Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปผลการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง และการสืบสานศาสตร์พระราชา

สรุปผลการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง และการสืบสานศาสตร์พระราชา

Description: นางสาวเพชรรัตน์ ปานเกิด
ครู กศน.ตำบหนองกบ

Search

Read the Text Version

คำนำ โครงการส่งเสริมการเรยี นรูเ้ ศรษฐกิจพอเพียง และการสืบสานศาสตร์พระราชา สำนักงาน กศน.จังหวัด สระบรุ ี เห็นว่าเพ่ือเปน็ การส่งเสรมิ สนับสนนุ การดำเนนิ งานสง่ เสริมหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับจงั หวัดให้ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการ และแนวทางการขับเคลื่อนการศึกษาของสำนักงาน กศน. ดงั นน้ั จึงเปน็ บทบาทของสถานศกึ ษา คอื กศน. อำเภอที่ไดม้ อบหมายให้ กศน. ตำบล ดำเนินการจดั การศึกษาเพื่อ พัฒนาศักยภาพทำให้สอดคล้องตามความต้องการของกลุ่มเป้าหมายและศักยภาพของพื้นที่ การดำเนินงาน โครงการดำเนนิ งานโดยการอบรมสัมมนาเพือ่ เข้าสชู่ ่องทางการประกอบอาชีพ และการเรยี นรู้อาชพี เพ่ือการมีงาน ทำ ขอขอบคุณ จ่าสิบตรีพรณรงค์ สิทธิ์ขวา ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอำเภอหนองแซง คณะกรรมการสถานศึกษา ภาคีเครือข่าย องค์กรนักศึกษา กศน. ผู้นำชุมชน และ บคุ ลากร กศน.อำเภอหนองแซง ทีใ่ ห้คำปรึกษา แนะนำในการดำเนินโครงการส่งเสริมการเรียนรเู้ ศรษฐกิจพอเพียง และการสืบสานศาสตร์พระราชา และการประเมินโครงการนีจ้ นทำให้การดำเนนิ งานบรรลุผลเป้าหมายที่กำหนด ซ่ึงใหเ้ กดิ ประโยชนก์ ับนักศึกษา กศน. อำเภอหนองแซง และผ้เู กี่ยวข้องทกุ ท่านท่ีให้ข้อมูลสำหรบั ใช้ในการดำเนินงาน และเพอื่ พฒั นางานของ กศน.อำเภอหนองแซง ให้มีความกา้ วหนา้ ต่อไป หากมขี อ้ ผิดพลาดประการใด คณะผู้จดั ทำ ขอนอ้ มรับคำตชิ มด้วยความยนิ ดีย่งิ เพ่ือนำมาพฒั นา ปรับปรุงการสรปุ โครงการในคร้งั ต่อไป นางสาวเพชรรัตน์ ปานเกดิ ครู กศน.ตำบล

สารบัญ เนอ้ื หา หนา้ คำนำ บทที่ 1 บทนำ ..............................................................................................................................................1 วตั ถปุ ระสงค์...........................................................................................................................................1 กล่มุ เป้าหมาย ........................................................................................................................................1 วงเงินงบประมาณทงั้ โครงการ................................................................................................................2 ผรู้ บั ผิดชอบ............................................................................................................................................2 เครือขา่ ย ................................................................................................................................................2 โครงการท่เี กีย่ วข้อง................................................................................................................................2 วนั ที/่ สถานท่ี..........................................................................................................................................2 ผลลัพธ์ (Outcome)..............................................................................................................................2 ดชั นวี ัดความสำเรจ็ ของโครงการ............................................................................................................2 การติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน.............................................................................................2 บทที่ 2 เอกสารที่เกีย่ วขอ้ ง .........................................................................................................................3 ประวัตแิ ละความเปน็ มา.........................................................................................................................3 บทท่ี 3 วธิ กี ารดำเนินงาน.............................................................................................................................6 บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล .....................................................................................................................7 วธิ ีการประเมนิ .......................................................................................................................................7 ผลการวิเคราะห์ .....................................................................................................................................8 บทที่ ๕ สรปุ ผลการดำเนินงาน.................................................................................................................. 11 ด้านหลักสตู ร.......................................................................................................................................11 ด้านการจัดกจิ กรรมหรือการเรียนรู้.....................................................................................................11 ดา้ นวิทยากร .......................................................................................................................................11 ด้านสือ่ และวสั ดอุ ปุ กรณ์สถานท่ี..........................................................................................................11 อภปิ รายผล................................................................................................................................................ 11 ข้อเสนอแนะ................................................................................................ผดิ พลาด! ไม่ไดก้ ำหนดบุ๊กมารก์ ภาคผนวก.................................................................................................................................................. 12 ภาพกิจกรรม ภาพการเผยแพร่

๑ บทที่ 1 บทนำ หลักการและเหตุผล พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัวภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ทรงมพี ระราช ดำรัสแก่พสกนิกรชาวไทยเก่ียวกับการดำเนินชีวิตโดยยดึ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งเป็นปรัชญาท่ี ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาท โดยคำนึงการรู้จักพึ่งตนเอง ความพอประมาณ พอมีพอกิน พอมีพอใช้ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ความรอบคอบและ คุณธรรมประกอบการวางแผนตัดสินใจและกระทำในสิ่งที่ควรจะเป็น เพื่อให้สามารถดำรงชีวิตอย่างยั่งยืน ภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ การวางรากฐานการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงมีความจำเปน็ อยา่ งยิ่งทจ่ี ะตอ้ งปลกู ฝงั ใหเ้ กดิ ข้ึนกับทกุ คนในสังคมไทย โดยเฉพาะอย่างย่งิ เด็ก เยาวชนที่จะเปน็ อนาคตของชาติ ซงึ่ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐานได้กำหนดกลยทุ ธ์การปลูกฝัง คุณธรรม ความสำนกึ ในความเป็นชาตไิ ทย ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอหนองแซง เป็นสถานศึกษาที่ น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ และยังเป็นสถานศึกษาพอเพียงอีกด้วย อีกทั้งยังส่งเสริมให้ ประชาชนและบคุ ลากรทกุ คนเกิดอุปนสิ ัยพอเพียง นอกจากนี้แล้ว ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอำเภอหนองแซง ได้ผ่านการประเมนิ สถานศกึ ษาพอเพยี ง เป็นงานสานต่อทีต่ ้องขับเคลื่อน ต่อไปเพื่อ เสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ม่ันคงและยง่ั ยนื ให้กับประชาชน ตลอดจนชมุ ชนและประเทศชาติดงั่ พระราชปณิธาน ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และเพื่อให้สอดคล้องกับ สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 กศน.อำเภอหนองแซงเห็นความสำคัญในการ ดำเนนิ การจดั กจิ กรรมในรปู แบบออนไลน์ เพือ่ ความปลอดภยั และลดความเสี่ยงในการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจสามารถปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้ อย่างถูกตอ้ งยึดถือเปน็ แนวทางในการดำเนินชวี ิตได้ 2. เพื่อให้ประชาชนสามารถขยายผลหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้ อันจะนำไปสู่การพัฒนา คุณภาพชีวิตทีด่ ี กลุม่ เป้าหมาย 1. เชงิ ปริมาณ ประชาชนตำบลหนองกบ จำนวน 4 คน 2. เชงิ คณุ ภาพ 2.1 รอ้ ยละ 80 ของผเู้ ข้ารว่ มโครงการไดร้ บั ความรู้ เกดิ ความเข้าใจและเหน็ ความสำคญั ตลอดเป็นแนวทางในการประกอบอาชพี 2.2 ร้อยละ 60 ของผู้เข้าร่วมโครงการเกิดทักษะและประสบการณ์ในการเรียนรู้เพิ่มขึ้น สามารถนำมาประยุกต์ใชเ้ ป็นแนวทางในการดำรงชีวิต เพื่อเสริมสร้างอุดมการณ์รักชาติ ศาสนา และเทิดทนู สถาบนั พระมหากษตั ริยต์ ่อไป

๒ วงเงินงบประมาณท้งั โครงการ งบประมาณปี 2564 แผนงาน : พนื้ ฐานการพัฒนาและเสริมสรา้ งศกั ยภาทรพั ยากรมนุษย์ ผลผลติ ท่ี 4 ผ้รู บั บริการการศกึ ษานอกระบบ กจิ กรรมการจัดการศกึ ษานอกระบบ งบดำเนนิ งาน หลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง จำนวน 500 บาท (หา้ บาทถว้ น) รวม 500 บาท ผรู้ บั ผดิ ชอบ 1. นางสาวเพชรรัตน์ ปานเกดิ พนักงานราชการ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล เครือขา่ ย 1. ศูนยเ์ รยี นรู้เศรษฐกจิ พอเพยี งตำบล อำเภอหนองแซง จงั หวัดสระบรุ ี 2. กำนันผใู้ หญ่บา้ น โครงการทเี่ กีย่ วขอ้ ง โครงการพัฒนาสังคมและชุมชน วันท่ี/สถานที่ วนั ท่ี 20 กรกฎาคม 2564 สถานทจี่ ัด กศน.อำเภอหนองแซง /รปู แบบออนไลน์ ผลลพั ธ์ (Outcome) 1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินชีวิตตามหลักเกษตรธรรมชาติและหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงลดการใช้สารเคมีที่ทำให้เกิดการเสื่อมโทรมของธรรมชาติ ความล้มเหลวของภาค เกษตรกรรม 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำได้ไปใชใ้ นการเพาะปลูกและใช้ในการ ดำเนินชีวิตไดอ้ ยา่ งมีคณุ ภาพและยั่งยืน ดัชนวี ัดความสำเร็จของโครงการ 1. ตวั ชี้วดั ผลผลิต (Outputs) ผู้เข้าร่วมโครงการรอ้ ยละ 80 มีความรู้ ความเข้าใจ หลักเกษตรธรรมชาติโดยการยึดหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงตามรอยศาสตร์พระราชา มีความพึงพอใจ และสามารถนำมาปรับใช้ในการประกอบ อาชพี และการดำเนนิ ชีวติ ในปจั จุบนั ได้ 2. ตัวช้ีวดั ผลลพั ธ์ (Outcomes) ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 สามารถนำความรู้ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต ประจำวนั ทัง้ ต่อตนเอง ครอบครัวและชมุ ชน ได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ การตดิ ตามและประเมินผลการดำเนนิ งาน 1. จากการสังเกต การสอบถาม 2. การนิเทศติดตาม 3. แบบประเมินความพงึ พอใจ 4. สรปุ ผลการดำเนินงานของโครงการ

๓ บทที่ 2 เอกสารและรายงานทเี่ กย่ี วข้อง ในการจดั ทำรายงานครง้ั นีไ้ ด้ทำการศกึ ษาคน้ คว้าเนื้อหาจากเอกสารการศกึ ษาและรายงานท่เี ก่ียวข้อง ดังต่อไปนี้ ประวตั ิและความเปน็ มา เกษตรธรรมชาติ เป็นการทำการเกษตรโดยไม่ใช้สารเคมีและปุ๋ยเคมี แต่หันมาปรับปรุงดินโดย เลยี นแบบธรรมชาตใิ นปา่ ซง่ึ เป็นแนวทาง การเกษตรท่ใี ชว้ ิธปี รบั ปรุงดินโดยเลยี นแบบธรรมชาตขิ องปา่ ทำให้ ดนิ กลับมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาตโิ ดยใช้ทรพั ยากรธรรมชาติ ท่อี ยูอ่ ยา่ งจำกัดให้เกิดประโยชน์สงู สุด ไม่ ลำลายสภาพแวดล้อมและไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ผลิตและผู้บริโภค สามารถให้ผลผลิต ที่มีทั้งปริมาณและ คุณภาพและมคี วามยั่งยนื หลกั เกษตรธรรมชาติ มีดังน้ี 1. มีการปรับปรุงดินดี โดยการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ได้แก่ ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก ปุ๋ยน้ำชีวภาพ และปุ๋ยพืชสด และมีการคลุมดนิ 2. ใชร้ ะบบการปลูกพืชหลายชนิด ไดแ้ ก่ การปลูกพืชหมุนเวยี น และการพชื แซม เพื่อเป็นการจำลอง ธรรมชาติมาไวใ้ นไร่นา และช่วยป้องกนั การระบาดของโรคและแมลง 3. อนุรักษ์แมลงที่มีประโยชน์ โดยไม่ใช้สารเคมีป้องกันและ กำจัดศัตรูพืช เนื่องจากสารเคมีจะไม่ เพียงแต่ทำลายแมลงศัตรูเท่าน้ัน แตย่ งั ทำลายตวั ถำ่ และตวั เบยี นซงึ่ เปน็ แมลงทเี่ ป็นประโยชน์ด้วย แนวปฏิบตั ิในการทำเกษตรธรรมชาติ 1. ทำใหห้ น้าดนิ ลึกเฉพาะในกรณีทีพ่ น้ื ท่ีแหง่ นัน้ มหี นา้ ดินต้ืน และมชี นั้ ดนิ ดานอยู่ถดั ไป ซ่งึ ทำได้โดยใช้ แรงงานคนขุด หรอื ใช้ รถแทรกเตอร์ไถหรอื ใช้พืชตระกลู ถวั่ ทม่ี ีระบบรากลึก เชน่ ถว่ั มะแฮะ 2. ใช้ปุ๋ยอินทรีย์แทนปุ๋ยเคมี โดยใช้ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก เป็นปุ๋ยรองพื้น หรือปุ๋ยหลักแล้วใช้ปุ๋ยน้ำ ชีวภาพเป็นปยุ๋ เสรมิ ปุ๋ยหมกั จะทำจากเศษพืช 2 ส่วน มูลสตั ว์ 1 ส่วน และเชื้อ พ.ด.-1จำนวน 1 ซองตอ่ วัสดุ 1 ตันผสม วัสดุเหล่าน้ใี หเ้ ข้ากัน โดยพรมนำ้ ให้มีความช้ืนประมาณ 60% กลบั กองทกุ 20 วัน เป็นเวลา 3 เดอื น ปุ๋ยหมัก ก็จะใชไ้ ด้ ส่วนปยุ๋ น้ำชีวภาพทำจากมูลไข่ไก่ 40 กิโลกรมั รำละเอยี ด 60 กโิ ลกรมั เช้อื พด. –1 จำนวน 1 ซอง ผสมให้เข้ากัน โดยพรมนำ้ ให้มีความชนื้ 40% คลุกกองด้วยกระสอบป่าน กลบั กองทุกวนั เป็นเวลา 1 สัปดาห์ นำมาผึ่งในทีร่ ่มจนแหง้ เกบ็ ใส่กระสอบไวใ้ ช้เวลาจะใช้ให้นำป๋ยุ แหง้ ที่ทำไว้ 1 กโิ ลกรัม เทใส่ถงั เตมิ น้ำ 20 ลิตร ใชไ้ ม้คนบอ่ ย ๆ นาน7 วนั (จะใชป้ ั๊มลม แบบตูป้ ลาก็ได)้ ผสมนำ้ อกี 20-40 เท่า กอ่ นนำไปรดตน้ พชื 3. มีการเตรียมดินดีก่อนปลูกพืช ซึ่งทำได้หลายกรณี ใช้ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกใส่เป็นปุ๋ยรองพ้ืน คลุกเคล้ากบั ดนิ หมกั ดนิ โดยรดน้ำให้เปียกชุ่มแล้วทงิ้ ไว้1 สัปดาห์ จึงพรวนดินปลกู ถ้าดินดีแล้วก็เพียงแต่สาด ปุ๋ยหมดั หรอื ปุ๋ยคอก แล้วไถพรวน ให้เขา้ กันดจี ึงปลูกพืชได้ 4. คลมุ ดินให้พืชท่ปี ลูก ซ่ึงจะชว่ ยป้องกนั การชะลา้ งของ หน้าดนิ รักษาความชมุ ช้ืนของดินทำให้หน้า ดินออ่ นนุม่ ช่วยควบคุม อณุ หภมู ิ ปอ้ งกันมิใหว้ ัชพืชขนึ้ ชว่ ยกระตนุ้ ให้มจี ุลินทรีย์ในดินมากขึ้น และยังช่วยเพิ่ม ธาตอุ าหารพืชจากการสลายตัวของวัสดคุ ลุมดิน 5. ใช้ระบบการปลูกพืชหลายชนดิ ซึง่ ทำได้โดยการปลกู พืช หมุนเวยี น และการปลูกพืชแซม

๔ การปลูกพืชหมุนเวยี นจะใช้พืชตระกูลถั่ว ปลูกหมุน เวียน อย่างนอ้ ยปีละ 1 ครั้ง และจะไม่ ปลูกพืชชนิดเดียวกันหรือ ตระกลู เดยี วกันซำ้ ท่เี ดิม แต่จะปลกู แตง มะเขือ พริก ผักกนิ ใบ ถว่ั ข้าวโพด สลับกัน ตลอดทั้งปี บางครงั้ กส็ ลบั ด้วยดอกไม้ เช่น ดาวเรอื ง ซง่ึ วธิ นี จ้ี ะชว่ ยป้องกนั โรคและแมลงระบาด การปลกู พืชแซมจะทำใหม้ ีแหลง่ อาหารหลากหลายเปน็ แหล่งชมุ นุมของแมลงท่ีมีประโยชน์ สแี ละกล่ินรวมทั้งระดับความสงู ท่ีแตกต่างกนั จะทำใหศ้ ตั รูพชื เกดิ ความสับสนในการ หาอาหาร รวมทงั้ พืชบาง ชนดิ จะมกี ลิ่นหรือสารไล่แมลงด้วย ตัวอยา่ ง การปลกู พชื แซม เชน่ ปลกู ตะไครห้ อมแซมหรือ รองแปลง ปลกู ข้าวโพดร่วมกับถั่วลิสง ปลูก ดอกไม้สสี ด ๆ แซม ในแปลง 6. การป้องกันและกำจัดโรค-แมลง จะใช้สมุนไพร ที่ทำจาก สะเดา ข่า ตะไคร้หอม อย่างละ 2 กิโลกรัม ตำให้ละเอียดแช่ในน้ำ 20 ลิตร นาน 1 คืน กรองเอากากออก ก่อนนำไปฉีดพ่นให้ผสมน้ำ 10 เท่า และเติม น้ำสบู่เพื่อให้จับใบดี แล้วนำไปฉีดพน่ ตอนเย็น ๆ ถ้าฉีดเพื่อป้องกนั ก็ฉีดทุก ๆ 7 วัน แต่ถ้ามีหนอน มากก็จะฉีดทุก ๆ 3 วัน นอกจากสมุนไพร ดังกล่าวแล้ว ยังมีสมุนไพรชนิดอื่น ๆ อีกมากมาย ที่สามารถใช้ ป้องกนั และกำจัดโรคและแมลงศตั รพู ชื ได้ องค์ประกอบปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง เศรษฐกิจพอเพียง ประกอบด้วยคุณลักษณะ 3 ประการ และเงื่อนไข 2 ประการ หรือที่เรียกว่า 3 หว่ ง 2 เง่อื นไข คอื ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีต่อความจำเป็น และเหมาะสมกับฐานะของตนเอง สังคม ส่ิงแวดล้อม รวมทั้งวัฒนธรรมในแตล่ ะท้องถ่ิน ไม่มากเกินไป ไมน่ ้อยเกนิ ไป และตอ้ งไมเ่ บียดเบยี นตนเองและ ผู้อืน่ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจดำเนินการเรือ่ งต่าง ๆ อย่างมีเหตุผลตามหลักวิชาการ หลัก กฎหมาย หลักศีลธรรมจริยธรรม และวัฒนธรรมที่ดีงาม โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจน คำนงึ ถงึ ผลที่คาดว่าจะเกิดขน้ึ จากการกระทำนน้ั ๆ อยา่ งรอบรู้และรอบคอบ ระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรบั ต่อผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงใน ด้านตา่ ง ๆ ไมว่ า่ จะเปน็ ด้านเศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดล้อม และวัฒนธรรม เพอ่ื ใหส้ ามารถปรับตวั และรับมือได้ อยา่ งทนั ทว่ งที

๕ เงื่อนไขสำคัญที่จะทำให้การตัดสินใจ และการกระทำเป็นไปพอเพียง จะต้องอาศัยทั้งคุณธรรมและ ความรู้ ดังนี้ เง่ือนไขคุณธรรม ทีจ่ ะต้องสร้างเสรมิ ให้เปน็ พน้ื ฐานจิตใจของคนในชาติ ประกอบดว้ ย ด้านจิตใจ คือ การตระหนักในคุณธรรม รู้ผิดชอบชั่วดี ซื่อสัตย์สุจริต ใช้สติปัญญาอย่างถูกต้องและเหมาะสมในการดำเนิน ชีวิต และด้านการกระทำ คือมีความขยันหมั่นเพียร อดทน ไม่โลภ ไม่ตระหนี้ รู้จักแบ่งปัน และรับผิดชอบใน การอยู่รว่ มกบั ผอู้ ื่นในสงั คม เงื่อนไขความรู้ ประกอบดว้ ยการฝกึ ตนให้มคี วามรอบรู้เก่ียวกับวิชาการต่าง ๆ ทเี่ กยี่ วข้องอย่างรอบ ด้าน มีความรอบคอบ และความระมัดระวังที่จะนำความรู้ต่าง ๆ เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อ ประกอบการวางแผน และในข้ันปฏิบตั ิ การนำเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ ต้องคำนึงถงึ 4 มติ ิ ดังน้ี ด้านเศรษฐกจิ ลดรายจา่ ย / เพม่ิ รายได้ / ใช้ชวี ิตอยา่ งพอควร / คดิ และวางแผนอย่าง รอบคอบ / มีภมู คิ มุ้ กัน / ไมเ่ สย่ี งเกนิ ไป / การเผื่อทางเลอื กสำรอง ด้านสังคม ช่วยเหลือเก้ือกลู / รู้รักสามคั คี / สร้างความเขม้ แขง็ ใหค้ รอบครวั และ ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและ ชมุ ชน สงิ่ แวดล้อม รูจ้ ักใชแ้ ละจัดการอยา่ งฉลาดและรอบคอบ / เลือกใชท้ รพั ยากรท่มี อี ยู่ ดา้ นวฒั นธรรม อย่างรู้ค่าและเกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ / ฟื้นฟูทรพั ยากรเพ่อื ให้เกดิ ความย่ังยืน สงู สดุ รกั และเหน็ คุณค่าในความเปน็ ไทย เอกลกั ษณไ์ ทย / เห็นประโยชน์และ คมุ้ คา่ ของภมู ิปัญญาไทย ภมู ิปญั ญาทอ้ งถนิ่ / รู้จักแยกแยะและเลือกรับ วัฒนธรรมอื่น ๆ

๖ บทท่ี 3 วิธีดำเนนิ งาน กจิ กรรม วัตถปุ ระสงค์ กลมุ่ เปา้ หมา เปา้ หมา พน้ื ท่ี ระยะเวลา งบประมา หลกั ย ย ดำเนนิ การ 11 ณ เพ่อื กำหนดแนวทางการ กศน.อำเภอหนอง - ประชุม ดำเนนิ งาน บุคลากร 10 คน แซง มถิ นุ ายน - วางแผน กศน.อำเภอ 1 คน กศน.อำเภอหนอง 2564 หนองแซง แซง 18 500.- เขียน - เพ่อื กำหนดขอบเขตและ ครู กศน. 4 คน กรกฎาคม โครงการ แผนการจดั กิจกรรม กศน.อำเภอหนอง 2564 - เพือ่ ขอ - แตง่ ต้ังคณะทำงาน ตำบล 3 คน แซง - อนมุ ตั ิ 1 คน 20 ประชาชน กศน.อำเภอหนอง กรกฎาคม 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ตำบลหนอง แซง 2564 ความเข้าใจสามารถปฏิบัติตาม ห ล ั ก ป ร ั ช ญ า ข อ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ กบ กศน.อำเภอหนอง 20 กิจกรรมการ พอเพียงได้อย่างถูกต้องยึดถือ แซง กรกฎาคม เรียนรู้ เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิต บุคลากร 2564 เศรษฐกจิ ได้ กศน.อำเภอ พอเพยี ง 2. เพื่อให้ประชาชนสามารถ หนองแซง 21-25 ถ่ายทอดองค์ความรู้ตามหลัก กรกฎาคม เศรษฐกิจพอเพียงได้ อันจะ บุคลากร 2564 นำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิต กศน.อำเภอ ที่ดี หนองแซง การตดิ ตาม - เพอ่ื ศึกษาแนวทางสภาพ ผลและการ ปัญหาและอปุ สรรคท่ีพบพร้อม ประเมนิ ผล แก้ไขปัญหาในการ จดั กิจกรรม ในคร้งั ต่อไป สรปุ และ - เพอื่ รวบรวมขอ้ มลู หลกั ฐาน รายงานผล รอ่ งรอยในการจดั กิจกรรม เพ่ือ รายงานเสนอผ้บู งั คับบญั ชา ตอ่ ไป

๗ บทที่ 4 ผลการวิเคราะข้อมลู จากการดำเนนิ การจัดโครงการส่งเสริมการเรียนร้เู ศรษฐกิจพอเพียง และการสืบสานศาสตร์พระราชา ในวันที่ 20 กรกฎาคม 2564 ณ กศน.อำเภอหนองแซง จงั หวัดสระบรุ ี รูปแบบออนไลนื มผี ู้เขา้ รว่ มโครงการ จำนวน 5 คน ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอหนองแซง ได้วิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือ สอบถามความพงึ พอใจในการทำกิจกรรมดังนี้ วิธกี ารประเมนิ 1. ใช้แบบสอบถามความคิดเหน็ และความพงึ พอใจของนกั ศึกษาท่ีมตี อ่ การจัดกระบวนการเรยี นรู้ โครงการส่งเสริมการเรยี นรู้เศรษฐกิจพอเพียง และการสบื สานศาสตร์พระราชา ซงึ่ มลี ักษณะเป็นแบบมาตรา ส่วนประมาณค่าโดยมีเกณฑก์ ารให้ผู้ตอบพิจารณา ดังน้ี มากที่สดุ หมายถึงระดบั คะแนน 5 คะแนน มาก หมายถงึ ระดบั คะแนน 4 คะแนน ปานกลาง หมายถงึ ระดับคะแนน 3 คะแนน น้อย หมายถึงระดบั คะแนน 2 คะแนน นอ้ ยทีส่ ุด หมายถึงระดับคะแนน 1 คะแนน 2. แจกแบบสอบถามใหแ้ ก่ผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรมโครงการส่งเสริมการเรียนร้เู ศรษฐกจิ พอเพยี ง และการสบื สานศาสตรพ์ ระราชา จำนวน 5 คน 3. รวบรวมขอ้ มูลและวเิ คราะห์โดยใชส้ ถติ ิคา่ เฉลย่ี ( X ) และค่าร้อยละ (Percentage) 4 เกณฑท์ ี่ใช้ในการแปรผลค่าเฉล่ยี (X) เป็นดังนี้ 4.50 – 5.00 หมายถึง มคี วามพึงพอใจมากท่สี ุด 3.50 – 4.49 หมายถึง มคี วามพึงพอใจมาก 2.50 – 3.49 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจปานกลาง 1.50 – 2.49 หมายถึง มคี วามพึงพอใจน้อย 1.00 – 1.49 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจน้อยท่ีสดุ 5. สรุปผลการวเิ คราะห์และจดั ทำรายงาน

๘ ผลการวิเคราะห์ การสำรวจความพงึ พอใจของผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรมโครงการส่งเสริมการเรยี นร้เู ศรษฐกจิ พอเพียง และการสบื สานศาสตรพ์ ระราชา ข้อมูลจากผตู้ อบแบบสอบถาม จำนวน 5 คน วเิ คราะห์ผลดังตารางตอ่ ไปน้ี ตอนท่ี 1 ข้อมลู ทั่วไปของผูต้ อบแบบสอบถาม ตอนที่ ๑ ขอ้ มูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 5 คน ตารางท่ี ๑ ผ้เู ขา้ ร่วมกิจกรรม จำแนกตามเพศ ร้อยละ เพศ จำนวน ( คน ) 20 80 ชาย 1 หญงิ 4 รวม 5 100 จากตารางท่ี ๑ ผู้เข้ารว่ มโครงการสว่ นใหญ่เป็นผู้หญิง จำนวน 4 คน คดิ เปน็ รอ้ ย 80 ตารางที่ ๒ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำแนกตามอายุ อายุ จำนวน ( คน ) ร้อยละ 40 – 59 ปี 3 60 60 ปี ขน้ึ ไป 2 40 รวม 5 100 จากตารางท่ี ๒ แสดงว่าผู้เข้าร่วมกจิ กรรมสว่ นใหญม่ อี ายรุ ะหว่าง 40 – 59 ปี จำนวน 3 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 60 ตารางท่ี ๓ ผ้เู ข้ารว่ มกิจกรรมจำแนกตามระดับการศึกษา ระดับการศึกษา จำนวน ( คน ) รอ้ ยละ ม.ตน้ 2 40 20 ม.ปลาย 1 40 สูงกวา่ ปรญิ ญาตรี 2 100 รวม 5 จากตารางท่ี ๓ แสดงว่าผู้เขา้ รว่ มกิจกรรมส่วนใหญม่ กี ารศกึ ษาระดบั ม.ตน้ และม.ปลาย จำนวน 2 คน เท่ากัน คิดเปน็ ร้อยละ 40

๙ ตารางท่ี ๒ แสดงจำนวนความคิดเหน็ ของผูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรม โครงการส่งเสริมการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง และการสืบสานศาสตร์พระราชา ข้อมูลจากผู้ตอบ แบบสอบถาม จำนวน 5 คน รายการประเมนิ ระดับความคิดเหน็ มากทส่ี ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยที่สดุ หลักสูตร ๑. หลกั สตู รสอดคล้องกบั ความตอ้ งการของ 5 - - - - ผู้เขา้ ร่วมโครงการ ๒. เนือ้ หาหลักสูตรตรงกับความต้องการของ 4 1 - - - เขา้ ร่วมโครงการ ๓. หลกั สตู รสง่ เสรมิ ให้ผ้เู ขา้ ร่วมโครงการ ทำ 4 1 - - - เปน็ คิดเปน็ แกป้ ัญหาเป็น การจัดกิจกรรมหรอื การเรยี นรู้ ๔. เวลาในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม 4 1 - - - ๕. กจิ กรรมส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เขา้ รว่ มโครงการ 41 - -- ไดร้ ับความรแู้ ละนำไปปฏิบัตไิ ด้ ด้านวทิ ยากร ๖. วทิ ยากรมีความรูค้ วามชำนาญในเรอ่ื งที่ 5 - - - - พดู ๗. วทิ ยากรมีการเตรียมตวั ก่อน 41 - - - ๘. การถ่ายทอดความรขู้ องวทิ ยากรมคี วาม 4 1 - - - ชัดเจนและเขา้ ใจง่าย สอ่ื และวัสดุอุปกรณ์ ๙. ส่อื และวัสดุอุปกรณ์มคี วามทนั สมัย 41 - - - ๑๐. สอ่ื และวสั ดุอุปกรณ์มีจำนวนเพยี งพอกบั 4 1 - - - ผู้เขา้ รว่ มโครงการ ๑๑. สถานที่มีความเหมาะสมในการจัด 5 - - - - กจิ กรรม

๑๐ ตารางท่ี ๓ สรปุ ผลการประเมินความพงึ พอใจ ประเด็น x ระดับผลการประเมนิ ๑. หลักสตู รสอดคล้องกับความต้องการของผูเ้ ข้ารว่ มโครงการ 5 มคี วามพึงพอใจมากท่สี ุด ๒. เนื้อหาหลักสูตรตรงกับความตอ้ งการของเข้าร่วมโครงการ 4.93 มีความพึงพอใจมากทีส่ ุด ๓. หลกั สตู รส่งเสริมให้ผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการ ทำเปน็ คดิ เปน็ แก้ปัญหาเปน็ 4.93 มีความพึงพอใจมากทส่ี ุด ๔. เวลาในการจดั กิจกรรมมคี วามเหมาะสม 4.93 มคี วามพึงพอใจมากท่ีสุด ๕. กจิ กรรมส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เขา้ ร่วมโครงการไดร้ บั ความรู้และนำไปปฏิบัติได้ 4.93 มีความพึงพอใจมากที่สุด ๖. วิทยากรมีความร้คู วามชำนาญในเรือ่ งทพี่ ูด 5 มคี วามพึงพอใจมากทส่ี ุด ๗. วิทยากรมีการเตรียมตวั ก่อน 4.8 มีความพึงพอใจมากทีส่ ุด ๘. การถ่ายทอดความร้ขู องวทิ ยากรมีความชัดเจนและเข้าใจง่าย 4.8 มีความพงึ พอใจมากทส่ี ุด ๙. ส่ือและวัสดอุ ุปกรณ์มคี วามทนั สมยั 4.8 มีมคี วามพึงพอใจมากทส่ี ุด ๑๐. สอื่ และวัสดอุ ปุ กรณ์มีจำนวนเพียงพอกับผ้เู ข้าร่วมโครงการ 4.8 มคี วามพึงพอใจมากท่ีสุด ๑๑. สถานท่มี คี วามเหมาะสมในการจัดกจิ กรรม 5 มีความพึงพอใจมากทส่ี ุด ขอ้ เสนอแนะ ผู้เขา้ รว่ มอยากให้มกี ารจัดกจิ กรรม / โครงการ อย่างนอ้ี กี ในครัง้ ต่อไป เกณฑ์การประเมนิ ๔.๕๐ – ๕๐๐ หมายถงึ มีความพึงพอใจมากทสี่ ุด ๓.๕๐ – ๔.๔๙ หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจมาก ๒.๕๐ – ๓.๔๙ หมายถึง มคี วามพึงพอใจปานกลาง ๑.๕๐ – ๒.๔๙ หมายถึง มคี วามพงึ พอใจนอ้ ย ๑.๐๐ – ๑.๔๙ หมายถงึ มีความพงึ พอใจนอ้ ยท่สี ดุ

๑๑ บทท่ี ๕ สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ สรุปผลการดำเนนิ งาน ด้านหลักสูตร ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการมีความพงึ พอใจมากท่ีสุดในการเข้ารว่ มโครงการท้งั น้ีเนือ่ งจากหลกั สูตรสอดคล้องกับ ความตอ้ งการของผเู้ ข้ารว่ มโครงการ เปน็ ร้อยละ 100 ด้านการจัดกิจกรรมหรือการเรยี นรู้ ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการมีความพึงพอใจมากท่ีสดุ ทั้งน้ีเน่อื งจากเวลาในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสมและ กิจกรรมสง่ เสริมใหผ้ เู้ ข้ารว่ มโครงการได้รับความรแู้ ละนำไปปฏบิ ัติได้คดิ เป็นรอ้ ย 80 ดา้ นวทิ ยากร ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจมากที่สดุ ทั้งนี้เนือ่ งจากวิทยากรมีความรู้ความชำนาญในเรื่องท่พี ดู คดิ เป็นร้อยละ 100 ด้านส่อื และวสั ดอุ ปุ กรณ์สถานท่ี ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจมากทั้งนี้เนื่องจากสถานที่มีความเหมาะสมในการจัดกิจกรรม คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 อภปิ รายผล ในการจัดโครงการครั้งนี้ผู้เข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด เนื่องจาก หลักสตู รสอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ เวลาในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม และ กิจกรรมส่งเสริมให้ผู้เข้ารว่ มโครงการไดร้ ับความรู้และนำไปปฏิบัตไิ ด้ วิทยากรมคี วามรู้ความชำนาญในเรื่องที่ พดู สถานท่มี ีความเหมาะสมในการจัดกจิ กรรม ข้อเสนอแนะ ผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการอยากใหม้ กี ารจัดกิจกรรม / โครงการ อย่างนี้อกี ในครง้ั ต่อไป

๑๒ ภาคผนวก

๑๓ ภาพกิจกรรม บรรยายใหค้ วามรูเ้ รอื่ งใหค้ วามรถู้ งึ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 2 หว่ ง 3 เง่อื นไข 4 มติ ิ อีกทั้งยังสอนวิธีปุ๋ย การเพาะเห็ด ฯลฯ เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน ทั้งนี้ได้ผู้เข้าร่วม โครงการใหค้ วามร่วมมือเป็นอยา่ งดีและพรอ้ มท่จี ะปรับเปลี่ยนเพอ่ื การดำรงชีวติ ท่ีดขี น้ึ

๑๔ ภาพการเผยแพร่

๑๕ ท่ีปรึกษา คณะผจู้ ัดทำ จ.ส.ต.พรณรงค์ สิทธิข์ วา ผอ.กศน.อำเภอหนองแซง นางปวณี า ผันกลาง ครผู ้ชู ่วย ผู้เรยี บเรียง ครู กศน.ตำบล นางสาวเพชรรตั น์ ปานเกิด ผูจ้ ดั ทำ ครู กศน.ตำบล นางสาวเพชรรตั น์ ปานเกดิ จัดพมิ พ์ตน้ ฉบบั ครู กศน.ตำบล นางสาวเพชรรัตน์ ปานเกดิ