Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือความปลอดภัย

คู่มือความปลอดภัย

Published by an_janeclub, 2021-09-15 10:25:27

Description: คู่มือความปลอดภัย

Search

Read the Text Version

บรษิ ัท ไบนาร่ี เพาเวอร์ เอน็ จเิ นียร่ิง จากดั คู่มือ ความ ป ล อ ด ภั ย ในการทางาน



บญั ญัติ 10 ประการ สารบัญ นโยบายความปลอดภัย เกี่ยวกบั ความปลอดภยั 2 คาศพั ท์เกยี่ วกับเรอ่ื งความปลอดภัย สาเหตขุ องการเกดิ อบุ ตั เิ หตุ 3 และการเจบ็ ป่วยจากการทางาน 6 การสญู เสยี เนือ่ งจากการเกดิ อุบตั เิ หตุ 7 กฎกระทรวง 8 หมวด 1 ความรอ้ น 9 หมวด 2 แสงสว่าง 10 หมวด 3 เสยี ง 10 หมวด 4 อปุ กรณค์ ุม้ ครอง 11 การป้องและระงบั เหตกุ ารเกดิ อคั คีภยั ความปลอดภัยสว่ นบคุ คล 12 13 ความปลอดภัยในสานักงาน ความปลอดภยั ในการ 15 เคล่อื นย้ายของหนักดว้ ยมอื 16 ความปลอดภัยในการทางาน 17 เกย่ี วกับไฟฟา้ ความปลอดภัยในการ 19 ความปลอดภยั ในการใช้ ทางานเก่ียวกบั สารเคมี 21 งานนั่งรา้ น 23 ความปลอดภัยในการทางานสาหรบั ความปลอดภัย 25 ผู้รบั เหมา ในการทางานบนทีส่ งู 27 29 ความปลอดภยั ในการใช้ งาน Personnel Lift แนวทางการใช้ Hand Lift อย่างปลอดภัย การปฐมพยาบาล

ค คำนำ คำนำ ความปลอดภยั ในการทางานถอื เป็นหนา้ ท่ขี องทุกคนในบริษทั ฯ ตง้ั แต่ผูบ้ ริหารระดบั สูงไปจนถงึ พนกั งานทกุ คน ทต่ี อ้ งร่วมใจกนั สรา้ งและธารงรกั ษาไวซ้ ง่ึ สภาพการทางานทป่ี ลอดภยั บรษิ ทั ไบนาร่ี เพาเวอร์ เอน็ จเิ นียร่งิ จากดั ตระหนกั ถงึ ความรบั ผดิ ชอบและความสาคญั ในดา้ นน้ี จงึ จดั ใหม้ โี ครงสรา้ ง และการจดั การดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน อีกทงั้ จดั ใหม้ ีแผนการดาเนินงานครอบคลุมทุกๆ ดา้ น เช่น การตรวจสอบความปลอดภยั ฯ การ ฝึกอบรม การปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายความปลอดภยั เป็นตน้ คู่มอื ความปลอดภยั ฉบบั น้ีถอื ว่า เป็นส่วนหน่ึงของขอ้ บงั คบั ว่าดว้ ยการทางาน ขอใหพ้ นกั งานทุก คนไดต้ ระหนักและเรียนรูท้ าความเขา้ ใจใหถ้ ่องแท้ หากมีขอ้ สงสยั ใหส้ อบถามหวั หน้างาน ผูบ้ งั คบั บญั ชา เพอ่ื ความกระจ่างชดั เจนย่งิ ข้นึ และสามารถนาไปปฏิบตั ิไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง อนั จะนามาซง่ึ ความปลอดภยั ของตวั พนกั งานเอง จดั ทาโดย คณะกรรมการความปลอดภยั ฯ ผูอ้ นุมตั ิ (คุณศกั ดา โพธ์ปิ ระดษิ ฐ)์ ประธานกรรมการผูแ้ ทนนายจา้ งระดบั บริหาร 6 กนั ยายน 2564 แกไ้ ขครงั้ ท่ี 00

ประกาศ บรษิ ทั ไบนาร่ี เพาเวอร์ เอน็ จเิ นียร่งิ จากดั เลขท่ี 009/2562 เรอ่ื ง นโยบายความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน ดว้ ย บรษิ ทั ไบนาร่ี เพาเวอร์ เอน็ จิเนียร่งิ จากดั มคี วามห่วงใยต่อชีวติ และสุขภาพของ พนกั งาน ดงั นนั้ จึงเห็นสมควรใหม้ ีการดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามัย และ สภาพแวดลอ้ มในการทางานควบคู่ไปกบั หนา้ ทป่ี ระจาของพนกั งาน จงึ ไดก้ าหนดนโยบาย ดงั น้ี 1. บรษิ ทั ฯ ดาเนินการพมั นา ปรบั ปรุงระบบการจดั การอาชีวอนามยั และความปลอดภยั อย่างต่อเน่ือง โดยมกี ารปฏติ ิงานทส่ี อดคลอ้ งกบั ขอ้ กาหนดของกฎหมาย กฎระเบียบท่เี ก่ียวขอ้ ง ของทางราชการ และขอ้ กาหนดอน่ื ๆของลูกคา้ อย่างเคร่งครดั 2. บริษทั ฯ ม่งุ มนั่ พฒั นาบุคลากรอย่างต่อเน่ือง ใหม้ คี วามรู้ ความเขา้ ใจ ทศั นคตทิ ด่ี ี มี ส่วนร่วมต่อการดาเนินการความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน มี จติ สานึกและตระหนกั ในความรบั ผดิ ชอบต่อความปลอดภยั 3. บริษทั ฯ ใหก้ ารสนบั สนุนและจดั สรรทรพั ยากรใหเ้ พียงพอและเหมาะสมต่อการ ดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั เพ่ือใหบ้ รรลุนโยบาย ดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามยั และ สภาพแวดลอ้ มในการทางาน ประกาศ ณ วนั ท่ี 7 มกราคม พ.ศ. 2562 (คุณวชิ ยั เอย่ี มดนยั ) กรรมการผูจ้ ดั การ 2

บัญญัติเกี่ยวกับ 10 “ความปลอดภัย” ปฏบิ ัติตามกฎ ข้อบงั คับ เครื่องหมาย และคาสอน โดยเครง่ ครดั อย่าเสยี่ ง ถ้าไม่รู้จงถามผรู้ ู้ ข้อที่ 1 แจ้งหรอื รายงานสภาพทไี่ ม่ปลอดภัย ข้อที่ 2 ในบรษิ ัททนั ทที พี่ บ ช่วยกนั ระวงั รกั ษาทกุ สง่ิ ทกุ อยา่ งให้สะอาด เรียบรอ้ ยและปลอดภัย ข้อที่ 3 ใช้เครอื่ งมือทถี่ กู ตอ้ งในวธิ ที ปี่ ลอดภยั ข้อที่ 4 ข้อที่ 5 รายงานความบาดเจบ็ ทงั้ หมดทเี่ กดิ ขนึ้ 3 และมีการรกั ษาพยาบาลทเี่ หมาะสมทนั ที

ข้อที่ 6 สวมอุปกรณ์ PPE และรกั ษาให้อยใู่ นสภาพทใี่ ชไ้ ดเ้ สมอ ข้อที่ 7 ดูแลรกั ษาเครอื่ งมือ เครื่องจกั รใหอ้ ยใู่ นสภาพเรยี บรอ้ ย ข้อที่ 8 การยกของหนกั ต้องมีคนช่วย และยกให้ถกู วธิ ี ข้อที่ 9 ห้ามหยอกลอ้ หรือกวนใจผอู้ นื่ ขณะปฏบิ ตั งิ าน ข้อที่ 10 เช่ือฟงั กฎ ข้อบงั คับ เคร่ืองหมาย และคาแนะนา เกี่ยวกบั ความปลอดภยั ในบริษทั 4

5

คำศพั ท ์ เกยี่ วกบั เรอื่ ง ควำมปลอดภยั Incident อบุ ตั กิ ารณ์ เหตุการณ์ท่ีไม่พึงประสงค์ เ กิดข้ึน แ ล้ว มีผลให้เ กิ ด อุบัติเหตุหรืออาจหมายถึง เหตุการณ์เกอื บเกดิ อบุ ตั เิ หตุ Accident อบุ ัตเิ หตุ เหตุการณ์ทไ่ี มพ่ งึ ประสงค์ทอ่ี าจ เกิดจากการท่ีไม่ได้คาดคิดไว้ ล่วงหน้า แต่เม่ือเกิดข้ึนแล้วมี ผลใหเ้ กดิ การบาดเจบ็ หรอื การ เสียชีวิต หรือความสูญเสียต่อ ทรพั ยส์ นิ 6

สาเหตขุ องการเกดิ อุบัตเิ หตแุ ละการเจบ็ ปว่ ย จากการทางาน 1 ผปู้ ฏบิ ตั งิ านขาดความตระหนกั ในเรอ่ื งความปลอดภยั มพี ฤตกิ รรมในการทางานไม่ 2 เหมาะสม เช่น หยอกลอ้ กนั ใชเ้ ครอ่ื งมอื ในการทางานไมถ่ กู ตอ้ ง เครอ่ื งมอื เครอ่ื งจกั รทใ่ี ชช้ ารดุ การใชเ้ ครอ่ื งมอื ไมเ่ หมาะสมกบั ประเภทของงานหรอื ปราศจากอุปกรณ์ ป้องกนั อนั ตราย รวมถงึ ไมม่ กี ารบารงุ รกั ษาเครอ่ื งมอื ตามระยะเวลาทก่ี าหนด 3 มกั เกดิ กบั บคุ คลทเ่ี ขา้ มาทางานใหมข่ าดความรคู้ วามเขา้ ใจในกระบวนการปฏบิ ตั งิ าน และการทางานของเครอ่ื งมอื เครอ่ื งจกั ร 4 สภาพจติ ใจของผปู้ ฏบิ ตั งิ านไมอ่ ยใู่ นสภาวะปกติ ขาดความตงั้ ใจในการทางาน ไม่ สามารถควบคุมอารมณ์ในขณะทางานได้ เช่น ต่นื เตน้ งา่ ย ตกใจงา่ ย เป็นตน้ 5 สภาพรา่ งกายของผปู้ ฏบิ ตั งิ านขาดความพรอ้ มในการทางาน เชน่ อ่อนเพลยี เมอ่ื ยลา้ ขาดการพกั ผอ่ นทเ่ี พยี งพอ หรอื มโี รคประจาตวั 6 สภาพแวดลอ้ มในฏบิ ตั งิ านทไ่ี มเ่ หมาะสมไมป่ ลอดภยั เช่น แสงสวา่ งไมเ่ พยี งพอ หรอื 7 สง่ิ ของกดี ขวางทางเดนิ

1.การสญู เสยี ทางตรง เปน็ ผลกระทบทเ่ี กดิ กับรา่ งกายและทรพั ทยส์ นิ ทเี่ กย่ี วกบั ผู้ไดร้ บั บาดเจบ็ โดยตรง ไดร้ บั บาดเจบ็ พกิ าร หรอื เสยี ชวี ติ อุปกรณ์ เคร่อื งมอื เครอ่ื งจกั ร หรอื ทรพั ยส์ นิ เสยี หาย ไดค้ า่ รกั ษาพยาบาล คา่ ทาขวญั คา่ ทาศพ 2.การสญู เสยี ทางออ้ ม เปน็ ผลกระทบดา้ นอน่ื ๆ สญู เสยี เวลาการทางานของผบู้ าดเจบ็ สญู เสยี ขวญั กาลงั ใจในการทางาน สญู เสยี เวลาในการจดั หาบคุ ลากรมาทางาน คา่ ใชจ้ า่ ยในการซ่อมแซมเคร่อื งจกั ร สนิ คา้ ไดร้ บั ความเสยี หาย กระบวนการผลติ ขดั ขอ้ ง 8

กฎกระทรวง กำหนดมำตรฐำนในกำรบริหำร จัดกำร และดำเนินกำรด้ำน ควำมปลอดภัย อำชีวอนำมยั และสภำพแวดล้อมในกำรทำงำน เกย่ี วกับควำมร้อน แสงสว่ำง และเสียง พ.ศ. 2559 ลักษณะการทางาน “งานเบา” คอื ลกั ษณะงานทใ่ี ชแ้ รงน้อยหรอื ใชก้ าลงั งานทท่ี าใหเ้ กดิ การเผาผลาญอาหาร ในร่างกายไม่เกิน 200กโิ ลแคลอรตี ่อชวั่ โมง เชน่ งานเขยี นหนงั สอื “งานปานกลาง” คือ ลกั ษณะงานท่ใี ช้แรง ปานกลางหรอื ใชก้ าลงั งานทท่ี าใหเ้ กิดการเผา ผลาญอาหารในร่างกายเกนิ 200 กโิ ลแคลอรี ต่อชวั่ โมง ถงึ 350 กโิ ลแคลอรตี ่อชวั่ โมง เช่น งานยก ลาก ดนั “งานหนัก” คอื ลกั ษณะงานท่ใี ช้แรงมากหรอื ใช้ กาลังงานท่ีทาให้เกิดการเผาผลาญอาหารใน ร่างกายเกนิ ๓๕๐ กโิ ลแคลอรตี ่อชวั่ โมง เช่นงาน ยก หรอื เคลอ่ื นยา้ ยของหนกั ขน้ึ ทส่ี งู หรอื ทล่ี าดชนั 9

หมวด 1 ความรอ้ น ลกั ษณะงำน กำรเผำผลำญอำหำร ในรำ่ งกำย ระดับควำมรอ้ น (WBGT) งำนเบำ กโิ ลแคลอร่ี/ชวั่ โมง ไมเ่ กนิ คำ่ เฉลยี่ องศำเซลเซยี ส งำนปำนกลำง น้อยกวำ่ 200 งำนหนัก 34 200 – 350 32 มำกกว่ำ 350 30 • นำยจ้ำงต้องจัดให้สถำนประกอบกิจกำรมีควำมเข้ม ของแสงสว่ำงให้เพียงพอต่อกำรทำงำนไม่ต่ำกว่ำ มำตรฐำนตำมกระทรวงตลอดระยะเวลำกำรทำงำน • ในกรณีที่ลูกจ้ำงต้องทำงำนในสถำนที่มืด ทึบ และ คับแคบ เช่น ในถ้ำ อุโมงค์ นำยจ้ำงต้องจัดให้มี อุปกรณ์ส่องแสงสว่ำงติดอยู่ในพ้ืนท่ีทำงำนหรือ ตดิ ท่ตี ัวบคุ คลได้ 10

หมวด 3 ➢นายจ้างต้องควบคุมระดับเสียงท่ีลูกจ้างได้รับเฉล่ีย เสยี ง ตลอดเวลาการทางานในแต่ละวนั มใิ ห้เกนิ มาตรฐาน ตามทอ่ี ธบิ ดปี ระกาศกาหนด 11 ➢ใ น บ ริเ ว ณ ท่ีมีร ะ ดับ เ สีย ง เ กิน ม า ต ร ฐ า น ท่ีก า ห น ด นายจา้ งต้อง จดั ให้มเี คร่อื งหมายเตือนให้ใช้อุปกรณ์ คุม้ ครองความปลอดภยั ส่วนบุคคลตดิ ไวใ้ หล้ ูกจา้ งเหน็ ไดโ้ ดยชดั เจน ➢ในกรณีท่สี ภาวะการทางานในสถานประกอบกจิ การมี ระดับเสยี งท่ีลูกจ้างได้รบั เฉล่ีย ตลอดระยะเวลาการ ทางานแปดชวั่ โมงตงั้ แต่ 85 dB(A) ขน้ึ ไป นายจ้าง ตอ้ งจดั ใหม้ มี าตรการอนุรกั ษก์ ารไดย้ นิ

หมวกนริ ภยั ถงุ มอื นริ ภยั (Safety Helmet) (Safety Gloves) ใชส้ าหรบั ป้องกนั ศรี ษะทเ่ี กดิ จาก ใชส้ าหรบั ป้องกนั มอื จากของมคี ม การกระแทก ความรอ้ น การสมั ผสั สารเคมที ่ี อาจระคายเคอื งหรอื บาดเจบ็ ได้ ปลัก๊ ลดเสยี ง (Ear Plugs) ใชส้ าหรบั ป้องกนั หจู ากการรบั สมั ผสั เสยี งทด่ี งั มากกวา่ ปกติ แว่นตานริ ภยั รองเทา้ นริ ภยั (Safety Glasses) (Safety Shoes) ใชส้ าหรบั ป้องดวงตาจากเศษฝ่นุ ใชส้ าหรบั ป้องกนั อนั ตรายจาก สารเคมที อ่ี าจโดนดวงตา การทางานในพน้ื ทเ่ี สย่ี งต่อการ ขณะปฏบิ ตั งิ านได้ กระแทกหรอื สง่ิ ของทม่ี นี ้าหนกั ตกใสเ่ ทา้ เขม็ ขดั นริ ภยั ชนดิ เตม็ ตวั หมวด 4 (Full body Harness) อุปกรณ์คุ้มครอง ใชส้ าหรบั การทางานบนทส่ี ูง ความปลอดภัย เพ่อื ป้องกนั ไมใ่ หผ้ ปู้ ฏบิ ตั งิ าน ส่วนบุคคล ตกลงมาดา้ นลา่ ง 12

การป้อง และระงบั เหตุการเกดิ อคั คภี ยั 13

องคป์ ระกอบของไฟ ประเภทของถงั ดบั เพลิง ไฟ คือ ปฏิ กิริ ยำทำงเคมีระหว่ำง 1. ชนิดผงเคมีแหง้ (Dry Chemical) เชื้อเพลิง ควำมร้อน และออกซิเจน ไฟจะ ขอ้ เสยี คือ เมอื่ ฉีดออกมำจะฟ้ ุงกระจำย และเมื่อเรำทำ เกิดขึ้นเม่ือมี 3 อย่ำงน้ีพรอ้ มๆ กัน ถำ้ ขำด กำรฉดี แลว้ แรงดนั จะตก ไมส่ ำมำรถใชง้ ำนไดอ้ กี อยำ่ งใดอย่ำงหนง่ึ ไฟจะเกดิ ขน้ึ ไมไ่ ด้ 2. ชนิดน้ำยำเหลวระเหย (Halotron) ไฟ แบ่งออกเป็ น 4 ประเภท คือ ไม่มีกลิ่น ไม่ติดไฟ ไมเ่ ป็ นสื่อนำไฟฟ้ ำ เม่ือฉีดออกจะ 1.ไฟประเภท A เป็ นไอระเหยสขี ำว และจะระเหยไปเอง เป็ นไฟที่เกิดจำกเช้ือเพลิง เช่น ไม้ กระดำษ ผ้ำ ยำง และพลำสตกิ 3. ชนิดเคมีสตู รน้ำ (Water Mist) 2.ไฟประเภท B สำรเคมีจะเป็ นนำ้ ยำชอื่ ว่ำ “ABFFC” ที่ใชส้ ำหรับกำร เป็ นไฟท่ีเกิดจำกเชอื้ เพลงิ เหลวตดิ ไฟ เชน่ นำ้ มนั เบนซิน ดบั ไฟไดด้ ี ไมเ่ ป็ นสอ่ื นำไฟฟ้ ำ นำ้ มนั ดเี ซล, ส,ี สำรละลำย 3.ไฟประเภท C 4. ชนิดกำ๊ ซคำรบ์ อนไดออกไซด์ (CO2) เป็ นไฟท่เี กดิ จำกเชอ้ื เพลงิ ท่ีมกี ระแสไฟฟ้ ำ บรรจกุ ๊ำซคำร์บอนไดออกไซด์ ฉีดออกมำจะเป็ นไอเย็น 4.ไฟประเภท D จดั คลำ้ ยนำ้ แขง็ แหง้ ลดควำมรอ้ นของไฟได้ เป็ นไฟทเี่ กิดจำกเชอ้ื เพลงิ ทีเ่ ป็ น โลหะลกุ ตดิ ไฟ 5.ไฟประเภท K 5. ชนิดโฟม เป็ นไฟทีเ่ กิดจำกเชอ้ื เพลงิ นำ้ มนั ทำอำหำร นำ้ มนั พืช ฉดี ออกมำจะเป็ นฟองโฟมคลมุ ผวิ เชอ้ื เพลงิ ทล่ี กุ ไหม้ นำ้ มนั จำกสตั ว์ 6. ชนิดน้ำผสมแรงดนั (Water gas) ใชน้ ำ้ อัดใส่ถังดับเพลิงสะสมแรงดนั เพ่ือให้ฉีดออกมำ ไดแ้ รงดนั ท่ีเพ่มิ ขน้ึ “จำกประเภทของเคร่ืองดบั เพลิงทีก่ ลำ่ วมำขำ้ งตน้ สำมำรถสรปุ ” ประเภทของเพลิงทเี่ คร่ืองดบั เพลงิ ประเภทตำ่ งๆ สำมำรถดบั ได้ ดงั แสดงในตำรำง ประเภทเครอื่ งดบั เพลงิ ประเภทของเพลงิ ประเภท A ประเภท B ประเภท C ประเภท D ประเภท E ชนิดผงเคมแี หง้ ชนดิ น้ำยำเหลวระเหย ชนดิ เคมสี ตู รนำ้ ชนดิ ก๊ำซคำรบ์ อนไดออกไซด์ ชนดิ โฟม ชนิดน้ำผสมแรงดัน 14

ความปลอดภยั ในการ เคลือ่ นยา้ ยของหนกั ดว้ ยมือ กำรขนย้ำยวัสดุท่ีดีที่สุดคือ ไม่ต้องมีกำรขนย้ำยวัสดุ ใดๆเลยหำกงำนขนย้ำยยังจำเป็นต้องมีอยู่ ให้พิ จำรณำ ออกแบบระบบกำรผลิตให้มีข้ันตอนกำรเคล่ือนย้ำยวัสดุให้น้อย ท่ี สุ ด เ ลื อ ก ใ ช้ เ ค ร่ื อ ง ทุ่ น แ ร ง ท่ี เ ห ม ำ ะ ส ม แ ล ะ ท ำ ก ำ ร ย ก เคลื่อนย้ำย อยำ่ งถกู วธิ ี กฎท่ีต้องปฏิบัติ ข้อแนะนา ▪ ตอ้ งสวมถุงมือขณะทำกำรยก 1. ถ้ำของหนักเกินกว่ำจะยกได้ ควรเรียกคนมำ ▪ ต้องสวมรองเทำ้ นิรภัย ชว่ ย 15 2. ควรมีกำลังขำและกำรทรงตัวทีด่ ี 3. ควรวำงเทำ้ ข้ำงหนึ่งอยู่ข้ำงๆ ของท่ีจะทำกำร ยกและอกี ขำ้ งหนึง่ อยูข่ ำ้ งหลัง 4. งอเขำ่ และคูล้ งต่ำใกลข้ อง 5. ให้ลำตวั เขำ้ ชดิ ของ 6. ตอ้ งจับของใหก้ ระชับแน่น 7. หลงั ตรงเกือบเป็นแนวด่ิงแลว้ ยึดขำทงั้ สองขึน้ 8. ควรหลีกเลี่ยงกำรขดลำตัวใช้ขยบั ขำแทน 9. ควรมองเห็นทำงข้ำงหน้ำไดช้ ดั เจนขณะยก ของเดินไป 10. เมอื่ จะวำงของลงใหท้ ำยอ้ นกลับตำมวธิ ี ขำ้ งลำ่ ง

กฎท่ีต้องปฏิบัติ 1) เมื่อข้ึนหรือลงบันไดบันได ให้เดินด้วยควำมระมัด อย่ำวิ่ง และจบั รำวบันไดไวเ้ พ่ือชว่ ยให้ปลอดภัยย่งิ ขนึ้ 2) เมอื่ นง่ั เก้ำอ้อี ยำ่ เอนหลังจนเสียกำรทรงตัวเพรำะจะทำให้ล้ม และได้รับบำดเจบ็ หรือเป็นอนั ตรำยถงึ แกช่ วี ิตได้ 3) เมื่อน้ำหรือของเหลวอื่น ๆ หกเรี่ยรำดบนพื้นต้องรีบเช็ดถู ทันที เพื่อปอ้ งกันกำรลืน่ หกล้ม 4) สำยไฟ สำยโทรศัพท์ จะต้องวำงให้เป็นระเบียบเรียบร้อย เพื่อปอ้ งกนั กำรสะดุด ซ่งึ อำจทำใหห้ กล้มได้งำ่ ย 5) ในกรณีท่ีไม่สำมำรถจะเคล่ือนย้ำย หรือยกของที่หนักเกิน กำลัง ให้ขอควำมช่วยเหลอื จำกเพ่ือนรว่ มงำน 6) มือและนิ้วมือ เป็นส่วนที่ได้รับบำดเจ็บง่ำยที่สุดไม่ควรใช้มือ หรือน้ิวมอื แทนเครอื่ งมอื ตำ่ ง ๆ เช่น อย่ำใช้มือถอนเข็มเย็บ กระดำษ 7) เ ค รื่ อ ง มื อ เ ค ร่ื อ ง ใ ช้ ภ ำ ย ใ น ส ำ นั ก ง ำ น โ ด ย เ ฉ พ ำ ะ เครื่องใช้ไฟฟำ้ ตอ้ งไดร้ บั กำรตรวจสอบให้อยู่ในสภำพดีอยู่ เสมอ 8) อัคคีภัยเกิดข้ึนเพรำะควำมประมำท ดังน้ันต้องระมัดระวัง เป็นพิเศษ เชน่ จัดให้มีถังขยะรองรบั ขยะตำ่ ง ๆ ฯลฯ 9) มีแผนผังหนีภัยในกรณีฉุกเฉิน และมีอุปกรณ์ดับเพลิงซ่ึง ควรจะตดิ ไว้ในสถำนทที่ ี่สำมำรถหยบิ ฉวยได้งำ่ ย ความปลอดภัยในสานกั งาน 16

ความปลอดภยั ในการทางาน เกยี่ วกบั สารเคมี 17

เส้นทางการรบั สมั ผสั สารเคมี เอกสาร SDS คืออะไร? ทาไมต้องมี 1.หายใจเขา้ ทางปาก/จมกู เขา้ ส่ปู อด Safety Data Sheet (SDS) หมายถงึ เอกสารขอ้ มลู 2. การรบั สมั ผสั ทางผวิ หนงั และดวงตา ความปลอดภยั สารเคมซี ง่ึ เป็นเอกสารท่แี สดงข้อมูล 3. การกนิ ดม่ื กลนื ของสารเคมหี รอื เคมภี ณั ฑเ์ ก่ยี วกบั ลกั ษณะความเป็น อนั ตราย พิษ วิธีใช้ การเก็บรกั ษา การขนส่ง การ กฎระเบียบความปลอดภยั กาจดั และการจดั การอ่นื ๆ เพ่อื ใหด้ าเนินการเกย่ี วกบั สารเคมนี นั้ เป็นไปอยา่ งถูกตอ้ งและปลอดภยั • ห้ามพนักงานพักผ่อนในสถานท่ีทางานท่ีเก็บ สารเคมี 1) ขอ้ มลู เกย่ี วกบั สารเคมี และบรษิ ทั ผผู้ ลติ 2) ขอ้ มลู ความเป็นอนั ตราย • กรณีนาสารเคมีเข้ามาใช้ ต้องส่งข้อมูลความ 3) ส่วนประกอบและขอ้ มลู เกย่ี วกบั สว่ นผสม ปลอดภยั SDS ให้แก่แผนก ความปลอดภยั และ 4) มาตรการปฐมพยาบาล ประกันคุณภาพก่อน เพ่อื อนุมตี ินามาใช้ในการ 5) มาตรการผจญเพลงิ ปฏบิ ตั งิ านครงั้ แรก 6) มาตรการจดั การเมอ่ื มกี ารหกรวั่ ไหล 7) การใชแ้ ละการจดั เกบ็ • ต้องทราบถึงอันตรายของสารเคมีและวิธีการ 8) การควบคมุ การไดร้ บั สมั ผสั และการป้องกนั ส่วน ควบคุม ในเอกสารความปลอดภยั ของสารเคมี (SDS) บุคคล 9) สมบตั ทิ างกายภาพและเคมี • ตอ้ งลา้ งมอื ทกุ ครงั้ หลงั ปฏบิ ตั งิ านกบั สารเคมี 10) ความเสถยี รและการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ า • สวมอุปกรณ์ป้องกนั อนั ตรายสว่ นบุคคลเสมอ 11) ขอ้ มลู ดา้ นพษิ วทิ ยา • ทาความสะอาดบรเิ วณทางานทุกครงั้ หลงั เลกิ งาน 12) ขอ้ มลู ดา้ นระบบนิเวศ • ปิดฝาภาชนะใหแ้ น่นทุกครงั้ หลงั เลกิ ใช้ 13) ขอ้ พจิ ารณาในการกาจดั • จดั เกบ็ สารเคมไี วใ้ นทเ่ี ยน็ อากาศถ่ายเทดี ห่าง 14) ขอ้ มลู สาหรบั การขนส่ง 15) ขอ้ มลู เกย่ี วกบั กฎขอ้ บงั คบั แหล่งกาเนิดประกายไฟ 16) ขอ้ มลู อ่นื ๆ • อยา่ ! ทดสอบโดยการสดู ดมหรอื กลนื กนิ ผลกระทบจากการสมั ผสั สารเคมี - รา่ งกาย - สง่ิ แวดลอ้ ม - ทรพั ยส์ นิ และสงั คม 18

ความปลอดภยั กฎระเบยี บความปลอดภยั ในงานไฟฟ้า ในการทางาน เกย่ี วกบั ไฟฟา้ 1. เม่อื เกิดไฟฟ้าลดั วงจรต้องทาการตดั กระแสด้วย สวติ ซต์ ดั ตอน (ยกคทั เอาท)์ 19 2. ถา้ พบอุปกรณ์ไฟฟ้าชารดุ ตอ้ งเลกิ ใช้ รบี แก้ไข หรอื ซอ่ มแซมโดยเรว็ 3. รอยต่อสายไฟฟ้าทุกแห่ง ต้องใชเ้ ทปพนั สายไฟฟ้า พนั หุม้ ลวดทองแดงใหม้ ดิ ชดิ และแน่นหนาจนแน่ใจว่าจะไมห่ ลุด เพ่อื ไม่ให้ลวดทองแดงท่มี กี ระแสไฟฟ้าโผล่ออกมา ซ่ึงอาจจะ เป็นอนั ตราย 4. ทุกครงั้ ท่ที าการต่อสายไฟฟ้าหรอื เดินสายไฟฟ้า ตอ้ งตดั ไฟฟ้าดว้ ยสวติ ชเ์ สยี ก่อนเพ่อื ป้องกนั ไมใ่ ห้มกี ระแสไฟฟ้า ในสายไฟฟ้าเสน้ นนั้ 5. หลอดไฟฟ้าและเคร่อื งใช้ไฟฟ้าทุกชนิดท่จี ะทาให้ เกดิ ความร้อนได้ ไม่ควรให้ตดิ อยู่กบั ผ้าหรอื เช้อื เพลงิ อ่นื ๆ ท่ี อาจทาใหเ้ กดิ การลกุ ไหมไ้ ดง้ า่ ย 6. หา้ มใชต้ วั นาอ่นื ๆ แทนฟิวส์

ระบบ Log out และป้าย Tag out คือ เป็นระบบท่นี ามาใช้ในการ “ควบคุมอนั ตราย” ท่อี าจเกดิ ข้นึ จากการซ่อมบารงุ เคร่อื งจกั ร หรือ อปุ กรณต์ ่าง ๆ ท่มี แี หล่งจ่ายพลังงาน เช่น พลงั งานกล พลงั งานไฟฟ้ า เป็นต้น 1. ระบบลอ็ กเอ้าท์ (Lock Out) เป็ นระบบท่ใี ช้ในการตัดแยกอุปกรณ์ท่ีเป็ นแหล่งกาเนิด พลังงาน โดยการใช้อุปกรณ์ท่ีออกแบบมาสาหรับใช้เป็ นเคร่ืองมือในการลอ็ ก นาไปล็อกท่ีแหล่งกาเนิด พลังงาน 2. ระบบป้ ายแทกเอ้าท์ (Tag Out) คือการควบคุมอนั ตรายท่อี าจเกดิ ข้นึ กบั ผู้ปฏบิ ัตงิ าน โดยมี ลกั ษณะเป็นแผ่นป้ ายแสดงข้อความเตอื นอนั ตราย หลงั จากทาการลอ็ กท่แี หล่งกาเนิดพลงั งานกจ็ ะต้องทาการ แขวนแทกเอ้าทไ์ ว้ท่อี ปุ กรณน์ ้นั ด้วย ข้อห้ามท่ีไม่ควรทาเม่ือช่วยเหลือผู้ที่ได้รับอันตรายจากไฟฟ้า 1. ห้ามเข้าไปช่วยผู้ถูกไฟฟ้ าชอ็ ต จนกว่าจะแน่ใจได้ว่าผู้บาดเจบ็ มไิ ด้มีการสมั ผัสสายไฟหรือตัวนา ไฟฟ้ าใดๆ ถ้าจาเป็นต้องหาวัสดุท่เี ป็นฉนวนไม่นากระแสไฟฟ้ า เช่น ไม้หรอื ผ้าเข่ยี สายไฟออกจากผ้บู าดเจบ็ 2. ถ้าผวิ หนังผ้ทู ่ชี ่วยน้ันเปี ยกช้ืน ห้ามเข้าไปช่วยเพราะอาจเป็นตวั นากระแสไฟฟ้ าดดู ได้ 3. ถ้าไม่แน่ใจว่าจะปลอดภัย เน่ืองจากไม่มีความรู้ในการตัดกระแสวงจรไฟฟ้ าหรือวิธีการช่วยท่ี ถูกต้อง ให้รับตามคนมาช่วย การป้องกันอันตรายจากไฟฟ้าดูด 1. หม่นั ตรวจเชค็ อปุ กรณแ์ ละสายไฟอยู่เสมอ และควรซ่อมแซม สว่ นท่ชี ารดุ ให้เรียบร้อย 2. บริเวณท่วี างสายไฟ ไม่ควรวางของท่มี นี า้ หนกั มาทบั ลงไป และวางให้พ้นทางเดนิ 3. ห้ามซ่อมเคร่อื งใช้ไฟฟ้ าเองโดยไม่มคี วามรู้ 4. ไม่ควรใช้ไฟฟ้ าหลายอย่างกบั ปล๊กั ไฟตวั เดยี ว 5. ต่อสายดนิ เพ่ือป้ องกนั อนั ตรายเม่อื ไฟฟ้ าร่วั 20

ความปลอดภยั ในการทางานบนทส่ี งู 1 พ้ืนท่ีปฏิบตั ิงานท่ีสูงตง้ั แต่ 2 เมตรข้ึนไปและเป็นท่ีเปิดมี อนั ตรายต่อการพลดั ตก ผูค้ วบคุมงานตอ้ งออกแบบและจดั เตรียม วสั ดุ อปุ กรณป์ ้องกนั การพลดั ตกของผูป้ ฏบิ ตั งิ านก่อนเรม่ิ งาน 1.2 จดั ทา Platform หรือนงั่ รา้ นสาหรบั พ้ืนท่ีปฏิบตั ิงาน หา้ มปีนป่าย ยนื หรอื เดนิ ในทท่ี ไ่ี มไ่ ดจ้ ดั ไวใ้ ห้ 1.1 จดั ทาราวกนั ตกความสูงประมาณ 90-110 ซม. ป้องกนั การพลดั ตกในบรเิ วณทม่ี ผี ูป้ ฏบิ ตั งิ านเขา้ ใชพ้ ้นื ท่ี 2 พ้ืนท่ีปฏิบตั ิงานท่ีสูงตงั้ แต่ 4 เมตรข้นึ ไป และเป็นท่ีเปิด อนั ตรายต่อการพลดั ตกควรปฏบิ ตั เิ พม่ิ เตมิ ดงั น้ี 2.1 ผูป้ ฏบิ ตั งิ านตอ้ งใชเ้ขม็ ขดั นิรภยั ร่วมกบั สายช่วยชวี ติ หรอื จดุ เกย่ี วทม่ี นั่ คงแขง็ แรงในขณะปฏบิ ตั งิ าน 2.2 ตรวจสอบใหม้ กี ารใชอ้ ุปกรณ์ป้องกนั การพลดั ตกจากทส่ี ูง และจดั ทาทย่ี ดึ ตรงึ ไวก้ บั สว่ นหน่ึงของโครงสรา้ ง 2.3 จดั ทามาตรการป้องกนั การกระเดน็ ตกหลน่ ของวสั ดุ หรอื พลดั ตกของผูป้ ฏบิ ตั งิ านโดยใชแ้ ผงกน้ั โดยวศิ วกรควบคุมงาน เป็นผูก้ าหนดวธิ กี ารจดั ทา 3 พ้นื ทป่ี ฏบิ ตั งิ านบนทส่ี ูง ถา้ มชี ่องเปิด(Block Out) ตอ้ งจดั ทา ฝาปิดหรอื รวั้ กน้ั และตดิ ป้ายเตอื นใหเ้หน็ ชดั เจนโดยท่ี 4.1 ช่องเปิดขนาดไมเ่ กนิ 0.80 x 0.80 เมตร ตอ้ งจดั ทาฝา ปิดทแ่ี ขง็ แรงรบั นา้ หนกั ผูป้ ฏบิ ตั งิ านได้ 4.2 ช่องเปิดขนาดใหญ่กวา่ 0.80 x 0.80 เมตร ตอ้ งจดั ทา ราวกนั ตกทแ่ี ขง็ แรง และทาสขี าว-แดง 21

4. พ้ืนท่ีปฏิบัติงานท่ีเป็ นบ่อ ถังท่ีอาจทาให้ 10. การตัด การเช่ือมบนท่ีสูง ใหต้ รวจสอบและ ผูป้ ฏิบตั ิงานพลดั ตกลงไปได้ ผูค้ วบคุมงานตอ้ ง เคลอ่ื นยา้ ยเช้อื เพลงิ และสารไวไฟทุกชนิดในพ้ืนท่เี บ้อื ง จดั ทารวั่ กนั้ ทม่ี คี วมสูงประมาณ 90-110 เซนตเิ มตร ล่างก่อน รวมถึงขณะตดั หรือเช่ือม ใหท้ าดว้ ยความ ระมดั ระวงั 5. พ้ืนท่ีปฏิบตั ิงานท่ีต่างระดบั กนั อาจมีวสั ดุตก 11. การข้นึ และลงบนั ไดในแนวตงั้ ใหท้ าการข้ึนและลงที หล่น ตอ้ งปิดกนั้ เขตพ้ืนท่ีดา้ นล่างดว้ ยธงราวขาว- ละคนหนั หนา้ เขา้ หาบนั ได สมั ผสั จบั ยึดบนั ไดขณะปีน แดง หรืออุกปรณ์ปอดกน้ั ชวั่ คราว โดยแสดงคา ส่วนของร่างกายสมั ผสั 3 จุดตลอดเวลาและหา้ มข้ึนไป เตอื นหรอื หา้ มไมใ่ หผ้ ูท้ ไ่ี มเ่ กย่ี วขอ้ งผา่ นเขา้ -ออ เหยยี บสองขนั้ สุดทา้ ย 6. พ้นื ทป่ี ฏบิ ตั งิ านชวั่ คราว เช่น นงั่ รา้ น หา้ มนาวสั ดุ 12. การปีนบนั ได ตอ้ งใชบ้ นั ไดท่แี ข็งแรง การใชบ้ นั ได อปุ กรณม์ าจดั เกบ็ หรอื วาง เน่ืองจากไมไ่ ดอ้ อกแบบ แบบเคลอ่ื นยา้ ยได้ มมุ บนั ไดท่อี ยู่ตรงขา้ มกบั ผนงั ท่พี ิง เพอ่ื รองรบั นา้ หนกั ของวสั ดุอปุ กรณน์ น้ั ๆ จะตอ้ งวางางบนั ไดบนฐานทม่ี นั่ คง ไมล่ น่ื ทามมุ 75 7. หากตอ้ งการพกเคร่อื งมอื ข้นึ ไปดว้ ย ใหใ้ ส่ 13. ไม่วางบนั ไดพาดสายไฟฟ้า หรือผนงั ทอ่ี ่อนนุ่มหา้ ม อปุ กรณท์ จ่ี าเป็นในกระเป๋าพกพาท่ตี ิดเขม็ ขดั เท่านนั้ ใชบ้ นั ไดโลหะกบั งานไฟฟ้า และยดึ ขาบนั ได, ช่วงกลาง และจดุ พาดหรอื ใชค้ นช่วยจบั 8. ผูท้ ค่ี วบคุมงานตอ้ งตรวจสอบใหจ้ ดั เก็บทาความ สะอาดในพ้นื ทท่ี างานบนทส่ี ูงอยู่เสมอ 14. ในกรณีท่มี กี ารทางานบนท่ีลาดชนั ท่ที ามุมลาดชนั เกนิ 15 องศาองศาแต่ไม่เกนิ 30 องศาตอ้ งมกี ารติดตง้ั 9. หา้ มดดั แปลงนาบนั ไดไปใชง้ านอย่างอน่ื เช่น พาดทา นงั่ รา้ นหรือเข็มขดั นิรภยั พรอ้ มอุปกรณ์หรือมาตรการ เป็นทางเดนิ ระหวา่ งตกึ และหา้ มนงั่ ทางานบนบนั ได ป้องกนั การพลดั ตกอ่ืนใดท่ีเหมาะสมกบั สภาพของการ ทางาน 22

ความปลอดภัยในการใช้ งานนง่ั ร้าน 1. ในพ้นื ท่ปี ฏิบตั งิ านทม่ี คี วามสูงตง้ั แต่ 2 เมตรข้นึ ไป ควรจดั ทาอุปกรณ์ ยดึ โยง่ เพอ่ื เกย่ี วคลอ้ งเขม็ ขดั นิรภยั ใหแ้ ก่ผูป้ ฏบิ ตั งิ านได้ 2. นงั่ รา้ นเสาเรียงเด่ียวท่ีสูงเกิน 7 เมตรข้นึ ไป หรือนงั่ รา้ นท่ีสูงไม่เกิน 21.00 เมตร ผูท้ อ่ี อกแบบและกาหนดรายละเอียดนงั่ รา้ นจะตอ้ งเป็นผู้ ท่ีไดร้ บั ใบอนุญาตเป็นผูป้ ระกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตามท่ี (กว.) ตามกาหนด 3. พ้นื นงั่ รา้ นตอ้ งมคี วามกวา้ งไมน่ อ้ ยกว่า 35 เซนตเิ มตร 4. พ้นื รองรบั ขาตงั้ และขอ้ ต่อของนงั่ รา้ น ตอ้ งมคี วามแข็งแรงพอท่จี ะรบั นา้ หนกั ของนงั่ รา้ นชนิดนนั้ ๆ ได้ และอยู่ในสภาพท่ดี ีมคี วามมนั่ คง ไม่ สนั่ คลอนขณะปฏิบตั ิงานและควรผ่านการตรวจสอบจากวิศวกรท่ีมี ความชานาญอยู่เสมอ 23

5. ผูป้ ฏิบตั ิงานตอ้ งผ่านการอบรมการปฏิบตั ิงานบน นงั่ รา้ นและก่อนการปฏบิ ตั ิงานกบั นงั่ รา้ นตอ้ งมกี าร ตรวจสุขภาพวา่ มโี รคประจาตวั หรอื ไม่ 5. ตอ้ งตรวจสอบอุปกรณ์นงั่ รา้ นทุกครงั้ ก่อนเร่มิ ใชง้ าน หากอปุ กรณช์ ารุด หา้ มนามาใชเ้ดด็ ขาด 7. พ้ืนท่ีทางเดินตอ้ งวางและยึดอย่างมัน่ ค งกับ โครงสรา้ งของนงั่ รา้ นเสาคา้ ยนั นงั่ รา้ นตอ้ งตง้ั ใหไ้ ด้ ฉากกบั แนวระดบั 8. นงั่ รา้ นท่ีสูงกว่า 2 เมตรตอ้ งมีราวกนั ตก โดย ความสูงจากพ้ืนนัง่ รา้ นแต่ละชนั้ ไม่ตา่ กว่า 90 เซนตเิ มตร และสูงไมเ่ กนิ 110 เซนตเิ มตร 9. ตอ้ งจดั ใหม้ ีบนั ไดภายในของนงั่ รา้ นและมคี วาม ลาดเอยี งไมเ่ กนิ 45 องศา ยกเวน้ นงั่ รา้ นเสาเดย่ี ว 10. ผูป้ ฏิบัติงานจะตอ้ งสวมใส่อุปกรณ์ป้ อ งกัน อนั ตรายต่างๆ เช่น เขม็ ขดั นิรภยั หมวกนิรภยั ถงุ มอื รองเทา้ ตลอดเวลาปฏบิ ตั งิ าน 11. กรณีติดตงั้ นงั่ รา้ นใกลส้ ายไฟท่ไี ม่มีฉนวนหุม้ หรือ อปุ กรณไ์ ฟฟ้าตอ้ งดาเนินการจดั ใหม้ กี ารหุม้ ฉนวนท่ี เหมาะสม 12. หา้ มทางานบนนงั่ รา้ นแขวนหรอื นงั่ รา้ นแบบกระเชา้ ขณะฝนตกหรือลมแรงอนั อาจเป็นอนั ตราย และ ในกรณีท่ีมีเหตุการณ์ดงั กล่าวใหร้ ีบนานัง่ รา้ น ดงั กลา่ วลงสู่พ้นื ดนิ 24

ความปลอดภยั ใน ลิฟตก์ ระเชำ้ สว่ นบคุ คล การใช้งาน (Personnel Lift) Personnel Lift คุณสมบัตขิ องผู้ปฎิบตั งิ ำน 1. ผู้ปฎิบัติงำนจะต้องได้รับกำรอบรมกำรใช้เคร่ือง ก่อนที่จะปฎิบัติหรือได้รับมอบหมำยให้สำมำรถ ปฎบิ ตั งิ ำนเครอ่ื งดงั กลำ่ วได้ 2. ตอ้ งปฏบิ ตั ติ ำมคำแนะนำในหนังสอื คมู่ ือกำรใช้ 3. กำรซ่อมหรือกำรปรับแต่งต้องเป็นผู้ที่มีควำม ชำนำญและไดร้ บั กำรอบรม 4. ต้องไม่ มีกำ ร ปรับเ ปล่ียน แ ก้ไข ลิฟ ต์ก ระ เ ช้ ำ ดังกล่ำวโดยไม่ได้รับอนุมัติจำกผู้ผลิตต้องมีกำร ตรวจสอบลิฟต์กระเช้ำกอ่ นใชง้ ำนทกุ ครง้ั 5. ต้องมีกำรตรวจสอบสถำนที่ท่ีจะนำลิฟต์กระเช้ำ ไปใช้งำน ถ้ำสถำนที่ดังกล่ำวไม่ปลอดภัย ห้ำม ใชล้ ฟิ ต์ กระเชำ้ โดยเด็ดขำด ข้อควรปฎบิ ตั ใิ นกำรใชล้ ิฟต์กระเชำ้ • หลกี เลี่ยงสถำนกำรณท์ เ่ี สีย่ งตอ่ อนั ตรำย เชน่ ใกล้ แนวสำยไฟฟำ้ • ควรตรวจเช็คเคร่ืองก่อนกำรใช้งำนทุกครงั้ • ทดสอบปุม่ และสวทิ ชต์ ำ่ งๆ ของเครอ่ื งก่อนกำรใช้งำน ทุกคร้ัง • สำรวจพื้นท่ีทจี่ ะใช้ลิฟต์กระเชำ้ กอ่ นกำรใชง้ ำนทุกครั้ง • โปรดอ่ำนข้อแนะนำควำมปลอดภัยของผู้ผลิตจำกคู่มือ กำรใช้งำนและปำ้ ยเตอื นต่ำงๆ ทต่ี ิดไวท้ ี่เคร่อื งให้ละเอียด • ปฎิบัติตำมกฎควำมปลอดภยั ของสถำนประกอบกำรนัน้ ๆ • ปฎิบัติตำ มมำตรกำรควำ มปลอดภัยของกระทรว ง 25 อำ้ งองิ ปจ.ใหม่

กำรใช้ Hand Lift อย่ำงปลอดภยั สำคญั อยำ่ งไร? อย่ำงท่ีเรำทรำบกนั ดวี ำ่ ควำมปลอดภัยของคนสำคัญมำก ถ้ำใช้เครื่องมือ Hand Lift อย่ำงประมำท อำจ เกดิ ควำมเสียหำยขนึ้ อยำ่ งไมค่ ำดคิดดว้ ยควำมทแ่ี ฮนดล์ ิฟท์เป็นเครื่องมอื ที่มีน้ำหนักมำก และยงั ต้องขนของท่ี มีน้ำหนักหลำย ๆ ตันไปด้วยอีก โดยเฉพำะอย่ำงย่ิงรถลำกท่ีเป็น Hand Pallet แบบ Manual ที่ต้องใช้ แรงงำนคนในกำรควบคมุ มันอำจจะตอ้ งใช้ทักษะและควำมระมัดระวงั มำกเป็นพิเศษเพรำะหำกใช้งำนอย่ำงไม่ ระมดั ระวัง เช่น กำรลำกแฮนด์พำเลทลงในทำงลำดชนั ที่ผิดวิธี จึงทำให้กล่องลังต่ำง ๆ หล่นลงจำกพำเลท ซงึ่ มันอำจทำใหม้ กี ำรบำดเจ็บเกดิ ขนึ้ ได้ 1. ตรวจเชค็ ทุกอยำ่ งกอ่ นปฏบิ ัติงำน 5. ควรใช้กำรดึงหรอื ลำกมำกกว่ำกำรเขน็ ก่อนจะใช้งำน Hand Lift ต้องตรวจสอบทุกอย่ำงให้ เม่ือคุณใช้กำรดึงหรือลำกเข้ำหำตัว จะทำให้คุณสำมำรถ เรียบร้อยก่อนกำรปฏบิ ัตงิ ำนจริง ควบคมุ ตวั รถแฮนดพ์ ำเลทไดด้ ีกว่ำ เพรำะกำรเข็นหรือกำรดัน ออกไปเพ่ือให้รถเคล่ือนที่ มีโอกำสท่ีจะทำให้ล้อเปล่ียนทิศทำง 2. ระวังเร่อื งน้ำหนักสินค้ำ และเสียกำรทรงตัวไดง้ ่ำย ซึ่งอำจจะทำใหเ้ กิดกำรพลิกคว่ำได้ ดูว่ำแฮนด์ลิฟท์หรือแฮนดพ์ ำเลทของคุณสำมำรถรองรับ น้ำหนักได้มำกท่ีสุดเท่ำไหร่ และอย่ำบรรทุกสินค้ำที่มี 7. อยู่ตำแหน่งท่เี หมำะสม น้ำหนกั เกินกว่ำน้นั ก่อนอ่ืนคุณอำจจะต้องกำหนด ทิศทำงกำรเคลื่อนท่ีกับ พนักงำนทุกคนที่ใช้งำนตั้งแต่แรกว่ำ ควรเดินทำงซ้ำยหรือ 3. ไมค่ วรวง่ิ ขณะกำลงั เคลอื่ นท่ี ขวำ เพ่ือให้เข้ำใจตรงกันในโรงงำน ซ่ึงก็จะเป็นระเบียบและ จำไว้เสมอว่ำรถลำกพำเลทน้ันไม่มีเบรก ฉะนั้นจึงควร เกิดอนั ตรำยไดน้ ้อยทส่ี ุด ควบคุมควำมเร็วของกำรเคล่ือนท่ีด้วยกำรเดิน ไม่ควร ว่ิง เวลำเลี้ยวควรเลย้ี วไปในทิศทำงที่ชดั เจน 6.หำ้ มขนึ้ ไปบนรถลำกเด็ดขำด ห้ำมข้ึนไปบนรถลำกพำเลทไม่ว่ำจะในกรณีจำเป็นหรือนำไปข่ี 4. ควบคุมควำมเรว็ ในทำงลำดชนั เล่นก็ตำม เพรำะอำจส่งผลให้รถเสื่อมสภำพกำรใช้งำน และ แม้ว่ำเรำจะไม่ควรลำกแฮนด์ลิฟท์และแฮนด์พำเลทไป ยงั เป็นอันตรำยต่อคนทข่ี นึ้ ไปขอี่ ีกด้วย ในทำงลำดชัน แต่ในบำงคร้ัง เรำอำจไม่สำมำรถ หลกี เลีย่ งที่จะเดินผ่ำนมนั ได้ 26

ความปลอดภัย ในการทางานสาหรบั ผู้รับเหมา 27

กฎความปลอดภยั ในการทางาน 1) การแต่งกาย ตอ้ งแต่งกายรดั กุม สวมเส้ือกางเกงขายาว รองเทา้ Safety หรอื หมุ้ สน้ 2) การทางานของผูร้ บั เหมา จะตอ้ งมหี วั หนา้ ควบคุมดูแลทุกครงั้ 3) การต่อสายไฟฟ้า ตอ้ งไดร้ บั อนุญาตจากผูร้ บั ผดิ ชอบก่อนทกุ ครง้ั 4) ผ่านการอบรมความปลอดภยั ก่อนเร่มิ งานและปฏบิ ตั ิตามขอ้ กาหนดของ กฎหมายและระเบยี บวธิ กี ารปฏบิ ตั ขิ องบรษิ ทั ฯ 5) ปฏิบัติตามขอ้ กาหนดดา้ นความลปอดภัย อาชีวอนามัยและ สภาพแวดลอ้ มในการทางานของบริษทั ฯ 6) รบั ผิดชอบต่อการกระทาผิดกฎหมายหรือขอ้ กานดของบริษทั อัน เก่ียวเน่ืองจากความผิดพลาดของลูกจา้ งตวั แทนและผูร้ บั เหมาย่อยของ ตน 7) ก่อนเร่มิ ดาเนินงาน บนั ทกึ และปฏิบตั ิตามขอ้ กาหนดดา้ นการทางานเพ่อื ป้องกนั พนกั งานจากอนั ตรายโดยการปฏิบตั ิตามขน้ั ตอนการปฏิบตั ิงาน การฝึกฝน และการตรวจสอบสถานทท่ี างาน วสั ดุอปุ กรณ์ เคร่อื งมอื และ การปฏบิ ตั งิ าน 8) อบรมลูกจา้ งใหม้ ีความตระหนักในการหลีกเล่ียงสถานการณ์ท่ีไม่ ปลอดภยั หรอื ละเมดิ ต่อขอ้ กาหนด 9) จดั เตรยี มอปุ กรณค์ ุม้ ครองความปลอดภยั ส่วนบุคคลตามขอ้ กาหนดของ บรษิ ทั และกฎหมายทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง 10) จดั เตรียมอุปกรณ์เคร่ืองมือท่ีจาเป็นสาหรบั การปฏิบตั ิงานใหป้ ลอดภยั เคร่ืองมอื และ/หรืออุปกรณ์นนั้ กาหนดใหม้ ีการสอบเทียบตอ้ งมนั่ ใจว่า ปฏบิ ตั ติ าม 11) เจา้ หนา้ ท่รี กั ษาความปลอดภยั ของบริษทั มสี ิทธใิ นการตกั เตือนว่ากล่าว ไดใ้ นกรณีท่ีพบเห็นเหตุการณ์ไม่ปลอดภยั และการฝ่ าฝื นกฎความ ปลอดภยั ของบรษิ ทั 28

กำรปฐมพยำบำล FIRST AID ขอ้ แนะนำ กำรปฐมพยำบำล กำรปฐมพยำบำล เบื้องต้นวิธกี ำรหำ้ มเลอื ด - หำกรสู้ กึ ว่ำปว่ ยจนไมส่ ำมำรถทำงำนได้ให้แจง้ หัวหนำ้ 1. ใช้ผ้ำสะอำดๆกดทับลงไปบนบำดแผลพันแผลให้ งำนทรำบทันที แนน่ พอดีทับลงบนผ้ำท่ีกดทับแผลไว้ - ถำ้ หำกได้รับบำดเจ็บในกำรทำงำนตอ้ งแจ้งให้หัวหนำ้ งำนทรำบทันทไี ม่วำ่ มำกหรอื น้อย 2. ถ้ำบำดแผลเกิดที่ปลำยเท้ำ ปลำยแขน หรือส่วน - กำรปฐมพยำบำลจะทำได้เฉพำะรำยท่ีบำดเจ็บเพียง อ่ืนๆ ที่ต่ำ ควรทำกำรยกข้ึนให้อยู่ในระดับสูง เล็กน้อย ส่วนที่บำดเจ็บมำกควรให้แพทย์เป็นผู้ดูแล โดยใช้หมอนรองหรือวัสดุอืน่ ๆก็ได้ พึงระลึกไว้เสมอว่ำในรำยท่ีบำดเจ็บมำก ๆ กำรปฐม พ ย ำ บ ำ ล จ ะ ท ำ เ พี ย ง เ บื้ อ ง ต้ น ก่ อ น ถึ ง มื อ แ พ ท ย์ 3. ถ้ำคนเ จ็บ เกิ ด กระ ห ำยน้ ำ ให้ ดื่มได้ แต่น้อ ย กำรช่วยเหลืออย่ำงฉับพลันทันทีหลังเกิดอุบัติเหตุอำจ (ประมำณครึ่งแก้วต่อทุกๆ 30 นำที) และคน เป็นกำรช่วยชวี ติ ไวไ้ ด้ เจ็บ จะต้องไม่เป็นผู้มีบำดแผลในช่องท้องหรือ หน้ำอกส่วนล่ำง ห้ำมมิให้คนเจ็บดื่มเคร่ืองด่ืมท่ี ผสมแอลกอฮอล์อย่ำงเด็ดขำด 4. นำคนเจ็บส่งโรงพยำบำลโดยด่วน หรือขอควำม ช่วยเหลอื จำกหน่วยแพทย์ 29

กำรปฐมพยำบำลเบื้องต้น คือ กำรช่วยเหลือเบื้องต้นโดยรีบด่วนแก่ ผู้ได้รับบำดเจ็บหรือเจ็บปว่ ยอย่ำงกะทันหัน เพื่อช่วยบรรเทำควำม เจบ็ ปวด และทำให้ได้รับอันตรำยนอ้ ยทส่ี ุด กอ่ นที่จะนำส่งโรงพยำบำล ให้แพทยร์ ักษำตอ่ ไป สำหรับผู้ให้กำรช่วยเหลือ จะต้องมีควำมรู้ในกำร ปฐมพยำบำลชว่ ยเหลืออยำ่ งรวดเรว็ และถูกวิธี กำรปฐมพยำบำล กำรปฐมพยำบำล เบอ้ื งต้นกรณถี ูกไฟฟำ้ ดดู เบอื้ งต้นภำวะฮที สโตรค 1. ควรแยกผู้ประสบเหตุออกจำกวงจรไฟฟำ้ โดย โรคลมแดด มักเกิดในช่วงหน้ำร้อน เนื่องจำก ปลดสวิตช์ที่จ่ำยไฟ เช่น คัทเอำท์ เต้ำเสียบออก สภำพอำกำศที่ร้อนจัดทำให้อุณหภูมิในร่ำงกำย ห รื อ ใ ช้ ไ ม้ แ ห้ ง เ ชื อ ก แ ย ก ผู้ ป่ว ย อ อ ก จ ำ ก สงู ขนึ้ อยำ่ งรวดเร็ว เบ้อื งตน้ อำจแสดงอำกำรเป็น วงจรไฟฟำ้ ตะคริวแดด หรืออำกำรอ่อนเพลียแดด เม่ือยล้ำ ออ่ นเพลยี หนำ้ มืด ปวดศรษี ะ เป็นลม 2. ประเมินผู้ปว่ ยว่ำยังรู้สึกตัวอยู่หรือไม่ หำกไม่มีสติ วธิ กี ำรช่วยคนภำวะฮที สโตรค ค ล ำ ห ำ ชี พ จ ร ห ำ ก ไ ม่ พ บ ค ว ร เ รี ย ก ข อ ค ว ำ ม ช่วยเหลือหรือเรียกบริกำรกำรแพทย์ฉุกเฉินจำก 1. หลักสำคัญท่ีสุด คือ กำรลดระดับควำม หน่วยงำนตำ่ งๆทันที ร้อนจำกร่ำงกำยลงให้เร็วท่ีสุดก่อนนำส่ง โรงพยำบำลเช่น ใช้ผ้ำชุบน้ำเย็น หรือถุง 3. ทำกำรกดหน้ำอกอย่ำงถูกต้องและทันท่วงที ให้ ใส่น้ำแข็ง หมุนเวียนประคบตำมคอ ลำตัว ทำ CPR ไปจนกวำ่ กู้ชีพจะมำถงึ หรือจนกว่ำผู้ปว่ ย แขนขำ ข้อพับต่ำง ๆ จะรสู้ กึ ตัว 2. จดั ทำงใหผ้ ู้ปว่ ยนอนหงำย ยกเท้ำใหส้ ูงข้ึน เพ่ือช่วยเพิ่มปริมำณเลือดท่ีไหลเวียนกลับ สหู่ วั ใจได้มำกขน้ึ 3. เม่ือผู้ปว่ ยรู้สึกตัวดีข้ึนสำมำรถด่ืมน้ำเพื่อ ชดเชยภำวะขำดน้ำของรำ่ งกำยได้ 30


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook