Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานเศรษฐศาสตร์

รายงานเศรษฐศาสตร์

Published by ธัญรดา สมนาม, 2020-02-13 00:15:19

Description: รายงานเศรษฐศาสตร์

Search

Read the Text Version

เรื่อง ระบบเศรษฐกิจประเทศฟลิ ปิ ปินส์ จัดทาโดย นางสาวธัญรดา สมนาม ปวช.2/1 เลขที่ 15 แผนกคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ นาเสนอ ครู จนั ทนา ลัยวรรณนา รายงานเลม่ น้เี ปน็ สว่ นหนงึ่ ของวชิ าเศรษฐศาสตร์เบอ้ื งต้น 2002 - 1001 ประจาปกี ารศกึ ษา 2562/2 วทิ ยาลัยเทคนคิ จันทบรุ ี

คานา รายงานเลม่ นี้ได้รวบรวมเศรษฐกจิ ต่างๆของประเทศฟิลิปปินส์ได้ให้ผู้ท่สี นใจในเร่ืองเศรษฐกจิ ของประเทศ ฟลิ ิปปนิ สใ์ ห้นักเรียนนักศกึ ษาไดห้ าความรู้กนั นางสาวธัญรดา สมนาม

สารบัญ เร่อื ง หนา้ คานา ก สารบัญ ข เศรษฐกจิ 3-6 การทอ่ งเท่ียว 7-8 ขอ้ มูลเศรษฐกิจ , สินค้านาเข้า 8-9 แนวโนม้ เศรษฐกจิ ฟลิ ปิ ปนิ ส์ , สนิ คา้ นาออก 9 - 10 บรรณานกุ รม 11

เศรษฐกิจ เศรษฐกจิ ฟลิ ิปปนิ ส์มีขนาดใหญท่ ่สี ุดเปน็ อนั ดับที่ 34 ของโลก โดยในปี ค.ศ. 2017 มผี ลิตภัณฑม์ วลรวมใน ประเทศ (ราคาตลาด) โดยประมาณอยูท่ ่ี 348,593 ล้านดอลลารส์ หรัฐ สินค้าส่งออกหลกั ได้แก่ ผลติ ภณั ฑ์สาร ก่งึ ตัวนาและผลติ ภณั ฑ์อิเล็กทรอนิกส์ บรภิ ณั ฑ์ขนสง่ เส้อื ผา้ ผลติ ภัณฑ์ทองแดง ผลติ ภณั ฑป์ โิ ตรเลียม นา้ มัน มะพร้าว และผลไม้ คู่ค้ารายใหญไ่ ด้แก่ สหรัฐอเมรกิ า ญี่ปนุ่ จนี สงิ คโปร์ เกาหลีใต้ เนเธอรแ์ ลนด์ ฮ่องกง เยอรมนี ไตห้ วัน และไทย หนว่ ยเงินตราของประเทศคือเปโซฟิลิปปินส์ ในฐานะประเทศอุตสาหกรรมใหม่ ระบบเศรษฐกิจของฟลิ ปิ ปินสไ์ ด้เปล่ียนผา่ นจากระบบที่พ่งึ พิง เกษตรกรรมไปสรู่ ะบบทเ่ี นน้ การบรกิ ารและการผลติ มากข้นึ จากจานวนผูอ้ ยใู่ นกาลังแรงงานท้งั หมดประมาณ 40.81 ภาคเกษตรกรรมมสี ดั ส่วนการจา้ งงานคิดเป็นรอ้ ยละ 30 และสรา้ งมูลคา่ คดิ เปน็ ร้อยละ 14 ของ ผลิตภณั ฑม์ วลรวมในประเทศ ภาคอุตสาหกรรมมสี ดั ส่วนการจ้างงานร้อยละ 14 และสร้างมูลคา่ ร้อยละ 30 ของผลติ ภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ในขณะทร่ี ้อยละ 47 เป็นแรงงานในภาคบริการซึ่งสรา้ งมลู ค่าร้อยละ 56 ของผลิตภณั ฑ์มวลรวมในประเทศ

อัตราการวา่ งงานของฟิลปิ ปนิ ส์ ณ วนั ที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 2014 อยทู่ รี่ ้อยละ 6.0 ในขณะเดียวกนั เน่อื งจากสิง่ จาเป็นข้นั พื้นฐานมีราคาถูกลง อตั ราเงนิ เฟ้อจึงขยายตวั ลดลงเหลอื ร้อยละ 3.7 ในเดือน พฤศจิกายน ปเี ดียวกัน ทุนสารองเงนิ ตราระหวา่ งประเทศ ณ เดือนตุลาคม ค.ศ. 2013 มีมลู คา่ 83,201 ล้าน ดอลลารส์ หรฐั อัตราส่วนหนีส้ นิ ต่อผลิตภัณฑม์ วลรวมในประเทศลดลงอย่างต่อเน่ือง จากสถติ สิ งู สุดทรี่ ้อยละ 78 ในปี ค.ศ. 2004 มาอยู่ท่ีร้อยละ 38.1 ณ เดอื นมีนาคม ค.ศ. 2014 ฟิลิปปนิ ส์เปน็ ประเทศผนู้ าเขา้ สทุ ธิ แต่ก็ เป็นประเทศเจา้ หนเ้ี ชน่ กัน หลงั สงครามโลกคร้ังที่ 2 ฟลิ ิปปินสไ์ ด้รบั การจดั ให้เป็นประเทศทม่ี ่งั ค่งั ท่สี ุดเปน็ อันดับที่ 2 ในภมู ภิ าคเอเชีย ตะวันออก เปน็ รองเพียงญปี่ ุ่นเทา่ นัน้ จนกระทง่ั ในครสิ ต์ทศวรรษ 1960 สมรรถนะทางเศรษฐกจิ ของประเทศ จงึ เรม่ิ ถูกแซง เศรษฐกจิ เข้าสู่ภาวะชะงักงนั ภายใต้การปกครองแบบเผด็จการของประธานาธิบดีเฟรด์ นี ันด์ มาร์ โคส เนอื่ งจากระบอบมารโ์ คสได้บม่ เพาะปญั หาการจดั การเศรษฐกิจท่ีไม่ดีและความผันผวนทางการเมืองเอาไว้ ระบบเศรษฐกิจเติบโตทางอย่างเชอื่ งช้าและประสบภาวะถดถอยเป็นระยะ ๆ จนกระทัง่ ในครสิ ต์ทศวรรษ 1990 จงึ เรมิ่ ฟื้นตวั ตามแผนการเปดิ เสรีทางเศรษฐกจิ ฟลิ ิปปินส์ตอ้ งเผชญิ วิกฤตการณก์ ารเงนิ ในเอเชีย ค.ศ. 1997 อยา่ งหลีกเลยี่ งไม่ได้ ค่าเงนิ เปโซลดลงอย่าง ต่อเนอื่ งและราคาหนุ้ ในตลาดหลักทรัพยต์ กลงมาหลายจุดในช่วงแรกของวิกฤตการณ์ แต่ผลกระทบท่ีฟลิ ปิ ปินส์ ไดร้ ับน้ันไม่หนกั เท่าในประเทศเพื่อนบา้ นบางประเทศ สว่ นใหญ่เปน็ ผลมาจากนโยบายการคลงั แบบ อนุรักษนิยมของรฐั บาล และบางสว่ นเป็นผลมาจากการเฝ้าระวงั และการควบคุมดแู ลทางการเงนิ เปน็ เวลา

หลายสิบปีโดยกองทุนการเงินระหวา่ งประเทศ ในขณะท่บี รรดาประเทศเพื่อนบ้านได้ใช้เงินมหาศาลเพ่ือ กระตุ้นความเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเรว็ จากน้ันเปน็ ตน้ มาระบบเศรษฐกจิ กส็ ง่ สญั ญาณกระเต้ืองข้นึ ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศเตบิ โตขน้ึ ร้อยละ 6.4 ในปี ค.ศ. 2004 และร้อยละ 7.1 ในปี ค.ศ. 2007 ซง่ึ เป็นอัตราการเตบิ โตทเี่ ร็วที่สุดในรอบสามทศวรรษ อตั ราการเตบิ โตของผลิตภณั ฑ์มวลรวมในประเทศรายปโี ดย เฉลยี่ ตอ่ หัวในชว่ งปี ค.ศ. 1966–2007 อยู่ท่รี ้อยละ 1.45 เม่ือเทยี บกบั คา่ เฉลี่ยร้อยละ 5.96 ของภมู ิภาคเอเชีย ตะวนั ออกและแปซิฟกิ โดยรวม รายไดต้ ่อวนั ของประชากรฟิลิปปินสร์ ้อยละ 45 ยงั คงน้อยกวา่ 2 ดอลลาร์ สหรัฐ การสง่ เงนิ กลบั ของแรงงานฟิลปิ ปินส์ในต่างประเทศเปน็ แรงขับเคล่ือนทางเศรษฐกจิ ที่สาคัญอยา่ งมาก โดยมี มลู คา่ เกินกว่าการลงทนุ โดยตรงจากต่างประเทศในฐานะแหลง่ เงินตราตา่ งประเทศ การส่งเงนิ กลับประเทศขึ้น สู่จดุ สูงสุดในปี ค.ศ. 2010 โดยมสี ัดส่วนคดิ เปน็ รอ้ ยละ 10.4 ของผลิตภณั ฑ์มวลรวมในประเทศ และอยู่ท่ีรอ้ ย ละ 8.6 ในปี ค.ศ. 2012 และในปี ค.ศ. 2014 ฟิลิปปินสไ์ ด้รับเงินสง่ กลบั จากแรงงานในตา่ งประเทศท้งั สิ้น 28,000 ลา้ นดอลลารส์ หรฐั อย่างไรก็ตาม การพัฒนาในระดบั ภูมิภาคยังไม่เท่าเทียมกัน โดยมากความ เจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ ใหม่ ๆ ยังกระจุกตัวอยทู่ ีเ่ กาะลูซอน (โดยเฉพาะเมโทรมะนิลา) จึงตอ้ งแลกมากับ โอกาสในการพัฒนาภมู ภิ าคอื่น ๆ แม้วา่ รฐั บาลจะดาเนนิ มาตรการกระจายความเจริญดว้ ยการสง่ เสริมการ ลงทุนในพน้ื ทอี่ ืน่ ๆ ของประเทศแลว้ กต็ าม ถงึ จะมีข้อจากัดต่าง ๆ แต่อตุ สาหกรรมบรกิ าร เช่น การทอ่ งเทยี่ ว การจา้ งคนนอกทากระบวนการธรุ กจิ กไ็ ดร้ บั การระบุวา่ เป็นหนง่ึ ในภาคสว่ นทมี่ โี อกาสดีทส่ี ดุ สาหรับการเติบโต ของประเทศ สถาบนั การเงนิ โกลด์แมนซากส์ได้รวมฟลิ ปิ ปินส์อยู่ในรายชอ่ื \"11 ประเทศถัดไป\" ทมี่ ีศักยภาพสงู ทจี่ ะมีระบบ เศรษฐกิจใหญ่ท่สี ุดในครสิ ต์ศตวรรษท่ี 21 แต่จีนและอนิ เดียกไ็ ด้ก้าวข้ึนมาเป็นค่แู ข่งทางเศรษฐกจิ ท่สี าคญั เชน่ กนั โกลดแ์ มนซากสย์ งั คาดการณ์ว่า เม่ือถึงปี ค.ศ. 2050 เศรษฐกิจฟิลปิ ปนิ ส์จะมีขนาดใหญ่ทสี่ ุดเปน็ อนั ดับที่ 20 ของโลก ส่วนธนาคารเอชเอสบซี ีก็คาดการณว์ า่ เม่ือถึงปี ค.ศ. 2050 เศรษฐกจิ ของประเทศนจ้ี ะมี ขนาดใหญท่ ่สี ุดเป็นอันดับที่ 16 ของโลก ใหญ่ทสี่ ดุ เปน็ อันดับ 5 ของเอเชยี และท่ีใหญท่ ่ีสุดในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ฟลิ ิปปินส์เป็นประเทศสมาชิกธนาคารโลก กองทุนการเงินระหวา่ งประเทศ องค์การการค้าโลก ธนาคารเพื่อการพฒั นาเอเชยี (ซงึ่ มีสานักงานใหญ่อยู่ท่ีเมืองมนั ดาลโู ยง) แผนโคลัมโบ กลมุ่ 77 และกลุม่ 24 ในบรรดากลุ่มและสถาบันความรว่ มมอื ระหว่างประเทศต่าง ๆ

การทอ่ งเที่ยว ภาคการเดนิ ทางและทอ่ งเที่ยวมบี ทบาทสาคัญตอ่ เศรษฐกิจฟิลิปปินส์ โดยสร้างมูลคา่ เพ่ิมแกร่ ะบบเศรษฐกิจคดิ เปน็ สดั ส่วนรอ้ ยละ 7.1 ของผลติ ภัณฑม์ วลรวมในประเทศในปี ค.ศ. 2013 และสร้างตาแหน่งงาน 1,226,500 ตาแหน่ง หรอื ร้อยละ 3.2 ของการจา้ งงานท้งั หมด ตั้งแตเ่ ดือนมกราคมถึงเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2017 ฟลิ ปิ ปนิ สไ์ ดต้ ้อนรับผ้มู าเยือนชาวตา่ งชาติทง้ั หมด 2,882,737 คน (เพิ่มข้ึนร้อยละ 14.43 เมอื่ เทียบกบั ช่วงเวลาเดียวกันของปี ค.ศ. 2016) ผูม้ าเยอื นจากภูมภิ าคเอเชียตะวนั ออก เอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ และเอเชยี ใต้ รวมกันคิดเป็นสดั ส่วนรอ้ ยละ 60.72 ในขณะทผ่ี ู้มาเยือนจากทวปี อเมรกิ าและจากทวปี ยุโรปมีสดั สว่ นอยูท่ ีร่ อ้ ย ละ 18.52 และร้อยละ 11.26 ตามลาดบั หนว่ ยงานทมี่ หี นา้ ที่รับผดิ ชอบในการจัดการและส่งเสรมิ ภาคการ ทอ่ งเท่ียวของฟิลปิ ปินสค์ ือกระทรวงการทอ่ งเท่ยี ว ความหลากหลายทางชวี ภาพของประเทศเป็นหนึง่ ในบรรดาจดุ ดึงดดู ความสนใจหลัก ๆ ของการท่องเท่ยี ว โดย มีชายหาด ภเู ขา ป่าดบิ ช้นื เกาะ และจดุ ดาน้าอยู่ในบรรดาสถานทท่ี ่องเที่ยวยอดนยิ ม เนื่องจากฟิลปิ ปนิ ส์มี สภาพภมู ิศาสตร์เป็นกลุม่ ของเกาะประมาณ 7,500 เกาะ จึงมีชายหาด ถา้ และการก่อตัวของหนิ รูปทรงแปลก ตามากมาย โบราไคซึ่งมีหาดทรายขาวสะอาดได้รบั การลงคะแนนจากผอู้ ่านนิตยสารแทรเวลแอนดเ์ ลเชอร์ให้

เป็นเกาะท่ีดีทสี่ ดุ ในโลกประจาปี ค.ศ. 2012 จุดเด่นดา้ นการทอ่ งเทีย่ วอ่นื ๆ ได้แก่ นาขนั้ บันไดบานาเวใน จงั หวัดอีฟูเกา นครประวตั ิศาสตร์วีกันในจังหวัดตโี มกอโี ลโคส เนนิ เขาช็อกโกแลตในจงั หวัดโบโฮล กางเขนของ มาเจลลันในจังหวดั เซบู และพืดหินปะการังตุบบาตาฮาในจังหวัดปาลาวัน ขอ้ มูลทางเศรษฐกิจ ฟลิ ปิ ปินสม์ ีรายไดจ้ ากการคา้ แรงงานในต่างแดนสงู ทส่ี ดุ เป็นอันดับ 3 ของโลก เน่ืองจากชาวฟลิ ปิ ปินส์มที ักษะ ทางภาษาองั กฤษและภาษาสเปน ทาใหเ้ ปน็ ข้อได้เปรียบแรงงานในประเทศอาเซยี นอน่ื ๆ ประเทศทีช่ าว ฟิลิปปนิ สน์ ยิ มไปทางานคอื สหรัฐอเมริกา ซ่ึงสว่ นใหญ่ไปเป็นพยาบาล วิศวกร นักดนตรี และธรุ กิจดา้ นบริการ นอกจากน้ัน ฟิลปิ ปนิ ส์ยังเป็นประเทศเกษตรกรรมเชน่ กัน แตเ่ น้อื ทีท่ ่ีใช้เพาะปลกู มีอย่างจากัด โดยมักจะทา การเพาะปลกู บนพนื้ ทรี่ าบตา่ และ มีการปรบั พนื้ ท่เี นนิ เขาให้เปน็ ขน้ั บันได พชื เศรษฐกิจทีส่ าคัญคือ มะพร้าว ออ้ ย ป่านอบากา และขา้ วเจ้า ฟลิ ิปปนิ สย์ งั มกี ารสง่ ออกแรส่ าคญั หลายชนิด ได้แก่ เหลก็ โครไมต์ ทองแดง และเงิน เปน็ ต้น สินคา้ นาเข้า ผลิตภณั ฑ์อิเล็กทรอนิกส์ และอปุ กรณก์ ่ึงตัวนา เคร่ืองจกั รกล เคร่ืองมือ เคร่ืองใช้ในการขนส่ง เสื้อผา้ ผลติ ภณั ฑท์ องแดง ผลิตภณั ฑ์ปโิ ตรเลียม นา้ มนั มะพรา้ ว และผลไม้

สนิ คา้ นาออก นา้ มนั เชอื้ เพลิง ช้ินสว่ นอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เคร่ืองจักรกลและเคร่อื งมือ เคร่ืองใชใ้ นการขนส่ง เหล็กและเหลก็ กล้า เสน้ ใยสิง่ ทอ ธญั พืช เคมภี ัณฑ์ผลติ ภณั ฑพ์ ลาสติก แนวโน้มเศรษฐกิจฟิลปิ ปนิ ส์  ปัจจัยหลกั ท่ีมีผลตอ่ เศรษฐกิจในปีน้ีคือการเลือกตั้งประธานาธบิ ดเี ม่อื เดือน พฤษภาคมทผี่ า่ นมา โดย ผู้ชนะคือนาย Rodrigo Duterte ซึ่งชนะดว้ ยนโยบายหาเสียง เร่อื งการปราบอาชญากรด้วยความ รุนแรง และการแก้ไขปัญหาช่องวา่ งระหวา่ งคนจน กับคนรวย โดยนาย Duterte มีแนวโน้มจะ สนับสนนุ การเกษตรและอตุ สาหกรรม พ้นื ฐานเพอ่ื กระจายรายได้และสรา้ งงานให้กับประชาชนใน ชนบท  IMF คาดการณว์ ่า อตั ราการเตบิ โตของเศรษฐกิจฟลิ ปิ ปนิ ส์ จะอยทู่ ี่ร้อยละ 6 ใน ปี 2016 ด้วยการ เตบิ โตอย่างรวดเรว็ ของภาคบริการ โดยเฉพาะธรุ กิจ BPO สาขา call center และมกี ารเรง่ สร้างเมอื ง ใหมเ่ พ่ือรองรบั การเติบโตของอตุ าสหกรรม BPO และเป็นแรงดงึ ดดู ให้คนฟลิ ปิ ปินส์ท่ที างานในตา่ ง แดนกลบั มาท างานและอยู่ อาศยั ในเมืองใหมท่ ่จี ะเป็นเขตธุรกิจทส่ี าคัญเหลา่ นี้ GDP ฟิลิปปนิ สใ์ นไตร มาสแรกของปี 2016 ซ่ึงเปน็ ไตรมาสสุดท้ายภายใต้การ บริหารงานของประธานาธิบดี Aquino ขยายตัวรอ้ ยละ 6.9 ซ่ึงเป็นอัตราทสี่ งู ท่ีสุดใน เอเชีย โดยภาคสว่ นตา่ ง ๆ เช่อื ม่ันว่า หากประธานาธิบดี Duterte สานนโยบายด้าน เศรษฐกจิ อย่างต่อเนอื่ งจากประธานาธบิ ดี Aquino จะมีโอกาสให้ GDP ฟลิ ิปปินส์ปีน้ี ขยายตัวมากถงึ รอ้ ยละ 6.8-7.8 แรงขับเคลอื่ นด้านอุปสงค์มาจากการก่อสร้างที่ ขยายตัวรอ้ ยละ 12 ซ่งึ สว่ นหน่งึ มาจากการขยายตวั ของการกอ่ สรา้ งโครงการภาครฐั ซง่ึ ขยายตัวมาก ถึงร้อยละ 39 .9 สว่ นแรงขบั เคลือ่ นด้านอุปทานมาจาก ภาคอุตสาหกรรมและการบริการ ซ่ึงขยายตวั รอ้ ยละ 8.7 และ 7.9 ตามล าดบั อย่างไรกด็ ี ภาคเกษตรยังคงมีความอ่อนแอ โดยมกี ารหดตวั ร้อยละ 4.4 ซ่งึ เปน็ ผลจาก ปรากฎการณเ์ อลนิญโญ

 ชนช้ันกลางในฟิลปิ ปินสข์ ยายตัวมากและมกี าลงั ซื้อมากข้ึน ตามการเติบโตของ เศรษฐกิจและการ พฒั นาของเมือง สง่ ผลให้มีการบริโภคสินค้าบางชนิดเพม่ิ ตามไปดว้ ย เช่น รถยนต์ ข้าวสาลีและอาหาร สาเร็จรูป เคร่ืองใช้ภายในบา้ น เปน็ ต้น  ความท้ายทายท่ีสาคญั ในการสง่ ออกสนิ คา้ และบรกิ ารไปยงั ฟิลปิ ปินส์ ไดแ้ ก่ 1. กฎระเบยี บซงึ่ ยงั มี ความซบั ซ้อนและเปลีย่ นแปลงบอ่ ย การขอใบอนุญาตใชเ้ วลานาน โดยเฉพาะสนิ ค้าอาหารและ เครื่องสาอาง 2. ระบบโลจิสติกส์ เน่ืองจากภูมิประเทศ เปน็ เกาะ 3. โครงสร้างพ้นื ฐานภายในประเทศ ยังมขี ้อจากัด เชน่ ทา่ เรือมะนิลาท่มี ี ความแออัดมาก เปน็ ต้น

บรรณานุกรม https://www.ditp.go.th/contents_attach/151983/151983.pdf https://th.wikipedia.org/wiki/ http://www.asean-info.com/asean_members/philippines_economics.html


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook