาไทย - สงิ คโปร์ พนั โท กรีเทพ เขมะเพช็ ร 64560034

3 สารบญั เร่ือง หนา้ 1. บริบทสาธารณรฐั สงิ คโปร์...........................................…………………………………………………………………………. 6 2. หลกั การและจดุ มุง่ หมายทวั่ ไปในการจดั การศึกษา........................................................................................ 18 3. กฎหมายการศึกษาหรือกฎระเบียบตา่ ง ๆ ท่เี กี่ยวขอ้ งกับการศึกษา……………………………………………………... 22 4. โครงสร้างและการจัดระบบการศึกษา........................................................................................................... 30 5. การจัดการศกึ ษา…………………………………………………………………………………………………………………………… 37 6. ครูผสู้ อน........................................................................................................................................................ 48 7. เปรยี บเทียบการจดั การศกึ ษา…………………………………………………………………………………………………………. 63 8. วเิ คราะหบ์ ทความเร่ืองการศกึ ษาการเปรียบเทียบคณุ ลักษณะอนั พึงประสงคใ์ นหลักสตู รประถมศกึ ษาของ ประเทศไทยและประเทศสิงคโปร์………………………………………………………………………………………………….. 66 9. วิเคราะห์บทความเร่ืองการศึกษาเปรียบเทียบความสามารถของเด็กและเยาวชน 4 ประเทศในกลุ่ม ประเทศอาเซยี น………………………………………………………………………………………………………………………….. 68 บรรณานกุ รม……………………………………………………………………………………………………………………………………. 71 ภาคผนวก รายงานการศึกษาเชงิ เปรียบเทียบระบบการศึกษาไทย - สิงคโปร์ พันโท กรีเทพ เขมะเพช็ ร 64560034

4 สารบญั ภาพ ชอ่ื ภาพ หน้า 1 สาธารณรฐั สงิ คโปร์....................................................................................................................................... 6 2 ระบบการศกึ ษาของสิงคโปร.์ ........................................................................................................................ 30 3 กรอบแนวคดิ สมรรถนะและผลลัพธ์ของผู้เรยี นในศตวรรษท่ี 21 ของสิงคโปร์.............................................. 32 4 รูปแบบนโยบาย การปฏิบัติ และการเตรยี มครสู ำหรับการจดั การศกึ ษาของสงิ คโปร์................................... 36 5 กระบวนการคดั เลือกครูของสงิ คโปร์............................................................................................................ 48 6 อัตราส่วนผู้สมัครเข้าเรียนการฝึกหดั ครตู อ่ จำนวนผูไ้ ดร้ ับการจา้ งงาน ค.ศ. 2005....................................... 49 7 กรอบสมรรถนะของผู้สำเร็จการศึกษาดา้ นครูของสงิ คโปร์........................................................................... 50 8 โครงสรา้ งโปรแกรมพัฒนาครใู หมข่ องสิงคโปร.์ ............................................................................................. 55 9 รปู แบบการจดั ครพู เ่ี ลี้ยงสำหรับครใู หม่......................................................................................................... 55 10 รูปแบบการพฒั นาการเรยี นรแู้ ละการยกยอ่ งยอมรบั ในวิชาชพี ครขู องสงิ คโปร.์ ......................................... 56 11 การพฒั นาครใู หญใ่ หมใ่ ห้มีภาวะผู้นำของสงิ คโปร.์ ..................................................................................... 58 12 เส้นทางความกา้ วหนา้ ในวิชาชีพครูสิงคโปร์................................................................................................ 60 13 framework ของสิงคโปร์สำหรับใหก้ ารสนบั สนุนครพู ัฒนาตนเอง............................................................. 60 14 การเติบโตในอาชพี ...................................................................................................................................... 61 รายงานการศึกษาเชงิ เปรียบเทียบระบบการศึกษาไทย - สงิ คโปร์ พันโท กรีเทพ เขมะเพ็ชร 64560034

5 สารบญั ตาราง ช่ือตาราง หน้า 1 จำนวนโรงเรียนของสงิ คโปรจ์ ำแนกตามระดับและประเภท......................................................................... 31 2 จำนวนหน่วยกติ ทต่ี ้องเรียนแต่ละสาขาและชั้นปขี องหลักสูตรผลติ ครปู ระถมศกึ ษา.................................... 51 3 จำนวนหน่วยกติ ท่ีตอ้ งเรียนแตล่ ะสาขาและชนั้ ปขี องหลักสูตรผลิตครมู ัธยมศกึ ษา...................................... 51 4 รายวิชาเชิงวชิ าการท่ีนกั ศกึ ษาต้องเรยี น...................................................................................................... 53 5 เปรยี บเทียบการจัดการศึกษาประเทศไทยและสาธารณรัฐสิงคโปร์............................................................. 63 รายงานการศกึ ษาเชงิ เปรยี บเทียบระบบการศกึ ษาไทย - สงิ คโปร์ พนั โท กรีเทพ เขมะเพช็ ร 64560034

6 บริบทของสาธารณรฐั สงิ คโปร์ ( Context of Republic of Singapore) ภาพท่ี 1 สาธารณรัฐสิงคโปร์ พนั โท กรีเทพ เขมะเพ็ชร 64560034 (https://travel.kapook.com/view220077.html) รายงานการศกึ ษาเชงิ เปรยี บเทียบระบบการศึกษาไทย - สิงคโปร์

7 เมืองหลวง สงิ คโปร์ ท่ีต้ัง ภมู ิภาคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ บรเิ วณปลายสดุ ของแหลมมลายู ตั้งอยู่หา่ งจากเสน้ ศนู ย์สูตร ไปทาง ทศิ เหนอื 137 กม. พื้นที่สิงคโปร์เมอื่ ปี 2562 มขี นาด 725.7 ตร.กม. เพ่ิมขึ้นจากเมอ่ื ปี 2561 ทม่ี ีพื้นที่ 724.2 ตร.กม. จากการถมทะเลเพื่อขยายพ้ืนท่ีใหเ้ พียงพอต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจและประชากร รัฐบาลมีแผนขยายพื้นท่ีเป็น 766 ตร.กม. ภายในปี 2573 ระยะทางจากทิศตะวันออกถึงทิศตะวันตกยาว 50 กม. และ ทศิ เหนอื จรดทิศใต้ยาว 27 กม. ชายฝั่งยาว 193 กม. อาณาเขต ทศิ เหนือ ติดกบั ช่องแคบยะโฮร์ ห่างจากรฐั ยะโฮรข์ องมาเลเซยี 1 กม. ทศิ ตะวนั ออก ติดกับทะเลจีนใต้ ห่างจากเกาะปาลาวันของฟิลิปปนิ ส์ 1,770 กม. และห่างจาก จ.กาลิมันตนั ตะวนั ตกของอนิ โดนเี ซยี 586 กม. ทิศใต้ ตดิ กบั ช่องแคบมะละกา ห่างจากเกาะเรยี วของอนิ โดนีเซีย 125 กม. ทศิ ตะวันตก ติดกับช่องแคบยะโฮร์ หา่ งจากรัฐยะโฮรข์ องมาเลเซีย 3 กม. ภูมิประเทศ ประกอบดว้ ยเกาะใหญ่ 1 เกาะ คอื เกาะสิงคโปร์ หรือ Pulau Ujong ในภาษามาเลย์ และเกาะเล็ก ๆ อีก 62 เกาะ แต่อาจยุบรวมเปน็ เกาะใหญ่ภายในอนาคต เหมือนกับเกาะจูร่งทางตอนใต้ของสิงคโปร์ ส่วนตอนกลาง ของประเทศเป็นเขตหนิ แกรนิต ภูมิประเทศสงู ๆ ต่ำ ๆ และเป็นเนินเขา จุดสูงสุดอยูท่ ่ียอดเขาบูกิตติมา (163.63 ม. หรือ 537 ฟุต) ภูมิอากาศ แบบศูนย์สูตร มีความช้ืนสูง ฝนตกตลอดปี และมีฝนตกหนักในช่วง พ.ย.-ม.ค. อากาศไม่ร้อนจัด อุณหภมู ติ ำ่ สุดและสูงสุดเฉล่ีย 25 และ 33 องศาเซลเซียส ตามลำดบั ประชากร 5.69 ล้านคน (ปี 2563) มีอัตราลดลง 0.3% แบ่งเป็นผู้ถือสัญชาติสิงคโปร์ 3.52 ล้านคนผู้มี ถิ่น พำนักถาวร 521,019 คน ผู้พำนกั ชั่วคราว 1.64 ลา้ นคน (ปี 2563) อตั ราสว่ นประชากรจำแนกตาม อายุ : วยั เด็ก (0- 14 ปี) 12.33% วัยรุ่นถึงวัยกลางคน (15-64 ปี) 75.27% วัยชรา (65 ปีข้ึนไป) 12.39% อายุขัย โดยเฉล่ีย 83.6 ปี เพศชาย 81.4 ปี เพศหญิง 85.7 ปี (ปี 2562) ความหนาแน่นของประชากร 7,810 คนต่อ พ้ืนที่ 1 ตร.กม. สิงคโปร์ เป็นสงั คมพหเุ ช้ือชาตปิ ระกอบด้วยชาวจีน (75.9%) มาเลย์ (15%) อนิ เดยี (7.5%) และอ่ืน ๆ (1.6%) ศาสนา พุทธนกิ ายมหายาน 42.5% อสิ ลาม 14.9% คริสต์ 14.6% ฮินดู 4% และอื่น ๆ 25% ภาษา ภาษาราชการมี 4 ภาษา คอื มาเลย์ อังกฤษ จีนกลาง และทมิฬ ภาษามาเลย์เป็นภาษาประจำชาติ รายงานการศึกษาเชงิ เปรยี บเทยี บระบบการศึกษาไทย - สงิ คโปร์ พนั โท กรเี ทพ เขมะเพช็ ร 64560034

8 การศึกษา สิงคโปร์มนี โยบายให้การศึกษาแก่เด็กทุกคนและส่งเสรมิ ให้เด็กได้เรียนรู้และพัฒนาความถนัด และ ศักยภาพของตนเอง อีกท้ังส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต นอกจากน้ี ยังส่งเสริมให้ชาวสิงคโปร์มีความสามารถ ทาง ภาษาอย่างน้อย 2 ภาษา คือ ภาษาอังกฤษและภาษาแม่ (ภาษาจีน มาเลย์ ทมิฬ) ระบบการศึกษาภาคบังคับ 10 ปี แบ่งเป็นระดับประถมศึกษา 6 ปี และมัธยมศึกษา 4 ปี อัตราการรู้หนังสือ 97.5% (ปี 2562) งบประมาณ ด้าน การศึกษา 13,300 ลา้ นดอลลาร์สิงคโปร์ (ปี 2563) การกอ่ ตั้งประเทศ สิงคโปร์อยู่ภายใต้การปกครองของสหราชอาณาจักรตั้งแต่ปี 2375 และถูกญ่ีปุ่นยึดครองเป็น เวลา ส้ัน ๆ ในชว่ งสงครามโลก คร้ังที่ 2 เมอ่ื ปี 2496 สหราชอาณาจักรทบทวนรัฐธรรมนูญของสิงคโปร์และรา่ งใหม่ พร้อม ทั้งเปิดโอกาสใหส้ ิงคโปร์ปกครองตนเองมากข้ึน ทำให้มีการเลือกต้ังท่ัวไปครั้งแรกเมื่อปี 2498 และได้รับ สิทธิในการ ดูแลกจิ การภายในของตนเองอยา่ งเต็มท่ีเมอื่ ปี 2501 หลังจากการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อปี 2502 พรรคกิจประชาชนได้รับ ชัยชนะ นายลีกวนยิว ซ่ึงเปน็ หัวหนา้ พรรคดำรงตำแหน่ง นรม. หลังจากนั้นจงึ ร่วมมอื กับพรรคคอมมิวนิสต์เพื่อขับไล่ จกั รวรรดินยิ มสหราชอาณาจกั รจนประสบความสำเร็จ ต่อมาท้ังสองฝ่ายเกิด ความแตกแยกกัน และสิงคโปรไ์ ด้รวมตัว กบั มาเลเซีย ซาราวัก บอร์เนียวเหนือ เปน็ สหพันธรฐั มาลายาเมื่อ 1 ก.ย.2505 และขอแยกตวั จากมาเลเซียเมื่อ 9 ส.ค. 2508 วนั ชาติ 9 ส.ค. การเมือง ปกครองโดยระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา ประธานาธิบดีมาจากการเลือกต้ัง ทำหน้าที่ประมุขรัฐ วาระ 6 ปี สงิ คโปรจ์ ดั การเลือกต้ังท่ัวไปเมื่อ 10 ก.ค.2563 โดยเป็นการเลือกต้ังกอ่ นครบวาระใน เม.ย.2564 พรรค กิจประชาชน (People’s Action Party-PAP) ของสิงคโปร์ได้รับคะแนนเสียงร้อยละ 61.2 ลดลงจาก การเลือกตั้ง ทั่วไปเมื่อปี 2558 ที่ได้ร้อยละ 69.86 ขณะที่พรรคแรงงานซึ่งเปน็ พรรคฝ่ายค้าน สามารถครองที่น่ังในรัฐสภาสิงคโปร์ เพม่ิ ขน้ึ จาก 6 ท่ีนั่งเป็น 10 ท่ีนั่ง เนื่องจากชาวสงิ คโปรโ์ ดยเฉพาะคนรุ่นใหม่ตอ้ งการให้ พรรคฝ่ายค้านเข้ามาตรวจสอบ การทำงานของรัฐบาลพรรค PAP มากข้ึน หลังจากรัฐบาลถูกโจมตีว่า ยังไม่ สามารถควบคุมการแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งเป็นสาเหตุท่ีทำให้สิงคโปร์ มีจำนวนผู้ป่วยโรค COVID-19 สูงท่ีสุดในอาเซียน ระหวา่ ง เม.ย.-พ.ค.2563 ฝ่ายบริหาร : นรม.มาจากหัวหน้าพรรคการเมืองเสียงข้างมากในสภาผู้แทนราษฎร วาระการดำรง ตำแหน่ง 5 ปี รายงานการศึกษาเชงิ เปรยี บเทียบระบบการศึกษาไทย - สงิ คโปร์ พนั โท กรเี ทพ เขมะเพ็ชร 64560034

9 ฝ่ายนติ ิบญั ญตั ิ : ระบบรัฐสภาเดยี ว แบ่งเปน็ 1) สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกต้ัง โดย ประชาชน จำนวน 93 ท่ีนั่ง วาระดำรงตำแหน่ง 5 ปี 2) สมาชิกที่มาจากการแต่งต้ังโดยประธานาธบิ ดตี าม คำแนะนำ ของคณะกรรมการคดั เลือก วาระดำรงตำแหนง่ 2 ปี 6 เดอื น ตามรฐั ธรรมนูญไมเ่ กิน 9 คน และ 3) สมาชิกฝ่ายค้านท่ี ไดร้ ับคะแนนเสยี งไม่น้อยกวา่ 15% ฝ่ายตุลาการ : ประกอบดว้ ยศาลช้ันตน้ และศาลฎีกา (ศาลสูงสุด) ศาลช้ันตน้ ประกอบดว้ ย ศาลเขต ศาลแขวงและศาลเยาวชน ส่วนศาลฎีกาประกอบด้วยศาลสูงและศาลอทุ ธรณ์ท่ีรบั พิจารณาคดีท่ีศาลช้ันตน้ ตัดสินแล้ว นอกจากน้ี สิงคโปร์ยังมีศาลที่จัดต้ังขึ้นตามรัฐบัญญัติว่าด้วยการบริหารกฎหมายอิสลามที่เรียกว่าศาลชารีอะฮ์ เพ่ือ พจิ ารณาคดีเกี่ยวกบั ครอบครวั ของชาวมสุ ลมิ ในสงิ คโปร์ เศรษฐกจิ สิงคโปร์อยู่ระหว่างการดำเนินยทุ ธศาสตร์เศรษฐกิจ (ปี 2560-2570) ซึ่งมุ่งพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทลั และการใชน้ วตั กรรม ดา้ นธนาคารกลางสิงคโปร์คาดการณ์ว่า เศรษฐกิจสิงคโปร์ในปี 2563 และปี 2564 จะขยายตัว อยู่ที่ -6% และ -5.5% ตามลำดับ เนื่องจากภาคก่อสร้าง ธุรกิจการบิน การท่องเท่ียวและการบริการชะลอตัวจาก การแพร่ระบาดของโรค COVID-19 และความขดั แย้งทางการค้าระหวา่ งสหรัฐฯ กับจีน รัฐบาลสิงคโปร์เตรยี ม ปรับ แนวทางฟ้ืนฟูเศรษฐกิจของประเทศ โดยเน้นการบูรณาการความร่วมมือระหว่างรัฐบาล ภาคธุรกิจ และแรงงาน พัฒนาทักษะแรงงานโดยใหค้ วามสำคัญกับการวิจัยด้านแรงงาน สำรวจลทู่ างดำเนินธุรกจิ ผา่ นชอ่ งทางอเิ ล็กทรอนิกส์ และการใช้ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence-AI) รวมทั้งส่งเสริมความเช่ือมโยงด้านการทำธุรกิจกับ ตา่ งประเทศ งบประมาณรายจ่ายประจำปี 2563 (1 เม.ย.2563-31 มี.ค.2564) 83,600 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ (เพ่ิมขน้ึ 7% จากปี 2562 หรือเพิ่มข้ึน 5,400 ลา้ นดอลลารส์ งิ คโปร์) สกุลเงนิ ตวั ย่อสกุลเงิน : ดอลลาร์สิงคโปร์ (SGD) อัตราแลกเปล่ยี นต่อดอลลาร์สหรฐั : 1 ดอลลาร์สหรัฐ : 1.37 ดอลลารส์ ิงคโปร์ อตั ราแลกเปลี่ยนต่อบาท : 1 ดอลลารส์ งิ คโปร์ : 22.44 บาท (ต.ค.2563) ดชั นีเศรษฐกิจสำคญั ผลติ ภณั ฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) : 551,628 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ปี 2563) อตั ราการเติบโตทางเศรษฐกิจ : -6% (ปี 2563) ดลุ บัญชเี ดนิ สะพดั : 9,896 ลา้ นดอลลารส์ หรัฐ (มิ.ย.2563) รายไดเ้ ฉลี่ยตอ่ หัวตอ่ ปี : 59,164 ดอลลารส์ หรฐั (ปี 2563) ทุนสำรองระหวา่ งประเทศ : 328,022 ล้านดอลลารส์ หรัฐ (ก.ย.2563) รายงานการศกึ ษาเชงิ เปรียบเทียบระบบการศึกษาไทย - สิงคโปร์ พนั โท กรเี ทพ เขมะเพช็ ร 64560034

10 ประชากรวัยทำงาน : 3,740,800 คน (ปี 2562) อัตราการวา่ งงาน : 3.6% (ก.ย.2563) มูลค่าการคา้ ระหว่างประเทศ : 60,360.92 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ก.ย.2563) ดลุ การคา้ ระหว่างประเทศ : 2,795 ลา้ นดอลลาร์สหรัฐ (ก.ย.2563) มลู ค่าการสง่ ออก : 31,577 ลา้ นดอลลาร์สหรัฐ (ก.ย.2563) สินค้าส่งออก : อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องโทรศัพท์ เวชภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์เคมี และ ผลิตภัณฑ์ ปิโตรเลียม คคู่ ้าส่งออกทส่ี ำคัญ : จนี ฮ่องกง มาเลเซยี สหรฐั ฯ และสหภาพยโุ รป (EU) มลู ค่าการนำเขา้ : 28,782 ลา้ นดอลลารส์ หรฐั (ก.ย.2563) สินค้านำเข้า : เคร่ืองจักรและอุปกรณ์ น้ำมันเชื้อเพลิงและแร่ธาตุที่เป็นเช้ือเพลิง ผลิตภัณฑ์เคมี และสินค้า อุปโภค บรโิ ภค คู่ค้านำเข้าท่ีสำคญั : จีน มาเลเซยี สหรฐั ฯ EU และไตห้ วนั คคู่ ้าสำคัญ : จีน สหรัฐฯ มาเลเซยี EU และไตห้ วัน คู่คา้ สำคญั 5 อันดบั ในกลุม่ อาเซียน : มาเลเซีย อนิ โดนเี ซยี ไทย เวียดนาม และฟิลปิ ปนิ ส์ นักทอ่ งเท่ียวเขา้ ประเทศ : ประมาณ 2.7 ลา้ นคน (ม.ค.- มี.ค.2563) การทหาร กองทัพสิงคโปร์ ประกอบดว้ ย ทบ. ทร. และ ทอ. ขึ้นตรงต่อ ผบ.ทสส. และ รมว.กระทรวงกลาโหม ชายสิงคโปร์อายุ 18-20 ปี ทุกคนจะต้องเข้ารับการฝึกและประจำการในกองทัพเป็นเวลา 2 ปี และเป็นกำลังพล สำรองจนถงึ อายุ 40 ปี กำลังทหาร 51,000 นาย แบ่งเป็น ทบ. 41,000 นาย ทร. 4,000 นาย และ ทอ. 6,000 นาย กำลังพลสำรอง 252,500 นาย กองทพั สงิ คโปร์ทนั สมัยและมีแสนยานุภาพสูงที่สุดในภมู ิภาค ยุทโธปกรณ์สำคัญ อาทิ ถ.หลัก 232 คนั (รนุ่ Leopard 132 คัน และร่นุ Centurion 100 คัน) เรือดำน้ำช้ัน Challenger 3 ลำ เรือดำน้ำช้ัน Archer 2 ลำ เรอื รบหลกั 12 ลำ (เรอื ฟรเิ กตช้ัน Formidable ท่ใี ช้ เทคโนโลยี Stealth 6 ลำ เรอื คอรเ์ วตติดอาวุธนำ วถิ ีชน้ั Victory 6 ลำ) บ.รบ 92 เคร่ือง (บ.F-16C/D จำนวน 3 ฝูง และ บ.F-15SG จำนวน 2 ฝูง) จดั สรรงบประมาณ ด้านการทหารในปี 2563 จำนวน 10,700 ลา้ นดอลลาร์สหรัฐ (เพ่ิมข้ึนจากปี 2562 คดิ เปน็ 3.2%) ปัญหาด้านความมน่ั คง สิงคโปร์เผชิญการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารท่ีเป็นเท็จเพิ่มขึ้นในช่วงการแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ทำให้ สิงคโปร์ใช้กฎหมายควบคุมการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารท่ีเป็นเท็จท่ีเพ่ิมอำนาจรัฐมนตรี ของกระทรวงท่ีเกี่ยวขอ้ ง เช่น มหาดไทย การส่ือสารและข้อมูล ระงับการเขา้ ถึงหรอื ปิดก้ันการเผยแพร่ขอ้ มูล ของเว็บไซต์ท่ีมเี นื้อหาสง่ ผลกระทบต่อ ความมน่ั คง ความปลอดภัยและความสงบเรียบรอ้ ยของประชาชน นอกจากน้ี สิงคโปรเ์ ฝ้าระวงั ภัยคุกคามจากการก่อ รายงานการศกึ ษาเชงิ เปรียบเทยี บระบบการศกึ ษาไทย - สงิ คโปร์ พนั โท กรีเทพ เขมะเพช็ ร 64560034

11 การร้าย เนื่องจากเป็นพื้นทีjเคล่ือนไหวของกลุ่มก่อการร้าย Islamic State (IS) และ Jemaah Islamiyah (JI) ท่ี ต้องการชกั จงู ชาวสิงคโปรแ์ ละชาวตา่ งชาตทิ ี่อาศัยในสงิ คโปร์ ให้เข้าร่วมการส้รู บกับกลุ่มกอ่ การร้าย สมาชกิ องคก์ ารระหว่างประเทศ สิงคโปร์เป็นสมาชิกองค์การระหว่างประเทศและกลุ่มความร่วมมือท่ีสำคัญ เช่น APEC, ASEAN, G-77, IAEA, IMF, INTERPOL, NAM, UN, UNCTAD, UNESCO, UNHCR, WHO, WTO วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สงิ คโปรป์ ระกาศแผนการลงทนุ ด้านการวิจัยระหว่างปี 2559-2563 เพื่อวจิ ยั ด้าน วศิ วกรรมและอุตสาหกรรมข้ันสงู วทิ ยาศาสตร์ด้านสขุ ภาพและเวชภัณฑ์ การบรกิ ารและเศรษฐกิจแบบ ดิจิทัล การ พัฒนาชุมชนให้ย่ังยืน โดยใช้งบประมาณจำนวน 13,641 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นอกจากน้ี สิงคโปร์ ร่วมมือกับบริษัท Ericsson ของสวีเดนในการพฒั นาเทคโนโลยี 5G โดยจัดทำโครงการทดสอบการใช้ เทคโนโลยี 5G ในภาคธุรกิจและ การสื่อสาร รวมทั้งร่วมมือกับบริษัทผู้ให้บริการด้านการส่ือสารในสิงคโปร์ พัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานเพ่ือรองรับ เทคโนโลยี 5G อยา่ งเต็มรปู แบบภายในปี 2565 การขนส่งและโทรคมนาคม สิงคโปร์เป็นศูนย์กลางท่าเรือและการขนส่งสินค้าทางทะเลที่สำคัญของโลก มี ทา่ เรือ 6 แห่ง และอยูร่ ะหวา่ งการก่อสร้างทา่ เรือทูอสั ซ่ึงกำหนดเปิดบริการในปี 2564 มสี ะพานและทางเช่ือมต่อกับ มาเลเซียรวม 2 แห่งทางตอนเหนือและทางตะวันตก ส่วนโครงการรถไฟความเร็วสูง กัวลาลัมเปอร์-สิงคโปร์ (Kuala Lumpur–Singapore high-speed rail-HSR) มาเลเซียขอขยายระยะเวลาการ ก่อสร้างจนถึง ธ.ค.2563 ท้ังนี้ โครงการ HSR กำหนดสร้างเสร็จใน ม.ค.2574 ซ่ึงจะช่วยลดระยะเวลาการ เดินทางระหว่างกรุงกัวลาลัมเปอร์- สงิ คโปร์ ลงประมาณ 1.5 ชั่วโมง จากเดมิ 11 ช่ัวโมง เหลอื ประมาณ 9.5 ช่ัวโมง นอกจากน้ี สงิ คโปรม์ เี ครือข่ายถนน ยาว 3,500 กม. และมีสนามบินท้ังหมด 8 แห่ง เป็นสนามบินทหาร 6 แห่ง และสนามบินพาณิชย์ 2 แห่ง สนามบิน นานาชาตชิ างงีเป็นสนามบินหลัก ส่วนสนามบนิ เซเลตาร์เป็นสนามบิน สำหรับเคร่ืองบินเชา่ เหมาลำ โทรคมนาคม โทรศัพท์พื้นฐานให้บริการ 1.89 ล้านเลขหมาย (มิ.ย.2563) โทรศัพท์เคล่ือนท่ี 8.86 ล้าน เลขหมาย (มิ.ย.2563) รหัสโทรศัพท์ +65 จำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ต 4.8 ล้านคน (ปี 2563) รหัสอินเทอร์เน็ต .sg เว็บไซต์ท่ีเป็นประโยชน์ในการค้นหาข้อมูลของรัฐ http://www.gov.sg ส่วนเว็บไซต์ด้านการท่องเท่ียว http://www.visitsingapore.com การเดินทาง สายการบินไทยยังระงับเท่ียวบินเดินทางไปสิงคโปร์ต้ังแต่ 25 มี.ค.2563 เนื่องจาก สถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ด้านสายการบินสงิ คโปร์แอรไ์ ลน์มเี ที่ยวบนิ ตรงกรุงเทพฯ วันละ 1 เท่ียว ระหว่าง ต.ค.2563-ม.ค.2564 เวลาท่ีสิงคโปร์เร็วกว่าไทย 1 ชม. นักท่องเท่ียวไทยท่ีเดินทางเข้าสิงคโปร์ต้อง กักตัวที่บ้านหรือสถานที่พักในสิงคโปร์เปน็ เวลา 14 วัน โดยต้องรายงานตัวต่อรัฐบาลสิงคโปร์ตลอดเวลาการ กักตัว รวมถึงการตรวจหาเช้ือ COVID-19 ก่อนครบกำหนดการกักตวั รายงานการศกึ ษาเชงิ เปรยี บเทยี บระบบการศึกษาไทย - สงิ คโปร์ พนั โท กรเี ทพ เขมะเพ็ชร 64560034

12 สถานการณ์สำคญั ทีน่ ่าติดตาม รัฐบาลสิงคโปร์ปรับแนวทางฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศ โดยเน้นการบูรณาการ ระหว่างรัฐบาล ภาคธุรกิจ และแรงงาน พัฒนาทักษะแรงงานโดยให้ความสำคัญกับการวิจัยด้านแรงงาน สำรวจ ลทู่ างดำเนนิ ธรุ กจิ ผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์และการใช้ปัญญาประดษิ ฐ์ (Artificial Intelligence-AI) รวมท้ังส่งเสริม ความเช่ือมโยงด้านการทำธุรกิจกับต่างประเทศ ทั้งนี้ สิงคโปร์เผชิญปัญหา เศรษฐกิจจากการแพร่ระบาดของโรค COVID-19 โดยธนาคารกลางสิงคโปรป์ รบั ลดคาดการณ์การขยายตัว ทางเศรษฐกิจในปี 2563 อยู่ที่ติดลบร้อยละ 6 เน่ืองจากภาคก่อสร้าง ธุรกิจโรงแรมและร้านอาหารชะลอตวั ส่วนเศรษฐกิจสิงคโปร์ปี 2564 จะขยายตัวอยู่ท่ีติดลบ ร้อยละ 5.5 ความสัมพันธไ์ ทย - สงิ คโปร์ ไทย-สิงคโปร์สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตเมื่อ 20 ก.ย.2508 และมีความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างกันอย่าง ต่อเนื่อง กต.ไทยริเริ่มจัดการประชุม Political Consultations ไทย-สิงคโปร์ ครั้งแรก เมื่อ ส.ค.2563 ซึ่งเป็นการ ประชุมระดับปลัดกต.โดยปรับเปล่ียนจากการประชมุ โครงการความรว่ มมือระหว่างหน่วยราชการไทย-สิงคโปร์ หรือ Civil Service Exchange Programme (CSEP) ทั้งน้ี การประชุม Political Consultations เน้นหารือแนวทางการ ขยายความร่วมมือเพื่อตอบสนองต่อการแพร่ระบาดของโรค COVID-19 โดยเฉพาะดา้ นการค้า การลงทุน เศรษฐกิจ ดิจทิ ลั สาธารณสขุ การพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์ การอำนวยความ สะดวกดา้ นการเดินทางเพื������อส่งเสรมิ ความร่วมมือ ด้านธุรกิจ ความร่วมมือด้านสาธารณสุขและการพัฒนาวัคซีน ป้องกันโรค COVID-19 ส่วนความร่วมมือด้านทหาร สิงคโปรย์ งั ต้องพึ่งพาไทยในการใชพ้ ้ืนที่ฝกึ ซ้อมรบท่ี จ.กาญจนบรุ ี ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งไทยกับสิงคโปรม์ ีความใกล้ชิดบนพ้ืนฐานของผลประโยชน์ร่วมกนั ดา้ นการค้า สิงคโปร์ เป็นคู่ค้าอนั ดบั ที่ 2 ของไทยในอาเซียน รองจากมาเลเซยี และเป็นคู่คา้ อันดบั ท่ี 5 ของไทยในโลก รองจาก จีน สหรัฐฯ ญ่ีปนุ่ และมาเลเซีย เมื่อปี 2562 การคา้ ระหว่างไทยและสิงคโปร์มีมูลค่าประมาณ 16,823 ล้าน ดอลลาร์สหรัฐเม่ือปี 2562 ส่วนในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2563 (ม.ค.-ก.ย.2563) ไทยและสิงคโปร์มีมูลค่า การค้ารวม 13,427 ล้าน ดอลลารส์ หรัฐ โดยไทยเป็นฝ่ายได้ดุลการค้า 2,319.27 ลา้ นดอลลาร์สหรฐั ความร่วมมือระหว่างสิงคโปรก์ ับไทยมีความใกล้ชิดกันทุกมิติ ไทยต้องการส่งเสริมความ ร่วมมือการทดลอง วัคซีนและการสนับสนุนความช่วยเหลือเพ่ือป้องกันการแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ร่วมกับสิงคโปร์ นอกจาก ความรว่ มมอื ดา้ นพาณชิ ยอ์ ิเล็กทรอนิกส์และภาคธนาคาร สว่ นความรว่ มมือด้านอ่ืน ๆ ไทย สิงคโปร์และบรูไนลงนาม ขอ้ ตกลงการส่งเสรมิ การคา้ ยานยนต์ การขยายตลาดและฐานการผลติ รว่ มกัน ในอาเซียนเม่ือ 29 ต.ค.2563 ซ่ึงจะช่วย ลดระยะเวลาและข้ันตอนการส่งออกสนิ คา้ ยานยนต์ของผูป้ ระกอบการไทย โดยคาดว่าสมาชกิ อาเซียนทั้ง 10 ประเทศ จะลงนามขอ้ ตกลงดังกลา่ วภายในปี 2563 ไทยและสิงคโปร์ยังไมม่ ี การแลกเปล่ียนการเยือนระดับสงู ในปี 2563 รายงานการศกึ ษาเชงิ เปรียบเทียบระบบการศกึ ษาไทย - สิงคโปร์ พนั โท กรีเทพ เขมะเพช็ ร 64560034

13 ข้อตกลงสำคัญ : ความตกลงการเว้นการเก็บภาษีซอ้ น (15 ก.ย.2518) บันทกึ ความเขา้ ใจ ดา้ นยานยนต์ (27 ส.ค.2546) บันทึกความเข้าใจความร่วมมือส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (27 ส.ค.2546) บันทึกความ เข้าใจด้านธุรกิจและการลงทุน (27 ส.ค.2546) บันทึกความเข้าใจความร่วมมือด้านการท่องเท่ียว (27 ส.ค.2546) บันทึกความเข้าใจความร่วมมือด้านตลาดหลักทรัพย์ (27 ส.ค.2546) บันทึก ความเข้าใจการฝึกบินเติมเช้ือเพลิงใน อากาศระหว่าง ทอ.ไทยกบั สิงคโปร์ (24 พ.ย.2546) บนั ทกึ ความเข้าใจ การเข้าร่วมการฝึก Cobra Gold กองทพั ไทย- สิงคโปร์ (22 ก.พ.2548) บันทึกความเข้าใจการสนับสนนุ ด้านการฝึกและการส่งกำลังบำรุง ทอ.ไทย-สิงคโปร์ (12 พ.ย.2548) บนั ทกึ ความเข้าใจการจัดทำความตกลง เพ่ือสง่ เสริมและคุม้ ครองการลงทุน (23 พ.ย.2548) บันทึกความ เข้าใจการฝึกของกองทัพสิงคโปร์ในไทย ฉบับท่ี 8 (พ.ศ.2550-2553) (16 ก.ค.2555) บันทึกความเขา้ ใจการเว้นการ เกบ็ ภาษซี ้อน บนั ทึกความเข้าใจการท่องเที่ยวทางเรือ บันทกึ ความเข้าใจความร่วมมือด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และ บนั ทกึ ความเขา้ ใจความรว่ มมือ ระหวา่ งสภาอตุ สาหกรรม (11 ม.ิ ย.2558) บันทึกความเขา้ ใจว่าด้วยความร่วมมือด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร (31 พ.ค.2559) บันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือด้านการส่งกำลังบำรุง ระหวา่ งกองทพั เรอื (14 พ.ค.2560) บันทึกความเข้าใจว่าดว้ ยความร่วมมอื ดา้ นเทคโนโลยที างการเงิน (11 ก.ค.2560) บันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและพัฒนาศักยภาพบุคลากรระหว่างสวน พฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสริ ิกิต์ิกับสวนพฤกษศาสตร์สิงคโปร์ (21 ส.ค.2560) บนั ทกึ ความเข้าใจว่าด้วย ความ ร่วมมือด้านธุรกิจประกนั ภยั (26 ก.ย.2562) รายงานการศกึ ษาเชงิ เปรียบเทยี บระบบการศกึ ษาไทย - สิงคโปร์ พันโท กรีเทพ เขมะเพ็ชร 64560034

14 นายลี เชียน ลุง (Lee Hsien Loong) ตำแหนง่ นายกรฐั มนตรีสงิ คโปร์ เกิด 10 ก.พ. 2495 (อายุ 69 ปี/ปี 2564) บดิ าคอื นายลี กวน ยิว อดีต นรม.สิงคโปร์ และ มารดาคือ นางลี เกยี ก จู เช้ือชาติ จนี สถานภาพ สมรสกับภรรยาคนแรก ชื่อ ดร.หว่อง มนิ หยาง (เสยี ชวี ิตดว้ ยโรคหัวใจ เม่ือปี 2525) ตอ่ มา สมรสคร้ังท่ี 2 กบั นางสาวโฮชิง ผอ.บรหิ ารบรษิ ัท เพ่ือการลงทุนเทมาเสก จำกดั เมื่อ 17 การศึกษา ธ.ค.2528 มบี ุตรรวม 4 คน ปี 2517 - ปรญิ ญาตรดี า้ นคณติ ศาสตร์ (เกียรตนิ ยิ มอันดับ 1) และประกาศนียบัตร ปี 2523 ทางคอมพิวเตอรศ์ าสตร์ จากมหาวิทยาลยั เคมบริดจ์ สหราชอาณาจกั ร - ปรญิ ญาโทดา้ นรัฐประศาสนศาสตร์ จากโรงเรยี นการปกครองเคนเนดี มหาวิทยาลัยฮารว์ าร์ด สหรฐั ฯ ประวัติรับราชการทหาร ปี 2514 - เขา้ รับราชการทหารสังกัดหน่วยทหารปืนใหญ่ กองทพั สงิ คโปร์ ปี 2521 - เข้าอบรมหลกั สตู รเสนาธกิ ารทหารบก ท่ีสถาบนั Fort Leavenworth รัฐแคนซสั สหรฐั ฯ ปี 2525 - รบั ตำแหนง่ หัวหน้าคณะเสนาธิการทหาร ปี 2526 - รบั ตำแหนง่ เจ้ากรมยทุ ธการทหารบก 1 ก.ย. 2527 - ได้รับยศนายพลจตั วา เม่ืออายุ 32 ปี เปน็ นายทหารท่ีไดร้ ับยศนายพลจัตวา อายนุ ้อย ทส่ี ุดในประวตั ศิ าสตร์สงิ คโปร์ ก.ย. 2527 - ลาออกจากทหารเพื่อทำงานด้านการเมือง รายงานการศึกษาเชงิ เปรียบเทยี บระบบการศึกษาไทย - สิงคโปร์ พนั โท กรเี ทพ เขมะเพช็ ร 64560034

15 พรรคการเมอื ง - พรรคกจิ ประชาชน (People’s Action Party-PAP) ประวัติการทำงาน ปี 2527 - เริ่มเข้าสวู่ งการเมอื งคร้ังแรกดว้ ยการลงสมคั รรับเลือกตั้งในการเลือกต้ังท่ัวไป และผา่ น การเลอื กตงั้ มาแล้ว 5 ครั้ง คร้ังลา่ สดุ เปน็ ผู้แทนเขตอองโมเคียว ไมร่ ะบปุ ี - ไดร้ ับเลอื กตั้งเป็น ส.ส.พรรค PAP ครั้งแรก - ไดร้ ับแต่งตั้งเป็นเลขาธกิ ารฝ่ายการเมอื งประจำ รมว.กระทรวงกลาโหม 31 ธ.ค. 2527 - รมช.กระทรวงการค้าและอตุ สาหกรรม และ รมช.กระทรวงกลาโหม ปี 2528 - คณะกรรมการเศรษฐกิจ เพ่ือวางโครงสรา้ งทางเศรษฐกิจระยะยาว ปี 2529 - เป็นสมาชิกคณะกรรมการบรหิ ารพรรค PAP 1 เม.ย. 2529 - รกั ษาการ รมว.กระทรวงการคา้ และอุตสาหกรรม และ รมช.กระทรวงกลาโหม 1 ม.ค. 2530 - รมว.กระทรวงการคา้ และอตุ สาหกรรม และ รมว.กระทรวงกลาโหมคนท่ี 2 30 พ.ย. 2533 - รอง นรม. และ รมว.กระทรวงการคา้ และอตุ สาหกรรม 7 ธ.ค. 2535 - ปี 2544 - รอง นรม.คนที่ 1 ม.ค. 2541 - ปี 2550 - ประธานสำนักงานการเงินสงิ คโปรห์ รอื ธนาคารกลางของสงิ คโปร์ (อีกตำแหนง่ หนึ่ง) ผลงานสำคัญ คอื การเปิดเสรีภาคการเงิน 23 พ.ย.2544 23 พ.ย. 2544 - รอง นรม. และ รมว.กระทรวงการคลงั ปี 2547-ปัจจุบนั - เลขาธิการพรรค PAP 12 ส.ค.2547-ปัจจบุ ัน - นรม.คนที่ 3 ของสิงคโปร์ รายงานการศกึ ษาเชงิ เปรยี บเทยี บระบบการศึกษาไทย - สงิ คโปร์ พนั โท กรเี ทพ เขมะเพช็ ร 64560034

16 นางฮาลมิ าห์ ยาโคบ (Halimah Yacob) ตำแหนง่ ประธานาธิบดีสงิ คโปร์ เกิด เชือ้ ชาติ 23 ส.ค. 2497 (อายุ 67 ป/ี ปี 2564) ศาสนา สถานภาพ มาเลย์ การศกึ ษา ปี 2517 – 2521 อสิ ลาม ปี 2542 – 2544 ปี 2559 สมรสกับนาย Mohammed Abdullah Alhabshee นักธรุ กิจ และมีบุตร 5 คน ประวัติการทำงาน ปี 2521 - ปริญญาตรี นติ ศิ าสตรบ์ ณั ฑิต (เกียรตนิ ยิ ม) มหาวทิ ยาลัยสิงคโปร์ - ปรญิ ญาโท นติ ศิ าสตรม์ หาบัณฑิต มหาวิทยาลยั สิงคโปร์ ปี 2534 - ได้รบั ปริญญาดุษฎีบัณฑติ กิตตมิ ศกั ด์ิ สาขากฎหมาย มหาวทิ ยาลยั สงิ คโปร์ ปี 2542 – 2545 - เจา้ หน้าท่ีดา้ นกฎหมายของสหภาพแรงงานแห่งชาตสิ ิงคโปร์ (National Trades Union ปี 2544 - 2549 Congress–NTUC) ทนายฝึกหดั ไม่ระบุปี - เปน็ ชาวสิงคโปร์คนแรก ซ่ึงไดร้ ับเลอื กใหเ้ ป็นรองสมาชกิ สภาบรหิ ารขององค์การแรงงาน ระหว่างประเทศ (International Labour Organization-I LO) ทส่ี วิตเซอรแ์ ลนด์ - สมาชิกพรรคกจิ ประชาชน (People’s Action Party-PAP) ต้ังแตป่ ี 2544 และพรรคส่ง สมคั รเลือกตั้งสมาชกิ รฐั สภาในการเลอื กตั้งทั่วไปเมื่อปี 2544 - ได้รับเลือกให้เปน็ สมาชิกรัฐสภาเขต Jurong ซึ่งเป็นเขตเลือกตั้งกลุ่ม (Group Representative Constituencies-GRC) รายงานการศกึ ษาเชงิ เปรียบเทยี บระบบการศกึ ษาไทย - สงิ คโปร์ พนั โท กรีเทพ เขมะเพ็ชร 64560034

17 ปี 2549 – 2554 - ไดร้ ับเลอื กตั้งใหด้ ำรงตำแหนง่ สมาชกิ รัฐสภาเขต Jurong GRC อกี หน่ึงสมัย พ.ค. 2554 - ต.ค. 2555 - รฐั มนตรีแห่งรัฐ กระทรวงพัฒนาชุมชน เยาวชน และกฬี า พ.ย. 2555 - ม.ค. 2556 - รฐั มนตรีแห่งรฐั กระทรวงพฒั นาสังคมและครอบครวั ม.ค. 2556 - ส.ค. 2560 - ประธานรฐั สภาสงิ คโปรค์ นที่ 9 14 ก.ย.2560 - ปัจจบุ ัน - ประธานาธิบดีสิงคโปร์คนที่ 8 และเปน็ ประธานาธิบดีหญิงคนแรกของสิงคโปร์ รายงานการศึกษาเชงิ เปรียบเทียบระบบการศกึ ษาไทย - สิงคโปร์ พันโท กรเี ทพ เขมะเพช็ ร 64560034

18 หลกั การและจดุ มุ่งหมายทว่ั ไปในการจดั การศกึ ษา (Principles and General Objectives of Education) พนั ธกิจ และวสิ ัยทศั น์ ทางการศกึ ษาของสงิ คโปร์ สิงคโปร์ ได้ให้ความสนใจ และทุ่มงบประมาณสนับสนุนในด้านการศึกษาเป็นจำนวนมากในปี งบประมาณ 2563 งบประมาณของกระทรวงศึกษาธิการที่ได้รับสูงถึง 13,300 ล้านเหรียญสิงคโปร์ หรือ 298,452 ล้านบาท ซึ่งเป็นยอดเงนิ ท่สี งู มาก นอกจากนั้นกระทรวงศกึ ษาธิการสิงคโปร์ได้กำหนดพันธกิจ และวิสัยทัศน์ด้านการ จัดการศกึ ษาของประเทศดังน้ี พันธกิจ (Mission) : Moulding the future of Our nation เป็นการหล่อหลอมประชากรของชาติ เพอ่ื การพฒั นาชาตใิ นอนาคต วิสัยทัศน์ (Vision) : Thinking Schools, Learning Nation เป็นการพัฒนาทักษะความคิดเชิง สร้างสรรค์และการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องให้กับคนในชาติ จากพันธกิจและวิสัยทัศน์ทางการศึกษาของประเทศ และ ประกอบกับความมงุ่ มั่นในการท่จี ะนำ IT มาพัฒนาในดา้ นการศกึ ษา ตามท่ที า่ นนายกรัฐมนตรี MR.Goh Chok Tong ได้เคยกล่าวถึงคุณประโยชน์ของการใช้ IT ดังน้ี \" Computers are changing the way we work and the way we live … We will use IT to encourage students to learn more independently, to learn activity. \" จึ ง ได้มีการกำหนดแผนแม่บท IT ด้านการศึกษาขึ้น ซ่ึงแผนแม่บทน้ีมบี ทบาทสำคัญมากในการพฒั นาใหป้ ระเทศเล็ก ๆ อยา่ งสงิ คโปรเ์ ปน็ เกาะอัจฉริยะตามสมยานามท่ตี ั้งไว้ได้ วิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์ การปฏิรูปการศึกษา ในปัจจุบันสิงคโปร์ ได้กำหนดให้ “Thinking Schools, Learning Nation” เปน็ วสิ ยั ทัศน์ ทางการศึกษาสำหรับศตวรรษที่ 21 ซงึ่ หมายถงึ การที่สงิ คโปร์ ต้องการปลูกฝังให้ เดก็ รนุ่ ใหมม่ ีเจตนารมณท์ ่ีจะคิดในวิถใี หม่ ๆ แกป้ ัญหาใหม่ ๆ และสรา้ งโอกาสใหม่แก่อนาคต โดยกำหนดปรัชญาทาง การศกึ ษา โดยการปฏริ ูประบบการศึกษา มีลกั ษณะแนวทางดำเนนิ การดังน้ี 1. การสานต่อแนวทางเดิมในการเปิดโอกาสให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาทั่วไป เป็นเวลาอย่างน้อย 10 ปี โดยมีหลักสูตรระดับชาติและการสอบวัดผลระดับชาติเมื่อจบการศึกษาในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา และ เตรียมอุดมศึกษา ตามระบบการศกึ ษา 2. การริเริ่มแนวทางใหม่โดยเปิดโอกาสให้เด็กนักเรียนสามารถเลือกสถาบนั การศึกษาตามจุดแข็ง และ ความสนใจที่แตกต่างกันหลังจากที่จบการศกึ ษาในระดับประถมศึกษาแลว้ โดยปรับปรุงระบบการศึกษาให้มีจุดเนน้ และทางเลอื กใหม่ ดงั นี้ รายงานการศกึ ษาเชงิ เปรียบเทยี บระบบการศกึ ษาไทย - สิงคโปร์ พนั โท กรีเทพ เขมะเพช็ ร 64560034

19 2.1 ระบบการศึกษาทีม่ ีความยืดหยุ่น (Flexible) และหลากหลาย (Diverse) มากขน้ึ 2.2 ระบบการศึกษาที่มีฐานกว้าง (Broad-based education) มากขึ้นในแต่ละระดับชั้นของ การศึกษา มีการกำหนดผลลัพธ์เชงิ คุณภาพไว้อยา่ งชัดเจน เป้าหมายและนโยบายการศึกษาของชาติ สิงคโปร์ ได้ประกาศนโยบายมาตรฐานการศึกษาของชาติที่เรียกว่า การศึกษาของชาติ ( National Education) ในการกล่าวสุนทรพจนข์ องประธานาธิบดีโก็โจต๊ ง ในวันประชุมครูของสิงคโปร์ ถึงความสำคัญของการ กำหนดนโยบายการศึกษาชาติให้เป็นองค์ประกอบที่สำคัญของระบบการดำเนินงานการศึกษา เป้าหมาย หลักการ วธิ ีดำเนนิ การ การพัฒนามาตรฐานการศกึ ษาของชาติ แนวคิดใหม่ทางการศึกษาชาติ (National Education ย่อว่า NE) ของสิงคโปร์มีจุดเริ่มต้นจากสุนทร พจน์ของประธานาธิบดีโก็โจ๊ตง โดยเริ่มที่สาระการเรียนรู้ซึ่งมีการปรับปรุงวิชาสังคมศึกษา วิชาหน้าที่พลเมืองและ ศีลธรรม ประวัติศาสตร์ใหเ้ นน้ ถึงการสร้างชาติ เป็นการปลูกฝังจิตสำนึกของเด็กทุกคน ให้มีจิตใจชาตินิยม มีจิตใจท่ี เขา้ ใจอดีตปัจจบุ ันและอนาคต แนวทางการดำเนนิ งานการศึกษาของชาติ คณะกรรมการการศึกษาแหง่ ชาติ ประกอบดว้ ย 13 คณะอนกุ รรมการในการดำเนนิ การวางยทุ ธศาสตร์ และการวัดประเมนิ ผลการดำเนนิ การโปรแกรมการศกึ ษาของชาติท้ังในระดับโรงเรยี นและระดับอุดมศึกษา ยุทธศาสตร์ที่ใช้สำหรับโรงเรียนคือ National Education (NE) ต้องเป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาท้ัง ระบบ ต้องฝังอยู่ในจิตใจของผู้อำนวยการและครูก่อน ต้องเป็นภารกิจของครู ทุกคน และต้องน่าสนใจ ต้องพัฒนา ความคดิ ตอ้ งไดร้ ับการยอมรับจากสงั คม การดำเนนิ การจะต้องแบ่งเป็น 2 ขน้ั ตอน คือ 1) พัฒนาความตระหนักรู้เกี่ยวกับความจรงิ สถานการณ์ปจั จุบัน และโอกาสของสงิ คโปร์ 2) พัฒนาความรูส้ ึกความเป็นเจ้าของและรบั ผิดชอบ ตอ่ ชมุ ชนและต่อชาติ เพื่อทจ่ี ะปกป้องประเทศจาก ภยั คกุ คาม โดยในแตร่ ะดบั ของการศกึ ษาจะใช้กลยทุ ธท์ แ่ี ตกต่างกนั รายงานการศึกษาเชงิ เปรยี บเทยี บระบบการศึกษาไทย - สิงคโปร์ พันโท กรเี ทพ เขมะเพช็ ร 64560034

20 การนำมาตรฐานการศึกษาของชาติไปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐานการศึกษาของชาติได้นำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาหลักสูตร และกิจกรรมในโครงการ ระดับชาติเพอื่ ให้บรรลตุ ามเป้าหมายการศึกษาแนวใหม่คือการปลกู ฝงั จิตสำนกึ ของเด็กทกุ คน ใหม้ ีจติ ใจรักประเทศมี จติ ใจที่เข้าใจอดีต ปจั จบุ นั และอนาคต ยทุ ธศาสตร์การปฏริ ปู การศกึ ษา ปฏิรูปอุดมศึกษา: การเตรยี มอนาคตของประเทศ รัฐบาลได้แต่งต้ังคณะกรรมการอำนวยการเพ่ือศึกษา ระบบบริหารและการจัดสรรงบประมาณมหาวิทยาลัย เนื่องจากมหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ และมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีนันยางจะได้รับอิสระมากข้ึนด้านการบริหารการเงิน และการบริหารงานบุคคลเพื่อให้สนองตอบความท้า ทายสังคมโลกยุคเศรษฐกิจฐานความรู้ โดยได้มีการพัฒนาระบบการตรวจสอบเพือ่ ให้งบประมาณทีไ่ ดร้ บั การจัดสรร จากรฐั บาลมีการใช้อยา่ งเหมาะสม นำไปสูผ่ ลการดำเนนิ งานท่ีมปี ระสิทธภิ าพ 1. การทบทวนรปู แบบการบริหารมหาวิทยาลยั มหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีนันยางเป็นสถาบันหลักในการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมของประเทศโดยจัดการเรียนการสอนเพื่อสร้างบัณฑิตที่เป็นก ำลังคนในอนาคตเพื่อก้าวสู่ยุค เศรษฐกจิ ฐานความรู้ มหาวิทยาลัยมบี ทบาทสำคัญในการสร้างองคค์ วามรู้สู่สงั คม รูปแบบการบรหิ ารของ NUS และ NTU ดำเนินการไปได้ด้วยดีทำให้มหาวิทยาลัยสามารถผลิตและพัฒนากำลังคนได้อย่างมีคุณภาพ ภายใต้ระบบการ ปฏบิ ตั งิ านท่โี ปร่งใสจากแนวทางการดำเนินงานด้านการเงนิ และบุคลากรทรี่ ัฐบาลจัดตง้ั ขนึ้ ในระยะต่อไปองค์ประกอบสำคญั ท่ตี อ้ งนำมาพิจารณา ไดแ้ ก่ 1) การแขง่ ขนั กบั มหาวทิ ยาลยั นานาชาตทิ ี่ต้องอาศัยการตดั สินใจและการปรับตวั อยา่ งทนั เวลา 2) การมีความอิสระในด้านการบริ หารของมหาวิทยาลัยต้องคำนึงถึงผลสัมฤทธิ์ ประสิทธิภาพ และ ความคุ้มค่าจากการลงทุนของรัฐบาลภายใต้โครงสร้างและระบบการบริหารที่คล่องตัว มหาวิทยาลัยต้อง กำหนด เปา้ หมายภารกิจเพอ่ื ยกระดบั บณั ฑิต งานวิจัย และการบรหิ ารวชิ าการ การพจิ ารณาศึกษาทบทวนความเชอ่ื มโยงระหวาง่ องค์ประกอบท้ังสามส่วน ได้แก่ 1) หลกั ของความเปน็ อสิ ระและโครงสรา้ ง 2) นโยบายการจัดสรรงบประมาณและกลไกการจดั สรร 3) การบริหารงานบคุ คล รายงานการศึกษาเชงิ เปรยี บเทียบระบบการศกึ ษาไทย - สิงคโปร์ พนั โท กรีเทพ เขมะเพช็ ร 64560034

21 2. แนวทางการดำเนนิ งาน 2.1 คณะกรรมการอำนวยการภายใต้การดำเนินงานของคณะทำงานทแ่ี ต่งตั้งขนึ้ ได้เดินทางไปศึกษา ดงู านด้านการศกึ ษาทม่ี หาวทิ ยาลัยต่างๆ ในประเทศแคนาดา ฮ อ่ งกง สหราชอาณาจักรและสหรฐั อเมริกา เพ่ือศึกษา ปรัชญาและการปฏบิ ตั งิ านตามระบบ รวมถึงการบรหิ ารจดั การบคุ ลากร 2.2 การรับข้อมูลจากบุคลากรในมหาวิทยาลัยและประชาชน และจากคณะกรรมการสรรหา ทรัพยากร ซง่ึ มีขอ้ เสนอแนะทส่ี ำคัญไดแ้ ก่ 1) สรุปผล มหาวิทยาลัยควรไดร้ บั อิสระในการบริหารจัดการด้วยตนเองต่อไป เพราะจะทำให้ ตอบสนองต่อสภาพการณ์ได้รวดเร็ว ซ่ึงจะทำให้ได้รับความเชื่อมั่น ทำให้สาธารณชนม่ันใจได้ว่าการลงทุนได้นำไปสู่ ความสำเรจ็ และมกี ารดำเนนิ งานอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 2) การบรหิ าร - กระทรวงศึกษาธิการดำเนินการจัดทำนโยบายที่จะให้มหาวิทยาลัยมีอิสระในการบริหาร ตนเองมากยิ่งขึ้น ในขณะเดียวกันจะมีระบบตรวจสอบเพือ่ สร้างความเช่อื ม่ันกำกบั - กระทรวงศึกษาธิการจัดระบบรับรองคุณภาพโดยเน้นผลผลิตและกระบวนการที่จะนำไปสู่ ผลผลิต รวมท้ังการนำระบบประเมินภายนอกมาใช้ทุก 3 ปี เพ่ือรับรองการประเมินคุณภาพภายในของมหาวิทยาลัย ซงึ่ ผลของการประเมินภายในจะนำไปใชใ้ นการตดั สินใจเรื่องเงนิ ทุน - บทบาทของสภามหาวิทยาลัยควรจะดำเนินแบบ CEO ในการวางแผนยุทธศาสตร์ การพฒั นา ของสถาบัน 3) เงนิ ทุน มหาวทิ ยาลัยควรแสวงหาเงนิ ทนุ จากหลายๆ ฝ่าย เพอื่ จะไดน้ ำมาพฒั นาสถาบันโดย การเชอื่ มโยงกบั ภาคอตุ สาหกรรม 4) การบรหิ ารงานบคุ คล - ระบบการให้เงนิ ตอบแทนจะขึ้นอยู่กับองค์ประกอบพื้นฐานและองคป์ ระกอบอ่ืนๆ ที่สะท้อน ให้เห็นถงึ ความแตกตา่ งกันในการปฏิบัติงาน ความรบั ผิดชอบและระบบการตลาดจะถูกนำมาใชด้ ว้ ย - ระบบเงินเดือนจะถูกนำมาใช้แทนระบบอัตราเงินเดือนโดยไม่มีการข้ึนเงินเดือนประจำปี แบบเดิม - ตำแหน่งผู้ชว่ ยศาสตราจารย์จะได้เงนิ เดอื นขึ้น 20% ข้ึนอยู่กับผลการปฏบิ ัตงิ าน - ระบบประเมินที่เข้มงวดจะถูกนำมาใช้กับการคาดหวังผลการปฏิบัติงานซึ่งจะช่วยให้ มหาวิทยาลยั และคณาจารย์ประเมินผลการปฏิบัตงิ านและเปน็ ปัจจยั ในการนำมาตัดสนิ เร่ืองรางวัลและการยกย่อง ซึ่ง ทำเป็นประจำทุกปี ในการเลือ่ นตำแหน่งและใหเ้ งนิ พเิ ศษ - มหาวิทยาลยั ใหค้ วามสำคัญกับการพัฒนาบุคลากร รวมท้ังการพัฒนาความเปน็ ผู้นำฝึกทักษะ การจัดการกระบวนการพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์จะนำมาใชใ้ นการวางแผนต่อไป รายงานการศึกษาเชงิ เปรยี บเทยี บระบบการศกึ ษาไทย - สิงคโปร์ พนั โท กรีเทพ เขมะเพช็ ร 64560034

22 กฎหมายการศกึ ษาหรอื กฎระเบยี บตา่ ง ๆ ทเ่ี กีย่ วขอ้ งกบั การศึกษา (Laws and Other Basic Regulations Concerning Education) บทนำ ระบบการศึกษาของประเทศสิงคโปร์จัดได้ว่าเป็นหนึ่งในระบบการศึกษาที่ดีที่สุดของโลก จากการ เปรียบเทียบคะแนนในโครงการเพื่อการประเมินผลนกั เรียนนานาชาติ หรือ PISA (Programme for International Student Assessment) ซึ่งได้จัดอนั ดับให้สิงคโปร์เปน็ อนั ดับที่ 1 ของ PISA ในด้าน คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ การอ่าน จากกว่า 70 ประเทศทั่วโลก และเนื่องจากสิงคโปร์เคยเป็นอาณานิคมของอังกฤษ ระบบการศึกษาของ สิงคโปร์จึงมคี วามคล้ายคลึงกบั ระบบการศึกษาขององั กฤษ กล่าวคือ ใช้หลักสูตร GCSE และ A level ของอังกฤษ ระบบการศึกษาของสิงคโปร์นั้น มีที่มาสำคัญจากนโยบายของรัฐบาล ในปี พ.ศ. 2490 หรือหลัง สงครามโลกครั้งที่สอง ที่มีนักเรียนจำนวนมากที่ต้องออกจากโรงเรียนกลางคัน รัฐบาลจึงดำเนินโครงการ นโยบาย การศึกษาระยะสบิ ปี (Ten Years Programme for Education Policy) ระหว่างปี พ.ศ. 2493 ถงึ พ.ศ. 2503 เพ่อื ให้ เกิดระบบการศึกษาทีเ่ ตรียมความพร้อมของประชาชนสำหรับการปกครองตนเองภายหลังได้รับเอกราชจากประเทศ องั กฤษ ในเวลาต่อมา เมื่อสิงคโปร์เริ่มมีการพัฒนาเศรษฐกิจของตนเอง รัฐบาลจึงได้ดำเนินนโยบายทาง การศึกษาท่ีเน้น “การศกึ ษาเพื่อความอยู่รอด” (survival-drain education) เพื่อใหไ้ ด้แรงงานท่มี ีทักษะที่เหมาะสม และเปน็ ทตี่ ้องการสำหรบั การพฒั นาอุตสาหกรรม และลดอตั ราการว่างงานภายในประเทศ มกี ารจัดตั้งสถาบนั อาชีวะ และโครงการ Gifted Education Programme นอกจากความจำเป็นทางเศรษฐกิจแล้ว การศึกษายังช่วยในเรื่อง การรวมชาติ โดยเริ่มจากนโยบายการส่งเสรมิ และรักษาคณุ ภาพสง่ิ แวดล้อม การ ใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ได้ใช้นโยบาย การเรียนสองภาษาในโรงเรียน ที่ถูกนำมาใช้เม่ือปี พ.ศ. 2503 ซึ่งกำหนดให้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลักในการเรียน การสอน เพอ่ื ใช้เป็นภาษากลางระหว่างประชากรต่างเชอ้ื ชาติ บทความนี้นําเสนอกฎหมายที่เกี่ยวกับการศึกษาของสิงคโปร์ ประกอบด้วยกฎหมายสำคัญ 3 ฉบับ ได้แก่ Compulsory Education Act (Chapter 51) Education Act (Chapter 87) และ Private Education Act (Chapter 247A) โดยแบ่งการนำเสนอออกเปน็ 6 หัวขอ้ ได้แก่ ภาพรวมของระบบการศึกษาของสงิ คโปร์ตามนโยบาย ของรัฐบาลสิงคโปร์ การศึกษาภาคบังคับ การขึ้นทะเบียนโรงเรียน การขึ้นทะเบียน สถานศึกษาเอกชน การข้ึน ทะเบยี นผู้บริหารโรงเรยี นและครู และหน่วยงานของรัฐที่มอี ำนาจหน้าทีท่ ่ีเกี่ยวข้อง รายงานการศกึ ษาเชงิ เปรยี บเทยี บระบบการศกึ ษาไทย - สงิ คโปร์ พันโท กรเี ทพ เขมะเพช็ ร 64560034

23 ภาพรวมของระบบการศึกษาของสิงคโปร์ตามนโยบายของรฐั บาลสงิ คโปร์ ประเทศสิงคโปร์ได้ใหค้ วามสำคญั ตอ่ การศึกษาของประชาชนเป็นอย่างมาก ซึ่งจะเห็นได้จาก บทบัญญัติ ตามรฐั ธรรมนูญของสงิ คโปร์ที่ได้มีการกำหนดเก่ยี วกบั ความเท่าเทยี มมาตรา 16 แหง่ รัฐธรรมนูญ สงิ คโปร์กำหนดเรอื่ ง การให้ความเคารพในการศึกษาโดยไม่ให้มีการเลือกปฏิบัติต่อประชากรของสิงคโปร์ (citizen of Singapore) ใน สถานศึกษาของรัฐบนพื้นฐานของศาสนา ชาติพันธุ์ การสืบเชื้อสาย หรือสถานที่เกิด โดยเฉพาะอย่ างยิ่งใน กระบวนการรบั นักเรียนเข้าศึกษาในสถาบนั การศึกษาต่าง ๆ หรือการเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษา และการให้ความ ชว่ ยเหลอื ทางการเงินเพ่ือการศกึ ษาของนกั เรียนในสถานศึกษาใด ๆ ไม่ว่าจะเปน็ สถานศกึ ษาของรัฐหรือไม่ และไม่ว่า จะอยู่ในประเทศสิงคโปร์ หรือนอกประเทศสิงคโปร์ก็ตาม นอกจากนี้ ยังกำหนดให้กลุ่มศาสนาทุกกลุ่มมีสิทธิที่จะ ก่อตั้งสถาบันเพือ่ การศึกษาของเด็กและออกคำสัง่ ภายใต้ศาสนาตน และบุคคลจะต้องไม่ถกู บังคบั ให้เข้าร่วมพิธีกรรม ทางศาสนาทไ่ี ม่ใชศ่ าสนาของตนอีกด้วย หากพิจารณาบทบัญญัติดังกล่าวจะเห็นได้ว่า รัฐธรรมนูญได้ถูกตราขึ้นให้สอดคล้องกับลักษณะของ ประชากรในประเทศ ซึ่งมีความหลากหลายทางด้านเช้ือชาติและศาสนา โดยศาสนาที่ประชาชนนบั ถือนั้นมีทั้ง พุทธ ขงจื๊อ เต๋า คริสต์ อิสลาม และฮินดู รัฐธรรมนูญจึงไม่กำหนดให้มศี าสนาประจำชาติ และยังเน้นใหส้ ถาบันการศึกษา เคารพและไม่เลอื กปฏิบัติตอ่ นักเรียนอกี ด้วย นอกจากนี้ รัฐบาลสิงคโปร์ก็ยังให้ความสำคัญกับการศึกษาเป็นอย่างมาก เพราะถือว่าประชาชนเป็น ทรพั ยากรทีส่ ำคญั ของประเทศ ในการน้ี รัฐบาลยังได้ใหก้ ารอุดหนนุ ด้านการศึกษาจนเสมือนกับว่าโรงเรยี น ส่วนใหญ่ เป็นโรงเรียนของรัฐบาล ส่วนสถานศึกษาของเอกชนในสิงคโปร์จะมีเฉพาะในระดับอนุบาลและ โรงเรียนนานาชาติ เท่านน้ั การศึกษาภาคบังคบั ประเทศสงิ คโปรไ์ ด้มีการกำหนดเก่ียวกับการศึกษาภาคบังคบั ไว้ใน Compulsory Education Act โดย กำหนดไว้ว่า เด็กทจ่ี ะต้องเข้าเรียนการศึกษาภาคบังคับนน้ั คอื (ก) เด็กที่เกิดหลงั วันท่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2539 (ข) เป็น พลเมืองสิงคโปร์ และ (ค) มีถิ่นที่อยู่ในประเทศสิงคโปร์ สำหรับการศึกษาภาคบังคับนั้นมีระยะเวลา 10 ปี โดยเร่ิม ตั้งแต่เด็กอายุ 6 ปี ซึ่งจะต้องเข้าเรียนในโรงเรียนระดับประถมศึกษาของรัฐ (national primary school) อน่ึง ผปู้ กครองทไี่ ม่ประสงคจ์ ะส่งเด็กเข้าเรยี นในโรงเรยี นระดบั ประถมศึกษาของรฐั จะต้องแจ้งต่ออธิบดกี รมศึกษาธิการถึง เหตผุ ลทีไ่ ม่ส่งเด็กเขา้ เรยี นในโรงเรียนดงั กล่าว การศึกษาภาคบังคับในสิงคโปรเ์ มื่อเทียบกบั การศึกษาของไทย คือ ตั้งแต่ระดับประถมศึกษาชั้นปีที่ 1 ถงึ ระดับมัธยมศกึ ษาช้นั ปีที่ 4 หรือปีท่ี 5 ขน้ึ อยู่กับหลักสตู รที่นักเรียนเลือก โดยการศกึ ษาในระดับ ประถมศึกษาของ สิงคโปร์แบ่งเป็น 2 ช่วง ได้แก่ ช่วงประถมตอนต้น และ ประถมศึกษาตอนปลาย ซึ่งเรียกว่า Foundation Stage รายงานการศึกษาเชงิ เปรยี บเทียบระบบการศกึ ษาไทย - สงิ คโปร์ พันโท กรเี ทพ เขมะเพช็ ร 64560034

24 โดยนักเรียนจะเรยี น 3 วิชาหลกั คือ ภาษาอังกฤษ ภาษาที่พูดมาแต่กำเนิด และ คณิตศาสตร์ นอกจากน้นั จะมีวิชา ดนตรี ศลิ ปหตั ถกรรม หน้าทพ่ี ลเมือง สขุ ศึกษา สังคมศึกษา และพลศึกษา และช่วงประถมปลาย คือ ประถมศึกษาปี ที่ 5 ถึงปีที่ 6 ซึ่งเรียกว่า Orientation Stage ในช่วงนี้ นักเรียนจะ ถูกแยกเรียนตามกลุ่มทางภาษาโดยขึ้นอยู่กับ ความสามารถทางภาษาของแต่ละคน เมื่อสำเร็จการศึกษาชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 แล้ว นักเรียนต้องผ่านการสอบท่ี เรียกว่า Primary School Leaving Examination (PSLE) เพื่อที่จะเข้าศึกษาต่อในระดับมัธยมศึกษา จึงถือได้ว่าผล การสอบ PSLE นน้ั มีส่วนสำคญั อย่างยง่ิ ต่อการ เลอื กศกึ ษาต่อระดบั มธั ยมศกึ ษาของนักเรียน การศึกษาในระดับมัธยมศึกษาในสิงคโปร์มี 3 หลักสูตรให้นักเรียนสามารถเลือกเรียนได้ตาม ความสามารถและ ความสนใจ คือ แบบเร่งรัด (Express) ซึ่งเป็นหลักสูตร 4 ปี ส่วนแบบธรรมดาสายวิชาการ (Normal-Technical) เป็นหลักสูตร 5 ปี เมื่อจบการศึกษาระดับมธั ยมศกึ ษาแล้ว นักเรียนจะต้องทำการสอบเพ่อื ให้ ได้ ใบประกาศนยี บัตร จากน้ันผู้ที่สนใจเรียนสายวิชาชีพเทคนคิ หรอื อาชีวศกึ ษา ก็สามารถแยกไปเรยี นตาม สถาบัน ต่าง ๆ ได้ ส่วนผู้ที่ต้องการศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย จะต้องเข้าศึกษาต่อใน Junior College อีก 2 ปี เมื่อจบ แล้วจะต้องสอบ GCE \"A\" Level เพอ่ื นำผลคะแนนไปใช้ตัดสินการเข้าเรียนต่อในระดับ มหาวิทยาลยั ท้ังน้ี ผู้ปกครองทไี่ ม่ส่งเด็กเข้ารบั การศกึ ษาภาคบังคับจะมีความผิดตาม Compulsory Education Act เว้นแต่จะได้รับการยกเว้น หรือแสดงเหตุผลให้เป็นท่ีประจักษว์ ่าเหตุใดจงึ ไม่ส่งเด็กเขา้ รบั การศึกษาในโรงเรียนระดับ ประถมศึกษาของรฐั ซึ่งบทลงโทษของผู้กระทำความผิดภายใต้มาตรา 3 (2) คือ โทษไม่เกิน 5,000 ดอลลาร์สิงคโปร์ หรอื จำคกุ ไม่เกิน 12 เดือน หรอื ทง้ั จำทงั้ ปรบั ซง่ึ บทลงโทษที่รนุ แรงดังกล่าว สะท้อนใหเ้ ห็นถงึ ความเอาจริงเอาจังต่อ การศึกษาของประเทศสงิ คโปร์ การข้ึนทะเบยี นโรงเรยี น ประเทศสิงคโปร์มีความเข้มงวดในการจัดตั้งโรงเรียน จึงได้ออกกฎหมาย Education Act (Chapter 87) ซึ่งมเี นอ้ื หาสำคัญ คอื กำหนดบทบัญญัตทิ เี่ กยี่ วข้องกับการข้ึนทะเบยี นโรงเรียนในสิงคโปร์ การนำเสนอในหวั ข้อน้ี แบง่ ออกเปน็ 3 หัวขอ้ ยอ่ ย ได้แก่ ค่านยิ ามตามกฎหมาย เง่ือนไขในการข้ึนทะเบียนในโรงเรียน และ การอุทธรณ์ ก) คำนยิ ามตามกฎหมาย Education Act (Chapter 87) ระบุนิยามว่า \"โรงเรียน\" หมายถึง องค์กร หรือสถานที่ที่มีการให้ การศึกษาแก่คนตั้งแต่ 10 คนขึ้นไป ไม่ว่าจะอยู่ในชั้นเรียนเดียวหรือหลายชั้นเรียน นอกจากนี้ ยังจำกัดการใช้ คำศัพท์คำว่า \"โรงเรียน\" \"มหาวิทยาลัย\" \"วิทยาลัย\" และ \"สถาบันการศกึ ษา\" หรอื คำศัพทใ์ ด ๆ ท่กี ำหนด โดยรัฐมนตรี และประกาศในรัฐกจิ จานเุ บกษา ไม่ว่าจะในภาษาใดก็ตาม หรอื คำศัพท์ใดที่บง่ ชวี้ ่าบุคคล หรือองค์กรใหก้ ารศกึ ษา เว้น แตจ่ ะได้รับอนญุ าตจากอธบิ ดีศกึ ษาธกิ าร (Director-General of Education) ผใู้ ดฝ่าฝืนจะมีโทษปรับไม่เกนิ 20,000 ดอลลารส์ งิ คโปร์ หรือจำคุกไม่เกิน 12 เดือน หรอื ทั้งจำท้ังปรับ รายงานการศึกษาเชงิ เปรยี บเทียบระบบการศึกษาไทย - สิงคโปร์ พนั โท กรเี ทพ เขมะเพช็ ร 64560034

25 ในกรณีที่เป็นการขึ้นทะเบียนโรงเรียนที่ไม่ใช่โรงเรียนรัฐบาล ผู้ที่ต้องการจะเป็นผู้บริหารโรงเรียน จะต้องยื่นเรื่องต่ออธิบดี โดยอธิบดีฯ มีอำนาจที่จะขึ้นทะเบียนโรงเรียนนั้น ๆ แต่หากปฏิเสธการขอขึ้นทะเบียน โรงเรยี นใด จะต้องใหเ้ หตผุ ลกำกับทุกครั้ง ข) เง่อื นไขในการขึ้นทะเบียนโรงเรียน โรงเรยี นทส่ี ามารถขนึ้ ทะเบยี นได้ จะต้องไม่เข้าข่ายโรงเรยี นที่มีลกั ษณะ ดังน้ี (1) อยู่ในพื้นทที่ ีม่ สี ถานศกึ ษาเพียงพออยู่แลว้ (2) สถานที่จะก่อตั้งโรงเรียนถูกจัดเป็นอาคารที่มีความเสี่ยงภัยหรือไม่มั่นคงหรือมีความเป็นไปได้ที่ โครงสร้างของอาคารจะไม่เหมาะสำหรับใชเ้ ป็นโรงเรียน (3) สถานท่จี ะก่อต้งั โรงเรียนมมี าตรการป้องกันอัคคีภัยไม่เพียงพอ (4) สถานที่จะก่อตั้งโรงเรียนนั้นไม่ถูกสุขอนามัยหรือไม่เหมาะสมด้วยเหตุผลของสุขภาพในการใช้ สถานทีเ่ ปน็ โรงเรยี น (5) สถานท่พี ักผ่อนนอกอาคารสำหรับนักเรียนนน้ั มีไม่พอ (6) โรงเรียนที่ขอจดทะเบียนนั้นไม่เปน็ ไปตามกฎระเบยี บท่ีกำหนดภายใต้รัฐบญั ญตั นิ ี้ (7) ค่าเล่าเรียนที่นำเสนอสูงเกินไป เมื่อเทียบกับค่าใช้จ่ายในการบริหารโรงเรียนและมาตรฐาน การศึกษาทีจ่ ะให้แกน่ ักเรียน (8) คณุ สมบตั แิ ละประสบการณ์ของครูทีจ่ ะสอนไม่เพยี งพอ (9) ค่าตอบแทนของครทู นี่ ำเสนอนน้ั ไม่เพยี งพอในการปฏบิ ตั หิ น้าทอี่ ย่างมปี ระสิทธิภาพ (10) มีแผนทจี่ ะรองรับนักเรยี นจำนวนมากกว่า 1,200 คน ในหนึ่งวชิ า (11) คณะกรรมการโรงเรยี นอาจไม่สามารถบรหิ ารโรงเรียนได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ (12) ผู้บรหิ ารโรงเรียนมีความไม่เหมาะสมท่ีจะบรหิ าร (13) โรงเรียนที่ขอขึ้นทะเบียนเคยถูกปฏิเสธการขอขึ้นทะเบียน หรือเคยถูกถอดใบอนุญาต ภายใต้ กฎหมาย Education Act หรือกฎหมายก่อนหน้าน้ที ี่เกย่ี วข้องกบั การขน้ึ ทะเบียนโรงเรยี น (14) มีความเป็นไปได้ที่โรงเรียนดังกล่าวจะถูกใช้เพื่อวัตถุประสงค์ที่เป็นอันตรายต่อผลประโยชน์ของ สิงคโปร์ หรือของสาธารณะ (15) มีความเป็นไปได้ที่โรงเรียนดังกล่าวจะถูกใช้เพื่อสั่งสอนสิ่งที่เป็นอันตรายต่อผลประโยชน์ของ สาธารณะ หรือของนกั เรียน (16) มีความเป็นไปได้ท่ีโรงเรียนดงั กล่าวจะถูกใช้เปน็ สถานท่ีนดั พบขององค์กรผดิ กฎหมาย (17) ชอ่ื โรงเรยี นท่ีขอข้นึ ทะเบียนขัดกับผลประโยชนข์ องสงิ คโปร์ รายงานการศึกษาเชงิ เปรียบเทียบระบบการศกึ ษาไทย - สงิ คโปร์ พันโท กรีเทพ เขมะเพช็ ร 64560034

26 (18) ใบขอขึ้นทะเบียน หรือเอกสารที่ใช้ประกอบขอขึ้นทะเบียนมีการให้ข้อมูลที่เป็นเท็จ หรือไม่ ครบถ้วน จะเห็นได้ว่า การขึ้นทะเบียนโรงเรยี นในสิงคโปรค์ ่อนข้างรัดกุม โดยอธิบดีฯ สามารถปฏิเสธการขอขน้ึ ทะเบียนโรงเรียนได้บนหลายฐาน ตั้งแต่คุณภาพของตัวอาคาร ครู ผู้บริหารโรงเรียน ค่าเล่าเรียน หรือแม้กระทั่งชอื่ โรงเรียน ในบางกรณี อธิบดี ฯ สามารถใช้ดุลยพินิจในการตัดสินว่าโรงเรียนที่ขอขึ้นทะเบียนนั้น จะกระทบต่อ ผลประโยชน์สาธารณะ หรือผลประโยชนข์ องสิงคโปรอ์ ย่างไร ซึ่งสะท้อนว่าภาครัฐมีการควบคมุ โรงเรียนในประเทศ อยา่ งจรงิ จงั ค) การอทุ ธรณ์ หากผขู้ อข้ึนทะเบยี นโรงเรยี นไม่เหน็ ด้วยกับคำตัดสินของอธิบดีฯ สามารถทำหนังสอื อุทธรณ์เปน็ สำเนา 2 ฉบับ ยื่นต่อรัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธิการ หรือคณะกรรมการอุทธรณ์ (Appeal Boards) แล้วแต่กรณี โดย ต้องยื่นผ่านอธิบดีฯ หลังจากได้รบั หนงั สืออุทธรณ์แล้ว รัฐมนตรฯี หรือเลขานุการของ คณะกรรมการอุทธรณจ์ ะต้อง แจ้งผู้ยนื่ หนงั สอื อทุ ธรณ์และอธิบดีฯ ล่วงหน้า 14 วนั ก่อนถึงวนั ที่จะพิจารณา เรอ่ื งอทุ ธรณ์ คำตัดสินของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หรอื คณะกรรมการอทุ ธรณ์นั้นถือเป็นท่สี ้นิ สดุ โดยคำ ตดั สนิ ดังกล่าวจะถกู ส่งใหอ้ ธบิ ดีศึกษาธิการ ซึง่ จะแจ้งผลคำตัดสนิ ตอ่ ผยู้ น่ื หนงั สืออทุ ธรณเ์ ป็นลายลักษณ์ อกั ษรต่อไป การข้ึนทะเบยี นสถานศึกษาเอกชน ก ิ จก าร สถาน ศึ ก ษ าเอ ก ชน เป็ น ธ ุ ร ก ิ จที ่ ม ี แน ว โ น้ ม ก าร เติ บโ ตที ่ ดี ใน สิ ง คโ ปร ์ สั ง เก ตไ ด้ จาก จ ำ น ว น สถาบันการศึกษาต่างประเทศที่เข้าไปเปิดกิจการในประเทศสิงคโปร์ไม่ว่าจะเป็นโรงเรียนสอนวิชาความรู้ที่เป็น วิชาการ และที่ไม่เป็นวิชาการ รวมไปถึงศูนย์รับเลี้ยงเด็ก เป็นต้น รัฐบาลสิงคโปร์จึงได้ออกกฎหมาย Private Education Act (Chapter 247A) เพื่อจัดระเบยี บสถาบนั การศกึ ษาเอกชนเหล่าน้ี ก) ขนั้ ตอนและเงอื่ นไขการขึ้นทะเบียน Private Education Act (Chapter 264A) กำหนดใหบ้ คุ คลใดก็ตามทตี่ ้องการประกอบธรุ กิจ การศกึ ษา ในสิงคโปร์ หรือให้ใบประกาศนียบัตร วุฒิบัตร หรือปริญญาบัตรที่เกี่ยวกับการศึกษา จะต้องขึ้นทะเบียนเป็น สถาบันการศึกษาเอกชน หากฝ่าฝืนจะมีโทษปรับไม่เกิน 5,000 ดอลลาร์สิงคโปร์ นอกจากนี้ สภาการศึกษาเอกชน (Council of Private Education) สามารถสั่งปิดสถานศึกษาดังกล่าวได้โดยใช้กำลัง หรือ ปิดทางเข้า-ออกสถานที่ ดังกล่าวได้ รายงานการศึกษาเชงิ เปรยี บเทยี บระบบการศึกษาไทย - สิงคโปร์ พันโท กรเี ทพ เขมะเพ็ชร 64560034

27 การขอขึ้นทะเบียนสถาบันการศึกษาเอกชนจะต้องกระทำโดยผู้บริหารของสถาบันการศึกษาเอกชน ดังกล่าว โดยยื่นเรื่องขอขึ้นทะเบียนต่อสภาการศึกษาเอกชน ซึ่งอาจพิจารณาปฏิเสธคำขอขึ้นทะเบียน ของ สถาบนั การศกึ ษาเอกชนดังกล่าวได้บนฐานดงั ต่อไปนี้ (1) สถาบนั การศกึ ษาเอกชนนน้ั ไม่ได้จดทะเบียนเปน็ บริษัทหรือองคก์ ร (2) สถานที่ตั้งของสถาบันการศึกษานั้น ไม่เหมาะสมทีจ่ ะเป็นสถาบันการศกึ ษาเอกชนไม่ถกู สุขอนามยั หรอื ไม่ปลอดภัย ถูกใช้เพอื่ วตั ถุประสงคอ์ นื่ นอกเหนือจากให้การศึกษาเอกชนหรือไม่เป็นไปตามทกี่ ฎหมาย กำหนดไว้ (3) มากกว่ากึ่งหนึ่งของครู หรือผู้ที่จะมาเป็นครูในสถาบันการศึกษาเอกชนนั้นขาดคุณสมบัติหรือ ประสบการณ์ข้ันต่ำ หรอื มคี วามไม่เหมาะสมทจ่ี ะสอนในสถาบนั การศกึ ษาเอกชน (4) ใบขอข้ึนทะเบยี น หรือเอกสารท่ใี ช้ประกอบการขอขึน้ ทะเบยี นมีข้อความที่เป็นเท็จ หรอื มีข้อมูล ไม่ ครบถ้วน (5) สถาบันการศึกษาเอกชน หรือผู้บริหารสถาบันการศึกษาเอกชนฝ่าฝืนบัญญัติภายใต้กฎหมาย Private Education Act หรอื เคยถูกตัดสินว่ากระทำความผิดภายใต้รฐั บญั ญัตินี้ หรอื เคยถูกตัดสินว่ามี ความผิดฐาน ทุจรติ หรือฉ้อโกง ภายในระยะเวลา ๕ ปี ก่อนการยืน่ ขอขนึ้ ทะเบียน (6) ผู้บรหิ าร หรือผู้ที่จะเป็นผู้บริหารของสถาบันการศึกษาเอกชนมีความไม่เหมาะสม (7) สภาการศึกษาเอกชนเห็นว่า ชื่อของสถาบันการศึกษาเอกชนอาจชักจูงให้เกิดความเข้าใจผิดต่อ ลักษณะหรือวัตถุประสงค์ของสถาบันการศึกษาเอกชนนั้น หรือมีความเหมือนหรือซ้ำกับชื่อสถานศึกษาอื่นหรือ สถาบันการศกึ ษาเอกชนทีม่ ีอยู่แล้ว หรือเป็นชื่อทห่ี ยาบคายหรือเปน็ ช่ือที่รฐั มนตรีมคี ำส่ังไม่ใหร้ ับขนึ้ ทะเบียน เมื่อได้รับการขึ้นทะเบียนและได้ดำเนินกิจการไปสักระยะหนึ่ง สถาบันการศึกษาเอกชนนั้นอาจถูก ตรวจสอบโดยผู้ตรวจสอบโรงเรยี น (inspector) ซง่ึ แต่งตั้งโดยสภาการศกึ ษาเอกชน ผู้ตรวจสอบโรงเรยี นมี อำนาจใน การ (ก) เข้าไปยังสถานที่ตั้งสถาบันการศึกษาเอกชน ในกรณีที่มีเหตุให้เชื่อว่ามีหลักฐานการกระทำผิดภายใต้รัฐ บัญญัตินี้ และอาจค้น ยึด และเอาหนังสือ เอกสาร วัตถุ หรือทำสำเนาหากเห็นว่าจำเป็น (ข) ขอให้บุคคลที่เช่อื ว่าได้ กระทำความผิดส่งหลักฐานให้ หรือ (ค) ออกคำส่ังเป็นลายลกั ษณอ์ กั ษรให้บุคคลใด ๆ ในสิงคโปรใ์ ห้ขอ้ มลู เกีย่ วกับการ กระทำผดิ นนั้ เปน็ ต้น ข) การขออนญุ าตประกอบกิจกรรมในสถานศึกษาเอกชน นอกจากกฎหมายสิงคโปร์จะกำหนดให้สถานศึกษาเอกชนต้องขึ้นทะเบียนแล้ว บางกิจกรรมใน สถานศกึ ษาเอกชน เช่น ร้านอาหาร ส่ือส่งิ พิมพ์ก็ตอ้ งขอใบอนุญาตด้วย โดยขึน้ อยู่กบั ประเภทของสถานศกึ ษา รายงานการศึกษาเชงิ เปรยี บเทยี บระบบการศึกษาไทย - สิงคโปร์ พันโท กรีเทพ เขมะเพ็ชร 64560034

28 การข้ึนทะเบียนผบู้ ริหารโรงเรยี นและครู Education Act (Chapter 87) กำหนดให้มกี ารขนึ้ ทะเบยี นผู้บรหิ าร (manager) โรงเรียน และยังห้าม ไม่ให้บุคคลใดสอน หรือถูกจ้างเป็นครูในโรงเรียนหากไม่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นครูหรือได้รับอนุญาตให้สอน ภายใต้รัฐ บญั ญัตินี้ ก) คุณสมบัติของผู้ทสี่ ามารถขึ้นทะเบียนผู้บรหิ ารโรงเรยี นและครู ผู้ที่ต้องการขึ้นทะเบียนเป็นผู้บริหารโรงเรียนจะต้องไม่เข้าข่ายคุณสมบัติต้องห้ามตามมาตรา 33 แห่ง Education Act (Chapter 87) ซึ่งให้อธิบดีมีอำนาจในการปฏิเสธการขึ้นทะเบียนผู้บริหารโรงเรียน บน ฐาน ดังต่อไปนี้ (1) เป็นบุคคลที่กระทำผิดในเขตอำนาจศาลสิงคโปร์ หรือมาเลเซีย หรือประเทศในเครือสหราช อาณาจักร และเป็นการกระทำผิดที่ลงโทษด้วยการจำคุก โดยการกระทำผิดนั้นเกี่ยวกับการศึกษา หรือการข้ึน ทะเบยี นโรงเรียน หรือภายใต้กฎหมายทใ่ี กล้เคียงกนั ของมาเลเซีย (2) เป็นบุคคลที่เคยได้รับการปฏิเสธการขึ้นทะเบียนเป็นผู้บริหารของโรงเรียน หรือถูกยกเลิกการขึ้น ทะเบียน ไม่ว่าจะภายใต้รัฐบัญญัตินี้ หรือกฎหมายก่อนหน้าที่ถูกยกเลิกไปแล้วที่เกี่ยวกับการศึกษา หรือการข้ึน ทะเบียนโรงเรียน หรือกฎหมายใดของมาเลเซียทีม่ ีบทบญั ญัตทิ ่ใี กล้เคยี ง (3) เปน็ บคุ คลทมี่ ลี ักษณะไม่เหมาะสมท่จี ะเป็นผู้บรหิ ารโรงเรียน (4) เป็นบคุ คลที่ไม่มีประสบการณ์ ความรู้ ความเช่ียวชาญทจ่ี ะจดั การโรงเรยี น (5) เป็นบุคคลทเ่ี คยใหข้ ้อมูลเทจ็ ในการขอขนึ้ ทะเบียนเปน็ ผู้บริหารโรงเรยี น หรือครู (6) การขึน้ ทะเบียนบุคคลดงั กล่าวจะกระทบต่อผลประโยชน์ของสาธารณะ หรือของนกั เรยี น สำหรับคุณสมบัติต้องหา้ มของบคุ คลที่ต้องการขึ้นทะเบียนเป็นครูในสิงคโปร์อยู่ภายใต้มาตรา 38 แหง่ Education Act (Chapter 87) กำหนดใหอ้ ธบิ ดมี ีอำนาจในการปฏเิ สธการขนึ้ ทะเบียนครู หากพจิ ารณา แล้วเหน็ ว่า (1) เปน็ บุคคลทม่ี ลี กั ษณะไม่เหมาะสม (2) เป็นบุคคลที่กระทำผิดในเขตอำนาจศาลสิงคโปร์ หรือมาเลเซีย หรือประเทศในเครือสหราช อาณาจักร และเป็นการกระทำผิดที่ลงโทษด้วยการจำคุก โดยการกระทำผิดนั้นเกี่ยวกับการศึกษา หรือการข้ึน ทะเบียนโรงเรยี น หรอื ภายใต้กฎหมายใกล้เคียงกันของมาเลเซยี (3) เป็นบุคคลที่เคยได้รับการปฏิเสธการขึ้นทะเบียนเป็นครู หรือถูกยกเลิกการขึ้นทะเบียนไม่ว่าจะ ภายใต้รัฐบัญญัตินี้ หรือกฎหมายก่อนหน้าที่ยกเลิกไปแล้วที่เกี่ยวกับการศึกษาหรือการขึ้นทะเบียนโรงเรียน หรือ กฎหมายใดของมาเลเซียทมี่ บี ทบัญญตั ิท่ีใกล้เคยี ง รายงานการศึกษาเชงิ เปรียบเทยี บระบบการศกึ ษาไทย - สิงคโปร์ พนั โท กรีเทพ เขมะเพ็ชร 64560034

29 (4) เป็นบุคคลที่เคยถูกยกเลิกการขึ้นทะเบียน ไม่ว่าจะภายใต้รัฐบัญญัตินี้ หรือกฎหมายก่อนหน้าที่ ยกเลิกไปแล้วที่เกี่ยวกับการศึกษา หรือการขึ้นทะเบียนโรงเรียน หรือกฎหมายใดของมาเลเซียที่มีบทบัญญัติท่ี ใกลเ้ คียง เว้นแต่ การยกเลกิ การขึน้ ทะเบียนนน้ั จะเปน็ ผลจากการลาออกหรือโรงเรยี นปิดตัวลง (5) เป็นบคุ คลที่ไม่ผา่ นการตรวจร่างกายโดยแพทยป์ ระจำโรงเรียน (6) เป็นบุคคลทเ่ี คยใหข้ ้อมลู เทจ็ ในการขอข้นึ ทะเบยี นเปน็ ครู (7) เป็นบุคคลทม่ี ีแนวโน้มทจ่ี ะมอี ทิ ธิพลท่ีไม่ดีตอ่ นกั เรียน หรือทข่ี ดั ต่อผลประโยชนส์ าธารณะ (8) เปน็ บุคคลทีไ่ ม่มคี ุณสมบัตขิ ั้นตำ่ ตามท่ีกฎหมายกำหนด ข) การอทุ ธรณต์ ่อคำตัดสิน เหมือนกับกรณีการอุทธรณ์คำตัดสินของอธิบดีศกึ ษาธิการ ต่อการขอข้ึนทะเบียนโรงเรียน จะเห็นได้วา่ การข้นึ ทะเบียนเปน็ ผู้บริหารโรงเรียน และการขน้ึ ทะเบยี นครูในสิงคโปรน์ ั้นมีความเข้มงวดเป็นอย่างมาก โดยกำหนด ห้ามบุคคลที่เคยกระทำผิดกฎหมาย หรือเคยถูกปฏิเสธการขอขึ้นทะเบียนในประเทศ มาเลเซีย มาขึ้นทะเบียนเป็น ผู้บริหารโรงเรียน หรือครูในสิงคโปร์ด้วยซึ่งน่าจะเป็นผลมาจากการที่ระบบ การศึกษาของทั้งสองประเทศล้วนได้รบั อิทธิพลมาจากอังกฤษจึงมีมาตรฐานที่คล้ายกัน การที่บุคคลใด ถูกปฏิเสธการขอขึ้นทะเบียนเป็นผู้บริหารโรงเรียน หรือครูในมาเลเซีย จึงมแี นวโน้มที่จะมีคณุ สมบัตไิ ม่เหมาะสมทีจ่ ะเปน็ ผู้บรหิ ารโรงเรียน หรือครูในสงิ คโปร์เช่นเดยี วกนั บทสรุป การศกึ ษาเป็นรากฐานสำคัญในการพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์ รัฐบาลสงิ คโปรไ์ ด้กำหนดแผนและนโยบาย ในการพัฒนาประเทศผ่านการพัฒนาประชากรที่มีคุณภาพ ทั้งการส่งเสริมให้พลเมืองสิงคโปร์มีความสามารถด้าน ภาษามากกว่าหนึง่ ภาษาตัง้ แต่ชนั้ ประถมศกึ ษา และให้โอกาสเด็กนกั เรยี นได้เลือกเรียนสิง่ ที่ตนถนดั เพื่อให้เด็กแต่ละ คนเตบิ โตมาเป็นประชากรท่สี ามารถทำงานของตนได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพมากทีส่ ุด รายงานการศึกษาเชงิ เปรยี บเทียบระบบการศกึ ษาไทย - สิงคโปร์ พันโท กรีเทพ เขมะเพช็ ร 64560034

30 โครงสรา้ งและการจดั ระบบการศกึ ษา (Structure and Organization of Education System) หน่วยงานหลักในการจัดการศึกษาของสิงคโปร์คือ กระทรวงศึกษาธิการ (Ministry of Education – Singapore) รัฐบาลสิงคโปร์ให้ความสำคัญกับการศึกษามาก โดยถือว่าประชาชนเป็นทรัพยากรท่ีมีค่ามากที่สุดของ ประเทศรัฐบาลได้ให้การอุดหนุน ด้านการศึกษาจนเสมือนกับเป็นการศึกษาแบบให้เปล่า โรงเรียนในระดับ ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ล้วนเป็นโรงเรยี นของรัฐบาลหรอื กึ่งรัฐบาล สถานศึกษาของเอกชนในสงิ คโปร์ มีเฉพาะ ในระดับอนุบาลและโรงเรียนนานาชาติเท่านั้น การศึกษาภาคบังคับของสิงคโปร์จะต้องเรียน 2 ภาษาควบคู่กันไป ได้แก่ ภาษาอังกฤษเปน็ ภาษาหลัก และเลือกเรียนภาษาแม่ (Mothetongue) อกี 1 ภาษา คอื จีน (แมนดาริน) มาเลย์ หรือทมิฬ (อินเดีย) ระบบการศึกษาของสงิ คโปร์ เป็นระบบ 6+4+2 โดยมีระบบการศึกษา ภาคบังคับ 6 จากอายุ 6 - 11 ปี (The ASEAN Secretariat, 2014: Goodwin, Low, & Darling-Hammond, 2017) แบง่ ไดด้ งั นี้ ภาพที่ 2 ระบบการศึกษาของสงิ คโปร์ ท่ีมา : The ASEAN Secretariat (2014) 1. ระดับก่อนประถม (Pre-Primary) ใช้เวลาเรียน 3 ปี เร่ิมเข้าเรียนระหว่างอายุ 4 - 6 ปี โดยความ สมัครใจ 2. ระดับประถมศึกษา (Primary) ใช้เวลาเรยี น 6 ปี เด็กจะเริ่มเข้าเรียน เมื่ออายุ 7 - 12 ปี การเล่ือน ชั้นจะมีการทดสอบด้วยข้อสอบ Primary School Leaving Examination (PSLE) เพื่อที่จะเข้าศึกษาต่อในระดับ มัธยมศกึ ษา ซ่ึงผลการเขา้ สอบมีส่วนสำคัญอย่างย่ิง ต่อการศกึ ษาตอ่ ในระดับมธั ยมศึกษา รายงานการศึกษาเชงิ เปรยี บเทยี บระบบการศกึ ษาไทย - สิงคโปร์ พันโท กรีเทพ เขมะเพ็ชร 64560034

31 3. ระดบั มธั ยมศึกษา (Junior high School/Secondary) ระยะเวลาเรยี น 4 ปี ช่วงอายนุ ักเรียนอยู่ ระหว่าง 13 - 16/17 ปี การศึกษาในระดบั มธั ยมศึกษานั้น จะมี 3 หลกั สตู ร ใหเ้ ลอื กตามความสามารถและความสนใจ โดยใช้เวลา 4 - 5 ปี ได้แก่ หลักสูตรพิเศษ (Special Course) หลักสูตรเร่งรัด (Express Course) หลักสูตรปกติ (Normal course) เมื่อจบหลักสูตรจะมีการสอบโดยหลักสูตรพิเศษ และหลักสูตรเร่งรัดนักเรียนจะต้องผ่าน ประกาศนียบัตร GCB (General Certificate of Education) ในระดับ “O” level ส่วนหลักสูตรปกติจะต้องผ่าน GCB “N” level แต่ถ้าตอ้ งศึกษาต่อในระดับเตรียมอุดมศึกษา ก็ตอ้ งสอบให้ผ่าน GCB “O” level เช่นเดียวกัน 4. ระดับหลงั มัธยมศกึ ษา (Post-Secondary) 4.1 ระดับเตรียมอุดมศึกษา (Pre-University) เป็นช่วงการศึกษาท่ีสูงข้ึนมาจากมัธยมศึกษา ผู้ที่จะ เรียนต่อในมหาวิทยาลัยก็จะเขา้ ศึกษาต่อใน Junior college อีก 2 ปี เม่ือจบแล้วจะต้องสอบ GCE “A” level เพื่อ นำผลคะแนนไปตัดสินการเข้าเรียนต่อระดับมหาวิทยาลัย จะต้องศึกษาข้ันเตรียมมหาวิทยาลัยอีก 2 ปี ช่วงอายุ นักเรยี น จะอยู่ระหวา่ ง 17 - 19 ปี 4.2 ระดับอาชีวศึกษา (Vocational Education) วิทยาลัยเทคนิค (Polytechnic) ของสิงคโปร์มี 4 แ ห ่ ง ไ ด ้ แ ก ่ Singapore Polytechnic, Ngee Ann Polytechnic, Temasek Polytechnic แ ล ะ Nanyang Polytechnic นอกจากน้ี ยังมี Institute of Technical Education: ITE เปน็ สถาบันทจี่ ัดการศกึ ษาสำหรบั ผ้ตู ้องการ ทกั ษะทางช่าง และช่างฝีมือ 5. ระดับอุดมศึกษา (Higher Education) ช่วงอายุผู้เรียนจะอยู่ระหว่าง 20 - 23 ปี มหาวิทยาลัยใน สิงคโปร์มี 3 แหง่ คือ National University of Singapore (NUS) จะใหก้ ารศึกษาครอบคลุมเกือบทุกสาขาวิชา ทั้ง แพทยศาสตร์ ทันตแพทย์ กฎหมาย ศิลปศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรม สถาปัตยกรรมและการบริหารธุรกิจ Nanyang Technological University จะเน้นการศึกษาด้านวิศวกรรมศาสตร์สาขาต่างๆ รวมทั้งวิทยาศาสตร์ ประยุกต์และสาขาธุรกจิ และการบญั ชี และ Singapore Management University จะเนน้ เรื่องธรุ กิจ การค้า และ การจดั การ ส่วนสถาบันผลติ ครขู องสิงคโปร์ มอี ยู่เพยี งแห่งเดยี วคอื National Institute of Education หรือ NIE ตารางท่ี 1 จำนวนโรงเรียนของสงิ คโปร์จำแนกตามระดับและประเภท ประเภทโรงเรียน ประถมศกึ ษา มัธยมศกึ ษา ประถมฯ/มัธยมฯ วิทยาลยั /สถาบนั สว่ นกลาง รวม รฐั บาล 141 119 4 10 274 รฐั บาลสนบั สนนุ 41 28 3 4 76 อสิ ระ -2 6 -8 อสิ ระแบบพิเศษ - 1 3 -4 พเิ ศษ -4 - -4 รวม 182 152 16 14 366 ทม่ี า : Goodwin, Low, & Darling-Hammond (2017) รายงานการศกึ ษาเชงิ เปรยี บเทียบระบบการศึกษาไทย - สิงคโปร์ พนั โท กรเี ทพ เขมะเพช็ ร 64560034

32 สิงคโปร์มีสถานศึกษา 336 แห่ง มีครูประมาณ 33,000 คน และบุคลากร สายสนับสนุนอีกประมาณ 7,700 คน (Goodwin, Low, & Darling-Hammond, 2017) นอกจากนี้กระทรวงศึกษาธิการสิงคโปร์ยังกำหนดกรอบแนวคิดสมรรถนะ และผลลัพธ์ของผู้เรียนใน ศตวรรษที่ 21 เปน็ เปา้ หมายสำหรับสถานศกึ ษาทุกระดับให้จัดการเรียนการสอนพัฒนาผู้เรียนไปสู่เป้าหมายดังภาพท่ี 2 (ทวิกา ต้ังประภา, 2556) ภาพที่ 3 กรอบแนวคิดสมรรถนะและผลลพั ธข์ องผ้เู รยี นในศตวรรษที่ 21 ของสิงคโปร์ ท่ีมา : Ministry of Education (MOE) 1. คุณค่าหลัก (Core Values) ช้ันในสุด ของกรอบแนวคิด คือ “คุณค่าหลัก” ซึ่งเป็นแก่นของ สมรรถนะและผลลัพธ์ของนักเรียนในศตวรรษที่ 21 ที่แสดงคุณลักษณะภายในของแต่ละบุคคล (a person’s character) โดยประกอบดว้ ยความรู้ และทักษะเปน็ แกนหลกั และมีคุณลักษณะสำคัญทม่ี ีอทิ ธิพลทำให้เกิดความเช่ือ ทัศนคติ รวมถงึ พฤตกิ รรมของบุคคล ดังนี้ 1.1 ความเคารพ (Respect) บุตร หลานจะเป็นผู้ทีม่ ีความเคารพ เม่ือเขามีความเชื่อในคุณค่าของ ตนเอง และเห็นคุณคา่ ของคนทกุ คน รายงานการศกึ ษาเชงิ เปรียบเทียบระบบการศกึ ษาไทย - สิงคโปร์ พันโท กรีเทพ เขมะเพช็ ร 64560034

33 1.2 ความรับผิดชอบ (Responsibility) บุตรหลานจะเป็นผู้มีความรับผิดชอบ เมื่อเขามีความ ตระหนักในหน้าท่ีของตวั เอง หน้าทต่ี อ่ ครอบครัว ต่อชมุ ชน ต่อประเทศ และต่อโลก อกี ท้ังตอบสนองความรับผิดชอบ ของตนเองด้วย ความรกั และการให้คำมั่นสัญญา 1.3 ความซื่อสัตย์ (Integrity) บุตร หลานจะเป็นคนท่ีมคี วามซื่อสัตย์ เมื่อเขาเทิดทูน ในหลักของ จรยิ ธรรม และมีความกล้าหาญในเร่ืองศีลธรรมทีจ่ ะสามารถลุกขนึ้ และยืนหยดั เพ่ือส่ิงท่ีถูกต้อง 1.4 การดูแลเอาใจใส่ (Care) บุตร หลานจะเป็นผู้ที่มีการดูแลเอาใจใส่ เมื่อเขาทำการใดๆ ด้วย ความเมตตาและกรุณา และสนับสนุน หรอื ใหค้ วามช่วยเหลือผู้อน่ื เพอ่ื ให้เกดิ สง่ิ ทีด่ ขี น้ึ ต่อชมุ ชนและโลก 1.5 ความยืดหยุ่น (Resilience) บุตร หลานจะเปน็ ผู้ท่ีมีความยืดหยุ่น เมือ่ เขามีความเข้มแข็งทาง อารมณ์ และเมื่อเขาต้องเผชิญหน้า กับความท้าทาย เขาจะแสดงออกซึ่งความกล้าหาญ มองโลกในแง่ดี มี ความสามารถในการปรับตัว และมปี ัญญาในการคดิ รเิ รม่ิ แก้ปัญหา 1.6 ความสามัคคี (Harmony) บุตร หลานจะให้คุณค่ากับความสามัคคี เมื่อเขาพยายามค้นหา ความสุขภายใน ในขณะเดียวกันก็ยังส่งเสริมการทำงานร่วมกันในสังคม นอกจากน้ี พวกเขายังชื่นชมท้ังความเป็น เอกภาพและความหลากหลายของสังคมพหวุ ัฒนธรรม 2. สมรรถนะทางด้านสังคมและอารมณ์ (Social and Emotional Competencies) ในชั้นถัด ออกมาเป็นสมรรถนะทางด้านสังคมและอารมณ์ ซึ่งเป็นคุณลักษณะที่จำเป็นสำหรับนักเรียนในการเห็นคุณค่าของ ตนเอง การจัดการกับอารมณ์ของตนเอง รวมถึงความเข้าใจ ผู้อ่นื และการพฒั นาความสัมพันธ์กับผู้อ่นื โดยสมรรถนะ ทั้งด้านสงั คมและอารมณ์ ประกอบด้วย 2.1 การตระหนักรู้เกี่ยวกับตนเอง (Self-awareness) บุตรหลานจะมีความตระหนัก รู้เกี่ยวกับ ตนเอง เม่อื เขาเข้าใจอารมณ์ของตัวเอง ทราบจุดแข็ง ความโนม้ เอียง รวมท้ังจดุ อ่อนของตนเอง 2.2 การจัดการตนเอง (Self-management) บุตรหลานจะสามารถจัดการตนเองได้อย่างมี ประสิทธิภาพ เมื่อเขามีความสามารถในการจัดการกับอารมณข์ องตนเอง นอกจากน้ี เขาควรเป็นคนทีส่ ามารถสร้าง แรงจูงใจได้ดว้ ยตนเอง มีวนิ ัย และมกี ารกำหนดเป้าหมายของชีวิตได้อย่างชดั เจน อีกท้ังมที ักษะองค์กร 2.3 การตระหนักรู้เกี่ยวกับสังคม (Social Awareness) บุตรหลานจะมีความตระหนักรูเ้ กี่ยวกบั สังคม เมื่อเขามีความสามารถในการแยกแยะมุมมองที่แตกต่างได้อย่างถกู ต้อง มีการยอมรับและเห็นคุณค่าในความ หลากหลายของ ความคดิ นอกจากนี้ มคี วามเอาใจใส่และเคารพ ความคิดของผ้อู นื่ รายงานการศึกษาเชงิ เปรยี บเทียบระบบการศึกษาไทย - สิงคโปร์ พันโท กรีเทพ เขมะเพช็ ร 64560034

34 2.4 การจัดการกับความสัมพันธ์ (Relationship Management) บุตรหลานจะสามารถจัดการ ความสมั พนั ธ์ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ เม่อื เขามีความสามารถในการดแู ลและรกั ษา สุขภาพตนเอง มกี ารใหค้ ณุ ค่า กับ ความสัมพันธ์ ผ่านการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ อีกทั้งสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นเพื่อแก้ไขปัญหาและให้ความ ชว่ ยเหลอื ตา่ ง ๆ ได้ 2.5 การตัดสินใจอย่างมีความรับผิดชอบ (Responsible Decision-Making) บุตรหลาน จะ สามารถตัดสนิ ใจอย่างมคี วามรับผิดชอบ เมอื่ เขามคี วามสามารถระบแุ ละวิเคราะหส์ ถานการณอ์ ย่างรอบด้าน ท้ังนี้ เขา ควรสามารถสะท้อนนัยยะของการตัดสนิ ใจบนพ้ืนฐานของการพิจารณา ดว้ ยตนเองรวมทั้งการคำนงึ ถึงหลักคุณธรรม และจริยธรรม 3. สมรรถนะสำหรับศตวรรษที่ 21 (Competencies for 21st Century) ในชั้นถัดออกมาเป็น สมรรถนะสำหรบั ศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วย 3.1 การรู้เกี่ยวกับพลเมือง ความตระหนักต่อโลก และทักษะข้ามวัฒนธรรม (Civic Literacy, Global Awareness and Cross-Cultural Skills) สังคมของสิงคโปร์ กำลังก้าวไปเป็นสังคมที่ประกอบด้วยผู้คน หลากหลายเชื้อชาตมิ ากขน้ึ เร่ือย ๆ อกี ท้ังมผี คู้ นอาศัยอยู่ในสิงคโปร์และออกไปทำงานต่างประเทศเพิม่ มากข้ึน บุตร หลานของชาวสงิ คโปร์จะตอ้ งมีมมุ มองต่อโลกท่ีกว้างขน้ึ และตอ้ งมคี วามสามารถในการทำงานกับผู้คนท่ีมพี ื้นฐานทาง วัฒนธรรมที่หลากหลายรวมท้ังผู้คนทมี่ ีความคิดและมุมมองท่ีมีความแตกต่างกันได้ ในขณะเดียวกนั เด็ก ๆ ต้องบอก เล่าเก่ียวกบั ชาติ ความเปน็ สิงคโปร์ และ มคี วามภาคภูมิใจในความเปน็ ชาวสิงคโปร์ อีกท้ังมสี ่วนรวมในการสนับสนุน และใหค้ วามช่วยเหลือชมุ ชุนอย่างแข่งขัน 3.2 การคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณและเชงิ คิดค้นพัฒนา (Critical and Inventive Thinking) เพือ่ เตรียมความพร้อมสำหรับอนาคต เด็ก ๆ ต้องมีความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ มีความสามารถในการ ประเมินทางเลือก และมีความสามารถในการตัดสนิ ใจ พวกเขาต้องมีความใฝ่รู้ ช่างสำรวจ และมีความพรอ้ มทีจ่ ะคดิ นอกกรอบได้ นอกจากนี้ พวกเขาไม่ควรกลัว ที่จะทำผดิ พลาด รวมทงั้ การเผชญิ หน้ากับความทา้ ทาย ซ่ึงอาจทำให้เกิด ความกลัวข้ึนในคร้ังแรก 3.3 ทักษะทางด้านสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Skills) ด้วยการเปลี่ยนแปลงของโลกอินเตอร์เน็ตที่ทำให้ข้อมูลสารสนเทศสามารถเข้าถึงได้อย่างรวดเร็วเพียงแค่การคลิ๊ก เท่านั้น จึงเป็นเรื่องสำคัญมากที่เด็ก ๆ ต้องรู้จักต้ังคำถาม กรองข้อมูล สารสนเทศ และสกัดสิ่งที่สำคัญและเป็น ประโยชน์ ได้ ในขณะเดียวกัน พวกเขาจำเป็นต้องมีความสามารถในการตัดสินใจซึ่งจะเป็นสิง่ ทีป่ ้องกนั พวกเขาจาก รายงานการศกึ ษาเชงิ เปรยี บเทยี บระบบการศึกษาไทย - สิงคโปร์ พันโท กรีเทพ เขมะเพ็ชร 64560034

35 อันตราย รวมทั้งมีการปฏิบัติตามหลักจริยธรรมในโลกแห่งไซเบอร์ด้วย นอกจากนี้ พวกเขาควรสามารถสื่อสาร ความคดิ ไดอ้ ย่างชัดเจน และมปี ระสทิ ธภิ าพ 4. ผลลัพธ์ที่ต้องการ (Desired Outcomes) ส่วนที่อยู่รอบนอกสุด คือ ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดกบั นกั เรยี นทุกคน ประกอบด้วย 4.1 การเป็นผู้มีความมั่นใจในตนเอง (A Confident Person) การเป็นผู้ที่รู้ผิดชอบ ชั่วดี มี ความสามารถในการปรับตัวและมีความยืดหยนุ่ ร้จู กั ตนเอง มีความสามารถในการตัดสนิ ใจ สามารถคดิ ได้อย่างอิสระ และมวี จิ ารณญาณ และสามารถสอ่ื สารได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 4.2 การเปน็ ผู้ทีเ่ รยี นรไู้ ดด้ ว้ ยตนเอง (A Self-Directed Learner) การเปน็ ผูท้ สี่ ามารถเรียนรู้จาก การคน้ หา การต้ังคำถาม มคี วามพยายาม และมคี วามรบั ผดิ ชอบในการกำกับการเรียนร้ขู องตนเอง 4.3 การเป็นผู้สนับสนุนสังคมอย่างแข็งขัน (An Active Contributor) การเป็นผู้ที่สามารถ ทำงานเปน็ ทมี ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ สามารถสร้างสรรค์นวตั กรรมหรือส่ิงใหม่ มีความคิดรเิ ริม่ สามารถบริหารจดั การ ความเสย่ี ง และมคี วามมงุ่ มัน่ ในการก้าวไปสู่ความสำเร็จเพอ่ื ความเปน็ เลิศ 4.4 การเป็นพลเมืองที่มีจติ สำนึก (A Concerned Citizen) การเปน็ ผทู้ ีม่ จี ติ สำนึกของความเป็น รากเหง้าของสิงคโปร์ มีความรูส้ ึกรบั ผิดชอบอย่างเข้มแข็งต่อการเป็นพลเมือง สามารถบอกเล่าเกี่ยวกับสิงคโปร์และ โลก และมจี ิตสำนกึ ต่อสว่ นรวมท่จี ะทำให้ส่ิงที่อยู่โดยรอบดขี น้ึ กระทรวงศึกษาธิการ (Ministry of Education) ของสิงคโปร์เป็นกลไกหลักในการบริหารจัดการเชิง นโยบายและกำกับดูแลการนำนโยบายสูภ่ าคปฏิบัติ โดยเป็นผู้ประสานงานและกำหนดทิศทางนโยบาย ควบคุมดูแล การพฒั นาและการบรหิ าร โดยอาศยั กลไกรองรับหลายส่วนทั้งในเชิงนโยบายการพัฒนาหลกั สูตรการพฒั นาบุคลากร การบริการต่างๆ ต่อสถาบันการศึกษา โดยมีฝ่ายมหาวิทยาลัยท่ีคอยทำหน้าท่ีออกแบบนโยบายระดับมหาวิทยาลัย และประสานงานกบั หนว่ ยงานภายนอกและหนว่ ยงานภายในที่เกยี่ วกับการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย จากนั้นนโยบาย จะลงมาที่ระดับสถาบันของรัฐ ซ่ึงการที่สิงคโปร์มีสถาบันการผลิตครูแห่งเดียวคือ National Institute for Education : NIE ท่ีรับผิดชอบในการให้การศึกษาทางด้านการฝึกหัดครูทุกระดับ ดังน้ัน ปัจจัยสำคัญต่อการนำ นโยบายการศึกษาด้านการผลิตครไู ปสู่การปฏิบัติ คือการมอบอำนาจ โดยรัฐบาลยังคงสามารถเข้ามาควบคุมจำนวน การรบั นักศึกษา และคา่ เลา่ เรยี น มกี ารมอบอำนาจ ใหม้ หาวิทยาลยั เพียงการบรหิ ารจัดการ การจดั หลักสูตรและการ จัดการบุคลากรเท่าน้ัน (Barber & Mourshed, 2007 : The ASEAN Secretariat, 2014 : Goodwin, Low, & Darling - Hammond, 2017) ดังภาพท่ี 3 รายงานการศึกษาเชงิ เปรยี บเทียบระบบการศกึ ษาไทย - สงิ คโปร์ พันโท กรเี ทพ เขมะเพ็ชร 64560034

36 ภาพที่ 4 รูปแบบนโยบาย การปฏบิ ตั ิ และการเตรยี มครูสำหรับการจดั การการศึกษาของ สิงคโปร์ ทมี่ า : Goodwin, Low & Darling-Hammond (2017) รายงานการศกึ ษาเชงิ เปรยี บเทยี บระบบการศึกษาไทย - สิงคโปร์ พนั โท กรีเทพ เขมะเพช็ ร 64560034

37 การจดั การศึกษา (The Educational Process) “เราจะมอบการศึกษาท่ีสมดุลและรอบด้านให้แก่เด็กๆของเรา เพอ่ื ชว่ ยให้พวกเขาค้นพบความสามารถ พิเศษของตนเอง ตระหนักถึงศกั ยภาพสูงสุดของตนเอง และหล่อเลี้ยงใหพ้ วกเขาเติบโตข้ึนเป็นพลเมอื งท่ีพร้อมอุทิศ ตน” นี่คือพันธกิจของกระทรวงศึกษาธิการของประเทศสิงคโปร์ … ทั้งนี้ความสำเร็จในด้านการบริหารและการจัด การศึกษาของสิงคโปร์นั้นเป็นที่ประจักษ์ในระดับนานาชาติ เห็นได้จากสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาที่ได้รับการจัด อนั ดบั อยใู่ น Top 50 ของโลก และ Top 10 ของทวีปเอเชยี (ขอ้ มูลปี 2015) จึงเป็นท่นี า่ สนใจว่าระบบการศึกษาของ ประเทศสงิ คโปรน์ ้ันมีกระบวนการเปล่ียนผา่ นอย่างไรบา้ ง และเราสามารถนำมาใช้เปน็ แนวทางพฒั นาการศึกษาของ ประเทศไทยไดอ้ ยา่ งไรบ้าง “ทำลายกำแพงภาษาและวัฒนธรรม” เป็นนโยบายการสร้างความสมานฉันท์ในสังคมและพัฒนาอัต ลักษณ์ของชาติผ่านระบบการศึกษาของประเทศสิงคโปร์ ที่เริ่มต้นขึ้นในปี 1959 โดยสนับสนุนให้เกิดการศึกษาใน รูปแบบพหภุ าษา แต่เหตุการณ์ความเปลีย่ นแปลงสำคญั ส่วนใหญใ่ นระบบการศกึ ษาของประเทศสงิ คโปร์ ที่ส่งผลต่อ การพฒั นาการศกึ ษานน้ั เร่ิมต้นข้ึนภายหลงั ปี ค.ศ.1965 ซึ่งเปน็ ปีทส่ี งิ คโปร์แยกตวั ออกจากสมาพันธรัฐมาเลเซียและ ประกาศตนเป็นรัฐอิสระ ในปี 1966 โดยรัฐบาลมีการนำนโยบายสองภาษา (Bilingual policy) มาใช้ในระบบ การศึกษาของประเทศสงิ คโปรอ์ ยา่ งเปน็ ทางการ และมกี ่อตั้งมหาวิทยาลยั แหง่ ชาติสิงคโปร์ข้ึนในปี 1980 ซึ่งเกิดจาก การควบรวมของสองมหาวิทยาลัย คือ มหาวิทยาลัยสิงคโปร์และมหาวิทยาลัยนันยาง และต่อมาในปี 2006 กระทรวงศกึ ษาธิการสงิ คโปร์ได้เรมิ่ นโยบาย “Teach Less, Learn More (TLLM)” ที่มงุ่ เนน้ หลกั การพ้นื ฐานของการ เรยี นการสอนทีม่ ีประสทิ ธภิ าพ นักเรียนมสี ว่ นรว่ ม และมีการพฒั นาการแบบองค์รวมมากกว่าการเรยี นเพื่อเตรียมตัว สอบเพียงอย่างเดียว นอกจากนี้รัฐบาลยังมีนโยบาย “ THINKING GLOBAL, STAYING CONNECTED TO SINGAPORE” เพื่อสร้างสิงคโปร์ให้เป็นเมืองหลวงของโลก (Global City) ในขณะที่ประชากรยังมีความผูกพันกับ สิงคโปรแ์ ละเห็นสงิ คโปร์เปน็ บ้านของตนเอง ทง้ั นช้ี ่วงเวลาการเปลีย่ นผา่ นของการพัฒนาการศึกษาของประเทศสงิ คโปรห์ ลงั จากการได้รับเอกราชนั้น สามารถแบ่งได้เป็น 3 ช่วงหลัก ซึ่งนโยบายด้านการศึกษาของสิงคโปร์ได้อิงตามเป้าหมายการพัฒนาเศรษฐกิจและ สงั คมของประเทศ กล่าวคอื 1) ช่วงการพัฒนาการศึกษาเพื่อความอยู่รอดทางเศรษฐกิจ (Survival Economics, Survival-Driven Education) จากปี ค.ศ. 1965 – 1978 2) ชว่ งการพัฒนาการศึกษาโดยเนน้ ประสิทธิภาพเพ่ือการพัฒนาทย่ี ั่งยืน (Sustainable Development Through Efficient-Driven Education) จากปี ค.ศ. 1978 – 1997 รายงานการศึกษาเชงิ เปรียบเทียบระบบการศกึ ษาไทย - สงิ คโปร์ พันโท กรีเทพ เขมะเพ็ชร 64560034

38 3) ช่วงการพัฒนาการศึกษาโดยเน้นความสามารถเพื่อนำไปสู่เศรษฐกิจองค์ความรู้ (Toward a Knowledge-Based Economy Through Ability-Driven Education) จาก ปี ค.ศ. 1997 – ปัจจุบนั การพัฒนาการศึกษาของประเทศสิงคโปร์ในแต่ละช่วงนั้น ให้ความสำคัญกับการกำหนดนโยบาย การศึกษาควบคู่ไปกับการพัฒนาในภาคเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งในแต่ละช่วงเวลา นโยบายด้านการศึกษาจะมีการ ปรับเปลี่ยน เพื่อจุดหมายในการสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ นำความมั่งคั่งมาสู่ประเทศ ดังนั้น ระบบ การศึกษาของสิงคโปร์ จึงมุ่งเป้าเพื่อสร้างทรัพยากรบุคคล (Human Resources) เพื่อเป็นกำลังสำคัญในการสร้าง ประสิทธิผลทางเศรษฐกิจ โดยมีแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคล (Human Resource Development – HRD) อย่าง ชัดเจน กล่าวคือ มีการวางโครงสร้างระบบการศึกษาอยู่บนพื้นฐานแนวคิดการพัฒนาบุคคลตามความสามารถ (Meritocracy) และระบบคัดสรรต่างๆ ซึ่งทำหน้าที่จัดกลุ่มผู้เรียนไปตามสถาบันการศึกษาที่เหมาะสมกับ ความสามารถ ไม่ว่าจะเปน็ สถาบันอาชีวะศึกษาหรือสถาบันอุดมศึกษา โดยหลักสูตรทีม่ ีการเปิดสอนล้วนเป็นไปเพ่อื การตอบสนองความต้องการทรพั ยากรบุคคลของประเทศ ทงั้ นป้ี ระเทศไทยสามารถนำพัฒนาการด้านการศึกษาของ ประเทศสงิ คโปร์ มาเปน็ แนวทางปรบั ใชใ้ นเชิงนโยบายได้ ดงั นี้ 1) การเปล่ียนคา่ นิยมทางการศึกษาโดยมุ่งเนน้ การพฒั นาแรงงานหรอื ทนุ มนุษย์ท่มี ีคุณภาพในฐานะ ปัจเจกบคุ คลทพี่ รอ้ มตอบสนองบริบทการพัฒนาและความทา้ ทายของประเทศ กระทรวงศึกษาธิการของสิงคโปร์ได้พัฒนาระบบการศึกษาโดยมุ่งเน้นการตอบสน องการพัฒนาทาง เศรษฐกจิ จงึ มีการวางนโยบายเพ่ือพัฒนาแรงงานให้เปน็ ทนุ มนุษย์ท่ีมีคุณภาพ มีความยืดหยุน่ สงู สามารถตอบสนอง ต่อการเปลยี่ นแปลงท่ีจะเกดิ ขน้ึ ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ มคี วามเปน็ ปจั เจกและมุ่งมั่นท่ีจะพัฒนาตนอย่างเต็มศักยภาพ เนอ่ื งจากมแี รงจงู ใจจากแนวคิด Meritocracy ซงึ่ ประเทศไทยสามารถพฒั นาแนวคิดเช่นน้ีมาเป็นแนวทางในการวาง นโยบายการศึกษาทีม่ งุ่ เน้นการพัฒนาความเป็นปจั เจก การคิดวเิ คราะห์ การใช้เหตุผล และปรบั คา่ นยิ มทางการศึกษา โดยเน้นให้เห็นถึงความสำคัญของการพัฒนาตนเองของปัจเจกบุคคล การศึกษาจึงไม่ใช่สัญลักษณ์แสดงชนชั้นหรือ สถานะทางสงั คม หากแต่เป็นเคร่ืองมือในการพฒั นาตนเอง เพื่อนำไปสู่โอกาสในการทำงานและความเจริญก้าวหน้า แบบยัง่ ยนื ประเทศสิงคโปร์ ระบุเป้าประสงค์หลักของการศึกษาแต่ละช่วงชั้น (The Key Stage Outcomes of Education) ไว้ โดยเมื่อนักเรียนจบระดับประถมศึกษา ต้อง “รู้จักและรักประเทศสิงคโปร์” หลังจบการศึกษาใน ระดบั มัธยมศกึ ษาต้อง “เช่ือมัน่ ในสงิ คโปรแ์ ละเข้าใจว่าอะไรสำคญั ต่อประเทศ” และภายหลังจบระดบั อดุ มศกึ ษา ต้อง “ภาคภูมิใจในความเป็นสิงคโปร์และเข้าใจความสัมพันธ์ของสิงคโปรก์ ับโลก” ซึ่งสะท้อนให้เหน็ ถึงความพยายามใน การสร้างทรัพยากรมนุษย์ที่มีความรู้และเข้าใจในอัตลักษณ์ของตน พร้อมไปกับการตระหนักถึงความสัมพันธ์ของ รายงานการศกึ ษาเชงิ เปรียบเทียบระบบการศึกษาไทย - สงิ คโปร์ พนั โท กรีเทพ เขมะเพช็ ร 64560034

39 ท้องถิ่นตนกบั ความเป็นโลก ประเทศไทยสามารถนำกระบวนทัศนน์ ้ีมาปรับใช้ในการกำหนดผลลัพธ์ท่ีพึงประสงค์ของ การศกึ ษาแตล่ ะชว่ งชนั้ และวางแผนการสอนได้ 2) ระบบการคัดสรรและสนบั สนุนบุคคลตามความสามารถ (Meritocracy) หลักการคัดสรรและพัฒนาบุคคลตามความสามารถ (Meritocracy) เป็นคุณค่าที่ทำให้รัฐบาลสิงคโปร์ ประสบความสำเร็จในการสร้างแรงจูงใจในการเรียน ทำให้ผู้เรียนรู้สกึ อยากพัฒนาตนเองใหม้ ีความสามารถ เนื่องจาก มองเห็นผลตอบแทนของการพัฒนาตนเองอย่างเป็นรูปธรรม แนวคิดนี้อยู่พื้นฐานความเชื่อว่าทุกคนจะได้รับโอกาส ทางการศึกษาโดยทั่วถึง เนื่องจากเป็นระบบการคัดสรรตามความรู้และความสามารถที่ปราศจากอคติ ประเทศไทย สามารถนำแนวคิดน้มี าใชใ้ นการจดั การการศกึ ษา โดยเพมิ่ ทางเลือกในการเรยี นตามความถนดั และความสามารถ และ กระตุ้นภาคเศรษฐกิจเพื่อสร้างงานรองรับผู้สำเร็จการศึกษาทั้งในระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย อาชีวะศึกษา และ อุดมศกึ ษา จดั หลักสตู รแยกตามความสามารถของผู้เรียน เพอ่ื มุง่ พฒั นาคณุ ภาพของผ้สู ำเร็จการศึกษาได้เตม็ ศักยภาพ มากยง่ิ ขึ้น 3) การพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาม่งุ ส่รู ะดบั สากล ประเทศไทยสามารถนำสูตรสำเร็จของสิงคโปร์ ที่มี 3 องค์ประกอบ ได้แก่ การดึงดูดผู้มีทักษะ ความสามารถเข้าสู่การเรียนการสอนของสถาบันการศึกษา, การพัฒนาหลกั สูตรที่ทา้ ทาย และการสรา้ งทัศนคติและ ค่านิยมเก่ียวกับการศกึ ษา มาปรบั ใช้ในการพฒั นาสถาบันอดุ มศึกษาในประเทศไทย โดยการสร้างความร่วมมือและดึง สถาบนั การศึกษาชนั้ นำของโลกให้เขา้ มาเปิดหลักสูตรในประเทศไทย วางแผนงบประมาณในการสนบั สนุนบคุ ลากรใน สถาบันการศึกษา เพิ่มอัตราค่าจา้ งเพื่อเปน็ แรงจงู ใจให้แก่ผู้เช่ียวชาญทัง้ รชาวไทยและตา่ งชาติท่ีมีความสามารถโดด เด่นหรือมีผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ จัดสรรทุนการศึกษาเพื่อดึงดูดนักศึกษาต่างชาติที่มีความสามารถโดดเด่น เพิ่ม งบประมาณในการพัฒนาและจัดทำหลักสูตรสาขาใหม่ที่สอดคล้องกับแนวโน้มความสนใจและการพัฒนาเศรษฐกิจ ของประเทศและโลก รวมไปถึงเน้นการสร้างทักษะการคิดวิเคราะห์ และเสริมสร้างทัศนคติที่ดีต่อการเรียน โดยนำ แนวคดิ การพฒั นาผูเ้ รยี นตามความสามารถมาเป็นส่วนหนึง่ ในการสรา้ งแรงจูงใจในการศึกษา 4) การกำหนดนโยบายเพื่อผสานความหลากหลายของกลุ่มชาติพันธุ์ พหุวัฒนธรรม และระบบ การศึกษาสองภาษา ภาวะพหุวัฒนธรรม พหุภาษา และการจัดการความหลากหลายทางชาติพันธุ์ของสิงคโปร์ นำไปสู่การ จัดสรรทรพั ยากรในการสร้างระบบการศกึ ษาทเ่ี ปน็ หนง่ึ เดยี วของประเทศ ซง่ึ คอื การศกึ ษาในระบบทวิภาษา การท่ีรัฐ เล็งเห็นความสำคัญของภาษาอังกฤษในฐานะหนึ่งในห่วงโซ่สำคัญที่เชื่อมโยงผู้คนในสังคมพหวุ ัฒนธรรม รวมทั้งเป็น รายงานการศกึ ษาเชงิ เปรียบเทียบระบบการศึกษาไทย - สิงคโปร์ พันโท กรีเทพ เขมะเพ็ชร 64560034

40 “ทรัพยากรทางเศรษฐกิจ” ที่มมี ลู ค่าสูงในเชิงพาณิชยท์ งั้ ในประเทศสิงคโปร์และระดับสากล ถอื เปน็ มุมมองท่ีประเทศ ไทยสามารถนำมาพจิ ารณาในการวางนโยบายสำหรับการพัฒนาการศึกษาวชิ าภาษาองั กฤษ มุง่ เน้นการพัฒนาทักษะ การใช้ภาษาและความรอบรู้ทางวัฒนธรรม เพื่อเป็นเครื่องมือในสำคัญในการทำงาน และเป็นช่องทางในการ “เช่ือมโยง” ความเปน็ ไทยกับความเปน็ สากล การสอนสองภาษาของสงิ คโปร์นบั ว่าเปน็ นโยบายหน่งึ ที่ประสบความสำเรจ็ ในการทำให้พลเมอื งสิงคโปร์ มโี อกาสทัง้ ด้านการศกึ ษา การทำงาน และชว่ ยใหพ้ ลเมืองสงิ คโปรเ์ ข้าใจอัตลักษณ์วฒั นธรรมที่แตกต่างหลากหลาย มี ทักษะในการสร้างปฏิสัมพันธก์ ับคนที่มีวัฒนธรรมต่างจากตนเอง ซึ่งทักษะนี้เป็นทักษะที่จำเป็นมากต่อสังคมโลกาภิ วัตน์ ผู้บริหารการศึกษาในประเทศไทยสามารถศึกษาแนวทางเพ่ิมเติมจากสิงคโปร์ได้ ทั้งในแง่ของการวางหลักสูตร การจัดกิจกรรม และการบรหิ ารจัดการใหส้ ถานศึกษามีส่วนช่วยในการสร้างค่านยิ มให้กบั พลเมอื งไทยที่จะยอมรับการ อยู่ร่วมกันในสังคมพหวุ ฒั นธรรม ทม่ี า : https://researchcafe.org/development-education-in-singapore/ กรอบการศึกษา ความเปน็ เลศิ ทางวชิ าการ ทางด้านวิชาการของเรามุ่งเน้นการพัฒนาองค์ความรู้หลักผ่านการเรียนรูก้ ารใช้งาน การวิจารณ์ และ ทักษะความคิดสร้างสรรค์ นักเรียนจะถูกบ่มเพาะให้มีการคิดนอกกรอบ และ นอกเหนือจากในหลักสูตรเป็นการ เตรยี มความพร้อมให้กับนักเรียนไปสู่การศึกษาขน้ั สูงและสามารถนำความรไู้ ปใชในสถานการณจ์ รงิ ได้ สุขภาพและการออกกำลังกาย โปรแกรมกีฬาและการออกกำลังกายต่าง ๆ เป็นการวางแผนเพื่อให้นักเรียนไม่เพียงแต่เป็นการออก กำลงั กายเพ่ือสุขภาพเท่าน้ันแต่ยงั เปน็ การพัฒนาทักษะอาชีพในอนาคตอีกด้วย เช่น การทำงานเปน็ กลุ่ม การสื่อสาร ระหวา่ งบุคคล และ รคู้ วามสำคัญของกฎและกตกิ า ศลิ ปะการแสดง การชื่นชมและมีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์งานศิลปะเช่น การเต้น การแสดง การร้องเพลง และ จุดมุ่งหมายการวาดภาพเพ่อื พัฒนาแนวคิดสรา้ งสรรค์ ความฉลาดหลักแหลมของความคดิ ผา่ นกจิ กรรม นกั เรยี นจะได้ พัฒนาความสามารถในการนำเสนอวธิ ีแกป้ ัญหาในโลกแหง่ ความเปน็ จรงิ อยา่ งสร้างสรรค์ รายงานการศกึ ษาเชงิ เปรยี บเทยี บระบบการศกึ ษาไทย - สิงคโปร์ พันโท กรเี ทพ เขมะเพช็ ร 64560034

41 จิตวญิ ญาณ และ จรยิ ธรรม โดยผ่านการให้คำปรึกษาและการดูแลเป็นรายบุคคล Shelton ช่วยบ่มเพาะให้นักเรียนแต่ละคน เจรญิ เตบิ โตเปน็ ผใู้ หญท่ ่ีมีความโดดเด่น มีโอกาส ในการสร้างทกั ษะความเปน็ ผ้นู ำและความชาญฉลาดสำหรบั นักเรียน ในห้องเรียน ชมุ ชนและสงิ่ แวดล้อม เพื่อที่จะพัฒนาประชากรทั่วโลกในอนาคต Shelton ได้สร้างความเข้มแข็งให้กับโปรแกรมการขยาย ชุมชน เป็นส่วนหนึ่งของความรับผิดชอบขององค์กรเราต่อชุมชนโดยรอบของเรา ส่งเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วม เพอื่ ทจี่ ะได้เข้าใจถงึ ความต้องการของผู้ด้อยโอกาสและปัญหาทางสังคมหรือสิ่งแวดล้อม หลักสูตรทเ่ี ปิดสอน 1. Shelton High School 1.1 Edexcel International General Certificate Of Secondary Education International GCSE คอื ความสมดุลของหลักสตู รนานาชาตทิ ี่ออกแบบมา เพ่ือส่งเสรมิ มาตรฐานทางวิชาการขน้ั สงู ผ่านวธิ ีการปฏิบัติ ในการเรียนการสอน ความสำเร็จที่นักเรียนจะได้รับจากหลักสูตรนี้ คือเทียบเท่าในมาตรฐานของระดับ GCE Ordinary Level และ การสอบ British GCES หลักสูตรเหมาะสำหรับนักเรียนนานาชาติทุกชาติและทุกระดับ ความสามารถ มกี ารเตรยี มความพร้อมท่เี หมาะสมสำหรับหลักสูตรระดับสงู เช่น ประกาศนียบตั รการศึกษานานาชาติ ข้ันสูง ( Advanced International Certificate of Education: AICE) , International GCE Advanced Level , SAT และ APT บณั ฑติ นานาชาติ และสำหรบั สายอาชพี และการจ้างงาน International GCSE ใหบ้ ริการท่ี Shelton High School ครอบคลุมช่วงของโมดูล / วิชาที่มีหลักสูตรที่ได้รับการตรวจสอบอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้ทันกับการ พัฒนาในทางปฏบิ ัตกิ ารศึกษาและเพ่อื ตอบสนองความต้องการทัว่ โลก 1.2 Singapore – Cambridge General Certificate Of Education (GCE) O – Level Shelton เตรียมนักเรียนสำหรับ GCE O – Level และ International GCSE Examination คุณสมบัติเหล่านี้ ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางและได้รับการยอมรับโดยนายจ้าง หน่วยงานการศึกษา และ สถาบันการศึกษาช้ันสูงทั่วโลก University of Cambridge Local Examinations Syndicate (UCLES) เป็นผู้มี อำนาจตรวจสอบรายวิชาภาษาอังกฤษ การสอบสิงคโปร์ (Singapore Examinations) และคณะกรรมการประเมิน เปน็ คณะกรรมการท่จี ัดต้ังขนึ้ ตามกฎหมายท่ีพฒั นาและดำเนินการสอบระดับชาติในสิงคโปร์ และใหบ้ รกิ ารตรวจสอบ รายงานการศึกษาเชงิ เปรยี บเทยี บระบบการศกึ ษาไทย - สิงคโปร์ พนั โท กรีเทพ เขมะเพ็ชร 64560034

42 และบริการการประเมินอื่น ๆ ในประเทศเช่นเดียวกับต่างประเทศ The Singapore Examinations and Assessment Board (SEAB) รว่ มมอื กบั กระทรวงศึกษาธิการในการสอบระดับชาติทั้งหมดและเพื่อให้แน่ใจวา่ มีการ รกั ษาคุณภาพมาตรฐานสูงสุดของประเทศ การเตรียมการสำหรับการสอบ O Level รวมถงึ การประเมินผลการเรียน รายเดือนทน่ี ำไปสู่การตรวจสอบขั้นสุดท้ายดำเนินการโดย SEAB 1.3 Singapore – Cambridge General Certificate Of Education (GCE) A – Level หลักสูตร Singapore – Cambridge GCE A – Level ไม่เพียงแตเ่ น้นในการเรียนรู้ แต่ยังมุ่งเน้นไป ทก่ี ารสร้างความยืดหยุ่นในความม่ันใจด้วยการเรียนการสอนในวิชาเหล่านี้นักเรียนจะเป็นศูนยก์ ลาง วิชาท่ีนำเสนอมี ระดับ H1 และ H2 ขน้ึ อยู่กับความสามารถของนักเรยี น โครงสรา้ งระดับช้ัน เปิดโอกาสใหน้ ักเรียนได้บรรลุเป้าหมาย ยอดเยี่ยมของตนเอง 2 ปี ที่ผ่านมาโปรแกรมนี้ ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางและเป็นที่ยอมรับของนายจ้าง หน่วยงานการศึกษา และ สถาบันการศกึ ษาชั้นสูงทั่วโลกตลอดระยะเวลาทั้งหมดของหลักสูตร นักเรียนจะได้รบั การ ประเมนิ ผลการเรยี นรายเดือนทน่ี ำไปสกู่ ารตรวจสอบข้ันสุดทา้ ยที่ดำเนนิ การโดย SEAB 2. Shelton College Certificate for Higher Education (CHE) เป็นหลักสูตรเตรียมอุดมศึกษา เพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับนักเรียนส่วนใหญ่ที่ต้องการศึกษาในระดับสูง ซึ่งมีการเรียนการสอนเป็นภาค ภาษาอังกฤษ เหมาะอย่างยิ่งสำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนด้านวิชาชีพอย่างเช่น ธุรกิจหรือการท่องเที่ยวการเข้า ศกึ ษา อายุ 16 ปีขนึ้ ไป จบมธั ยมศึกษาปีที่ 4 ขน้ึ ไป ระดับภาษาอังกฤษข้ันตำ่ ตอ้ งมี IELTS 5.0 หรือเทียบเทา่ Certificate In Advanced Study Skills (CASS) เป็นหลักสูตรเตรียมอุดมศึกษา เพื่อเตรียมความ พรอ้ ม สำหรับนกั เรยี นท่ีสำเร็จการศกึ ษาภาคปกติ 12 ปี และมีความประสงค์ศึกษาต่อในระดับท่ีสงู ขึ้น ซึ่งมีการเรียน การสอนเป็นภาคภาษาอังกฤษ โดยมีจุดมุ่งหมายในการปูพื้นฐานความรู้ท่ัวไป และทักษะการศึกษาค้นคว้าทีจ่ ำเปน็ เพือ่ ให้ไดร้ บั ประโยชน์สูงสุดจากการศกึ ษาทักษะขน้ั สงู Certificate In English As A Global Language ภาษาอังกฤษกลายเป็นภาษาสากลที่ใช้ในการ สนทนาทางธุรกจิ การปฏิสมั พันธ์ และการทำธรุ กรรมท่ี Shelton เราเข้าใจและกล่าวได้ว่า ไม่เพยี งความสวยงามของ ภาษาอังกฤษเท่านั้น แต่ยังเป็นเรื่องของวัฒนธรรมและการใช้งานที่มีความเชือ่ มโยงกับภาษาในส่วนต่าง ๆ ของโลก โปรแกรมภาษาอังกฤษของ Shelton เรียนทีละขนั้ ตอนเพื่อเรยี นรขู้ ั้นตอนในภาษาอังกฤษ มวี ัตถุประสงค์เพอื่ ยกระดับ ผลการเรยี นของนกั เรยี นต่างชาตทิ ี่อาจจะไม่คุ้นเคยกับการศกึ ษาภาษาองั กฤษ หลักสูตรนี้ ประกอบไปด้วยการเรียนรู้ ใน 4 ทกั ษะหลกั คือ การพดู การฟงั การอา่ น และการเขยี น โดยแบง่ ออกเปน็ 3 ระดับดงั น้ี (ระยะเวลาเรยี น 4 เดือน ต่อ 1 Level)ระดับ Lower Intermediate (ต่ำกว่ามาตรฐานระดับกลาง) ระดับ Upper – Intermediate (สูงกว่า มาตรฐานระดบั กลาง) ระดับ Advanced (ขน้ั สูง) รายงานการศึกษาเชงิ เปรยี บเทียบระบบการศึกษาไทย - สิงคโปร์ พันโท กรีเทพ เขมะเพช็ ร 64560034

43 การรับเข้าศึกษาก่อนเริ่มต้นเข้าเรียนในหลักสูตรน้ีนักเรียนจะต้องทดสอบวัดความรู้ทักษะ ภาษาอังกฤษ ตามแบบทดสอบของโรงเรียนเพื่อระบุระดับความสามารถและความถนัดดา้นภาษาองักฤษ ท้ั งน้ี นักเรียนนานาชาติที่ลงทะเบียนในหลักสูตรวิชาชีพของ Shelton สามารถท าการทดสอบได้ หากต้องการพัฒนา ทกั ษะทางภาษา โดยเข้าทดสอบหลักสตู รภาษาองักฤษก่อนทีจ่ ะเริ่มต้นเรียนในหลักสตู รทเี่ หมาะสมต่อไป Diploma Courses 1. สาขาการท่องเที่ยว และ การบริการ (Specialist Diploma in Tourism & Hospitality) ระยะเวลาเรยี น 4 – 9 เดอื น หลักสตู รประกาศนียบตั รผู้เช่ียวชาญในการทอ่ งเท่ยี วและการโรงแรมของ Shelton เป็น การออกแบบมา เพื่อนกั เรยี นทตี่ ้องการทางานในสายการท่องเท่ียวและการโรงแรมตั้งแต่ระดับปฏบิ ัตกิ ารอาจนำไปสู่ ระดับการจดั การในดา้ นการทอ่ งเที่ยวและโรงแรม และในสภาพแวดล้อมทีม่ กี ารพูดคุยเปน็ ภาษาอังกฤษ ในหลกั สตู รนี้ จะแนะนำเรื่องทั่วไปเกี่ยวกับการท่องเที่ยวและการโรงแรมโดยเฉพาะการแนะนำการเลือกพื้นที่และการข้ึนราคา บางส่วนของฟังก์ช่ันธุรกิจหลักในภาคการท่องเที่ยวและการโรงแรม การเข้าเรียนนักเรียนอายุ 18 ปีขึ้นไปจบ Certificate in Advanced Study Skills ของ Shelton หรือ IELTS 5.5 หรือเทียบเท่า หรือคุณสมบัติเฉพาะอื่น ๆ ภายใต้การอนุมัติของคณะกรรมการวิชาการของ Sheltonสาขาการบริหารธุรกิจ (Pearson BTEC Level 5 HND Diploma In Business) ระยะเวลาเรียน 15 เดือน Shelton ให้วิถีการเรียนรู้ที่น่าตื่นเต้น การผสมการทำงานการ เรยี นรู้ตามเทคนคิ การศึกษาทที่ นั สมัยและเป็นการนำนายจา้ งและสถาบนั การศึกษาใกล้ชดิ ร่วมกัน เพอื่ ประโยชน์ของ ท้ังสองการพัฒนาในการเชื่อมโยงกับภาคอุตสาหกรรมทีจ่ ะช่วยสรา้ งสะพานเชื่อมช่องว่างทักษะที่ช่างและผู้รว่ มงาน ระดับมืออาชีพ โปรแกรมของเรามีข้ันบันไดที่สำคัญในการเรียนรู้ตลอดชีวิต อำนวยความสะดวกในการเข้ารับ การศึกษาที่สูงข้ึนและในกรณีที่เหมาะสมการพัฒนาไปสู่การศึกษาระดับปริญญาเกียรตินิยม การเข้าเรียน นักเรียน อายุ 18 ปีขึ้นไป IELTS 5.5 หรือเทียบเท่า BTEC ระดับ 3 (คุณสมบัติด้านธุรกิจ) หรือ จบหลักสูตร Certificate for Higher Education ของ Shelton หรือ จบหลักสูตร Certificate in Advanced Study Skills ของ Shelton หรือ สำเร็จการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน ระดับมัธยมปลาย Year 12 หรือเทียบเท่า GCE A-Level นักเรียนทั่วไป อายุ21 ปีขึ้นไป ที่มีประ สอบการณ์ทำงานด้านนี้สาขาการจัดการโรงแรม (Pearson BTEC Level 5 HND Diploma In Hospitality Management (QCF) หลักสูตร Pearson BTEC Level 5 HND Diploma in Hospitality Management เปิดโอกาสสำหรับการเรยี นรูเ้ พอ่ื นำความรู้ที่ได้ไปใช้งานและฝึกฝนทักษะในที่ทำงาน เพื่อให้ผู้เรียนได้เตรียมคุณสมบัติให้พร้อมกับการจ้างงานใน อุตสาหกรรมการโรงแรม และ เหมาะสำหรับผู้เรียนที่ได้ตัดสินใจแล้วว่าต้องการที่จะเข้าสู่สายงานนี้ การเข้าเรียน นักเรยี นอายุ 18 ปีขน้ึ ไป IELTS 5.5 หรือเทียบเท่า BTEC ระดบั 3 (คณุ สมบตั ดิ า้ นธุรกิจ) หรือจบหลกั สตู ร รายงานการศกึ ษาเชงิ เปรียบเทยี บระบบการศึกษาไทย - สิงคโปร์ พันโท กรีเทพ เขมะเพช็ ร 64560034

44 Certificate for Higher Education ของ Shelton หรือจบหลักสูตร Certificate in Advanced Study Skills ของ Shelton หรือสำเร็จการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานระดบั มัธยมปลาย Year 12 หรอื เทยี บเท่า GCE A-Level นกั เรียนทั่วไป อายุ 21 ปีขนั้ ไป ทมี่ ีประสบการณท์ ำงานด้านนี้ ระบบการศึกษาของสิงคโปร์ แบ่งออกเป็นระดับประถม 6 ปี ระดับมัธยม 4 ปี ซึ่งรวมแล้วเป็น การศึกษาข้ันพื้นฐานอย่างน้อย 10 ปี แตผ่ ู้ทีจ่ ะเข้าศกึ ษาในระดบั มหาวิทยาลัยจะตอ้ งศึกษาขั้น เตรียมมหาวิทยาลัยอีก 2 ปี การศึกษาภาคบังคบั ของสิงคโปรจ์ ะตอ้ งเรียนรู้ 2 ภาษาควบคกู่ นั ไป ได้แก่ ภาษาองั กฤษเปน็ ภาษาหลัก และเลอื ก ภาษาแม่ ( Mother Tongue) อีก 1 ภาษา คือ จีน (แมนดาริ น) มาเลย์ หรือ ทมิฬ (อินเดีย) รัฐบาลสิงคโปร์ ให้ ความสำคญั กบั การศึกษามาก โดยถอื วา่ ประชาชนเปน็ ทรัพยากรท่สี ำคัญ และมีค่าทสี่ ุ ดของประเทศ ในการน้ี รัฐบาล ไดใ้ หก้ ารอดุ หนนุ ด้านการศกึ ษาจนเสมอื นกับเป็นการศกึ ษาแบบให้เปล่า โรงเรียนในระดับประถม และมธั ยมล้วนเป็น โรงเรยี นของรฐั บาลหรือกึ่งรัฐบาล สถานศึกษาของเอกชนในสิงคโปร์ มเี ฉพาะในระดับอนุบาล และโรงเรียนนานาชาติ เท่านั้น มหาวิทยาลยั ในสิงคโปรม์ ี 3แห่ง คอื 1. National University of Singapore (NUS) 2. Nanyang Technological University (NTU) 3. Singapore Management University (SMU) โดยมหาวิทยาลัย NUS จะให้การศึกษาครอบคลุมเกือบทุกสาขาวิชา ท้ังแพทยศาสตร์ทันตแพทย์ กฎหมาย ศลิ ปะศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรม สถาปัตยกรรม และการบรหิ ารธรุ กิจ ส่วนมหาวทิ ยาลยั Nanyang จะ เน้นการศึกษาด้านวิศวกรรมศาสตร์สาขาต่าง ๆ รวมท้ังวิทยาศาสตร์ประยุกต์และสาขาธุรกิจและการบัญชีสำหรับ มหาวทิ ยาลยั SMU จะเน้นเรือ่ งธรุ กจิ การจดั การ วิทยาลัยเทคนิค (Polytechnic) ของสิงคโปร์ มี 4 แห่ง ได้แก่ Singapore Polytechnic, Ngee Ann Polytechnic, Temasek Polytechnic และ Nanyang Polytechnic ส่วนวิทยาลัยผลิตครูของสิงคโปร์ มีอยู่เพียง แห่งเดียว คือ National Institute of Education นอกจากนี้ ยังมี Institute of Technical Education : ITE เป็น สถาบนั ทจ่ี ดั การศึกษาสำหรับผู้ต้องการทกั ษะทางช่าง และช่างผีมอื ผูป้ กครองนักเรียนของสิงคโปร์จะส่งบุตรหลานเข้ารับการเตรี ยมความพร้อมในโรงเรยี น เม่ือเด็กมีอายุ ได้ 2 ขวบครง่ึ เมอื่ เด็กอายไุ ด้ 6 ขวบ ก็จะเขา้ เรยี นในระดับประถมศกึ ษาปีที่ 1 ระดับประถมศกึ ษาของสงิ คโปร์ แบ่ง ออกเปน็ 2 ชว่ ง ได้แก่ ป.1-ป.4 เรยี กว่า Foundation Stage และ ป.5-ป.6 เรี ยกวา่ Orientation Stage ชัน้ ประถม ต้นจะเรยี น 3 วิชาหลัก คอื ภาษาอังกฤษ ภาษาแม่และคณิตศาสตร์ นอกจากน้ัน จะมีวิชาดนตรีศลิ ปหัตถกรรม หน้าท่ี พลเมือง สุขศึกษา สังคม และพลศึกษา แต่ในช ่วงประถมปลาย หรือ Orientation Stage นั่น นักเรียนจะถูกแยก รายงานการศกึ ษาเชงิ เปรยี บเทียบระบบการศกึ ษาไทย - สงิ คโปร์ พนั โท กรเี ทพ เขมะเพช็ ร 64560034

45 ออกเป็น 3 กลุ่มทางภาษา คือ EM 1. EM 2. และ EM 3. การแยกนักเรียนเข้ากลุ่ม ทางภาษานั้น ข้ึนอยู่กับ ความสามารถทางภาษาของ แต่ละคนเมื่อจบ ป.6 แล้วจะ มีการสอบที่ เรียกว่า Primary School Leaving Examination (PSLE) เพื่อที่จะเข้าศึกษาต่อ ในระดับ มัธยมศึกษาต่อไป ผลการเข้าสอบมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งต่อ การศกึ ษาตอ่ ในระดบั มธั ยมศกึ ษา การศึกษาในระดับมัธยมศึกษาน้นั จะมี 3 หลักสูตรให้เลือกตามความสามารถ และความสนใจ โดยใช้ เวลา 4 - 5 ปี การจดั ปีการศึกษาของสิงคโปร์ ปกี ารศึกษาของสงิ คโปร์ จะแบง่ ออกเปน็ 4 ภาคเรยี น ภาคเรียนละ 10 สปั ดาหเ์ ร่ิมเปดิ การศึกษาตั้งแต่ วันที่ 2 มกราคมของทุกปี ช่วงระหว่างภาคเรียนที่ 1 กับที่ 2 และที่ 3 กับที่ 4 จะมีการหยุด 1 สัปดาห์ ระหว่างภาค เรยี นท่ี 2 กบั ท่ี 3 หยุด 4 สัปดาห์ และมชี ว่ งหยุด 6 สัปดาห์เมื่อสน้ิ สดุ ปีการศกึ ษา เมื่อก้าวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 ต้องยอมรับว่า การศึกษาเป็นหนึ่งในเรื่องที่ท้าทายต่อการคิดค้นแนวการ สอนท่เี ช่อื มโยงกับความเป็นผ้นู ำ คา่ นยิ ม และสร้างความเปน็ พลเมอื งให้กับเยาวชนรนุ่ ใหม่ ซึง่ ถอื เป็นกลไกสำคัญต่อ การขบั เคลอื่ นประเทศ และสังคมโลกอนาคต สถาบันครุศึกษาแห่งชาติสิงคโปร์ หรือ National Institute of Education (NIE) เป็นสถาบัน ผลิตครู นกั วิจยั (Teacher Researcher) มีบทบาทสำคญั ในการสร้างองค์ความรู้ทางการศกึ ษา โดย NIE จะทำงานใกล้ชิดกับ กระทรวงศึกษาธิการของประเทศสิงคโปร์ต้ังแต่การกำหนดนโยบายจนถึงการปฏิบัติในโรงเรยี น ร่วมกันทำวิจัยเพือ่ กำหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาที่เหมาะสมและมีประสิทธิ ภาพแก่ภาครัฐ ผ่านการจัดสัมมนานานาชาติอย่าง ตอ่ เนื่อง สำหรับงานประชุมนานาชาติที่จัดข้ึนโดย NIE เป็นงานที่รวบรวมครู นักปฏิบัติ นักวิจัย ผู้นำทางการ ศึกษา และผกู้ ำหนดนโยบายการศึกษา โดยเปดิ โอกาสเพ่อื พูดคุยแบ่งปนั ความรขู้ ้อมูลวิจัย พร้อมตัวอยา่ งการปฏิบัติท่ี ดีที่สุด จากต่างโรงเรียน ต่างวัฒนธรรม เพื่อมุ่งให้เกิดทิศทางและนวัตกรรมใหม่ ๆ สำหรับงานวิจัยและแนวปฏิบัติ ทางการศกึ ษา ล่าสดุ จัดสมั มนานานาชาติ Redesigning Pedagogy คร้ังที่ 6 เรอ่ื ง \"การพัฒนาผนู้ ำ คา่ นยิ ม และความ เปน็ พลเมอื ง ในการจดั การศึกษาศตวรรษที่ 21\" ดังน้ันบริษัท ปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหาชน) ในฐานะผู้สื่อสารแหล่งเรียนรู้ทางด้านการศึกษา จึงจัด งานเสวนาแลกเปลี่ยนความรู้ในหวั ข้อเร่ือง \"บทเรียนจากสัมมนานานาชาติ การออกแบบการสอนใหม่ของสิงคโปร์ : เพื่อผู้นำ ค่านิยม และความเป็นพลเมืองในการศึกษาศตวรรษท่ี 21\" โดยมี \"ผศ.อรรถพล อนันตวรสกุล\" ผู้เชี่ยวชาญ รายงานการศกึ ษาเชงิ เปรยี บเทียบระบบการศึกษาไทย - สงิ คโปร์ พันโท กรีเทพ เขมะเพ็ชร 64560034

46 ด้านการสอนสังคมศึกษา ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาเปิด ประสบการณจ์ ากการเขา้ รว่ มสมั มนา NIE ครั้งนี้ \"ผศ.อรรถพล\" ชี้ให้เห็นถึงการให้ความสำคัญของประเทศสิงคโปร์ในฐานะประเทศช้ันนำเรื่องการจัดการศึกษา นานาชาติตอ่ การพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา การพัฒนาครู ตลอดจนบทบาทของผ้บู ริหารที่ต้องเปลี่ยนแปลงและรับกับ สถานการณ์ของศตวรรษที่ 21 \"ที่น่าสนใจคือเวทีนี้ไม่ได้จากแวดวงนักวชิ าการ แต่พบว่า มีครูในระดับการศึกษาข้ัน พ้ืนฐานของสงิ คโปร์จากหลากหลายวิชา ไม่ว่าจะเปน็ พลศึกษา ดนตรีและสาขาวิชาอน่ื ๆ เข้าร่วมงานเปน็ จำนวนมาก ท้ังยังมีผู้นำการศึกษาทั้งจากสงิ คโปร์และประเทศอืน่ ๆ ในยุโรป เอเชีย-แปซิฟิก และสหรัฐอเมริกา เข้าร่วมงานกว่า 2,000คน ส่งผลให้เกิดการคิดและวิเคราะห์ร่วมกันถึงการพัฒนาระ บบการศึกษาสู่แนวทางการปฏิบัติระดับสากล อยา่ งแท้จริง\" \"ผศ.อรรถพล\" บอกว่าสิงคโปร์กำลังให้ความสำคัญต่อการเชื่อมโยงของสังคมที่เรียกว่า Civic Education หรือการ สร้างสมดุลของชาติกับพลเมืองโลก เนื่องจากตลอด 20 ปีผ่านมา มีสัดส่วนคนต่างถิ่นจากตะวันตกเข้ามาอาศัยใน สิงคโปร์มากข้ึนเรื่อย ๆ ส่งผลต่อการเรียนรู้ในวิชาประวัติศาสตร์ที่จะทำอย่างไรให้การเรียนการสอนในวิชา ประวัติศาสตรไ์ ม่เลยเถิดเปน็ กระแสชาตินยิ มท่ีสุดโตง่ \"ขณะเดียวกัน ต้องเคารพและรู้สึกถึงความรกั และภาคภูมิใจของคนในชาตดิ ังน้นั การเชื่อมโยงในสังคมทีห่ ลากหลาย วัฒนธรรมจึงจำเป็นต้องสอนเรื่องความหลากหลายแทรกซึมไปในทุกรายวิชาเพราะถือเป็นมิติสำคัญในการเตรียม พลเมืองใหอ้ ยู่ ่ในความหลากหลายและเคารพซ่งึ กันและกัน\" \"คนสงิ คโปร์มองว่าการสร้างอัตลักษณ์ให้เกิดขน้ึ ในชาติจะส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศถือเปน็ เรอ่ื งเปราะบาง โดยอาจส่งผลกระทบต่อสังคมตามมา ดังน้ันความหลากหลายที่เกิดข้ึนในสังคมสิงคโปร์ที่มคีนต่างถิ่น ต่างชาติต่าง ภาษามาอยูรว่ มกันมากขน้ึ เร่ือย ๆ จึงต้องมีการบรหิ ารจัดการอย่างเหมาะสม เพอื่ คงความเป็นเอกลักษณ์ที่โดดเด่นท่ี หลาย ๆ ชาตไิ ม่มี ไม่เพียงเท่าน้ัน สิงคโปรย์ งั ใหค้ วามสำคญั ต่อเรือ่ ง Global concern ผา่ นการสร้างความตระหนักถึง ความเปน็ สากลอย่างมีสมรรถนะ โดยหยบิ ยกการสร้างความเป็นพลเมอื งทดี่ ีของสิงคโปร์ไม่ใช่หน้าที่ของครู วชิ าใดวิชา หนง่ึ แต่ครูทุกวิชาสามารถทำงานรว่ มกันภายใต้เป้าหมายเดียวกนั ได้ เพราะหวั ใจของการเรียนการสอนไม่ใช่แค่เน้ือหา แต่เปน็ ความรู้ ค่านิยมหลักที่ครผู ู้สอนพึงมมี ากกว่า ดังนั้นสถาบนัการศึกษามหนี ้าที่สร้างความมุ่งมุ ่ันในการปรับเปลี่ยนทัศนคตใิ ห้เยาวชนเข้าใจถึงสมรรถนะในการเป็น พลเมืองตามบทบาทและหน้าที่ของตนเองบนความคาดหวังอย่างเหมาะสมนี่ คือโจทย์ที่นักการศึกษาใช้ขับเคลื่อน พลเมืองของสงิ คโปร์ ในศตวรรษท่ี 21 \"เพราะความตั้งใจของ NIE มีองคป์ ระกอบสำคญั ในการทำใหภ้ าพของนโยบาย เกิดขึ้นจริงในห้องเรียน ซ่ึงเป็นท่ีน่าสนใจว่า สถาบันฝึกหัดครูสามารถตั้งรับนโยบายและมีส่วนร่วมในการวิจยั พัฒนา รายงานการศกึ ษาเชงิ เปรยี บเทยี บระบบการศกึ ษาไทย - สิงคโปร์ พันโท กรเี ทพ เขมะเพ็ชร 64560034

47 ความรู้ทางการศึกษาที่ก่อให้เกิดนโยบายที่เหมาะสมต่อการทำงานในโรงเรยี นท้ังยังเปน็ สะพานเชื่อมจนทำใหเ้ กดิ กง ล้อแห่งการพัฒนา\" \"สิ่งเหลา่น้ีสะท้อนต่อการออกแบบการเรียนการสอนในประเทศไทยโดยสามารถประยุกต์วิธีการ บริหารงานของสิงคโปร์ได้แม้บริบทและรูปแบบการบริหารงานของไทยและสิงคโปร์จะแตกต่างกัน แต่แนวทางเร่อื ง การพัฒนาครูเป็นเรื่องท่ีน่าหยบิ ข้ึนมาดำเนนิ การโดยเฉพาะการผลติ ครูระบบปิดเพื่อควบคุม คุณภาพครูให้ได้ ดังนั้น สถาบันฝึกหัดครู จึงควรเขา้มามีบทบาทร่วมกันอย่างเป็นระบบมากข้ึนในการเป็นพี่เลี้ยงให้แก่นิสิต นักศึกษาครู รวมถงึ นำความรคู้ วามสามารถทางวิชาการและงานวิจยั เพราะจะเป็นขอ้ มูลสนับสนนุ การกำหนดแนวทางเชิงนโยบาย และแผนงานวจิ ัยพฒั นาครเู พ่อื พัฒนาประเทศตอ่ ไป\" รายงานการศึกษาเชงิ เปรียบเทยี บระบบการศึกษาไทย - สงิ คโปร์ พนั โท กรีเทพ เขมะเพ็ชร 64560034

48 ครูผู้สอน (Teacher) การคดั เลอื กครใู หม่ (Recruitment) สิงคโปร์มีระบบการคัดเลือกครูใหม่ที่มีประสิทธิภาพสูง โดยจะเน้นความรู้ ทางวิชาการของผู้สมัคร ทักษะการส่ือสาร และแรงจูงใจในการสอน ระบบการคัดเลือก เป็นระบบเดียวกันท้ังประเทศ โดยความร่วมมือของ กระทรวงศึกษาธิการและสถาบันการศึกษาแห่งชาติ (The National Institute for Education : NIE) โดยการ คัดเลือก จะเริ่มก่อนเข้าศึกษาใน NIE นั่นคือจะเร่ิมเข้าสู่อาชีพครูตั้งแต่เข้าเรียนในสถาบัน (Barber & Mourshed, 2007 : National Institute of Education, 2014) การคดั เลือกมีขน้ั ตอน ดังภาพท่ี 5 ภาพที่ 5 กระบวนการคัดเลอื กครูของสงิ คโปร์ พนั โท กรีเทพ เขมะเพช็ ร 64560034 ท่มี า : Barber & Mourshed (2007) รายงานการศึกษาเชงิ เปรียบเทยี บระบบการศึกษาไทย - สิงคโปร์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook