Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานเรื่องย้อนรอยประวัติศาสตร์แผนที่ประเทศไทย สู่การเป็นขวานทองในปัจจุบัน

รายงานเรื่องย้อนรอยประวัติศาสตร์แผนที่ประเทศไทย สู่การเป็นขวานทองในปัจจุบัน

Published by kamonwat0949868337, 2021-11-28 14:12:04

Description: รายงานขัตติยพันธกรณี

Search

Read the Text Version

รายงาน เรื่อง ยอ้ นรอยประวตั ศิ าสตร์แผนท่ีประเทศไทยในอดีต สูก่ ารเปน็ ขวานทองในปัจจุบนั เสนอ คณุ ครูสายฝน โหจนั ทร์ นางสาวกมลวัทน์ โดย ช้นั ม.๖/๑ เลขท่ี ๒ นางสาวจฑุ ามาศ ชนั้ ม.๖/๑ เลขที่ ๔ นางสาวพมิ พ์ชนก โตรักษา ชนั้ ม.๖/๑ เลขที่ ๙ นางสาวปิยพชั ร์ พลู สมบตั ิ ชนั้ ม.๖/๑ เลขท่ี ๑๓ นางสาวมทั วนั ภรู่ ะหงษ์ ชนั้ ม.๖/๑ เลขท่ี ๑๘ พรสวสั ด์กิ ล่ิน วนิ ทะไชย รายงานนเี้ ป็นสว่ นหน่ึงของวิชาภาษาไทยพื้นฐาน (ท๓๓๑๐๒) ภาคเรยี นที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ โรงเรยี นมารียอ์ ุปถัมภ์ อ.สามพราน จ.นครปฐม

ก คำนำ รายงานเรื่อง ย้อนรอยประวัติศาสตร์แผนที่ประเทศไทยในอดีต สู่การเป็นขวานทองในปัจจุบัน เป็นส่วน หนึ่งของวิชาภาษาไทยพื้นฐาน (ท๓๓๑๐๒) ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความ เป็นมาของแผนที่ประเทศไทย สืบเนื่องจากคณะผู้จัดทาศึกษาเรื่องขัตติยพันธกรณีจากแบบเรียนวรรณคดีวิจักษ์ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๖ แล้วพบว่ามีประเด็นท่นี า่ สนใจ และตอ้ งการศกึ ษาค้นคว้าเพ่มิ เตมิ ในประเด็นดังกล่าวจึงนามา จัดทารายงาน โดยมีขอบข่ายเนื้อหาดังนี้ เนื้อเรื่องขัตติยพันธกรณี เหตุการณ์ร.ศ.๑๑๒ การสูญเสียดินแดนจาก เหตุการณ์ ร.ศ.๑๑๒ และความเป็นมาของแผนที่ประเทศไทยในปัจจุบัน ทั้งนี้คณะผู้จัดทาได้ศึกษาค้นคว้า และ รวบรวมข้อมูลจากหนังสือ วารสาร วิทยานิพนธ์ และข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต โดยอาศัยกระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และเชื่อมโยง จนสาเรจ็ เป็นรายงานเลม่ นี้ คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานเล่มนี้ จะเอื้อประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจไม่มากก็น้อย และขอน้อมรับ ขอ้ เสนอแนะตา่ ง ๆ เพอ่ื นาไปเพมิ่ เติม หรอื แกไ้ ขต่อไป คณะผจู้ ัดทา ๒๕ / ๑๑ / ๖๔

สำรบัญ ข เรื่อง หน้า ก คานา ข สารบัญ ๑ บทนา ๒ ๒ ๑. เรื่อง ขัตติยพันธกรณี ๓ - ประวตั ขิ องผู้แต่ง ๓ - ลกั ษณะคาประพนั ธ์ ๓ - ท่ีมาของเรอื่ ง ๓ - จดุ ประสงคข์ องเรื่อง ๕ - เน้อื เร่อื งย่อ ๕ ๑๔ ๒. เหตุการณ์ ร.ศ.๑๑๒ ๑๙ - สาเหตุของการเกดิ ร.ศ.๑๑๒ ๒๒ - เหตุการณ์สาคัญ ๒๒ - ผลกระทบจากเหตุการณ์ร.ศ.๑๑๒ ๒๔ ๒๔ ๓. การสูญเสยี ดนิ แดนจากเหตกุ ารณ์ร.ศ.๑๑๒ ๓๐ - ดินแดนท่ีสญู เสียไปจากเหตุการณร์ .ศ.๑๑๒ ๓๑ ๓๒ ๔. ความเป็นมาของแผนท่ปี ระเทศไทยในปัจจุบนั - แผนที่ประเทศไทยก่อนเสียดนิ แดน - แผนที่ประเทศไทยหลังเสยี ดินแดน บทสรุป บรรณานกุ รม

บทนำ วิกฤตการณ์ ร.ศ. ๑๑๒ (เอกสารภาษาอังกฤษเรียกว่า Franco-Siamese War หรือ \"สงครามฝรั่งเศส - สยาม\") เป็นเหตุการณ์ความขัดแย้งระหว่างราชอาณาจักรสยามกับฝรั่งเศสในสมัยสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ ๓ ซึ่ง เกดิ ข้นึ ในปี พ.ศ. ๒๔๓๖ จากการอ้างอานาจอธิปไตยเหนือพื้นที่ฝั่งซ้ายของแม่น้าโขง (พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศ ลาวในปัจจุบัน) ผ้มู บี ทบาทสาคัญในวิกฤตการณ์ครั้งนี้คือนายโอกุสต์ ปาวี รองกงสุลฝรั่งเศสประจานครหลวงพระ บาง ซ่งึ เป็นผ้นู าสาคญั ในการแสวงหาผลประโยชน์ของฝ่ายฝร่งั เศสในดินแดนลาว โดยใช้ประโยชน์จากจุดอ่อนของ สยามท่ีไม่สามารถดแู ลหัวเมืองชายแดนได้ทั่วถึง การกอ่ กบฏในเวียดนามที่เกิดขึ้นเป็นระยะๆ การปราบฮ่อซึ่งแตก พา่ ยจากเหตุการณก์ บฏไทผ่ ิงในจีน และการทวคี วามขัดแยง้ ระหวา่ งรัฐบาลสยามกับรัฐบาลฝรั่งเศสที่กรุงปารีส ผล ของวิกฤตการณค์ รงั้ นี้ทาใหฝ้ า่ ยไทยจาตอ้ งยอมยกดนิ แดนลาวฝ่ังซ้ายของแม่น้าโขงให้แก่ฝรั่งเศส นับเป็นการขยาย อทิ ธิพลครง้ั สาคัญของฝรัง่ เศสในภูมิภาคอินโดจีน และนาไปสู่การสูญเสียดินแดนประเทศราชของไทยในเขมรและ ลาวที่เหลืออยใู่ นเวลาต่อมา ตั้งแต่วิกฤติการณ์ ร.ศ. ๑๑๒ เริ่มเกิดขึ้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าอยู่หัวทรง พยายามแก้ไขปญั หาอยา่ งเตม็ ที่ ทั้งโดยวิธีทางการทูต การทหาร และการแสวงหาความช่วยเหลือจากมหาอานาจ อนื่ จนทรงพระประชวรและทรงคดิ วา่ อาจสวรรคต ยิ่งไปกว่าน้นั การเสยี ดินแดนฝั่งซ้ายแมน่ ้าโขงในวกิ ฤตการณ์ ร.ศ. ๑๑๒ ซง่ึ ทาให้พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยู่หัวเสียพระราชหฤทัยอย่างสุดซึ้ง จนถึงกับน้าพระเนตร ไหล ดังทมี่ หาเสวกเอกพระยาบรุ ุษรตั นราชพลั ลภ (นพ ไกรฤกษ)์ ได้เล่าไว้ว่า “แต่ในที่สุดพระองค์ก็ทรงหักพระทัย ได้ ทรงรับสั่งเป็นเชิงปรารภว่า การเสียเขตแดนแต่เพียงเล็กน้อยตามชายพระราชอาณาจักรซึ่งเราเองก็ทานุ บารงุ รักษาให้เจริญเต็มที่ไม่ได้นั้น ก็เปรียบเหมือนกับเสียปลายนิ้วของเราไป ยังไกลอยู่ รักษาหัวใจกับตัวไว้ให้ดีก็ แล้วกัน” จากวิกฤตการณ์ครั้งนั้นทาให้ประเทศไทยแข็งแกร่งขึ้น ในขณะเดียวกันส่งผลต่อแผนที่ของประเทศไทย ในปัจจุบัน หากประเทศไทยไม่เสียดินแดนให้กับประเทศฝรั่งเศสแผนที่เดิมของประเทศไทยจะมีลักษณะอย่างไร ซึ่งเป็นคาถามที่คณะผู้จัดทาให้ความสนใจหลังจากที่ได้ศึกษาเรื่องขัตติยพันธกรณีแล้ว จึงได้จัดทารายงานโดยมี ประเด็นหลักๆดังนี้ เรื่อง ขัตติยพันธกรณี เหตุการณ์ ร.ศ.๑๑๒ การสูญเสียดินแดนจากเหตุการณ์ ร.ศ.๑๑๒ และ ความเปน็ มาของแผนทปี่ ระเทศไทยในปัจจบุ ัน ซ่งึ สามารถติดตามไดจ้ ากรายงานเลม่ นี้

๒ ๑.ขตั ตยิ พนั ธกรณี ๑.๑ ประวัติผแู้ ต่ง สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา ( ๒๕๖๓ : ออนไลน์ ) ได้กล่าวถึงประวัติผู้แต่งขัตติยพันธกรณีไว้ว่า เป็นกวี นิพนธ์ที่มาจากเหตุการณ์จริงในประวัติศาสตร์ไทยในสมัยรัชกาลที่ ๕ ที่เกี่ยวกับการสูญเสียดินแดนให้กับ ประเทศฝร่ังเศส ซึง่ สง่ ผลกระทบต่อประเทศเป็นอย่างมาก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราช นิพนธ์เรื่องนี้ขณะทรงมีพระอาการประชวร โดยมีสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพทรง พระนพิ นธต์ อบกลบั พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั พระบรมราชสมภพ เมื่อวันท่ี ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๓๙๖ เป็น พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระนางเจ้าฟ้าราเพยภมราภิรมย์ เสด็จขึ้น ครองราชย์เมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๑๑ และบรมราชาภิเษกครั้งแรกเมื่อวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๑๑ ทรงพระนามว่า \"พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจฬุ าลงกรณ์ พระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยูห่ ัว\" พระราชกรณียกิจที่สาคัญของพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว ( รัชกาลที่ ๕ ) ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้ มีการเลิกทาส การปกป้องประเทศจากสงคราม และทรงใช้พระ ปรีชาสามารถอย่างสุดพระกาลังที่จะรักษาประเทศชาติให้รอดพ้น จากเหตุการณ์ ร.ศ. ๑๑๒ และนอกจากน้ีวนั ท่ี ๒๓ ตุลาคม เป็นวัน คล้ายวันสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รชั กาลท่ี ๕ เน่ืองดว้ ยพระองค์ทรงเป็นกษัตริย์ที่เป็นที่เคารพรักของ ทวยราษฎร์ ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณอเนกประการ ทั้งในการ ปกครองบ้านเมืองและพระราชทานความร่มเย็นเป็นสุขแก่ชนทุก หมู่เหล่า ทวยราษฎร์ทั้งปวงจึงน้อมใจแสดงความจงรักภักดี ด้วย การถวายพระนามวา่ \"พระปิยมหาราช\" หรือพระพทุ ธเจา้ หลวง สานักข่าวสับปะรด ( ๒๕๖๑ : ออนไลน์ ) ได้กล่าวถึงประวัติกรมพระยาดารงราชานุภาพไว้ว่า มีพระนาม เต็มว่า “สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดารงราชานุภาพ” ประสูติเมื่อวันที่ ๒๑ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๔๐๕ ทรงเปน็ พระราชโอรสองคท์ ี่ ๕๗ ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ กับ เจ้าจอมมารดาชุ่ม พระองคท์ รงเปน็ ต้นราชสกลุ “ดิศกุล” พระองค์ทรงงานในด้านต่างๆอย่างเต็มที่ จนเป็นที่ไว้วางพระราชหฤทัยในพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ และทรงงานเพื่อช่วยพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้ามาโดยตลอดรวมถึง เหตกุ ารณ์ ร.ศ. ๑๑๒ กระท่ัง พ.ศ. ๒๔๗๒ ในรชั สมยั ของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๗ ได้ โปรดเกล้าฯ พระราชทานพระอิสริยยศเป็น “สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ” ซึ่งนับว่า เป็นตาแหน่งสูงที่สุดสาหรับพระบรมวงศานุวงศ์ และวันที่ ๒๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๐๕ องค์การยูเนสโก

๓ (UNESCO) ได้ยกย่องให้ “กรมพระยาดารงราชานุภาพ” เป็นบุคคลสาคัญของโลก ซึ่งนับเป็นคนไทยคนแรกท่ี ยูเนสโกยกย่องให้เป็นบุคคลสาคัญของโลกและทรงได้รับการถวายพระนามว่า \"บิดาแห่งประวัติศาสตร์ไทย\" เนือ่ งจากพระองคไ์ ด้ทรงวางรากฐานและรงั สรรค์ผลงานด้านการพัฒนาประเทศหลากหลายด้านรวมถึงผลงานพระ นพิ นธ์ทก่ี ลายมาเป็นมรดกทางปญั ญาของคนไทยจวบจนปัจจุบนั ๑.๒ ลักษณะคำประพนั ธ์ ปิยะนันท์ เมืองซอง ( ๒๕๖๑ : ออนไลน์ ) ได้กล่าวถึงลักษณะคาประพันธ์เรื่องขัตติยพันธกรณีไว้ว่าแต่ง ดว้ ยคาประพันธ์ประเภทโคลงสีส่ ุภาพและอินทรวเิ ชยี รฉนั ท์ ๑.๓ ท่มี ำของเรื่อง กิ่งกาญจน์ (๒๕๕๘ : ออนไลน์) ได้กล่าวถึงที่มาขัตติยพันธกรณี (เหตุอันเป็นข้อผูกพันของกษัตริย์) เป็น พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ และพระนิพนธ์ของสมเด็จกรมพระยาดารงราชานุภาพ เป็น กวีนิพนธ์ที่ผู้ใดได้อ่านจะประทับใจเป็นอย่างยิ่ง เป็นบทที่มีที่มาจากเหตุการณ์จริงในประวัติศาสตร์ ในระยะหัว เลี้ยวหัวต่อที่เกี่ยวกับความอยู่รอดของประเทศของเรา เหตุการณ์นี้คือเหตุการณ์ ร.ศ. ๑๑๒ ซึ่งตรงกับ พ.ศ. ๒๔๓๖ ไทยขัดแย้งกบั ฝรั่งเศสเรื่องเขตแดนทางดา้ นเขมร ฝรั่งเศสสง่ เรอื ปืนแล่นผา่ นป้อมพระจุลจอมเกล้าฯ เข้า มาจอดทอดสมอหน้าสถานทูตฝรั่งเศส ถืออานาจเชิญธงชาติฝรั่งเศสขึ้นเหนือแผ่นดินไทย ตรงกับวันที่ ๑๔ กรกฎาคม ซงึ่ เป็นวนั ชาตฝิ รัง่ เศสและยน่ื คาขาด เรียกรอ้ งดนิ แดนทง้ั หมดทางฝั่งตะวันออกของแม่น้าโขง ซึ่ง ขณะนั้นอยู่ใต้อานาจปกครองของไทยเนื่องจากไทยให้คาตอบล่าช้า ทูตปาวีของฝรั่งเศสจึงให้เรือปืนปิดล้อมอ่าว ไทย เปน็ การประกาศสงครามกบั ไทย ซง่ึ ขอ้ เรียกร้องของฝรัง่ เศส ไดแ้ ก่ ๑. ฝรั่งเศสในฐานะเป็นมหาอานาจผู้คุ้มครองเวียดนามและกัมพูชา จะต้องได้ดินแดนทั้งหมดทางฝั่ง ตะวนั ออกของแมน่ า้ โขง ๒. ไทยจะตอ้ งลงโทษนายทหารทกุ คนท่กี ่อการรุกรานทช่ี ายแดน ๓. ไทยจะตอ้ งเสียคา่ ปรบั แกฝ่ รงั่ เศสเป็นจานวน ๓ ล้านฟรังค์เหรียญทอง (เทา่ กับ ๑,๕๖๐,๐๐๐ บาท สมยั นั้น) ๑.๔ จุดประสงคใ์ นกำรแต่ง ประจักษ์ น้อยเหนือ่ ย ( ๒๕๕๙ : ออนไลน์ ) ได้กลา่ วถึงจุดประสงค์ในการแต่งไวว้ า่ พระบาทสมเดจ็ พระ จุลจอมเกล้าเจา้ อย่หู วั ทรงพระราชนิพนธ์เพ่ืออาลาเจา้ นาย และพระบรมวงศ์ เพราะทุกขโ์ ทมนัสเน่อื งจากฝรัง่ เศษ เข้ามาคุกคามในประเทศเเละสมเด็จพระบรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดารงราชานภุ าพทรงพระนิพนธ์ตอบกลับ พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั เพ่ือถวายกาลงั พระทยั และถวายข้อคดิ ๑.๕ เนื้อเรอ่ื งยอ่ Jutalak Cherdharun ( ๒๕๖๔ : ออนไลน์ ) ได้กล่าวถึงเนื้อเรื่องย่อของขัตติยพันธกรณีไว้ว่า พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยูห่ ัว ทรงพระราชนพิ นธ์เรอื่ งขตั ติยพนั ธกรณี ด้วยโคลงส่ีสุภาพจานวน ๗ บท ดว้ ยกนั โดยบรรยายความกังวลใจ ที่ทรงมีพระอาการประชวรอย่างหนักเป็นเวลานาน ด้วยโรคฝีสามยอด และไข้

๔ สา่ ทาให้เปน็ ที่หนักใจของผ้ทู ด่ี แู ลรกั ษา อีกท้ังยังบรรยายถึงความเจ็บปวดพระวรกายจากพระอาการประชวร จึง มพี ระราชดารเิ สด็จสวรรคตแต่พระองค์ทรงไมส่ ามารถทาเชน่ น้ันได้ เน่อื งจากเป็นกษัตริยท์ ี่มีภาระหน้าที่อันยิ่งใหญ่ คือการปกปอ้ งรักษาบ้านเมอื งจากประเทศฝรั่งเศสนัน่ เอง หลงั จากน้ัน รัชกาลที่ ๕ ทรงบรรยายความรู้สึกดว้ ยอนิ ทรวิเชียรฉันท์ โดยบรรยายถึงความรู้สึกเบื่อหน่าย หมดกาลังพระทัย เนอ่ื งจากพระอาการประชวรท่ยี าวนาน และยังมีความเจ็บทางใจทเี่ กิดจากการต้องปกป้องรักษา บ้านเมืองเอาไว้ อกี ท้ังยงั มคี วามกงั วลใหญ่หลวงในพระทยั และทรงหวน่ั เกรงว่าจะทรงกลายเป็นพระมหากษัตริย์ท่ี ราษฎรจะกล่าวหาว่าเป็นต้นเหตุทาให้เสียบ้านเสียเมืองแก่ต่างชาติเช่นเดียวกับสมเด็จพระมหินทราธิราช และ สมเดจ็ พระเจ้าเอกทัศ (คาประพันธใ์ ชว่ ่า “ทวิราช” แปลว่า กษัตริย์สองพระองค์) ในช่วงที่เสียกรุงศรีอยุธยาทั้ง ๒ คร้งั รัชกาลที่ ๕ ไมต่ อ้ งการจะเป็นกษัตริยอ์ กี พระองค์หนึ่งท่ีทาให้เราต้องสญู เสียเอกราชไป ในส่วนของพระนิพนธ์ของสมเด็จพระเจ้า บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดารงราชานภุ าพ แต่งด้วย คาประพันธป์ ระเภทอินทรวิเชียรฉันท์ โดยแต่งเพื่อ ถวายกาลังพระทัยรัชกาลที่ ๕ และถวายข้อคิดให้ ตระหนักถึงสัจธรรม โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์ เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพเปรียบประเทศ ไทยเป็นเรือลาใหญ่ลาหนึ่ง อันมีรัชกาลที่ ๕ เป็น กัปตนั ซ่งึ เป็นผทู้ ี่เป็นใหญใ่ นเรือ มีอานาจสั่งลูกเรือ ซ่ึงหมายถึงชาวสยาม โดยรชั กาลที่ ๕ ในฐานะกัปตนั มีหนา้ ทน่ี าพาลกู เรือให้รอดพ้นจากพายุคลนื่ ลมมรสุมตา่ ง ๆ สว่ นสจั ธรรมท่ีสมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานภุ าพทรงกลา่ วถึงคอื เรื่องของการทางาน ทุกอย่างย่อมมีปัญหาและอุปสรรคเกิดขึ้นทั้งนั้น อีกทั้งยังทรงอาสาที่จะถวายชีวิตรับใช้พระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกลา้ เจา้ อยูห่ ัว ตรงกับสภุ าษติ โบราณทีว่ า่ “อาสาเจ้าจนตัวตาย” นอกจากนั้น ยังได้ถวายพระพรให้รัชกาล ที่ ๕ ทรงฟืน้ จากพระอาการประชวรโดยเรว็ จากเรื่องขัตติยพันธกรณีแสดงให้เห็นถึงประเทศไทยในสมัยรัชกาลที่ ๕ ที่ต้องสูญเสียดินแดนให้กับ ประเทศฝรั่งเศส จึงทาให้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชดาริเสด็จสวรรคต เนื่องจากพระ อาการประชวรและถูกฝรั่งเศสคุกคาม โดยมีสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพคอยถวาย กาลังพระทัยและถวายสจั ธรรมเพ่อื ปลอบประโลมให้คลายทกุ ข์ปลกุ ใจให้ลกุ ขนึ้ สกู้ ับการสูญเสียดินแดนสิบสองจุไท และดินแดนบนฝ่งั ซา้ ยของแม่นา้ โขง ซงึ่ เป็นเหตุการณ์สาคญั โดยมีเหตกุ ารณ์ ร.ศ. ๑๑๒ เป็นสาเหตุของการสูญเสีย ดินแดนทัง้ หมด

๕ ๒. เหตกุ ำรณ์ ร.ศ.๑๑๒ ๒.๑ สำเหตุของกำรเกิด ร.ศ.๑๑๒ ไกรฤกษ์ นานา ( ๒๕๕๓ : ออนไลน์ ) ได้กล่าถึงสาเหตุของการเกิดวิกฤตการณ์ ร.ศ. ๑๑๒ ไว้ว่าปฐมเหตุ ของวิกฤตการณ์ ร.ศ. ๑๑๒ เกิดขน้ึ ในราวกลางยคุ จกั รวรรดินิยมของคริสต์ศตวรรษที่ ๑๙ เมื่อประเทศมหาอานาจ จากยุโรปแข่งขันกันแย่งชิงดินแดนที่อ่อนแอกว่าตามส่วนต่างๆ ของโลกมาเป็นของตน เพื่อตักตวงความอุดม สมบรู ณท์ างทรพั ยากรธรรมชาติ ตลอดจนขยายอทิ ธิพลและความเป็นต่อทางการเมืองในหมู่คแู่ ข่งของตน แนวความคิดของชาวยุโรปนั้น หากจะครองโลกก็ต้องครองเอเชียให้ได้เสียก่อน เพราะเอเชียมีทรัพยากร อันมหาศาล และมีความอุดมสมบูรณ์ชั่วนาตาปี ขั้นตอนของการครองเอเชียก็คือ ขั้นแรกต้องยึดครองทวีปมืดใน แอฟรกิ าเสียกอ่ น ซงึ่ กท็ าไดโ้ ดยง่ายดาย จากนน้ั ก็เขยบิ เข้ามาในเอเชียไมเนอร์ที่อุดมไปด้วยน้ามันดิบมีเชื้อเพลิงให้ เผาผลาญไดไ้ ม่หมดสิ้น ขั้นต่อมาก็ขยับมาอินเดียอันมั่งคั่งร่ารวย แล้วจึงข้ามไปมหาสมุทรแปซิฟิกเพื่อครอบครอง ดนิ แดนอ่ืนสุดขอบฟ้า จุดกึ่งกลางที่ขวางกั้นก็คือคาบสมุทรอินโดจีน เมื่อบรรลุถึงขั้นนั้นก็เรียกว่าครองโลกได้แล้ว เพราะมีอิทธิพลเหนือคนมากกว่าพันล้าน อังกฤษและฝรั่งเศสเป็นสองมหาอานาจผู้ต้องการจะพิชิตเมืองจีนให้ได้ ก่อนกัน หลังจากที่ฝรั่งเศสพ่ายแพ้อย่างย่อยยับต่อเยอรมนีในสงครามฟรังโก-ปรัสเซีย (Franco-Prussian War ค.ศ.๑๘๗๐-๑๘๗๑) ทาให้ระบอบสมบูรณาญาสิทธริ าชย์ทมี่ ีจักรพรรดินโปเลียนที่ ๓ เป็นองค์ประมุขต้องล่มสลาย ลง ภายในฝรง่ั เศสเอง รฐั บาลสาธารณรฐั ท่ปี ระชาชนจัดตง้ั ขึ้นใหม่จาเป็นตอ้ งฟื้นฟปู ระเทศและกอบกเู้ สถียรภาพให้ กลับมามั่นคงดังเช่นที่เคยยิ่งใหญ่มาก่อน เยอรมนีซึ่งกลายเป็นประเทศมหาอานาจแทนที่ฝรั่งเศสได้กลายเป็น ศนู ย์กลางของระบอบการเมอื งการปกครองในยโุ รป ในขณะทีฝ่ รงั่ เศสตกตา่ อยา่ งหนัก ในระหว่างนี้รัฐบาลฝรั่งเศสเล็งเห็นว่าการที่จะเรียกความเชื่อมั่นกลับคืนมาในหมู่ชาวฝรั่งเศสและ ประชาคมยุโรป คือความจาเป็นในการแผ่อานาจและอิทธิพลออกไปนอกทวีปยุโรป และวิธีการที่ต้องนามาใช้คือ “นโยบายจักรวรรดินิยม” ดังเช่นมหาอานาจอย่างอังกฤษใช้ได้ผลอย่างกว้างขวางไปทั่วโลก ฝรั่งเศสตระหนักว่า การมีเมอื งข้นึ มากๆ และแหล่งทรพั ยากรใหมๆ่ จะช่วยให้เงนิ ทองไหลเขา้ มาและทาใหเ้ ศรษฐกิจดีขึ้น ทั้งยังเป็นการ สรา้ งฐานอานาจเหนอื ดินแดนใหม่ทป่ี ราศจากคู่ต่อสเู้ ชน่ เยอรมนี จึงมุง่ หนา้ มายงั เอเชียที่ได้ชื่อว่าเป็นดินแดนอันมั่ง คง่ั ร่ารวยและยงั อ่อนแอเกินกวา่ ท่จี ะปกป้องตนเองได้ ต่อมาเมื่อฝรั่งเศสยึดครองญวนได้ จึงมองไปข้างหน้าว่าถ้าหากครอบครองอินโดจีนได้ทั้งหมดก็จะทาให้ จักรวรรดินิยมใหม่ของฝรั่งเศสครบถ้วนสมบูรณ์ขึ้น๒ เหตุการณ์สาคัญที่ดึงฝรั่งเศสเข้ามาสู่ปัญหาเรื่องดินแดน ภายในอนิ โดจีนคอื ชนวนเร่อื ง “ฮอ่ ” ฮ่อคือชาวจีนกลุ่มหนึ่งที่ตั้งตัวเป็นกบฏต่อต้านราชวงศ์แมนจูในประเทศจีน ฮ่อในปัญหาข้อพิพาทสยาม - ฝรั่งเศสกลายพันธุ์มาจากกบฏไต้ผิง (ค.ศ. ๑๘๕๐-๑๘๖๔) ที่ทางการจีนต้องการปราบปราม ทาให้พวกกบฏแตก กระจัดกระจายไปในทิศต่างๆ กลุ่มใหญ่แตกเข้ามาในแถบสิบสองปันนาและสิบสองจุไท ร้อนถึงรัฐบาลกลางที่ กรุงเทพฯ จาต้องสง่ กองทพั ออกไปปราบปราม แม่ทัพที่มีชื่อเสียงที่สุดในระยะนี้คือ เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม

๖ แสงชูโต) แตก่ ไ็ ม่สามารถปราบโจรฮ่อใหส้ น้ิ ซากลงได้ ท้งั นก้ี เ็ พราะเวลาสยามปราบแล้วพวกฮอ่ สู้ไม่ได้ก็หนีเข้าไปใน ดินแดนญวน เวลาญวนปราบฮ่อสู้ไม่ได้ก็จะหนีเข้ามาในเขตสยาม เป็นมาอย่างนี้ ๑๐ กว่าปีโดยที่รัฐบาลสยามกับ ญวนไม่เคยจะร่วมมือกันปราบฮ่อจนญวนตกเป็นเมืองขึ้นของฝรั่งเศส ฝรั่งเศสมีประสบการณ์ในการปราบกบฏใน อาณานิคมมามาก จึงเสนอต่อรัฐบาลสยามให้ส่งกองทัพไปปราบฮ่อพร้อมๆ กับกองทัพฝรั่งเศส ฝ่ายสยามตกลง ตามที่ฝรั่งเศสเสนอ ผลการปราบฮ่อเป็นที่พอใจของรัฐบาลทั้งสองฝ่ายเพราะปราบได้เด็ดขาด แต่สิ่งที่ตามมาคือ ฝรั่งเศสไม่ยอมถอนทหารออกจากสิบสองจุไท โดยอ้างว่าเคยเป็นดินแดนของญวนมาก่อน แม่ทัพสยามเข้าตาจน ด้วยหลักฐานด้านแผนที่หรือหลักเขตของสยามก็ไม่มี จึงยอมประนีประนอมกับฝรั่งเศส โดยตกลงกันในวันที่ ๒๒ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๓๑ (ค.ศ.๑๘๘๘) ให้ฝรั่งเศสยึดสิบสองจุไทไว้ชั่วคราวจนกว่าจะเจรจาตกลงกันใหม่ แต่ฝรั่งเศส กลับยึดครองไว้เป็นการถาวร ดินแดนส่วนนี้นับเป็นส่วนแรกที่หลุดลอยไปจากแผ่นดินสยามในสมัยรัชกาลที่ ๕ มี เนื้อที่ถงึ ๘๗,๐๐๐ ตารางกิโลเมตร ปฏบิ ตั กิ ารของฝรง่ั เศสจากศึกฮอ่ เปน็ ผลลัพธ์จากสถานการณ์พาไป และเป็นขัน้ แรกทนี่ าไปสู่การผนวกลาว ทั้งประเทศ นับจากนี้เราจะได้เห็นการสร้างสถานการณ์ของฝรั่งเศสเป็นแรงผลักดันขนานใหญ่ให้เกิดการปกป้อง สทิ ธคิ วามเป็นเจ้าอธิราชเหนอื ลา้ นช้าง และเปน็ ชนวนใหเ้ กิดการรกุ ล้าดนิ แดนไปทั่วภมู ิภาค จนถงึ ลว่ งล้าอธิปไตยที่ บริเวณปากแม่นา้ เจ้าพระยา หรอื กรณี ร.ศ.๑๑๒ ในบรบิ ทของคาว่าสงครามทฝ่ี รัง่ เศสใชเ้ รยี กน้ัน ทจ่ี รงิ แทบจะมิไดเ้ ป็นสงครามอยา่ งที่มหาบุรุษของฝรั่งเศส เช่น นโปเลียนเคยกระทาเลย แต่น่าจะเป็นการรบย่อยๆ ที่เกิดจากข้อพิพาทมากกว่า ข้อพิพาทเหล่านี้เกิดจาก กระบวนการปลกุ ป่ันใหเ้ กิดความระหองระแหงอยา่ งตอ่ เนื่อง ซึ่งมีทั้งการกลั่นแกล้ง ยั่วยุ และใส่ไคล้ให้ทางรัฐบาล สยามจนมุมต่อหลักฐานที่หาข้อพิสูจน์ไม่ได้ การกระทาดังกล่าวบีบคั้นให้สยามลุกขึ้นปกป้องตนเองด้วยความ เหลอื อด มากกวา่ การทฝ่ี ร่งั เศสต้องการใหส้ ยามเปิดศึกขนานใหญ่เพอ่ื ตดั สนิ ข้อพิพาทแบบวดั กันดว้ ยกาลงั นักสังเกตการณ์อธิบายว่า “การยุทธ์” นั้นหมายถึงการรบใหญ่ ทั้งสองฝ่ายใช้กาลังอย่างเต็มขนาดเพื่อ เผดจ็ ศกึ ในสงครามนนั้ ๆ แต่การรบทางเรือที่ปากน้าเจ้าพระยาในครั้งนี้ในทางการทหารอนุโลมเป็นเพียง “การรบ ย่อย” ที่ไม่ใช่ “การรบใหญ่” จะเรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า “The Naval Action at Paknam” และมิใช่ “Real War” ดังนั้น วิกฤตการณ์ ร.ศ. ๑๑๒ จงึ มิใชก่ ารรบใหญ่ในบริบทของสงครามระหว่างประเทศ ผ้สู นั ทดั กรณีแก้ข้อกลา่ วหาของฝร่งั เศสว่า ในเรอ่ื งทีฝ่ รงั่ เศสอา้ งวา่ สยามดหู มน่ิ และขม่ เหงชาวฝรั่งเศส เช่น การจับตัวบางเบียน การขับไล่พวกพ่อค้าฝรั่งเศส การจับตัวร้อยเอกโทเรอ ตลอดจนการฆ่า ม.โกรกูแรง ต่างๆ เหล่านี้เป็นการกล่าวเพือ่ หาเร่ือง และเพ่อื การโฆษณาปลุกปั่นใหป้ ระชาชนชาวฝรั่งเศสตลอดจนรัฐสภาฝรั่งเศสเห็น ใจ จะได้สนับสนุนการดาเนินการครั้งนี้ สยามเป็นประเทศเล็กย่อมเจียมตัว จะไปโอหังข่มเหงฝรั่งเศสซึ่งเป็น มหาอานาจไดอ้ ย่างไร นอกจากจะกระทาไปเพ่อื ปอ้ งกันตัว พฤตกิ ารณ์เหล่านฝี้ ร่งั เศสหาว่าสยามระรานก่อน จึงบีบ ค้นั ให้สยามต้องรับผิดชอบในเรื่องที่เกิดขึ้น ทั้งที่เรื่องเหล่านี้เป็นเรื่องเล็ก เรื่องใหญ่คือฝรั่งเศสเรียกร้องโดยมุ่งจะ เอาดินแดนบนฝง่ั ซา้ ยแมน่ า้ โขง จงึ หาเหตหุ ยิบยกเรอื่ งเลก็ ๆ น้อยๆ มาเปน็ ข้ออ้างบังหน้าเพ่อื รกุ รานสยาม

๗ จารวุ รรณ สขุ มุ าลพงษ์ ( ออนไลน์ ) กลา่ วถงึ สาเหตขุ องการเกดิ เหตกุ ารณ์ ร.ศ. ๑๑๒ ดังน้ี ๑.กรณีบางเบยี น (Affaire de Bang-Bien) กรณีบางเบียนเปน็ ชนวนแห่งความขัดแย้งทีน่ าไปสกู่ ารใชอ้ าวธุ ในที่สุด กล่าวคือเมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๓๔ คูร์นิโยง (Cournillon) สมาชิกคณะผู้จัดทาแผนที่ปักปันเขตแดนได้แต่งตั้งให้บางเบียน ผู้อพยพชาวลาว เป็นเจ้าหน้าที่ปกครองฝรั่งเศสที่ทุ่งเชียงคา (Thoung Xieng Kham ทุ่งไหหินในประเทศลาวปัจจุบัน) ทาให้พระ เจ้าน้องยาเธอกรมหลวงเทวะวงศ์วโรปการ (Prince Dewavongs) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของ ไทย ทรงโต้ตอบทันทีด้วยการส่งจดหมายถึงโลร์โซง (Lorgeon) ซึ่งรักษาการแทนกงสุลใหญ่ฝรั่งเศสประจา กรงุ เทพฯ อเลก็ ซองเดรอะ ริโบต์ (Alexendre Ribot) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศฝรั่งเศสในขณะนั้น จึงให้เรียกตัวบางเบียนกลับจากทุ่งเชียงคา เช่นเดียวกับผู้แทนฝรั่งเศสที่แหลมเสม็ด ( Pointe Samit) ภายใต้ เงื่อนไขว่าไทยจะไม่ส่งผู้แทนเข้าไปปกครองดินแดนดังกล่าวด้วย ทั้งนี้เพื่อรักษาสัมพันธภาพอันดีของทั้งสอง ประเทศเอาไว้ แต่ผู้แทนฝรั่งเศสไม่ปฏิบัติตามคาสั่ง จึงทาให้เกิดการปะทะกันขึ้นที่ทุ่งเชียงคา เมื่อวันที่ ๑๗ กันยายน พ.ศ. ๒๔๓๔ ฝ่ายไทยสามารถควบคุมตัวบางเบียนไว้ได้ และตั้งข้อหาว่าบางเบียนเป็นกบฏต่อประเทศ โลรโ์ ซงพยายามที่จะเข้าแทรกแซงเช่นกันแต่ไม่เป็นผล เพราะรัฐบาลไทยยืนกรานว่าบางเบียนเป็นคนไทยคนหนึ่ง (เกิดในดินแดนที่ไทยถือว่าอยู่ในพระราชอาณาเขต) ที่ต้องอพยพไปอยู่เวียดนามภายหลังจากที่ได้กระทาผิด ราชการ วันที่ ๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๓๕ นายโอกุสต์ ปาวี เดินทางถึงราชอาณาจักรไทยเพื่อรับตาแหน่งราชทูต ฝรงั่ เศสประจากรุงเทพฯ ทนั ทที ี่เดินทางถงึ ราชอาณาจกั รไทยเขาเรยี กร้องให้รฐั บาลไทยปล่อยตัวบางเบียน แต่ฝ่าย ไทยยังคงยนื ยนั ในหลกั การและเหตผุ ลของตนเอง ๒.กรณเี มืองทา่ อุเทน (Affaire d’Outhene) กรณีเมืองท่าอุเทน เป็นความขัดแย้งที่ทาให้ฝรั่งเศสต้องพิจารณาทบทวนสนธิสัญญาต่างๆ และข้อ เรียกร้องใหม่ กล่าวคือ ช็องเปอนัวส์ (Champenois) และเอสกิลาต์ (Esquilat) ซึ่งไม่เพียงแต่จะได้รับ การ สนับสนุนจากสหภาพแรงงานฝรั่งเศสในลาวตอนบนและเวียดนามตอนเหนือ เพื่อทาการค้ากับไทยเท่านั้นความ พยายามผลักดนั ให้ลาวเปน็ อาณานคิ มฝรงั่ เศสของเขายังได้รับการสนับสนุนจากเดอแวล รัฐมนตรีว่าการกระทรวง การตา่ งประเทศคนใหม่ และนายโอกสุ ต์ ปาวี ราชทตู ฝรงั่ เศสประจากรงุ เทพฯ (Ministre de France a Bangkok) อกี ดว้ ย ทาใหม้ กี ารฝ่าฝืนขอ้ ตกลงไทย - ฝรง่ั เศสโดยเจตนา ๒ ครงั้ ครั้งที่ ๑ บุคคลทั้งสองต้องการจะข้ามแม่น้าโขงจากท่าอุเทนไปยังคามวน (Cammon) โดยเพิกเฉยไม่ปฏิบัติตาม ระเบียบข้อตกลงระหว่างไทย - ฝรั่งเศสด้วยการเดินทางโดยใช้หนังสือเดินทางของผู้อื่นและไม่สนใจต่อพระดารัส ของพระเจ้าน้องยาเธอกรมหมื่นประจักษ์ศิลปาคม (Prince Prachak) ที่ทรงขอให้เขาไปรับใบอนุญาต อย่างไรก็ ตามไทยกไ็ ดอ้ อกใบอนญุ าตให้ทง้ั สองคนในเวลาตอ่ มา ครั้งที่ ๒ ช็องเปอนัวส์และเอสกิลาต์ทาผิดต่อสนธิสัญญาไทย - ฝรั่งเศส ปี พ.ศ. ๒๔๑๐ มาตรา ๖ และ ๑๕และ กระทาผิดตอ่ สนธิสัญญาปี พ.ศ. ๒๓๙๙ มาตรา ๑๘ อีกครัง้ ดว้ ยการค้าของเถอ่ื นและเดินทางในราชอาณาจักรไทย

๘ โดยไม่ได้รับอนุญาต เจ้าหน้าที่ไทยตักเตือนแล้วก็ไม่ยอมจ่ายค่าภาษีนาเข้า อีกทั้งยังคงเดินทางต่อไปโดยไม่มีตรา ประทับบนหนงั สอื เดินทาง รัฐบาลไทยจึงจาเป็นต้องจับกุมและเนรเทศบุคคลทั้งสองออกนอกราชอาณาเขตและยึดสินค้าดังกล่าวไว้ ด้วย นายโอกุสต์ ปาวไี ดเ้ รยี กร้องให้รัฐบาลไทยจา่ ยคา่ เสยี หายท้ังหมด แต่ฝ่ายไทยปฏิเสธเพราะถือว่าบุคคลทั้งสอง กระทาผดิ สนธสิ ัญญาไทย - ฝร่ังเศสจรงิ จะเห็นได้ว่าปญั หาที่เมอื งท่าอุเทนนเี้ กดิ จากการที่พอ่ ค้าชาวฝรัง่ เศสปฏิเสธ อธปิ ไตยของไทยเหนือดินแดนลาว เม่ือปัญหานี้ไม่ได้รับการแก้ไขทันที สหภาพแรงงานฝรั่งเศสในลาวตอนบนและ เวียดนามตอนเหนือจึงเพิ่มความกดดันต่อรัฐบาลฝรั่งเศส เพื่อให้รัฐบาลเรียกร้องสิทธิเหนือดินแดนลาว และเพื่อ ความสะดวกต่อการขยายตลาดการค้าของตน ๓.การตายของมาสสี่ (Affaire de massie) มาสสี่ เจ้าหน้าที่ของสถานกงสุลฝรั่งเศสในเมืองหลวงพระบาง ซึ่งเคยเป็นสมาชิกของคณะสารวจ (Mission Pavie) ได้ลาออกจากตาแหน่งดังกล่าว เพราะได้รับการข่มเหง (a subir les pires insultes) จาก คน ไทย และที่สาคัญคือ มาสสี่ไม่เคยได้รับความเห็นใจและการสนับสนุนจากรัฐบาลที่กรุงฮานอยและกรุงปารีสเลย ดังนนั้ เขาจึงไดฆ้ ่าตวั ตาย เมอื่ วันที่ ๓๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๓๕ บริเวณหน้าเมอื งจาปาศกั ดิ์ (Bassac) การตายของมาสสี่ทาให้ลาเนสช็อง (Lanessan) ผู้ว่า ราชการเวียดนามตอนใต้และผู้นาจักรวรรดินิยมคนสาคัญของ ฝรั่งเศสต้องเข้ามาเกี่ยวข้อง โดยให้ตั้งคณะกรรมการสอบสวน ผลการสอบสวนปรากฏ อย่างชัดเจนว่าเป็นการฆ่าตัวตาย ด้วย เหตุผลดังกล่าวข้างต้น ฝรั่งเศสจึงเริ่มปฏิบัติการด้วยวิธีรุกทั้ง ทางด้านการทหารและด้านการทูตต่อไทย แต่หนังสือพิมพ์ในไซ งอ่ นและตังเกีย๋ กลบั รายงานวา่ มาสส่ปี ว่ ยตาย จงึ อาจจะเป็นไปได้ วา่ ขา้ ราชการชาวอาณานคิ มตอ้ งการใช้การตายของมาสสี่ให้เกิด ประโยชน์โดยผลกั ดนั ใหร้ ฐั บาลฝรั่งเศสใช้มาตรการที่เด็ดขาดกับ ไทย จะเห็นได้ว่าในระดับภูมิภาคนั้น ผลประโยชน์ทางภูมิ ยุทธศาสตร์และการค้าทาให้ฝรั่งเศสขัดแย้งกับอังกฤษ ทั้งสอง ประเทศมหาอานาจจักรวรรดินิยมต้องการแผ่ขยายเขตอิทธิพล ของตนใหไ้ กลกว่าดินแดนหลกั (อินเดยี ของอังกฤษและเวียดนาม ของฝรั่งเศส) ทั้งนี้เพื่อเสริมสร้างเสถียรภาพและความมั่นคง ให้แก่ดินแดนยึดครองหลักของตนให้ดียิ่งขึ้นกว่าเดิม สาหรับใน ระดับท้องถ่นิ กม็ อี สิ รภาพของไทยเปน็ เดิมพันทส่ี าคญั ดังนั้น เพื่อต่อสู้กับจักรวรรดินิยมฝรั่งเศสซึ่งแฝงอยู่ในรูปของการเรียกร้องดินแดนที่เป็นของเวียดนาม ตอนกลางและของกมั พูชา ไทยจึงผลักดันสนามปฏิบัติการทางทหารให้ไกลสุดบนฝั่งซ้ายของแม่น้าโขง เพื่อช่วงชิง ความไดเ้ ปรียบ

๙ พีรพล สงน้ยุ ( ๒๕๕๐ : ออนไลน์ ) กล่าวถึงสาเหตขุ องการเกดิ เหตุการณ์ ร.ศ. ๑๑๒ ดงั นี้ ๑.การขยายอทิ ธิพลของฝรัง่ เศสในอินโดจีน อาจกล่าวไดว้ า่ ลัทธิล่าอาณานคิ มฝร่งั เศสน้ันเปน็ ความต่อเน่อื งของประวัตศิ าสตร์ที่ยาวนานของมนุษยชาติ ในเรื่องการขยายอานาจของอาณาจักรที่เข้มแข็งกว่า ซึ่งอาจจะมีความแตกต่างในบางมุมมองเมื่อเทียบกับ จักรวรรดิของ อเล็กซานเดอร์มหาราชแห่งมาชิโดเนีย จูเลียส ซีซ่า แห่งโรม ชาร์ลมานจ์แห่งอาณาจักรโรมันอัน ศักดิ์สิทธิ์ นโปเลียนมหาราชแห่งฝรั่งเศส แต่มีความเหมือนกันอยู่อย่างน้อยคือมีการขยายอานาจเนื่องจาก อาณาจักรของตนมีความเข้มแข็งกว่าอาณาจักรเพื่อนบ้าน การพิชิตอาณาจักรเพื่อนบ้านอาจใช้การทูตเพียงอย่าง เดียว หรือการทูตและการทหารไปพรอ้ มๆ กัน แม้ยโุ รปจะได้กลับมาให้ความสาคัญแก่ความเป็นมนุษย์มากขึ้นในยุคฟื้นฟูศิลปะวิทยาการให้ความสาคัญ แก่แนวคดิ เสรีนยิ มต้งั แต่ก่อนการปฏิวัติอุตสาหกรรมในอังกฤษ ให้ความสาคัญแก่ แนวคิดประชาธิปไตยตั้งแต่การ ปฏวิ ตั ใิ นฝร่ังเศสให้ความสาคัญแกแ่ นวคดิ สงั คมนิยมตง้ั แต่กลางคริสตศ์ ตวรรษที่ ๑๙ แต่การแขง่ ขันกนั ทางการค้าที่ เพิ่มมากขน้ึ ตัง้ แต่กลางครสิ ตศ์ ตวรรษที่ ๑๙ ทาให้ยุโรปหันกลับไปใช้ระบบกีดกันการค้ามากขึ้น การล่าอาณานิคม จงึ เป็นทางออกหนึ่งของประเทศ \"การบริโภคของยโุ รปอิ่มตัวแลว้ การลา่ อาณานิคมเท่าน้นั จะช่วยให้เราพบกับผู้บรโิ ภคใหม่... หากขาดสิ่งนี้ ประเทศอุตสาหกรรมจะพบกับความหายนะทางเศรษฐกิจและสังคม\" จูลส์เฟรี ประธานาธิบดีฝรั่งเศสกล่าว ส่วน แนวคิดประชาธิปไตยนั้น ทุกประเทศที่มีอาณานิคมไม่ได้สนใจที่จะถ่ายทอดให้ประเทศอาณานิคมหรือประเทศท่ี เป็นรัฐในอารักขาของตนเลย ทั้งนี้เพื่อไม่ให้เกิดปัญหากับ \"อานาจในการปกครองประเทศ\" ซึ่งเจ้าอาณานิคม เท่านั้นที่มีสิทธิขาดหลังจากฝรั่งเศสได้ร่วมกับอังกฤษบีบบังคับให้จีนเปิดประเทศครั้งที่ ๒ ได้สาเร็จเมื่อ ค.ศ. ๑๘๔๘-๑๘๖๐ กองทัพฝรั่งเศสซึ่งตั้งอยู่ที่เกาะจูซาน(Chu-san) ปากน้าแยงซีก็ต้องถอนกาลังออกไปตามคา ประท้วงของอังกฤษ ทาให้ฝรั่งเศสตัดสินใจตั้งถิ่นฐานถาวรที่โคชินจีน (Cochinchine) แทนสงครามระหว่าง ฝร่ังเศสและเวียดนามระหวา่ ง ค.ศ.๑๘๖๑-๑๘๖๒ จบลงดว้ ยชยั ชนะของฝรัง่ เศส ฝรั่งเศสได้เข้ายึดครอง ๓ จังหวัด ในโคชินจีนเป็นอาณานิคมเปิดเมืองท่า ๓ เมืองในอันนัม (Annam) และให้เสรีภาพในการเผยแผ่ศาสนาแก่คณะ มิชชันนารี รฐั บาลฝร่งั เศสเชอ่ื รายงานของนกั สารวจฟรงั ชสี การ์นิเยร์ (Fiancis Garnier) ว่าแม่น้าโขงสามารถนาเรือ สินค้าฝรั่งเศสเข้าสู่ตลาดของจีนตอนกลางได้และมั่นใจในความอุดมสมบูรณ์ของลุ่มน้าโขงจึงขยายอิทธิพลเข้าสู่ กัมพูชาใน ค.ศ.๑๘๖๓ และฝรั่งเศสขยายเขตการยึดครองโคชินจีนไปทางตะวันตกอีก ๒ ปีต่อมา ส่วนประเทศ สยามและฝรง่ั เศสได้ลงนามในสนธสิ ญั ญา พระราชไมตรีต่อกนั คร้ังแรกในสมยั รัตนโกสินทร์ในค.ศ. ๑๘๕๖ และต่อมาใน ค.ศ. ๑๘๖๗ ท้ัง ๒ ประเทศ ตกลงแบง่ ดนิ แดนกัมพูชากัน โดยประเทศฝรั่งเศสยอมรับวา่ พระตะบอง เสียมราฐ และศรีโสภณเปน็ ดินแดนของ ประเทศสยาม อยา่ งกต็ ามปรากฏวา่ ผลการสารวจของดดู ารต์ เดอลาเกร (Doudart de Lagree) และฟรงั ชีส การ์ นเิ ยร์ ระหวา่ ง ค.ศ. ๑๘๖๖-๑๘๖๘ ขช้ี ัดวา่ แมน่ ้าโขงมีเกาะแก่งมากมาย อีกทั้งกระแสน้าเช่ียวกรากไมส่ ามารถใช้ เป็นเสน้ ทางขนส่งสินค้าจนถึงประเทศจีนได้ ดงั นน้ั ฝรง่ั เศสจงึ ม่งุ ความสนใจไปท่แี มน่ ้าแดงในตังเกย๋ี (T o n k i n )

๑๐ ด้วยเหตนุ ้ีเองฝรั่งเศสต้องทาสงครามกับเวียดนามอกี คร้งั ใน ค.ศ. ๑๘๘๓ - ๑๘๘๕ จึงสามารถเข้าปกครอง เวียดนามได้ทั้งประเทศ โดยสนธิสัญญาเมืองเว้ลงนามเมื่อ ๖ มิถุนายน ๑๘๘๔ (ฝรั่งเศสให้สัตยาบันเมื่อ ๔ มิถุนายน๑๘๘๕ ) ทาให้อานัมและตังเกี๋ยตกเป็นรัฐในอารักขาของฝรั่งเศสและแยกเขตการปกครองออกจากกัน สว่ นจนี กย็ อมเปิดการคา้ กบั ฝรั่งเศส ๒ จุด คือท่ยี ูนานและกวางสี ใน ค.ศ. ๑๘๘๕ สาหรบั ประเทศสยาม พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตระหนักถึงปัญหาเรื่องเขตแดนที่จะ ตามมาระหวา่ งสยามกบั ฝรงั่ เศสดงั จะเหน็ ไดจ้ ากพระราชดารัสในวันคล้ายวนั เฉลิมพระชนมพรรษา ค.ศ. ๑๘๘๔ ว่า \"เขตแดนของราชอาณาจักรสยามทางทิศตะวันออกคือลุ่มแม่น้าโขง (le roi annancait hautement quela limite incontestee du Siam etait, a l'Est,celle de la vallee du Mekong) \"หลังจากฝร่ังเศสเขา้ ปกครองกมั พูชาและเวยี ดนามเรยี บร้อยแล้ว ฝรั่งเศสก็รู้สึกกังวลกับการขยายอิทธิพล ทางการเมืองและการค้าอย่างต่อเนือ่ งของอังกฤษในสยามและในลาวตอนเหนือเพื่อปกป้องผลประโยชน์ของตนใน เวียดนามฝรัง่ เศสจึงอ้างสิทธิทางประวัติศาสตร์ของเวียดนามเหนือดินแดนฝั่งซ้ายแม่น้าโขง โดยรัฐบาลฝรั่งเศสได้ ยน่ื หนังสือเรยี กรอ้ งดนิ แดนคนื อยา่ งเปน็ ทางการแทนรัฐบาลเวียดนามครั้งแรกเมื่อวันที่ ๒๘ เมษายน ๑๘๘๘ และ ครง้ั ที่ ๒ เม่อื ๑๕ เมษายน ๑๘๘๙ โดยทงั้ ๒ ครง้ั ระบุวา่ \"รัฐบาลเวยี ดนามไม่ยอมรับภูเขาหลวง (เทือกเขาบนฝั่ง ซา้ ยแมน่ ้าโขง) เปน็ เส้นแบง่ เขตแดนระหว่างสยามกับเวียดนาม แต่ขอยืดแม่น้าโขงเป็นหลัก (Le gouvernement de Hue ne reconnait paLe Phu Khao Luang (chaine de montagne qui ferme le basin du Mekong) comme limite entre les deux Etats, mais qu'il revendique le Mekong comme frontiere) โดยพระ เจ้านอ้ งยาเธอ กรมหลวงเทวะวงษว์ โรประการ (พระยศและพระนามในขณะน้ัน เมอ่ื ทรงกรมเป็นพระจึงทรงใช้พระ นามว่าเทวะวงศว์ โรปการ - ผเู้ ขียน) ทรงแสดงขอ้ โต้แย้งทางประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์อย่างเข้มแข็งตั้งแต่เดือน พฤษภาคม ๑๘๘๘ ว่า \"การเรียกร้องสิทธินี้ซึ่งญวนไม่เคยทาเองเลยไม่เคยทาแม้กระทั่งเมื่อรัฐนี้เข้ามาอยู่ใต้ อารักขาของฝรั่งเศสแล้ว อันที่จริงเป็นเรื่องที่เถียงไม่ขึ้น ไม่เพียงต่อประจักษ์พยานมากมายทางประวัติศาสตร์ เท่านั้น แต่ยังขัดกับพยานทางแผนที่และคาบอกเล่าของบรรดานักเดินทางซึ่งเคยสารวจบริเวณนี้มาแล้วอีกด้วย ท้งั นยี้ ังรวมถึงถอ้ ยคาบอกกล่าวของคณะกรรมาธิการ ซึ่งรัฐบาลฝรั่งเศสส่งไปเมื่อปี ๑๘๖๗ อีก...รัฐบาลสยามใน สมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะยังคงให้มีการเคารพซึ่งสิทธิ์อานาจของสยามในมณฑลทั้งหลายทางภาค ตะวันออกของแม่น้าโขงต่อไป และหากประเทศใดก็ตาม ด้วยการหมิ่นสิทธิ และอานาจอธิปไตยของ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ ัว ประสงค์จะรบกวนความสงบสุข ณ จุดใดจดุ ทนึ่งของดินแคนสยามแห่งนี้ รัฐบาลใน พระบาทสมเด็จพระเข้าอยู่หัวจะปฏิเสธความรับผิดชอบทุกชนิดในผลอันอาจจะเกิดสืบเนื่องจากการรุกรานนั้น\" การเรียกร้องดินแดนฝั่งซ้ายแม่น้าโขงนี้เองนาไปสู่ปัญหาอื่นๆ ซึ่งล้วนแล้วแต่เกี่ยวข้องกับปัญหาเรื่องเขตแดน ระหว่างสยามกบั ฝรั่งเศสท้ังสนิ้ ๒. การดาเนินนโยบายทางการเมอื งทผี่ ดิ พลาดของสยาม ในช่วงต้นรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประเทศสยามอ่อนแออย่างมากเนื่องจาก อานาจของพระมหากษตั รยิ ์ตกไปอยู่ในมือของขุนนาง พระบาทสมเด็จพระ-จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงต้องใช้เวลา เกอื บยีส่ บิ ปจี งึ สามารถดึงอานาจอนั ชอบธรรมของพระองค์กลับคืนมาจากขุนนางได้

๑๑ การเมืองประเทศสยามก่อน ค.ศ. ๑๘๙๒ ประสบปัญหาเรื่องการปกครอง การขาดงบประมาณสาหรับ การพัฒนาประเทศ ขาดกองทัพประจาการที่ทันสมัย และขาดพันธมิตรที่แท้จริงในเรื่องการปกครองนั้น อาจจะ กล่าวได้ว่ามีความล่าช้าในการเข้าไปปกครองดินแดนประเทศราชโดยตรง ดังจะเห็นได้จากในช่วงต้นรัชกาล พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัฐบาลสยามได้ส่งข้าหลวงไปประจาที่เชียงใหม่และภูเก็ต ใน ค.ศ. ๑๘๗๔ และพระตะบอง ในค.ศ.๑๘๗๗ ตามลาดับ เพื่อแสดงถึงพระราชอานาจของพระมหากษัตริย์สยามเหนือ ประเทศราชน้ัน ๆ และเพ่ือป้องกนั ความขัดแย้งระหว่างประเทศราชของสยามกับมหาอานาจตะวันตก แต่รัฐบาล สยามก็ยังไม่ได้ดึงอานาจการปกครองมาจากประเทศราชของตนแต่อย่างใดในระยะแรกของการปกครอง (ค.ศ. ๑๘๗๓-๑๘๘๘) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงวิตกเกี่ยวกับปัญหาในดินแดนล้านนามากกว่า ดินแดนฝั่งซ้ายแม่น้าโขง เนื่องจากหลังอังกฤษทาสงครามกับพม่า ๒ ครั้งคือ ค.ศ. ๑๘๒๔-๑๘๒๖ และ ค.ศ. ๑๘๕๒-๑๘๕๓ ทาให้ดินแดนพม่าส่วนใหญ่ตกเป็นของอังกฤษ และอังกฤษก็เริ่มขยายการค้าเข้าสู่ล้านนาซึ่งมี ชายแดนติดต่อกับพม่าและเป็นดินแดนที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยไม้สัก การตั้งศาลต่างประเทศขึ้นที่เชียงใหม่ของ รัฐบาลสยามเมื่อค.ศ. ๑๘๘๓ เป็นมาตรการหนึ่งในการป้องกันมิให้อานาจของอังกฤษเข้าแทรกแซงและเพื่อ ป้องกันความขัดแย้งขยายวงกว้างออกไป นับเป็นมาตรการเพิ่มเติมจากการส่งอัครราชทูตไปประจาในยุโรปและ อเมริกาตั้งแต่ ค.ศ. ๑๘๘๑ใน ค.ศ. ๑๘๘๕การยึดครองพม่าก็เสร็จสิ้นสมบูรณ์เมื่อกองทัพอังกฤษบุกเข้ายึดครอง เมืองมันดาเลย์เมืองหลวงสุดท้ายของพม่าเพื่อยุติความขัดแย้งและการปฏิบัติตนเป็นปรปักษ์กับอังกฤษของ พระมหากษัตริย์พม่า สงครามระหว่างอังกฤษกับพม่าเกิดขึ้นในช่วงเดียวกับสงครามระหว่างฝรั่งเศสกับเวียดนาม เพือ่ บีบบงั คับประเทศปรปักษใ์ หป้ ฏบิ ตั ติ ามความต้องการของตน ดังนัน้ จะเหน็ ได้ว่า ทั้งอังกฤษและฝรั่งเศสพร้อมท่ี จะใช้กาลังบีบบังคับทุกประเทศเพื่อให้ได้รับความพึงพอใจเมื่อเกิดความขัดแย้งขึ้น ดังนั้นประเทศสยามควร หลีกเล่ียงการเผชิญหนา้ โดยเดด็ ขาดกับมหาอานาจทั้งสอง หากประเทศสยามยังไม่สามารถดึงอานาจการปกครอง จากประเทศราชมาไว้ที่ส่วนกลางได้และยังไม่มีกองทัพที่ทันสมัยเพียงพอ การปฏิรูปการปกครองประเทศใน ค.ศ. ๑๘๙๒โดยการจดั โครงสร้างการบรหิ ารราชการแผ่นดนิ สว่ นกลางเสยี ใหม่ โดยการตั้ง ๑๒ กระทรวง ช่วยให้อานาจ การปกครองส่วนกลางทนั สมยั มากข้ึนแตพ่ ระมหากษัตริยส์ ยามยงั คงไมล่ ่วงลา้ อานาจของประเทศราช ในเรอ่ื งงบประมาณสาหรับการพัฒนาประเทศอาจกล่าวได้ว่าประเทศสยามขาดงบประมาณในการพัฒนา ประเทศในชว่ งต้นรชั กาล เน่อื งจากประเทศยงั คงอย่ใู น \"ระบบกินเมอื ง\" ซ่งึ เมอื งตา่ งๆต้องเล้ียงตนเอง ด้านการเงินการคลัง ภายหลงั การจัดตั้งหอรษั ฎากรพพิ ฒั น์ข้ึนใน ค.ศ. ๑๘๗๔ รัฐบาลค่อยๆดึงอานาจการ จัดเก็บภาษีจากสมุหกลาโหม สมุหนายก และพระคลัง และจัดตั้งกระทรวงการคลังขึ้นใน ค.ศ. ๑๘๘๖ แกร์การา เด็ค (อุปทูตฝรั่งเศสประจาประเทศสยามตั้งแต่ ค.ศ. ๑๘๘๕-๑๘๘๙) ประเมินว่าประเทศสยามมีรายได้จากภาษี ต่างๆอย่างมากปิ้ละ ๒๐ ล้านฟรังก์ โดยใน ค.ศ. ๑๘๘๗ มีภาษีศุลกากรประมาณ ๔ ล้านฟรังก์ และภาษีอื่นๆ ประมาณสิบล้านฟรงั ก์ ส่วนการใช้จา่ ยภาครฐั เพม่ิ ข้ึนทกุ ปี ในด้านการรักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรง ปรับปรุงกิจการตารวจนครบาลให้ทันสมัยตั้งแต่ ค.ศ. ๑๘๘๒ แต่ตารวจยังคงไม่ได้รับเงินเดือนนอกจากนี้ การที่

๑๒ คนสยามมีนิสัยอ่อนโยนและรักสงบจึงทาให้มีอาชญากรรมน้อย ความจาเป็นที่ต้องมีตารวจที่มีประสิทธิภาพจึง ยงั คงน้อยอยู่ ดา้ นการตา่ งประเทศ ดว้ ยงบประมาณท่ีจากัด ประเทศสยามไม่สามารถจัดตัง้ สถานกงสลุ และส่งนักการทูต สยามไปประจาในทุกประเทศดังเช่นประเทศมหาอานาจตะวันตกปฏิบัติได้โดยในช่วงต้นรัชกาลพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประเทศสยามมีสถานทูตประจาอยู่เฉพาะที่กรุงลอนดอนและกรุงปารีสต่อมาใน ค.ศ. ๑๘๘๗ ไดเ้ พ่มิ สถานทูตท่กี รุงเบอร์ลนิ อกี แหง่ หน่ึง และด้วยงบประมาณที่จากัดขาดเรือเดินสมุทรพระที่นั่ง และผู้ท่ี มีความรู้ความชานาญในการเดินเรือมหาสมุทรอีกเช่นกันทาให้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จฯ เยือนเฉพาะอาณานิคมของประเทศมหาอานาจตะวันตกแทนที่จะเสด็จฯ ไปเจริญสัมพันธไมตรีกับประเทศ มหาอานาจยุโรปโดยตรง ด้านระบบโทรคมนาคมและการขนส่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงให้ความสาคัญกับ เรื่องนี้มาก แต่ด้วยมีงบประมาณที่จากัดจึงทาให้การพัฒนาก่อน ค.ศ. ๑๘๙๒ จากัดอยู่ในเรื่องโทรเลขเป็นหลัก การก่อสรา้ งสายโทรเลขซงึ่ เร่ิมในปี ค.ศ. ๑๘๘๒ ภายใตก้ ารควบคุมของวศิ วกรฝรัง่ เศส แลว้ เสรจ็ ในปี ๑๘๘๓ ทาให้ กรุงเทพมหานครถูกเชื่อมโยงเข้ากับไช่ง่อน (โฮจิ-มินห์ซิตี้ในปัจจุบัน - ผู้เขียน) กรุงปารีสและเมืองหลวงของ ประเทศต่างๆ ในปีต่อมาสายโทรเลขกรุงเทพมหานคร-พม่าแล้วเสร็จ และในปี ๑๘๘๕ สายโทรเลข กรุงเทพมหานคร-เชียงใหม่ ซึ่งสร้างด้วยคนสยามล้วน ๆ แล้วเสร็จอีกสาย นับเป็นความสาเร็จในการเชื่อมโยง ศูนยก์ ลางอานาจของสยามเข้ากับภมู ิภาคของตนเองและเข้ากับประเทศมหาอานาจตะวนั ตก แต่ในด้านการขนส่งมี การพัฒนาน้อยมาก โดยใน ค.ศ. ๑๘๘๖ ได้สร้างทางรถไฟสายปากน้าและสายแปดริ้วเพื่อเชื่อมต่อกับระบบการ ป้องกันประเทศโดยป้อมปืนต่างๆ ในแม่น้าเจ้าพระยาและแม่น้าบางปะกง และในปี ๑๘๘๗ ได้สร้างทางรถราง ไฟฟ้าขึ้นที่กรุงเทพมหานคร โครงการต่อมาของรัฐบาลสยามคือการสร้างทางรถไฟสายพระตะบอง-จันทบุรี และ กรุงเทพมหานคร-เชียงใหม่ แต่เนื่องจากการเรียกร้องดินแดนฝั่งซ้ายแม่น้าโขงของฝรั่งเศสในค.ศ. ๑๘๘๘ ทาให้ รัฐบาลสยามตัดสินใจเปลี่ยนไปสร้างทางรถไฟสายกรุงเทพมหานคร-สระบุรี-โคราชก่อน ใน ค.ศ.๑๘๙๑ โดยใช้ งบประมาณแผ่นดิน การก่อสร้างทางรถไฟสายโคราชนี้แสดงให้เห็นถึงการให้ความสาคัญและความเร่งด่วนแก่ดินแดนที่มี ปญั หาด้านความมนั่ คงมากที่สุดในขณะนั้นของรัฐบาลสยาม แต่การดาเนินการดังกล่าวถือว่าช้าเกินไป แต่จะมีผล ในระยะยาวคอื ทาให้โคราชและภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือเชือ่ มเข้ากับกรุงเทพมหานครใกล้ชิดมากยง่ิ ข้นึ ในเรือ่ งการป้องกันประเทศ ในช่วงกอ่ นการปฏิรูป ค.ศ. ๑๘๙๒ ประเทศสยามขาดกองทัพท่ที ันสมัย สังคม สยามยังคงเป็นระบบไพร่ แม้จะมีการลดค่าตัวทาสจนนาไปสู่การเลิกทาสใน ค.ศ. ๑๙๐๕ และเลิกระบบไพร่โดย การให้ข้าราชการมีเงินเดือนตั้งแต่ ค.ศ. ๑๘๙๒ และให้มีการเกณฑ์ทหารแทนการเกณฑ์แรงงานไพร่ใน ค.ศ. ๑๙๐๕ แต่การเปลี่ยนแปลงทางสังคมเหล่านี้เกือบทั้งหมดล้วนเกิดหลังวิกฤตการณ์ ร.ศ. ๑๑๒ แม้รัฐบาลได้สร้าง โรงเรียนนายร้อยเพื่อผลิตนายทหารขึ้นในค.ศ. ๑๘๘๗ แต่ประเทศสยามยังไม่มีทหารกองประจาการที่ได้รับการ ฝึกฝนเพื่อการรบโดยเฉพาะก่อน ค.ศ. ๑๘๙๒ ด้านกองทัพเรือ รัฐบาลสยามได้จ้างชาวต่างชาติเข้ามารับราชการ

๑๓ เป็นจานวนมากแต่ยังไม่มีงบประมาณเพียงพอในการซื้อเรือรบที่ทันสมัย ป้อมปราการในแม่น้าเจ้าพระยา โดยเฉพาะปอ้ มพระจลุ จอมเกล้า ถอื ไดว้ ่าเป็น \"หมัดเดด็ \" ของสยามในการป้องกนั เมืองหลวง ในเรื่องพันธมิตร หลังอังกฤษได้ผนวกพม่าทั้งประเทศใน ค.ศ. ๑๘๘๕ แล้ว ฝรั่งเศสเสนออังกฤษให้ใช้ แมน่ ้าโขงเป็นเส้นเขตแดนระหว่างประเทศทงั้ สอง แตอ่ ังกฤษไม่เหน็ ดว้ ยเพราะรัฐไทยใหญ่ของอังกฤษปกคลุมไปถึง ฝ่ังซ้ายแม่นา้ โขงต่อมาใน ค.ศ. ๑๘๘๙ ฝรั่งเศสติดต่อกับอังกฤษเสนอให้สยามเป็นรัฐกันชนระหว่างอาณานิคมของ ประเทศท้ังสองอกี คร้งั อังกฤษกป็ ฏิเสธอกี โดยอา้ งวา่ ขอปักปันเขตแดนทางลุ่มน้าสาละวินให้เรียบร้อยก่อน ในขณะ ปกั ปันเขตแดนใน ค.ศ.๑๘๙๑ สยามเรมิ่ มคี วามขดั แย้งเรอ่ื งเขตแดนกับฝร่งั เศสจึงขอคาแนะนาจากอังกฤษ อังกฤษ แจ้งใหส้ ยามรบี ทาสัญญาเขตแดนกับอังกฤษให้เรียบร้อย โดยอาจเพิ่มเติมข้อความว่า สยามจะไม่ยอมยกดินแดน ใด ๆ ให้แก่ชนชาติใดชาติหนึ่งก่อนที่จะได้รับความเห็นชอบจากอังกฤษ ขณะเดียวกันลอร์ด ซอลสเบอรี (Lord Salisbury)รัฐมนตรีต่างประเทศอังกฤษก็ประกาศในสภาขุนนางอังกฤษว่า อิสรภาพของประเทศสยามมี ความสาคญั ตอ่ อังกฤษเป็นอย่างมาก และยงั ให้คาแนะนาแกร่ ัฐบาลสยามเมื่อวันที่ ๒๑ กรกฎาคมค.ศ. ๑๘๙๑ อีก วา่ ประเทศสยามจะปลอดภัยถ้าจะระมัดระวงั มใิ หเ้ กดิ การย่วั ยุจนกระทั่งทาให้รัฐบาลฝรั่งเศสที่กรุงปารีสประกาศ สงครามกับสยาม ฝร่งั เศสคงจะแสดงอาการข่มขู่สยามเท่านั้นคงจะไม่ถึงขั้นใช้กาลังรุนแรง ประเทศสยามเพียงแต่ รักษาเขตแดนของตนเองอย่างเข้มแข็ง และประเทศสยามควรจะทาสัญญากับอังกฤษและเยอรมนี่ ว่า ประเทศ สยามจะไม่ยกดินแดนใดๆ ให้กับประเทศใด โดยมิได้แจ้งให้อังกฤษและเยอรมนีทราบก่อน รัฐบาลสยามเห็นว่า ข้อเสนอดังกลา่ วนี้เอาเปรียบสยามมากเกนิ ไปจึงไม่ได้ปฏบิ ตั ิตาม จากหลักฐานท้ังหมดช้ชี ัดวา่ รัฐบาลอังกฤษไม่ได้เห็นสยามเป็นพันธมิตรที่จะต้องให้ความช่วยเหลือเมื่อถูก ฝรัง่ เศสรกุ ราน แต่อังกฤษจะฉวยโอกาสจากการรุกรานของฝรั่งเศสเพื่อขอแบ่งดินแดนเสียมากกว่า อังกฤษไม่เคย สัญญาวา่ จะใหค้ วามชว่ ยเหลือทางทหารแก่รฐั บาลสยามและย้าอยู่เสมอว่าอย่ายั่วยฝรั่งเศสให้ไม่พอใจ การที่สยาม ดาเนินนโยบายใกล้ชิดกับอังกฤษเช่นนี้ทาให้ฝรั่งเศสยิ่งวิตกกังวลว่าอังกฤษจะอยู่เบื้องหลังสยามในการขยาย อทิ ธิพลเข้าสู่ฝ่ังซา้ ยแมน่ า้ โขง ๓. ความขดั แยง้ เรื่องดนิ แดน ดังท่ไี ด้กล่าวไว้ในข้อที่ ๑ และข้อที่ ๒ ว่าฝรั่งเศสเริ่มเรียกร้องดินแดนฝั่งซ้ายแม่น้าโขงจากสยามครั้งแรก ใน ค.ศ. ๑๘๘๘ ซึ่งตรงกับช่วงที่ฝรั่งเศสเข้ามายึดครองสิบสองจุไท และการยึดครองครั้งนี้นี่เองที่ทาให้ฝรั่งเศส ตระหนักว่าอานาจของสยามบนฝั่งช้ายแม่น้าโขงมีความอ่อนแออยู่มาก อีกทั้งในอดีตดินแดนนี้เคยอยู่ภายใต้การ ปกครองทงั้ ของสยามและเวยี ดนาม กรณีบางเบียนแห่งทุ่งเชียงคา (ค.ศ.๑๘๙๑)ที่ถูกฝ่ายสยามจับคุมเนื่องจากฝ่ายสยามถือว่าบางเบียนเป็น กบฏต่อประเทศ เพราะฝ่ายสยามถือว่าทุ่งเชียงคาเป็นดินแดนของสยาม และบางเบียนเป็นคนลาวที่เคยอยู่ใน บังคบั ของสยาม แตก่ ลับไปเข้ากับฝรั่งเศสและถูกฝรั่งเศสส่งไปปกครองทุ่งเชียงคา กรณีท่าอุเทน (ค.ศ. ๑๘๙๒) ที่ พ่อค้าชาวฝรั่งเศส ๒ คนไม่ยอมปฏิบัติตามสนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ด้วยการค้าของเถื่อนและเดินทางใน ราชอาณาจกั รสยามโดยไม่ไดร้ บั อนุญาตกรณกี ารตายของมาสสี (Massie) ที่เมืองจาปาสัก(ค.ศ. ๑๘๙๒) ล้วนเป็น ปัญหาที่มีพน้ื ฐานมาจากเรือ่ งเขตแดนท้งั ส้ิน

๑๔ ปัญหาดังกล่าวไม่ได้รับการแก้ไขให้เป็นที่พอใจแก่ฝ่ายฝรั่งเศสโดยวิธีการทูต ลอร์ด โรสเบอรีรัฐมนตรี ต่างประเทศอังกฤษซึ้งวิตกว่าสยามจะก้าวไกลไปถึงขั้นทาสงครามกับฝรั่งเศส เขียนจดหมายถึงเวดดิงตัน (Waddington) เอกอคั รราชทูตฝรั่งเศสประจากรงุ ลอนดอนเมอื่ ๒๓ ธนั วาคม ค.ศ. ๑๘๙๒ เพื่อประกาศจุดยืนว่า\" ประเทศอังกฤษจะไม่ขยายอิทธิพลของตนออกไปไกลเกินกว่าแม่น้าโขง\" คาประกาศนี้ทาให้สยามโดดเดี่ยวในการ ปกป้องดินแดนฝั่งซ้ายแม่น้าโขง ท่าทีของฝรั่งเศสแข็งกร้าวขึ้นเมื่อเดอแวล(Develle) ก้าวขึ้นเป็นรัฐมนตรี ตา่ งประเทศต้ังแต่ ๑ กุมภาพันธ์ ค.ศ. ๑๘๙๓ เขาได้ให้นโยบายใหม่แก่ปาวี (Pavie) กงสุลฝรั่งเศสประจาประเทศ สยามเมอ่ื วันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ค.ศ. ๑๘๙๓ วา่ \"รัฐสภาตอ้ งการใหใ้ ชม้ าตรการที่เข้มแข็งและบังเกิดผลมากขึ้นใน ระหว่างการประชุมเรื่องงบประมาณของกระทรวงอาณานิคม รัฐบาลได้ย้าคาประกาศของริโบต์ ( Ribot อดีต รัฐมนตรีต่างประเทศฝรั่งเศส)เมื่อ ค.ศ. ๑๘๙๑ เรื่องการเรียกร้องดินแดนฝั่งซ้ายแม่น้าโขง นอกจากนี้รัฐบาล ฝรั่งเศสยังได้ทาการประท้วงการแทรกแซงต่างๆ ของอังกฤษในเรื่องการปักปันเขตแดนระหว่างฝรั่งเศสกับสยาม ด้วย\" เมื่อสถานการณ์ลงเอยเช่นนี้ หลักฐานต่างๆที่ฝ่ายสยามยกขึ้นมาอ้างย่อมไม่มีน้าหนักใด ๆ เลยในสายตา ฝรั่งเศส จากการศกึ ษาสาเหตุของการเกิด ร.ศ. ๑๑๒ สรุปได้ว่า สาเหตุของการเกิด ร.ศ. ๑๑๒ นั้นได้เริ่มต้นมาจาก ลัทธิการล่าอาณานิคมในยุโรปเพื่อแสดงถึงเสถียรภาพและความมั่นคงในประเทศตน โดยแนวความคิดของชาวยุ โปรน้ันถ้าจะครอบครองโลกไดต้ ้องครองเอเชียให้ได้เสียก่อน ฝรั่งเศสจึงได้เข้ายึดครองเวียดนาม ต่อมาฝรั่งเศสได้ อ้างสิทธิทางประวัติศาสตร์ของเวียดนามเหนือดินแดนฝั่งซ้ายของแม่น้าโขง โดยรัฐบาลได้ยื่นหนังสือเรียกร้อง ดินแดนคืนแทนรัฐบาลอยู่หลายครั้ง ซึ่งตรงกับช่วงที่ฝรั่งเศสเข้ามายึดครองสิบสองจุไท ทาให้ฝรั่งเศสแลเห็นว่า อานาจของสยามบนดินแดนฝั่งซ้ายของแม่น้าโขงอ่อนแออยู่มาก เนื่องจากสยามไม่มีแผนที่ ร่วมไปถึงข้อพิพาทที่ เกิดขนึ้ เชน่ กรณีบางเบียน กรณีเมืองท่าอุเทน การตายของมาสสี่ ซึ่งข้อพิพาทเหล่านี้เกิดจากการปลุกปั่นเพื่อทา ให้สยามจนมุมและรับผิดชอบต่อเรื่องที่เกิดขึ้น ฝรั่งเศสจึงเรียกร้องโดยมุ่งจะยึดดินแดนฝั่งซ้ายของแม่น้าโขงจึง นาไปสู่การล่วงล้าอธิปไตยที่บริเวณปากแม่น้า หรือ กรณี ร.ศ. ๑๑๒ จากกรณี ร.ศ. ๑๒๒ ทาให้เกิดเหตุการณ์ สาคญั ต่อสยาม เมื่อฝรังเศสได้ทาการล่วงลา้ อธิปไตยของสยามจึงเกิดการรบที่ปากน้า รวมไปถึงกรณีเมื่องท่าอุเทน ท่นี าไปส่กู ารเกิดเหตกุ ารณก์ รณพี ระยอดเมืองขวาง ๒.๒ เหตกุ ำรณ์สำคัญ จารวุ รรณ สุขมุ าลพงษ์ ( ออนไลน์ ) ได้กล่าวถึงการรบที่ปากน้าไว้ว่าเมื่อฝรั่งเศสได้ครอบครองดินแดนสิบ สองจูไทยแล้ว โดยที่ยังไม่มีการเจรจาปักปันเขตแดนกับไทยการเจรจานี้ได้ยุติลง เมื่อฝรั่งเศสมีนโยบายจะขยาย อาณาเขตของตนออกไปจนถึงฝง่ั แม่นา้ โขง โดยจะยึดดินแดนทั้งหมดบนฝั่งซ้ายของแม่น้าโขง ตั้งแต่ภาคเหนือของ ลาวจนถึงชายแดนเขมร เมื่อฝรั่งเศสยึดดินแดนสิบสองจูไทยได้นั้น ก็เริ่มสารวจดินแดนลาวอีกครั้ง และสร้าง อิทธิพลในหมู่ชาวลาวด้วยการผูกมิตรและหาเหตุมาขัดแย้งกับไทยอยู่เสมอ ฝ่ายไทยเห็นว่าฝรั่งเศสต้องการยึด ดนิ แดนเพิ่มจึงเตรียมรับมือ เช่นปรับปรุงการปกครองหัวเมืองฝ่ายตะวันออกให้เข้มแข็งรัดกุมขึ้น โดยเฉพาะเมือง จาปาศกั ดิ์ หนองคาย และหลวงพระบาง การเกณฑ์ทหารและเตรียมการป้องกันชายแดน ฝรั่งเศสจึงฉวยโอกาสว่า ไทยเตรียมจะทาสงคราม และแต่งตั้งนายโอกุสต์ ปาวี เป็นราชทูตประจากรุงเทพฯ ซึ่งสร้างความวิตกให้กับฝ่าย

๑๕ ไทย เพราะนายปาวรี จู้ ักดินแดนเขมรและลาวในทกุ ๆด้าน และเป็นนกั จักรวรรดินิยม เมอื่ นายโอกุสต์ ปาวีเข้ามารับ ตาแหน่งก็เริ่มการเจรจาปัญหาเก่าๆกับกรมหลวงเทวะวงศ์วโรปการ เสนาบดีกระทรวงการต่างประเทศ รวมทั้ง เร่อื งการปกั ปันเขตแดนสิบสองจไู ทย โดยจะนาแผนที่มาแสดงเขตแดนของตน แต่ต่อมานายโอกุสต์ ปาวี ก็หาเหตุ ไม่ยอมเจรจาดว้ ยอา้ งวา่ ทหารไทยบุกรกุ ดนิ แดนสว่ นนั้นของฝร่ังเศสทาให้การเจรจาล้มเลิกไป ในเดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๔๓๖ นายโอกุสต์ ปาวี ได้ประกาศว่าฝรั่งเศสถือว่าดินแดนฝั่งตะวันออกของแม่น้าโขงทั้งหมดเคยเป็นเมืองที่ส่ง บรรณาการใหแ้ กญ่ วนมากอ่ นจึงไม่เปน็ สว่ นหนึ่งของไทย พอถึงเดือนเมษายน พ.ศ.๒๔๓๖ ฝรั่งเศสได้อ้างสิทธิ ครอบครองดินแดนลาวพร้อมกับส่งกองทัพเข้าไป กรม หลวงเทวะวงศ์วโรปการจึงเสนอให้ตั้งอนุญาโตตุลาการ ตดั สนิ ปัญหาต่างๆ ทไ่ี ทยกับฝรัง่ เศสเจรจาตกลงกันไม่ได้ ฝรั่งเศสไมร่ ับข้อเสนอนั้น และใช้นโยบายเรือปืนเพื่อบีบ บังคับไทยโดยส่งเรือรบ เลอ ลูแตง (Le Lutin) เข้ามา จอดหน้าสถานทูตฝรั่งเศสซึ่งตั้งอยู่ริมแม่น้าเจ้าพระยา เพื่อรอคาตอบจากรัฐบาลไทย ท่าทีคุกคามของฝรั่งเศส ทาให้ไทยเร่งจัดการป้องกันกรุงเทพฯ และปากน้าให้รัดกุมยิ่งขึ้น และทาการป้องกันรักษาพระราชอาณาเขตหัว เมอื งชายทะเลด้านตะวนั ออก โดยส่งทหารไปประจาที่เกาะกง แหลมงอบ และสร้างป้อมพระจุลจอมเกล้าที่แหลม ฟ้าผ่า และขอความช่วยเหลือจากอังกฤษแต่ไม่ได้รับความช่วยเหลือ เพราะอังกฤษไม่ต้องการเข้าไปแทรกแซง ระหว่างฝรงั่ เศสกบั ไทย วันท่ี ๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๓๖ รัฐบาลฝร่งั เศสได้แจง้ แก่ฝ่ายไทยว่าผู้การโบรี (Bory) จะนาเรือปืนแองกง สตอง (Inconstant) และเรือโกแมต (Comete) เข้ามายังกรุงเทพฯ กรมหลวงเทวะวงศ์วโรปการ ทรงคัดค้านว่า ละเมิดสนธิสัญญาฉบับ พ.ศ. ๒๓๙๙ ในวันที่ ๑๑ กรกฎาคม เรือทั้งสองลาจึงมุ่งหน้ามากรุงเทพฯ ซึ่งเป็นการ ละเมิดอธิปไตยของไทย เกิดการรบที่ปากน้าเกิดขึ้นเมื่อวันที่ ๑๓ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๓๖ จึงได้เกิดการต่อสู้ บริเวณป้อมพระจุลจอมเกล้าและป้อมผีเสื้อสมุทร ต่างฝ่ายได้รับความเสียหาย โดยฝรั่งเศสสามารถฝ่ากระสุนเข้า มาจอดทีห่ นา้ สถานทตู ฝร่งั เศสไดแ้ ละยน่ื คาขาดต่อไทยดังนี้ ๑. ไทยต้องเพิกถอนสิทธิเหนือดินแดนฝั่งซ้ายของแม่น้าโขงและเกาะต่างๆตั้งแต่ภาคเหนือของลาวไป จนถงึ พรมแดนเขมร ๒. ให้ไทยร้อื ถอนดา่ นทงั้ หมดบนฝั่งซ้ายของแม่น้าโขงให้เสรจ็ ภายใน ๑ เดอื น ๓. ให้ไทยจัดการปญั หาทงุ่ เชียงคา เมืองคาพวน และความเสียหายที่เรือรบฝรั่งเศสและชาวฝรั่งเศสได้รับ จากการปะทะกนั ๔. ใหไ้ ทยลงโทษเจ้าหนา้ ที่ฝา่ ยไทยทีร่ บั ผิดชอบในการยงิ ปืนท่ีปากนา้ ๕. ใหไ้ ทยชดใชค้ า่ เสยี หายใหช้ าวฝรงั่ เศสเป็นเงนิ ๒ ล้านฟรงั ก์

๑๖ ฝ่ายไทยจึงยอมรบั ทกุ ขอ้ ยกเวน้ ข้อ ๑ ทาให้ฝรั่งเศสไม่พอใจจึงถอนคณะทูตออกจากประเทศไทย และเรือ รบได้ไปยังเกาะสีชังและปฏิบัติการปิดอ่าวไทย จึงเป็นเหตุให้ไทยรับเงื่อนไขคาขาดโดยไม่ต่อรองใดๆ เพื่อให้ ฝรั่งเศสยุตกิ ารปิดอา่ ว แต่รัฐบาลฝรงั่ เศสกลับยืน่ เงื่อนไขเพ่ิมเติมที่รนุ แรงขน้ึ คอื เรียกร้องจะเขา้ ยดึ ครองแม่น้าและ ท่าเรือจงั หวดั จันทบุรี และไทยตอ้ งไมม่ ีกาลังทหารอยูท่ พ่ี ระตะบอง เสียมราฐ และบริเวณรัศมี ๒๕ กิโลเมตรบนฝั่ง ขวาของแม่นา้ โขง ฝา่ ยไทยจึงยอมรบั เงือ่ นไขท่ีเพิ่มเตมิ มาแต่โดยดี หลังจากนั้นฝรั่งเศสได้ส่งผู้แทนรัฐบาลมาเจรจา ขอทาสนธสิ ัญญาเพอ่ื ยตุ กิ รณีพพิ าท ร.ศ. ๑๑๒ ในร่างสัญญาดังกล่าวไทยมีข้อเสียเปรียบหลายประการโดยเฉพาะ เมอื งจันทบรุ ี มสี าระสาคญั ดงั น้ี ๑. รัฐบาลไทยสละสิทธทิ งั้ หมดในดินแดนบนฝัง่ ซ้ายของแม่นา้ โขงและเกาะต่างๆในแม่น้าน้นั ๒. ห้ามรัฐบาลไทยส่งเรอื รบเขา้ ไปในทะเลสาบ ในแม่น้าโขง และลาน้าทแี่ ยกมา ๓. หา้ มรฐั บาลไทยสรา้ งดา่ นหรือคา่ ยทหารในเมืองพระตะบอง และเสียมราฐ ๔. ฝรง่ั เศสสงวนสทิ ธิจะต้ังกงสุล ณ ท่ใี ดก็ได้ โดยเฉพาะทนี่ า่ นและโคราช โดยฝรงั่ เศสจะยดึ เมืองจันทบุรไี วเ้ ปน็ ประกันจนกว่าไทยจะปฏิบัติตามสัญญาจนครบ จากเหตุการณ์ครั้งน้ี ทาใหไ้ ทยตอ้ งเสียดนิ แดนครง้ั ทสี่ าคญั ของไทยคอื ราชอาณาจักรลาวเกือบทง้ั หมด รวมทง้ั สิบสองจูไทยต้องตกอยู่ใต้ ปกครองของฝรั่งเศส รวมเนอื้ ทีท่ ัง้ หมดประมาณ ๑๔๓,๘๐๐ ตารางกโิ ลเมตร พลเมอื งประมาณ ๖๐๐,๐๐๐ คน พรี พล สงนยุ้ ( ๒๕๕๐ : ออนไลน์ ) ไดก้ ล่าวถึงการรบที่ปากน้าไว้ว่าการปล่อยตัวร้อยเอกโทเรอซ์ในวันที่ ๔ มิถุนายน ค.ศ. ๑๘๙๓ รัฐบาลสยามคาดหวังว่าจะเกิดการเจรจาครั้งใหม่ ที่โคชินจีน ผู้ว่าราชการอินโดจีนคืน อานาจการบังคับบัญชาให้แก่นายพลเรือฮือมานน์ (Humann) เมื่อวันที่ ๑๕ มิถุนายนแสดงถึงการคลื่คลายของ ปัญหาในทางสันติ แต่เมื่อมีข่าวการฆาตกรรมผู้ตรวจราชการตารวจโกรสกือรัง (Grosgurin) โดยพระยอดเมือง ขวางและกองกาลังผสมสยาม-ลาวประมาณ ๒๐๐ นายระหว่างทางจากเมืองคามวนถึงแม่น้าโขง ทาให้กองกาลัง ตะวันออกไกลตอ้ งปฏบิ ตั ิตามภารกิจเดมิ คือมุง่ สู่อ่าวสยาม ข่าวการรวมกาลังของกองพลเรือตะวันออกไกลฝรั่งเศสก่อให้เกิดความกังวลแก่ประเทศมหาอานาจ ตะวันตกอืน่ ๆ ทเี่ หน็ เปน็ สิง่ บอกเหตุของสงครามระหว่างสยามกับฝรั่งเศส ในที่ประชุมรัฐสภาอังกฤษเมื่อวันที่ ๒๙ มถิ นุ ายน เซอรเ์ อด็ เวิรด์ เกร (Sir Edward Grey) ลัดกระทรวง การต่างประเทศอังกฤษจึงประกาศว่า \"เราไม่อาจรู้ได้ว่าฝรั่งเศสต้องการทาอะไรที่สยาม แต่เพื่อป้องกัน ชาวอังกฤษและทรัพย์สินของพวกเขา เรามีเรือรบอยู่ ๑ ลาที่กรุงเทพมหานครขณะนี้ เราจะส่งเรือรบถ้าที่ ๒ ไป และเตรยี มพรอ้ มเรือรบลาที่ ๓ ไว้ ฝร่ังเศสเหน็ ว่าการปฏิบัตขิ องอังกฤษเชน่ นน้ั จะยงิ่ เป็นการกระตุ้นให้สยามดาเนินการต่อต้านฝรั่งเศสต่อไป เดอแวลจึงขอคาอธิบายจากรัฐบาลอังกฤษ ลอร์ดโรสเบอรี จึงยืนยันกับเดอแวลว่า \"การส่งเรือรบอังกฤษไปยัง กรุงเทพมหานคร ไม่ใช่เพื่อช่วยเหลือรัฐบาลสยามเพื่อป้องกันชาวอังกฤษจากการจลาจล และเพื่อปกป้อง ผลประโยชน์ทางการค้าขององั กฤษในสยาม\"

๑๗ ฝรั่งเศสเลือกที่จะส่งเรือรบมายังกรุงเทพมหานครเลียนแบบอังกฤษ อย่างไรก็ตามเดอแวลย้ากับปาวีว่า \"เราจะไม่ปฏบิ ัติการเย่ยี งศัตรูถา้ ฝ่ายสยามไมป่ ฏิบัติกบั เรากอ่ น ยกเว้นเรือของเราถูกโจมตีและถูกผลักดันให้ตอบโต้ การโจมดขี องข้าศึก\" วันที่ ๕ กรกฎาคม ๑๘๙๓ นายพลเรอื ฮือมานนม์ ีคาสงั่ ถึงนาวโทโบรี (Bory) ผู้บังคับเรื่อรบแองคงสต็องต์ (Inconstant) ว่า \"รัฐบาลตัดสินใจส่งเรอื รบ ๒ ลาไปยงั กรุงเทพมหานคร ขา้ พเจ้าขอมอบหมายภารกิจนี้แก่เรือรบ แองคงสต็องต์และเรือปืนโคแม็ต (Comete) การปรากฎตัวของเรือรบฝรั่งเศสไม่มีเจตนาร้ายแต่อย่างใด แต่เพื่อ ยืนยันความจาเป็นที่ต้องคุ้มครองชาวฝรั่งเศสเช่นเดียวกับชาติมหาอานาจอื่น ๆ ในกรณีที่ห้ามเรือรบผ่านสันดอน หรือเรอื รบเข้าไปแล้วถูกกักไว้ ท่านต้องประท้วงผ่านกงสุลของเราที่กรุงเทพมหานคร เราจะไม่เปิดการปฏิบัติการ เย่ยี งศตั รกู ่อน ไม่ว่าด้วยเหตุผลใดปล่อยให้ฝ่ายสยามยิงปืนใหญ่นัดแรกก่อน รัฐมนตรีกระทรวงทหารเรือสั่งไม่ให้ ทา่ นทาอะไรกอ่ นทจ่ี ะไดต้ กลงกับปาวเี ปน็ ท่เี รียบร้อยและอาจตอ้ งขออนุญาตรฐั บาลก่อน\" เรือรบท้ัง ๒ ลาของฝรง่ั เศสมีแผนจะข้ามสันดอนเมื่อน้าขึ้นครั้งแรกของวันที่ ๑๕ กรกฎาคม ค.ศ. ๑๘๐๓ แต่ปรากฏว่าเรือรบทั้ง ๒ ลาแล่นถึงหน้าสันดอนตั้งแต่วันที่ ๑๓ กรกฎาคม เวลา ๑๖.๓๐ โดยเรือแองคงสต็องได้ ขนถา่ ยถา่ นหินและกระสุนสาหรบั เรอื รบถูตงั และเรอื ปืนโคแมต็ เพือ่ ใหก้ ินน้าลึกเพียง ๓.๙๐ เมตร เสร็จเรียบร้อย ตั้งแต่วันที่ ๑๒ กรกฎาคม เมื่อเดินทางถึงหน้าสันดอนเรือเล็ก ของเรือปืนโคแม็ตนาเรือเอกจิกเกล (Gicguel)จากเรือนาร่อง จี.เบ.เซ. มายังเรือรบแองคงสต็องต์จากนั้นนายทหารเรือ อังกฤษจากเรือปาลาส(Pallas) ขึ้นเรือรบแองคงสต็องเพื่อแจ้ง ให้นาวาโทโบรีทราบว่า ป่าวีและนายทหารเรืออีก ๒ นายจาก เรือลูตังกาลังลงเรือมาตามแม่น้าเพื่อจะมาขึ้นเรือ จึงไม่ จาเป็นต้องข้ามสันดอน ต่อมานายทหารสยามมาบอกข่าว เดียวกันแต่เมื่อเรือโทลงเชอวิล (Longeville) จากเรือรบลูตัง มาถงึ แทนทเ่ี ขาจะแจ้งสถานการณล์ า่ สุดเรื่องรัฐบาลสยามห้าม เรือรบต่างชาติล่องขึ้นแม่น้าเจ้าพระยาโดยเด็ดขาดตั้งแต่วันที่ ๑๒ กรกฎาคม เขากลับส่งโทรเลขของนายพลเรือฮือมานน็ฉบับลงวันที่ ๑๒ กรกฎาคม ถึงราชทูตฝรั่งเศสประจา กรุงเทพมหานคร ซ่งึ ยนื ยันใหจ้ อดเรือรบเหนือสนั ดอนท่ีปากนา้ ใหน้ าวาโทโบรี ดงั น้ันเมื่อน้าขึ้นเต็มที่ เวลา ๑๘.๐๐ น. เรือรบทั้ง ๒ ลา และเรือนาร่อง เจ.เบ.เซ.จึงข้ามสันดอนและทาให้ถูกยิงเตือนจากป้อมพระจุลจอมเกล้า แต่เรือ ทกุ ลายงั คงเดินหนา้ ตอ่ ไปพร้อมให้สัญญาณประจาสถานีรบ เมื่อฝ่ายสยามยิงกระสุนจริงในชุดที่ ๒ แล้วเรือรบทั้ง สองจึงยิงโต้ตอบ และสามารถฝ่าแนวป้องกันตามลาน้าเจ้าพระยาได้สาเร็จจนมาจอดทอดสมออยู่ที่หน้าสถานทูต ฝร่ังเศสท่ีกรุงเทพมหานคร วันที่ ๓ ตุลาคม ค.ศ. ๑๘๙๓ รัฐบาลสยามโดดเดี่ยวจากความช่วยเหลือของอังกฤษ ยอมลงนามใน สนธิสัญญาสันติภาพ ยกดินแดนฝั่งซ้ายแม่น้าโขงให้แก่ฝรั่งเศส พร้อมค่าสินไหมทดแทนและหลักประกันอื่นๆ ภายหลงั ความกดดันทางทหารอกี คร้ังดว้ ยการปิดอ่าวสยามของกองทัพเรือฝรั่งเศส

๑๘ วนิ ทร์ เลียววารณิ ( ๒๕๖๒ : ออนไลน์ ) ไดก้ ล่าวถงึ เหตุการณ์พระยอดเมืองขวางไว้ว่าพระยอดเมืองขวาง เกิดเมื่อปี พ.ศ. ๒๓๙๕ ที่อาเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์ บุตรของพระยาไกรเพ็ชร์ เริ่มรับราชการใน กระทรวงมหาดไทย เป็นผชู้ ว่ ยกองข้าหลวงใหญ่นครจาปาศกั ดิ์ ตอ่ มาเปน็ เจ้าเมืองเชียงขวาง ได้รับบรรดาศักดิ์เป็น พระยอดเมืองขวาง เป็นเจ้าเมืองคาม่วน ดูแลพื้นที่บ้านนาเป คาเกิด คาม่วน นากาย ปากพิบูลย์ แก่งเจ๊ก ซึ่งเป็น พืน้ ท่ีชายแดนติดอินโดจนี อาณานิคมของจกั รวรรดฝิ ร่ังเศส และเกดิ เหตกุ ระทบกระทัง่ กับฝ่ายฝรั่งเศสเป็นนิจ พระ ยอดเมืองขวางข้ามถึงฝั่งสยาม ก็ไปหาทหารไทย ขอให้ไปช่วยหลวงอนุรักษ์ทหารไทยห้าสิบนายพร้อมขุนวังเมือง ทา่ อุเทน เดินทางไปท่ีจวนบัญชาการของฝร่ังเศส สถานทค่ี มุ ขงั หลวงอนุรักษ์ เป็นที่มาของการเจรจาให้ปล่อยตัวคน ไทยที่ถูกจับตัว มองซิเออร์กรอสกุแรง ผู้ตรวจราชการฝรั่งเศสไม่ยอมปล่อยตัว ระหว่างการเจรจาหลวงอนุรักษ์ กระโดดออกจากเรือนไปที่กลุ่มทหารสยาม ทหารญวนคนหนึ่งยิงไล่หลังหลวงอนุรักษ์ กระสุนพลาดไปถูกทหาร สยามคนหนึ่งล้มตาย ทหารสยามยิงโต้ พลันเสียงปืนก็ระเบิด ทั้งสองฝ่ายยิงใส่กัน เกิดไฟลุกไหม้เรือนบัญชาการ ฝรง่ั เศส ผลการปะทะ ทหารสยามเสยี ชวี ติ หกคน รวมทั้งขุนวังท่าอุเทน ทหารฝรั่งเศสและญวนเสียชีวิตสิบสองคน บาดเจ็บสามคน รวมทั้งมองซิเออร์กรอสกุแรง ถูกกระสุนปืนที่ศีรษะ เหตุการณ์ที่แก่งเจ๊กเป็นหนึ่งในข้ออ้างท่ี ฝร่งั เศสใชใ้ นการรุกรานสยามในวิกฤตการณ์ ร.ศ. ๑๑๒ หลงั จากสยามพา่ ยแพใ้ นวกิ ฤตการณ์ ร.ศ.๑๑๒ ก็ถงึ เวลาชาระบัญชีพระยอดเมืองขวาง นายออกุสต์ ปาวี ต้องการให้ลงโทษพระยอดเมืองขวางสถานหนกั และใหส้ ยามจ่ายค่าทาขวัญให้แก่ครอบครัวทหารฝรั่งเศสและชาว อนิ โดจนี ท่เี สยี ชวี ิตทูตฝร่งั เศสกล่าวว่า “พระยอดเมืองขวางเป็นฆาตกร บุกเข้าไปฆ่านายกรอสกุแรงขณะนอนป่วย อย่ใู นจวน” รัชกาลที่ ๕ โปรดฯให้ตั้ง ‘ศาลรับสั่งพิเศษ’ ขึ้นเพื่อพิจารณาคดีนี้ ให้พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงพิชิต ปรีชากร เปน็ ประธาน คณะผู้พิพากษาประกอบด้วยพระยาสีหราชเดโชชัย พระยาอภัยรณฤทธิ์ พระยาเทเวศวงศ์ ววิ ัฒน์ พระยาธรรมสารนิติ์ พระยาฤทธริ งค์ เปน็ ตน้ อัยการคือนายตีเลกี (William Alfred Tilleke) ทนายความชาวสิงหล คนในบังคับอังกฤษ (ต่อมารับ ราชการได้บรรดาศักดิ์เป็นพระยาอรรถการประสิทธิ์ ต้นสกุล คุณะดิลก) ทนายจาเลยคือนายเวอร์นอน เพจ (Vernon Page) ชาวอังกฤษ การพิจารณาคดีพระยอดเมืองขวางดาเนินไปนาน ๒๒ วัน ตั้งแต่ ๒๔ กุมภาพันธ์ถึง ๑๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๓๗ วันที่ ๑๗ มีนาคม ศาลรับสั่งพิเศษมีคาพิพากษาว่า เมืองคาม่วนเป็นของไทย พระยอดเมืองขวางในฐานะ เจา้ เมืองทาการปกป้องบา้ นเมือง จึงไม่มีความผิด เนื่องจากเป็นการปฏิบัติงานในหน้าที่ พิพากษายกฟ้องให้ปล่อย ตัวเป็นอิสระ ฝรง่ั เศสไมย่ อมรบั คาพิพากษาของศาลสยาม กดดันให้มีการพิจารณาคดีใหม่ ท้ังที่ขัดกับหลักกฎหมาย สากลว่า คดเี ดียวกันลงโทษสองครง้ั ไมไ่ ด้ นายลาเนสซัง ผู้สาเร็จราชการอินโดจีนสั่งให้จัดตั้งศาลผสมไทย-ฝรั่งเศส ณ สถานทูตฝรั่งเศส ศาลผสมไทย-ฝรั่งเศสประกอบด้วยผพู้ ิพากษาฝร่ังเศสสามคน ผู้พพิ ากษาสยามสองคน พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าฯทรงปรารภว่า “แลไม่เหน็ เลยว่าจะจบเพียงใด กวา่ จะไดต้ ดั หัวพระยอด...”

๑๙ ในวันที่ ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๓๗ พระยอดเมอื งขวางถูกตดั สนิ ใหจ้ าคกุ ยส่ี บิ ปี ดว้ ยเสียง ๓ ต่อ ๒ ให้ตีตรวน ใสข่ อื่ คาเช่นนักโทษคดีอุกฉกรรจ์ ฝรั่งเศสยังต้องการนาตัวพระยอดเมืองขวางไปลงโทษเอง แต่รัชกาลที่ ๕ ไม่ทรง ยนิ ยอม พระยอดเมอื งขวางไมพ่ ูดสกั คาเดยี ว รวู้ า่ เหตุการณ์นี้เปราะบางอย่างยิ่ง หากสยามไม่ยอมรับคาตัดสินของ ศาลฝร่ังเศส อาจถกู ใช้เป็นขอ้ อา้ งใหฝ้ รั่งเศสลงมือยดึ เมืองเพิ่ม สยามอาจสิ้นชาติได้ ดังนั้นจึงยอมรับการลงโทษแต่ โดยดี ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๔๑ หลังจากต้องโทษสี่ปีเศษ พระยอดเมืองขวางได้รับการปล่อยตัวก่อน กาหนด เชน่ เดิม ด้วยราคาที่ฝรัง่ เศสต้งั ขน้ึ เงื่อนไขของฝา่ ยฝร่ังเศสสามข้อคอื ๑. สยามต้องยอมรบั เร่ืองจดทะเบยี นคนในบังคบั ฝร่งั เศสเรื่องเขตแดนหลวงพระบาง และเขตปลอดทหาร ๒๕ กิโลเมตรในฝงั่ ขวาของแม่น้าโขง ๒. การปล่อยตัวพระยอดเมอื งขวางหา้ มทาโดยเอกิ เกริก หา้ มเป็นขา่ ว ๓. ใหป้ ลอ่ ยคนในบังคับฝรง่ั เศสท่ีถูกจาขงั อยู่ พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อย่หู วั พระราชทานบานาญให้พระยอดเมืองขวางเดือนละ๕๐๐บาทตลอดชีวิต ยกย่องเป็นวีรบุรุษของแผ่นดิน พระยอดเมืองขวางเป็นคนไทยที่ทางานเพื่อแผ่นดิน โดยยอมแบกรับโทษทัณฑ์ เพื่อใหช้ าติดารงอยู่ มิใหเ้ ป็นข้ออ้างใหห้ มาป่าขย้ากินสยามอีกครั้ง บางครั้งราคาของความรักชาติก็คือการเสียสละ ตวั เอง จากการศึกษาเหตุการณ์สาคัญ สรุปได้ว่า จากการที่ฝรั่งเศสได้ครอบครองดินแดนสิบสองจุไทย และมี นโยบายทจ่ี ะขยายอาณาเขตออกไปจนถงึ ฝ่งั แมน่ า้ โขง ฝร่งั เศสจงึ ได้ฉวยโอกาสที่ไทยเตรียมแต่งตั้งนายโอกุสต์ ปาวี เปน็ ราชทตู ประจากรงุ เทพฯ ทรี่ ู้จกั ดินแดนเขมรและลาวในทุกด้าน จึงทาให้ไทยเกิดความวิตกขึ้น เมื่อนายโอกุสต์ ปาวเี ข้ารับตาแหน่งกไ็ ดเ้ จรจาปัญหาต่างๆ กบั กรมหลวงเทวะวงศ์วโรปการ เสนาบดีกระทรวงการต่างประเทศ รวม ไปถงึ เร่อื งการปกั ปันเขตแดนสบิ สองจุไท แต่นายโอกุสต์ ปาวีกลับไม่ยอมเจราโดยอ้างว่าไทยบุกรุกดินแดนส่วนนั้น ตอ่ มากรมหลวงเทวะวงศ์วโรปการจึงเสนอให้ตั้งอนุญาโตตุลาการตัดสินปัญหาต่างๆ ที่ไทยกับฝรั่งเศสเจรจาตกลง กันไม่ได้ แต่ฝรั่งเศสไม่รับข้อเสนอนั้น และใช้นโยบายบีบังคับไทยโดยการส่งเรือรบ เลอ ลูแตงเข้ามาจอดที่ สถานทูตฝรั่งเศสที่ตั้งอยู่ริมน้าเจ้าพระยาเพื่อรอคาตอบจากรัฐบาลไทย ทาให้มีการป้องกันปากน้าที่รัดกุมมากขึ้น ในเดือนกรกฏาคม พ.ศ. ๒๔๓๖ นายพลเรอื ฮอื มานน์ มคี าสั่งถงึ นาวาโทรโบรี ผบู้ งั คบั เรอื รบแองคงสต็องค์ให้ส่งเรือ รบสองลา ไปยังกรุงเทพฯ เมอ่ื วันที่ ๑๓ กรกฏาคม พ.ศ. ๒๔๓๖ จึงได้เกิดการต่อสู้ที่บริเวณป้อมพระจุลจอมเกล้า และป้อมผีเสื้อสมุทร ทาให้ต่างฝ่ายต่างได้รับความเสียหาย โดยเรือรบฝรั่งเศสได้ฝ่ากระสุนเข้ามาทอดสมอที่หน้า สถานทูตฝรั่งเศสและไดย้ ืน่ คาขาดต่อไทย ต่อมาฝร่งั เศสไดส้ ่งผแู้ ทนรัฐบาลมาเจรจาขอทาสนธิสัญญาเพื่อยุติ กรณี ร.ศ. ๑๑๒ ซึ่งในร่างสัญญาดังกล่าวไทยมีข้อเสียบเปรียบหลายประการ ทั้งยังกรณีเมืองท่าอุเทน ที่ทาให้เกิด เหตุการณป์ ระยอดเมอื งขวาง ที่เป็นผู้ดแู ลเมอื งคามว่ งซง่ึ เปน็ พนื้ ที่ติดอนิ โดจีนอาณานิคมของฝรั่งเศส ทาให้เกิดการ กระทบกระทั่งกันหลายครั้ง ต่อมาพระยอดเมืองขวางได้เดินทางไปสยามเพื่อขอให้ทหารไปช่วยหลวงอนุรักษ์และ ทหารไทยอกี หา้ สบิ นาย แต่ระหว่างการเจรจานน้ั หลวงอนุรกั ษ์ได้กระโดดลงจากเรือเพื่อไปที่เรื่อของทหารไทย จน

๒๐ ทาให้เกิดการปะทะขึ้นจากเหตูการณืนี้จึงเป็นหนึ่งในข้ออ้างที่ฝรั่งเศสใช้ในการรุกรานสยามใน กรณี ร.ศ. ๑๑๒ หลงั จากสยามพา่ ยแพฝ้ รงั่ เศส กไ็ ด้ตัดสินคดีของพระยอดเมืองขวางโดยทางฝรั่งเศสได้กล่าวหาพระยอดเมืองขวาง เม่อื ศาลพจิ ารณาคดสี รปุ ว่าพระยอดเมอื งขวางนั้นไม่มคี วามผิด แต่ฝร่งั เศสน้ันไม่ยอมโดยอา้ งว่าการพิจารณาคดีนั้น ขัดกับหลักกฎหมายสากลจึงสั่งให้ตั้งศาลไทย-ฝรั่งเศส ในเวลาต่อมาพระยอดเมืองขวางถูกตัดสินให้จาคุกยี่สิบปี โดยฝร่ังเศสตอ้ งการนาตัวนาตวั พระยอดเมืองเมืองขวางไปลงโทษเอง แตร่ ัชกาลที่ ๕ แต่ด้วยพรัชะยอดเมืองขวางรู้ วา่ เหตุการณ์เปน็ เหตกุ ารณ์ที่เปราะบางอย่างย่ิง หากสยามไม่ยอมอาจถูกใช้เป็นของอ้างในการยึดดินแดนเพิ่ม พระ ยอดเมืองขวางจงึ ยอมไปรับโทษในครั้งนี้ จากเหตุการณ์สาคัญ ๒ เหตุการณ์ที่เป็นสาเหตุของ ร.ศ.๑๑๒ ทาให้เห็น วา่ สยามไดร้ ับความเสยี เปรียบมากยิง่ นักและยงั ส่งผลกระทบในหลายประเด็นดังน้ี ๒.๓ ผลกระทบจำกเหตุกำรณ์ ร.ศ. ๑๑๒ วรพงษ์ แพรมว่ ง ( ๒๕๖๓ : ออนไลน์ ) ไดก้ ลา่ วถงึ ผลกระทบจากเหตกุ ารณ์ ร.ศ. ๑๑๒ ไว้ว่า วิกฤตการณ์ ร.ศ.๑๑๒ กรณพี ิพาทไทยกับฝรง่ั เศสน้นั สง่ ผลใหไ้ ทยตอ้ งจ่ายคา่ ปรับแก่ฝรั่งเศสภายใน ๔๘ ชั่วโมง มิฉะนั้นจะเสีย ดินแดนพน้ื ทฝ่ี ง่ั ซา้ ยของแม่น้าโขง ซึ่งเหตุการณ์วิกฤตการณ์ ร.ศ. ๑๑๒ (พ.ศ. ๒๔๓๖) เกิดขึ้นสมัยรัชกาลที่ ๕ ถือ ไดว้ า่ เปน็ หนง่ึ เหตุการณ์ที่ไทยเกือบเสียเอกราชมากที่สุดเมื่อจักรวรรดินิยมฝรั่งเศส ได้ขยายอิทธิพลเข้ามาในเดือน กรกฎาคม ร.ศ. ๑๑๒ (พ.ศ. ๒๔๓๖) เรือรบฝรั่งเศสได้ชัยชนะรุกผ่านเข้าปากแม่น้าเจ้าพระยาเทียบท่าอยู่หน้า สถานทตู ฝรัง่ เศสในพระนครไดส้ าเร็จและได้หันปืนใหญ่น้อยบนเรือเข้าสู่พระบรมมหาราชวัง ทางฝรั่งเศสได้ยื่นคา ขาดแก่รัฐบาลไทยโดยมีข้อเรียกร้องให้ไทยต้องจ่ายเงิน ๓ ล้านฟรังก์ ให้ชาระเป็นเงินเหรียญทันทีในการชดใช้ คา่ เสียหายตา่ ง ๆ โดยกาหนดภายใน ๔๘ ชั่วโมง มิฉะนั้นกองทัพเรือฝรั่งเศสจะปิดอ่าวไทยและสั่งทูตฝรั่งเศสออก จากไทย ซึ่งอาจทาใหไ้ ทยตกเปน็ อาณานิคมของฝร่งั เศสได้ ด้วยเหตุผลดังกลา่ ว เงินถุงแดงจึงถูกนามาใช้สมทบเป็น ค่าปรับที่ฝรั่งเศสเรียกร้อง โดยนาไปสมทบกับเงินในท้องพระคลังหลวงที่มีอยู่เพื่อนาไปเป็นค่าปรับสงครามแก่ ฝรั่งเศส ซง่ึ ยงั ไมเ่ พียงพอกับเงิน ๓ ล้านฟรังก์ ทาให้เจ้านายชั้นพระบรมวงศานุวงศ์ ตลอดจนข้าราชการจึงช่วยกัน ถวายเงิน ทอง เครื่องประดับและของมีค่า ไปแลกเป็นเงินเหรียญรวบรวมใส่ถุงขนออกจากพระบรมมหาราชวัง กล่าวกันว่าเงนิ คา่ ปรบั ที่จ่ายให้ฝรั่งเศสนั้น เป็นเหรียญทองเม็กซิโกรวมทั้งหมด ๘๐๑,๒๘๒ เหรียญ ซึ่ง ๑ เหรียญ เท่ากับ ๓.๒ ฟรังก์ น้าหนักของเงินเหรียญทั้งหมดรวมกันกว่า ๒๓ตัน ต้องขนกันตลอดวันบรรทุกใส่รถออกจาก ประตูต้นสนของพระบรมมหาราชวงั ไปลงเรือ ทีท่ ่าราชวรดิษฐ์ เพื่อให้ทันตามกาหนดที่ฝรั่งเศสยื่นคาขาดเนื่องจาก มีเวลาจากัดเพียง ๔๘ ชั่วโมง ผลจากล้อรถที่บรรทุกน้าหนักเงินเหรียญ ๒๓ ตันนั้น ได้กดทับจนทาให้เกิดรอยสึก บนพ้นื ถนนเป็นทางทอดยาว วิกฤตการณ์ ร.ศ. ๑๑๒ นั้น ถือเป็นเหตุการณ์ที่สร้างความเศร้าโศกเสียพระราชหฤทัยให้กับ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ เป็นอย่างมาก เป็นเหตุให้ประชวรหนักจากการที่ฝรั่งเศส เขา้ มารกุ รานแผ่นดนิ จนทอ้ พระทยั อย่างหนัก ซึ่งเหตุการณ์ในครั้งนั้น ประเทศไทยได้ผ่านพ้นวิกฤตมาได้ด้วยพระ มหากรุณาธคิ ณุ ทพ่ี ระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓ ได้พระราชทานเงินถุงแดงที่ทรงเก็บสะสมไว้ เมอ่ื ครงั้ ทาการค้าสาเภากบั ชาวตา่ งประเทศและพระราชทานให้แก่แผ่นดิน สาหรับใช้ในยามที่บ้านเมืองเกิดภาวะ คบั ขนั นามาไถบ่ ้านไถเ่ มืองและรกั ษาเอกราชของชาติไวใ้ ห้รอดพน้ จากการตกเป็นอาณานคิ มของชาติฝรัง่ เศสไว้ได้

๒๑ คมชัดลึก ( ๒๕๖๐ : ออนไลน์ ) ได้กล่าวถึงผลกระทบจากเหตุการณ์ ร.ศ. ๑๑๒ ไว้ว่า ผลจากการปะทะ กันครั้งนี้ ‘ฝรั่งเศส’ ได้รับชัยชนะและได้บังคับให้สยามลงนามใน“สนธิสัญญาสันติภาพ”ในวันที่ ๓ ตุลาคมปี เดียวกัน สนธิสัญญาฉบับดังกล่าวกาหนดให้สยามชดใช้ค่าเสียหายให้ฝรั่งเศสเป็นเงินจานวน ๓ ล้านฟรังก์ ตีเป็น เงินไทยประมาณ ๑,๕๖๐,๐๐๐บาท (อัตราแลกเปลี่ยนในสมัยนั้น) รวมทั้งบังคับให้รัฐบาลสยามยอมสละดินแดน ฝั่งซ้ายแม่น้าโขง ตลอดถึงเกาะแก่งในแม่น้าโขงทั้งหมด เป็นพื้นที่ ๑๔๓,๐๐๐ ตารางกิโลเมตร และฝรั่งเศสได้ยึด เมืองจันทบรุ ไี วใ้ นอารกั ขานานกวา่ ๑๐ ปี (ระหว่างปี ๒๔๓๖-๒๔๔๗) จนกว่าสยามจะชดใช้ค่าเสียหายจนครบ ผล จากกรณพี ิพาทกับฝร่งั เศสครั้งนที้ าให้สยามต้องเสียดนิ แดนเปน็ ครัง้ ที่ ๒ อภิวัจ สุปรีชาวุฒิพงศ์ (๒๕๕๖ : ออนไลน์) ได้กล่าวถึงผลพวงของเหตุการณ์ร.ศ.๑๑๒ ก็ส่งผลกระทบต่อเนื่องมา จนถึงปจั จุบนั ดังนี้ ๑๓ ก.ค. พ.ศ. ๒๔๓๖ ฝร่งั เศสส่งเรอื รบบกุ เข้าแม่น้าเจ้าพระยา ๑๕ ก.ค. ฝรั่งเศสยึดเมืองจันทบุรี อ้างว่า เปน็ ประกันใหไ้ ทยปฏบิ ัตติ ามข้อเรียกรอ้ ง แตฝ่ รัง่ เศสกย็ ึดจนั ทบรุ ตี อ่ ไปอีก ๑๐ ปี ๑๓ ก.พ. พ.ศ. ๒๔๔๖ ไทยและฝรั่งเศสทาสนธิ สยาม-ฝรั่งเศส ค.ศ.๑๙๐๓ จุดเริ่มต้นการปักปันเขตแดน พื้นที่ลาวและกัมพูชา มีการตั้งคณะกรรมการร่วมปักปันเขตแดนและทาแผนที่ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นข้อพิพาทเขาพระ วิหาร ผลจากสนธิสัญญาฉบับนี้ทาให้ฝรั่งเศสยอมคืนเมืองจันทบุรี แต่เข้ายึดเมืองประจันตคิรีเขตต์ หรือเกาะกง และเมอื งตราดแทน พ.ศ. ๒๔๔๙ ไทยและฝรั่งเศสทาสนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ๖ ก.ค. ค.ศ.๑๙๐๗ ฝรั่งเศสถอนทหารออก จากตราด แต่ยังยึดเกาะกงต่อไป แลกกับการที่ไทยยกดินแดนมณฑลบูรพา เสียงราฐ พระตะบอง ศรีโสภณ ให้ ฝร่ังเศส พ.ศ. ๒๔๙๖ กมั พูชาได้รบั เอกราชจากฝรัง่ เศส ๖ ต.ค. พ.ศ. ๒๕๐๒ กมั พูชาฟอ้ งศาลโลก คดีปราสาทพระวหิ าร ๑๕ มิ.ย. พ.ศ. ๒๕๐๕ ศาลโลกพิพากษาให้ปราสาทพระวิหารเป็นของกัมพูชา ๑๕ ก.ค. ไทยถอนกาลัง และยกเสาธงชาตลิ งจากปราสาทพระวหิ าร ๗ ก.ค. พ.ศ. ๒๕๕๑ คณะกรรมการมรดกโลก ข้ึนทะเบยี นปราสาทพระวหิ ารเป็นมรดกโลก ๑๕ ก.ค. ไทย ส่งกาลังเข้าพื้นที่รอบปราสาทพระวิหารเป็นครั้งแรกในรอบ ๔๙ ปี เพื่อรักษาสิทธิอธิปไตย ส่งผลให้เกิดปัญหา พพิ าทกับกมั พชู าตามมา ๒๘ เม.ย. พ.ศ. ๒๕๕๔ กมั พูชาฟ้องศาลโลกใหต้ ีความคาพพิ ากษา ๑๕ ก.ค. พ.ศ. ๒๕๐๕ ศาลโลกกาหนด มาตรการช่ัวคราวใหไ้ ทยและกัมพชู าถอนทหารออกจากพ้นื ทพ่ี ิพาท จากการศกึ ษาผลกระทบจากเหตุการณ์ ร.ศ. ๑๑๒ สรุปได้ว่า จากเหตุการณ์ ร.ศ.๑๑๒ ทาให้ไทยนั้นต้อง เสยี คา่ ปรบั มหาศาลให้กบั ฝร่ังเศส พร้อมท้ังการเสยี ดนิ แดนฝ่งั ซา้ ยของแม่นา้ โขงจนทาให้รัชกาลที่ ๕ ประชวรอย่าง หนัก และจากเหตุการณ์นี้ยังเป็นจุดเริ่มต้นข้อพิพาทเขาพระวิหารอีกด้วย ซึ่งจากการศึกษาจะเห็นได้ว่าสยามนั้น ตอ้ งเสียดินแดนใหก้ ับฝรัง่ เศสในเหตุการณ์ ร.ศ.๑๑๒ เปน็ บริเวณกว้างดงั น้ี

๒๒ ๓.กำรสญู เสยี ดนิ แดนจำกเหตกุ ำรณ์ร.ศ.๑๑๒ ๓.๑ ดินแดนที่สญู เสยี ไปจำกเหตกุ ำรณ์ ร.ศ.๑๑๒ สถาบนั พระปกเกล้า ( ออนไลน์ ) ได้กลา่ วถึงดนิ แดนท่ีเสียไปจากเหตกุ ารณร์ .ศ.๑๑๒ ว่า วิกฤตการณ์ ร.ศ. ๑๑๒ (เอกสารภาษาองั กฤษเรยี กวา่ Franco-Siamese War หรือ \"สงครามฝรัง่ เศส - สยาม\") เป็นเหตุการณ์ความ ขดั แยง้ ระหวา่ งราชอาณาจักรสยามกับฝรั่งเศสในสมัยสาธารณรัฐฝร่งั เศสท่ี ๓ ซึ่งเกิดขึ้นในปี พ.ศ. ๒๔๓๖ จากการ อา้ งอานาจอธปิ ไตยเหนือพน้ื ท่ฝี ง่ั ซา้ ยของแมน่ ้าโขง (พน้ื ทีส่ ว่ นใหญ่ของประเทศลาวในปัจจบุ ัน) ผมู้ ีบทบาทสาคญั ในวิกฤตการณ์คร้งั นี้คือนายโอกุสต์ ปาวี รองกงสุลฝรั่งเศสประจานครหลวงพระบาง ซึ่ง เป็นหัวหอกสาคัญในการแสวงหาผลประโยชน์ของฝ่ายฝรั่งเศสในดินแดนลาว โดยใช้ประโยชน์จากจุดอ่อนของ สยามที่ไมส่ ามารถดูแลหัวเมืองชายแดนได้ท่ัวถึง การก่อกบฏในเวียดนามที่เกิดขึ้นเป็นระยะๆ การปราบฮ่อซึ่งแตก พา่ ยจากเหตกุ ารณก์ บฏไทผ่ ิงในจนี และการทวคี วามขัดแยง้ ระหวา่ งรัฐบาลสยามกบั รัฐบาลฝรง่ั เศสทก่ี รุงปารีส ผลของวิกฤตการณ์ครั้งนี้ทาให้ฝ่ายไทยจาต้องยอมยกดินแดนลาวฝั่งซ้ายของแม่น้าโขงให้แก่ฝรั่งเศส นบั เป็นการขยายอทิ ธพิ ลครั้งสาคญั ครงั้ หน่ึงของฝร่งั เศสในภมู ภิ าคอนิ โดจนี และนาไปสู่การสูญเสียดินแดนประเทศ ราชของไทยในเขมรและลาวทีเ่ หลืออยู่ในเวลาต่อมาอีกดว้ ย เมื่อฝรั่งเศสได้ครอบครองดินแดนสิบสองจูไทยแล้ว โดยที่ยังไม่มีการเจรจาปักปันเขตแดนกับไทยการ เจรจานี้ได้ยุติลง เมื่อฝรั่งเศสมีนโยบายจะขยายอาณาเขตของตนออกไปจนถึงฝั่งแม่น้าโขง โดยจะยึดดินแดน ท้งั หมดบนฝั่งซ้ายของแม่น้าโขง ตั้งแต่ภาคเหนือของลาวจนถึงชายแดนเขมร เมื่อฝรั่งเศสยึดดินแดนสิบสองจูไทย ได้น้ัน กเ็ ร่มิ สารวจดินแดนลาวอกี ครัง้ และสร้างอิทธพิ ลในหมชู่ าวลาวด้วยการผูกมิตรและหาเหตุมาขัดแย้งกับไทย อยู่เสมอ ฝ่ายไทยเห็นว่าฝรั่งเศสต้องการยึดดินแดนเพิ่มจึงเตรียมรับมือ เช่นปรับปรุงการปกครองหัวเมืองฝ่าย ตะวันออกให้เข้มแข็งรัดกุมขึ้น โดยเฉพาะเมืองจาปาศักดิ์ หนองคาย และหลวงพระบาง การเกณฑ์ทหารและ เตรียมการป้องกันชายแดน ฝรั่งเศสจึงฉวยโอกาสว่าไทยเตรียมจะทาสงคราม และแต่งตั้งนายโอกุสต์ ปาวี เป็น ราชทูตประจากรุงเทพฯ ซึ่งสร้างความวิตกให้กับฝ่ายไทย เพราะนายปาวีรู้จักดินแดนเขมรและลาวในทุกๆด้าน และเป็นนักจักรวรรดินิยม เมื่อนายโอกุสต์ ปาวีเข้ามารับตาแหน่งก็เริ่มการเจรจาปัญหาเก่าๆกับกรมหลวงเทวะ วงศว์ โรปการ เสนาบดีกระทรวงการต่างประเทศ รวมทั้งเรื่องการปักปันเขตแดนสิบสองจูไทย โดยจะนาแผนที่มา แสดงเขตแดนของตน แต่ต่อมานายโอกุสต์ ปาวี ก็หาเหตุไม่ยอมเจรจาด้วยอ้างว่าทหารไทยบุกรุกดินแดนส่วนนั้น ของฝรั่งเศสทาให้การเจรจาล้มเลิกไป ในเดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๔๓๖นายโอกุสต์ ปาวี ได้ประกาศว่าฝรั่งเศสถือว่า ดินแดนฝั่งตะวันออกของแม่น้าโขงทั้งหมดเคยเป็นเมืองที่ส่งบรรณาการให้แก่ญวนมาก่อนจึงไม่เป็นส่วนหนึ่งของ ไทย พอถึงเดือนเมษายน พ.ศ. ๒๔๓๖ ฝรั่งเศสได้อ้างสิทธิครอบครองดินแดนลาวพร้อมกับส่งกองทัพเข้าไป กรม หลวงเทวะวงศ์วโรปการจึงเสนอให้ตั้งอนุญาโตตุลาการตัดสินปัญหาต่างๆ ที่ไทยกับฝรั่งเศสเจรจาตกลงกันไม่ได้ ฝรง่ั เศสไม่รับขอ้ เสนอนัน้ และใช้นโยบายเรือปนื เพื่อบีบบังคับไทยโดยส่งเรือรบ เลอ ลูแตง (Le Lutin) เข้ามาจอด หนา้ สถานทูตฝรงั่ เศสซึ่งตั้งอยรู่ ิมแม่นา้ เจ้าพระยาเพื่อรอคาตอบจากรัฐบาลไทย ท่าทีคุกคามของฝรั่งเศสทาให้ไทย เร่งจัดการป้องกันกรุงเทพฯ และปากน้าให้รัดกุมยิ่งขึ้น และทาการป้องกันรักษาพระราชอาณาเขตหัวเมือง ชายทะเลดา้ นตะวนั ออก โดยสง่ ทหารไปประจาที่เกาะกง แหลมงอบ และสร้างป้อมพระจุลจอมเกล้าที่แหลมฟ้าผ่า

๒๓ และขอความช่วยเหลือจากอังกฤษแต่ไม่ได้รับความช่วยเหลือ เพราะอังกฤษไม่ต้องการเข้าไปแทรกแซงระหว่าง ฝร่งั เศสกบั ไทย วันที่ ๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๓๖ รัฐบาลฝรั่งเศสได้แจ้งแก่ฝ่ายไทยว่า ผู้การโบรี (Bory) จะนาเรือปืนแอ งกงสตอง (Inconstant) และเรือโกแมต (Comete) เข้ามายังกรุงเทพฯ กรมหลวงเทวะวงศ์วโรปการ ทรงคัดค้าน ว่าละเมิดสนธิสัญญาฉบับ พ.ศ. ๒๓๙๙ ในวันที่ ๑๑ กรกฎาคม เรือทั้งสองลาจึงมุ่งหน้ามากรุงเทพฯ ซึ่งเป็นการ ละเมิดอธิปไตยของไทย จึงได้เกิดการต่อสู้บริเวณป้อมพระจุลจอมเกล้าและป้อมผีเสื้อสมุทร ต่างฝ่ายได้รับความ เสียหาย โดยฝรัง่ เศสสามารถฝ่ากระสุนเข้ามาจอดทห่ี นา้ สถานทตู ฝร่ังเศสได้และย่นื คาขาดต่อไทยดังน้ี ๑. ไทยต้องเพิกถอนสิทธิเหนือดินแดนฝั่งซ้ายของแม่น้าโขงและเกาะต่างๆตั้งแต่ภาคเหนือของลาวไป จนถึงพรมแดนเขมร ๒. ให้ไทยรอ้ื ถอนดา่ นทั้งหมดบนฝัง่ ซ้ายของแมน่ า้ โขงให้เสร็จภายใน ๑ เดอื น ๓. ใหไ้ ทยจดั การปญั หาทุ่งเชียงคา เมืองคาพวน และความเสียหายที่เรือรบฝรั่งเศสและชาวฝรั่งเศสได้รับ จากการปะทะกัน ๔. ให้ไทยลงโทษเจา้ หนา้ ทีฝ่ ่ายไทยทีร่ ับผดิ ชอบในการยิงปนื ทีป่ ากนา้ ๕. ใหไ้ ทยชดใช้คา่ เสยี หายใหช้ าวฝรัง่ เศสเป็นเงนิ ๒ ลา้ นฟรังก์ ฝา่ ยไทยจึงยอมรับทุกขอ้ ยกเวน้ ข้อ ๑ ทาให้ฝรั่งเศสไม่พอใจจึงถอนคณะทูตออกจากประเทศไทย และเรือ รบได้ไปยังเกาะสีชังและปฏิบัติการปิดอ่าวไทย จึงเป็นเหตุให้ไทยรับเงื่อนไขคาขาดโดยไม่ต่อรองใดๆ เพื่อให้ ฝร่งั เศสยุติการปดิ อา่ ว แตร่ ัฐบาลฝรงั่ เศสกลับย่ืนเง่อื นไขเพิม่ เติมท่รี ุนแรงขนึ้ คอื เรยี กรอ้ งจะเขา้ ยดึ ครองแม่น้าและ ท่าเรอื จังหวดั จนั ทบรุ ี และไทยตอ้ งไม่มกี าลังทหารอยู่ที่พระตะบอง เสียมราฐ และบริเวณรัศมี ๒๕ กิโลเมตรบนฝั่ง ขวาของแมน่ ้าโขง ฝา่ ยไทยจงึ ยอมรับเงอื่ นไขท่ีเพิ่มเตมิ มาแต่โดยดี หลังจากนั้นฝรั่งเศสได้ส่งผู้แทนรัฐบาลมาเจรจา ขอทาสนธสิ ัญญาเพือ่ ยุติกรณีพพิ าท ร.ศ. ๑๑๒ ในร่างสัญญาดังกล่าวไทยมีข้อเสียเปรียบหลายประการโดยเฉพาะ เมืองจันทบรุ ี มีสาระสาคัญดังน้ี ๑. รฐั บาลไทยสละสทิ ธทิ งั้ หมดในดนิ แดนบนฝ่งั ซา้ ยของแม่น้าโขงและเกาะตา่ งๆในแม่น้านนั้ ๒. ห้ามรัฐบาลไทยสง่ เรือรบเขา้ ไปในทะเลสาบ ในแมน่ า้ โขง และลานา้ ทีแ่ ยกมา ๓. หา้ มรัฐบาลไทยสร้างดา่ นหรือค่ายทหารในเมืองพระตะบอง และเสยี มราฐ ๔. ฝร่ังเศสสงวนสทิ ธิจะต้งั กงสลุ ณ ท่ใี ดก็ได้ โดยเฉพาะทนี่ ่านและโคราช จากการศกึ ษาข้อมลู เกยี่ วกับดินแดนที่สูญเสียไปจากเหตุการณ์ ร.ศ.๑๑๒ สรุปได้ว่า เหตุการณ์ ร.ศ.๑๑๒ นน้ั เป็นเหตกุ ารณท์ ที่ าให้ประเทศไทยเกิดการสูญเสียครั้งยิ่งใหญ่ที่สุด เนื่องจาก การสูญเสียครั้งนี้ คือการสูญเสีย พืน้ ท่เี ปน็ วงกว้างมากถงึ ๑๔๓,๘๐๐ ตารางกโิ ลเมตร ซ่ึงไทยเราไม่ได้มกี ารเสยี ดินแดนเพยี งครั้งนเ้ี ดียว แต่มีการเสีย ดินแดนครั้งอื่นๆอีกหลายครั้ง รวมแล้ว ประเทศไทยมีการเสียดินแดนทั้งหมดจานวน ๑๔ ครั้งด้วยกัน โดยแต่ละ ครั้งจะมีกรณีและปริมาณพื้นที่ที่สูญเสีย แตกต่างกันออกไป ตามเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วง การสูญเสีย ดนิ แดนทัง้ หมดนี้ คือความเป็นมาของแผนที่ประเทศไทยในปจั จุบนั

๒๔ ๔.ควำมเป็นมำของแผนที่ประเทศไทยในปัจจุบนั ๔.๑ แผนท่ีประเทศไทยกอ่ นเสยี ดินแดน Poundtawan ( ๒๕๕๙ : ออนไลน์ ) ได้กล่าวว่าในยุคต้นสมัยรัตนโกสินทร์ ประเทศไทยมีเนื้อที่ ๑,๒๙๔,๙๙๒ ตารางกิโลเมตร ทิศเหนือครอบคลุมแคว้นสิบสองปันนา จรดประเทศจีน ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ครอบคลุมพื้นที่ทั้งฝั่งซ้ายและขวาของแม่น้าโขง ทิศตะวันออกครอบคลุมดินแดนเขมรทั้งหมด ทิศตะวันตกจรด ชายแดนพมา่ มเี มอื งมะริด ทวาย และตะนาวศรอี ยภู่ ายใตก้ ารปกครองของกรงุ ศรีอยุธยา ทศิ ใต้จรดชายแดนมลายู จากรูปภาพขา้ งต้นเป็นรูปของแผนที่ประเทศไทยก่อนเสียดินแดนให้กับต่างชาติ รวมเนื้อที่๑,๒๙๔,๙๙๒ ตารางกโิ ลเมตร ซึง่ เปน็ เนื้อทบี่ ริเวณกวา้ งก่อนท่ไี ทยจะเสียดนิ แดนไป ๑๔ คร้งั

๒๕ ๔.๑.๑ กำรเสียดนิ แดน ๑๔ คร้งั Poundtawan ( ๒๕๕๙ : ออนไลน์ ) ไดก้ ลา่ วถงึ การเสยี ดินแดนของประเทศไทยทั้ง ๑๔ ครงั้ ดังน้ี ครงั้ ท่ี ๑ เสยี เกาะหมาก (ปนี ัง) ใหก้ บั ประเทศอังกฤษ เมอื่ ๑๑ สิงหาคม ๒๓๒๙ พื้นท่ี ๓๗๕ ตารางกโิ ลเมตร ใน รัชกาลท่ี ๑ ครั้งท่ี ๒ เสียทวาย ตะนาวศรี ให้กับพม่า เมื่อ ๑๖ มกราคม พ.ศ.๒๓๓๖ พ้นื ท่ี ๕๕,๐๐๐ ตารางกิโลเมตร ในสมัย รัชกาลท่ี ๒ คร้งั ที่ ๓ เสยี บนั ทายมาศ (ฮาเตยี น) ใหก้ บั ฝร่งั เศส เม่ือ พ.ศ.๒๓๕๓ ในสมยั รัชกาลท่ี ๒ ครง้ั ท่ี ๔ เสียแสนหวี เมอื งพง เชยี งตุง ใหก้ ับพม่าเมื่อ พ.ศ.๒๓๖๘ พื้นที่ ๖๒,๐๐๐ ตารางกโิ ลเมตร ในสมยั รัชกาลท่ี ๓ ครัง้ ท่ี ๕ เสยี รัฐเปรัค ให้กับองั กฤษเมอื่ พ.ศ.๒๓๖๙ ในสมัยรัชกาลที่ ๓ ครั้งท่ี ๖ เสียสิบสองปนั นา ให้กบั จีนเมือ่ ๑ พฤษภาคม พ.ศ.๒๓๙๓ พ้ืนที่ ๙๐,๐๐๐ ตารางกโิ ลเมตร ในสมยั รชั กาล ที่ ๔ ครง้ั ท่ี ๗ เสยี เขมรและเกาะ ๖ เกาะ ให้กับฝร่งั เศส เมื่อวนั ที่ ๑๕ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๑๐ พน้ื ท่ี ๑๒๔,๐๐๐ ตาราง กิโลเมตร ในสมัยรัชกาลที่ ๔ ครง้ั ท่ี ๘ เสียสิบสองจไุ ทย (เมืองไล เมืองเชยี งค้อ) ใหก้ บั ฝร่ังเศส เมื่อ ๒๒ ธนั วาคม พ.ศ.๒๔๓๑ พนื้ ท่ี ๘๗,๐๐๐ ตารางกิโลเมตร ในสมัย รัชกาลที่ ๕ ครง้ั ที่ ๙ เสยี ดนิ แดนฝ่ังซา้ ยแม่นา้ สาละวนิ (๕ เมอื งเงยี้ ว และ ๑๓ เมืองกะเหรย่ี ง) ใหก้ บั ประเทศองั กฤษ เม่ือ ๒๗ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๔๓๕ ในสมยั รชั กาลที่ ๕ ครั้งท่ี ๑๐ เสียดินแดนฝงั่ ซา้ ยแม่นา้ โขง (อาณาจักรล้านช้าง หรอื ประเทศลาว) ให้กับฝร่ังเศส เมือ่ ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๓๖ พน้ื ที่ ๑๔๓,๐๐๐ ตารางกิโลเมตร ในสมยั รัชกาลท่ี ๕ ครงั้ ท่ี ๑๑ เสียดนิ แดนฝั่งขวาแม่น้าโขง (ตรงข้ามเมืองหลวงพระบาง ดนิ แดนในทิศตะวันออกของนา่ นคือ จาปาสกั และไซยะบูลี) ให้กบั ฝรัง่ เศสเมอื่ ๑๒ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๔๖ พน้ื ท่ี ๒๕,๕๐๐ ตารางกโิ ลเมตร ในสมัย.รชั กาลที่ ๕ ครง้ั ที่ ๑๒ เสยี มลฑลบูรพา (พระตะบอง,เสยี มราฐ,ศรโี สภณ) ใหก้ บั ฝรั่งเศส เมื่อ ๒๓ มนี าคม พ.ศ. ๒๔๔๙ พ้ืนที่ ๕๑,๐๐๐ ตารางกิโลเมตร ในสมยั รัชกาลท่ี ๕ ครั้งที่ ๑๓ เสียรฐั กลันตนั ,ตรงั กานู,ไทรบรุ ี, ปริส ให้กับอังกฤษเมื่อ ๑๐ มีนาคม พ.ศ.๒๔๕๑ พื้นท่ี ๘๐,๐๐๐ ตาราง กโิ ลเมตร ในสมัยรัชกาลที ๕ คร้งั ที่ ๑๔ เสยี เขาพระวหิ าร ใหก้ ับเขมร (กมั พูชา) เมื่อ ๑๕ มิถนุ ายน พ.ศ.๒๕๐๕ พนื้ ที่ ๒ ตารางกิโลเมตร ในสมัย รัชกาลท่ี ๙

๒๖ จากเหตกุ ารณท์ ง้ั หมดทาให้ประเทศไทยเสยี ดนิ แดนไปเปน็ พ้ืนท่ี ๗๘๒,๘๗๗ ตารางกิโลเมตร ซึ่งแต่ละครั้ง มีสาเหตดุ งั น้ี ๔.๑.๒ สำเหตุของกำรเสียดินแดน ๑๔ ครัง้ รณงค์ วชิ ติ ญาณ ( ๒๕๖๐ : ออนไลน์ ) กล่าวถึงสาเหตขุ องการเสยี ดนิ แดนของไทยทั้ง ๑๔ ครง้ั ไวด้ งั น้ี สาเหตกุ ารเสียดินแดนครง้ั ที่ ๑ การสยี เกาะหมาก (ปนี ัง) เพราะเจา้ เมืองไทรบุรีได้ทาสัญญากับอังกฤษ ให้ อังกฤษเช่าเกาะหมากเพื่อให้บริษัท อีสท์อินเดีย จากัด ใช้เป็นเมืองท่าในการค้าขาย สั ญญาทากันเมือวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๓๒๘ หลังจากท่ีสัญญามีผลบังคับในปีรุ่งขึ้น อังกฤษก็ส่งคนเข้า ปกครองดินแดนแห่งนี้เลย และ ประกาศตัง้ เกาะหมากเปน็ อาณานิคมของอังกฤษ

๒๗ สาเหตุการเสียดินแดนครั้งที่ ๒ การเสียทวาย ตะนาวศรี เพราะ พม่าชิงเอาไปเมื่อพระเจ้าหงสาวดีบุเรง นองตไี ด้กรงุ ศรอี ยุธยาเม่อื วันอาทิตย์ เดือน ๙ แรม ๑๑ คา่ ปมี ะเส็ง ปี พ.ศ. ๒๑๑๒ สาเหตุการเสียดินแดนครั้งที่ ๓ เสียบันทายมาศ (ฮาเตียน) เพราะ ลังจากที่กรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าใน คร้ังท่ี ๒ สมเดจ็ พระเจา้ ตากสินมหาราชส่งสารไปยังเจ้าเมืองบันทายมาศเพือ่ นากาลงั เขา้ มาช่วยกรงุ ศรีอยุธยาขับไล่ พม่า ซึ่งเจ้าเมืองบันทายมาศก็ให้ความร่วมมือและได้ยกกาลังเข้าร่วมรบ สมเด็จพระเจ้าตากสินทรงเห็น ความสาคญั ของเมืองหน้าด่าน จึงจัดการปกครองให้เมืองบันทายมาศ พระตะบอง และเสียมราฐให้ขึ้นตรงต่อกรุง ธนบุรี ทรงแต่งตั้งพระยาพิพิธเป็นเจ้าเมืองแทนเจ้าเมืองคนเดิมซึ่งเป็นคนญวนมาในกัมพูชา ขณะที่ไทยพยายาม ปกปอ้ ง ในที่สุดไทยและญวนกต็ ้องทาสงครามกนั ในปี พ.ศ. ๒๓๗๖ และสงครามยืดเยื้อถึง ๑๓ ปี ก่อนที่ญวนจะ ขอเจรจาสงบศกึ และหลงั จากน้ันญวนต้องเผชิญกับศัตรูรายใหม่ คือฝรั่งเศส ส่วนบันทายมาศ หรือที่ญวนเรียกว่า “ฮาเตยี น” ก็ถูกฝร่งั เศสตแี ตกและยดึ ไดใ้ นปี พ.ศ.๒๔๐๙ บนั ทายมาศ ก็ตอ้ งตกเปน็ ของฝร่งั เศสต้ังแต่บดั นั้น สาเหตุการเสียดินแดนครั้งที่ ๔ เสียแสนหวี เมืองพง เชียงตุง เพราะ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่ง เกลา้ เจา้ อยู่หวั รัชกาลที่ ๓ เกดิ ศกึ หลายดา้ น เจา้ อนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์ทางด้านอีสาน ไทรบุรี และกลันตันทางใต้ พมา่ เลยแผอ่ ทิ ธิพลเขา้ ไปในแสนหวี เมืองพง เชยี งตงุ ทัง้ ๓ เมืองตกเปน็ ของพมา่ ใน พ.ศ. ๒๓๖๘ สาเหตุการเสียดินแดนครั้งที่ ๕ เสียรัฐเปรัค ปี พ.ศ.๒๓๖๗ เปรัคได้ทาสัญญาทางการค้ากับบริษัทอีสต์ อินเดียจากัดของอังกฤษ และองั กฤษกไ็ ดส้ ง่ ทตู มาทาสญั ญากับกรุงศรีอยุธยาในปี พ.ศ. ๒๓๖๙ มีข้อหนึ่งที่ระบุไว้ ในสัญญา คือ ห้ามมิให้กรุงศรีอยุธยาส่งกองกาลังเข้าไปในเขตเปรัค กรุงศรีอยุธยาเองก็ต้องย่นย่อมตามนั้น เนอ่ื งจากในขณะนน้ั กรงุ ศรีอยธุ ยากไ็ มม่ กี าลงั ท่ีเข้มแขง็ พอท่จี ะตอ่ รองกับอังกฤษ และในที่สุดก็ต้องเสียเปรัคให้กับ อังกฤษ สาเหตุการเสียดินแดนครั้งที่ ๖ เสียสิบสองปันนา เพราะในรัชกาลที่ ๓ เกิดการแย่งชิงอานาจกันขึ้นใน แคว้นสิบสองปนั นา เจ้านายฝา่ ยหนึ่งฝักใฝ่จีน อีกฝ่ายฝักใฝ่ พม่าซึ่งมีฐานกาลังอยู่ที่เมืองเชียงตุง ฝ่ายที่ฝักใฝ่จีนสู้ ไม่ได้ก็หลบหนีเข้ามาพึงพระบารมีพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวส่ง กาลังขึ้นไปตีเมืองเชียงตุง แต่ไม่สาเร็จเพราะขาดเสบียง ครั้นถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงโปรดให้จัดทพั ขึ้นไปตอี ีกครั้ง แตก่ ไ็ ม่สาเร็จ เมอื งเชียงรุ่งซึ่งเป็นเมืองหลวงของแคว้นสิบสองปันนาจึงยังคงเป็น อสิ ระจากการปกครองของสยาม และเม่อื จนี ไดแ้ ผ่อิทธพิ ลเข้ามา แควน้ สิบสองปนั นาจงึ ตกเปน็ ของจีนนับแต่บัดนั้น ทาให้สยามตอ้ งเสียดนิ แดนตอนเหนอื ให้กบั จีน เมือวันท่ี ๑ พฤษภาคม ๒๓๙๓

๒๘ สาเหตุการเสียดินแดนครั้งที่ ๗ เสียเขมรและเกาะ ๖ เกาะ เพราะในสมัยรัชกาลที่ ๔ ฝรั่งเศสบังคับให้ เขมรทาสัญญารับความคุ้มครอง จากฝรั่งเศส หลังจากนั้นได้ดาเนินการทางการทูตกับไทย ขอให้มีการปักปันเขต แดน เขมรกับญวน แต่กลบั ตกลงกันไมไ่ ด้ สาเหตกุ ารเสยี ดินแดนคร้งั ท่ี ๘ เสยี สบิ สองจุไทย (เมืองไล เมืองเชียงค้อ) เพราะ ในสมัย รัชกาลที่ ๕ พวก ฮ่อ ก่อกบฏ ทางฝ่ายไทยจัดกาลังไปปราบ ๒ กองทัพ แต่ปฏิบัติเป็นอิสระแก่กัน อีกทั้งแม่ทัพทั้งสองไม่ถูกกัน จึง เป็นโอกาสใหฝ้ รั่งเศสส่งทหารเข้าเมืองไล โดยอ้างว่า มาช่วยไทยปราบฮ่อ แต่หลังจากปราบได้แล้ว ก็ไม่ยอมยกทัพ กลับ อีกทั้งไทยก็ไม่ได้จัดกาลังไว้ยึดครองอีกด้วย จนในที่สุด ไทยกับฝรั่งเศสได้ทาสัญญากันที่เมืองแถง (เบียนฟู) ยอมใหฝ้ ร่ังเศสรกั ษา เมอื งไลและเมืองเชียงคอ้ สาเหตุการเสียดนิ แดนครั้งที่ ๙ เสยี ดนิ แดนฝง่ั ซา้ ยแมน่ า้ สาละวิน ( ๕ เมืองเงี้ยว และ ๑๓ เมืองกะเหรี่ยง) เพราะ ประเทศอังกฤษตะวันออกของแม่น้าสาละวิน อันเป็นเขตของเมืองเชียงใหม่นั้น มีความอุดมสมบูรณ์อย่าง มากดังนั้นรัฐบาลอังกฤษจึงได้ให้ราชทูตของตนที่กรุงเทพฯ มีหนังสือแจ้งมายังกระทรวงต่างประเทศของสยามว่า ฝ่ายเจ้าหน้าที่ปกครองของอังกฤษที่เมืองกัลกัตตาอ้างว่า พม่าเคยมีสิทธิในดินแดนฝั่งด้านตะวันออกของแม่น้า สาละวิน จึงขอกาหนดนัดให้รัฐบาลสยามตั้งกรรมการปักปันเขตแดน และให้ขึ้นไปพบปะกับกรรมการปักปันเขต แดนของฝา่ ยองั กฤษภายในกาหนด มิฉะน้ันทางฝา่ ยอังกฤษจะดาเนินการปักปันเขตแดนแต่ลาพังฝ่ายเดียว รัฐบาล สยามไดพ้ ยายามชี้แจงว่าไม่สามารถทจ่ี ะส่งคนไปทนั ตามกาหนดได้ เพราะระยะทางจากกรุงเทพฯ ถึงเชียงใหม่ต้อง ใช้เวลาเดินทางร่วมเดือน จึงขอย้ายสถานที่การเจรจาไปยังกรุงลอนดอน แต่ฝ่ายอังกฤษไม่ย่นย่อม สุดท้ายฝ่าย อังกฤษจึงไดท้ าการปักปนั เขตแดนเพียงลาพังแต่ฝา่ ยเดียว ซึ่งก็ได้รวมเอา ๑๓ เมืองที่อยู่ฝั่งซ้ายของแม่น้าสาละวิน เขา้ ไปดว้ ย สาเหตุการเสียดินแดนครั้งที่ ๑๐ เสียดินแดนฝั่งซ้ายแม่น้าโขง (อาณาจักรล้านช้าง หรือประเทศลาว) เพราะประเทศไทยไมม่ ีเงินเสยี ค่าประกันใหก้ บั ประเทศฝรัง่ เศส ๓ ล้านบาท สาเหตุการเสยี ดนิ แดนครัง้ ที่ ๑๑ เสยี ดนิ แดนฝั่งขวาแม่น้าโขง (ตรงข้ามเมืองหลวงพระบาง ดินแดนในทิศ ตะวันออกของน่านคือ จาปาสัก และไซยะบูลี) เพราะ หลังจากที่มีการทาสัญญาร.ศ. ๑๑๒ ฝรั่งเศสได้ถอนกาลัง ออกจากอ่าวไทยและเข้ายึดเมื่อจันทบุรีไว้เป็นประกัน สยามพยามทาตามข้อตกลงทุกอย่างที่อยู๋ในสัญญาเพื่อยุติ ความขัดแย้งแต่ฝรั่งก็ยังไม่ยอมและอ้างว่าสยามยังไม่ทาตามทุกข้อกาหนด สยามจึงยินยอมเสียดินแดนฝั่งซ้าย แมน่ ้าโขงตามขอ้ เรยี กของฝรัง่ เศสเพื่อแลกกับเมืองจันทบุรี สาเหตุการเสียดินแดนครั้งที่ ๑๒ เสียมลฑลบูรพา (พระตะบอง,เสียมราฐ,ศรีโสภณ) เพราะ ในสมัย ร.๕ ไทยได้ทาสัญญากับฝรังเศส เพื่อแลกกับ ตราด,เกาะกง,ด่านซ้าย ตลอดจนอานาจศาลไทยที่จะบังคับต่อคนใน บังคับ ของฝรั่งเศส ในประเทศไทย เพราะขณะนั้นมีคนจีนญวนไปพึ่งธงฝรั่งเศสกันมาก เพื่อสิทธิการค้าขาย

๒๙ ฝรง่ั เศสก็เพียงแต่ถอนทหารออกจากตราดเมื่อ ๖ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๕๐ กับด่านซ้าย คงเหลือแต่เกาะกงไม่คืนให้ ไทย สาเหตุการเสียดินแดนครั้งที่ ๑๓ เสียรัฐกลันตัน,ตรังกานู,ไทรบุรี, ปริส เพราะ ในสมัย ร.๕ ไทยได้ทา สัญญากับอังกฤษ เพื่อให้ได้มาซึ่งอานาจ ศาลไทยที่จะบังคับคดีความผิดของคนอังกฤษในไทย สยามจาต้องย่น ยอมยกเมืองไทรบุรี ปะลิส กลันตัน และตรังกานูให้แก่อังกฤษเนื้อที่ ๘๐,๐๐๐ ตารางกิโลเมตร เพื่อแลกกับการ ยกเลิกสิทธิสภาพนอกอาณาเขตในราชอาณาจักรสยาม และนับจากนั้น เป็นต้นมา ชาวอังกฤษ และคนในบังคับ ของอังกฤษ หากกระทาความผดิ บนแผ่นดินสยาม ก็ต้องขนศาลสยามโดยไม่มีข้อยกเวน้ สาเหตกุ ารเสยี ดนิ แดนครั้งท่ี ๑๔ เสียเขาพระวิหาร เพราะ ในสมัยรัชกาลที่ ๙ ตามคาพิพากษาของศาลโลก ให้เขา พระวิหารตกเป็นของเขมร เนื่องมาจาก หลักฐานสาคัญของเขมร ในสมัยที่เป็นของฝรั่งเศส เมื่อรู้ว่ากรมพระยา ดารงราชานุภาพ จะเสด็จเขาพระวิหาร จึงขึ้นไปก่อนแล้วชักธงชาติฝรั่งเศสรับเสด็จ แล้วถ่ายรูปไว้เป็น หลักฐาน และนามาใช้เป็นหลักฐานสาคญั ท่ีแสดงต่อศาลโลก ทาให้เขมรชนะดว้ ยเสยี ง ๙ ต่อ ๓ จากสาเหตุการเสยี ดนิ แดนในช่วงยคุ สมัยท่ีผ่านมาประเทศไทยต้องเสียดินแดนใหก้ บั ตา่ งชาติถงึ ๑๔ คร้ัง ซ่งึ ก่อให้เกดิ ผลกระทบดงั ตอ่ ไปน้ี ๔.๑.๓ ผลกระทบของกำรเสียดนิ แดน Poundtawan ( ๒๕๕๙ : ออนไลน์ ) ได้กล่าวว่าจากการเสียดนิ แดนทัง้ ๑๔ คร้งั ทาใหเ้ กิดผลกระทบคือประเทศ ไทยต้องเสยี ดนิ แดน เปน็ เน้ือท่ีรวมทงั้ สนิ้ ๗๘๒,๘๗๗ ตารางกโิ ลเมตร สง่ ผลใหส้ ภาพจติ ใจของคนไทยย่าแย่ ผลกระทบต่อการเสียดินแดนทั้ง ๑๔ ครั้งนอกจากจะส่งผลต่อสภาพจิตใจของคนไทยแล้ว ยังส่งผลต่อ แผนทป่ี ระเทศไทยในปัจจุบนั อีกดว้ ย

๓๐ ๔.๒ แผนทปี่ ระเทศไทยหลังเสยี ดินแดน Google map ( ๒๕๖๔ : ออนไลน์ ) แสดงรปู แผนท่ีประเทศไทยในปจั จบุ ันไวด้ งั น้ี

๓๑ บทสรุป รายงานเรื่อง “ย้อนรอยแผนที่ประเทศไทยก่อนจะเป็นขวานทองในปัจจุบัน” คณะผู้จัดได้ทาการศึกษา เรอื่ ง ขัตตยิ พนั ธกรณี ได้ทราบวา่ เรอื่ งขตั ติยพนั ธกรณีนั้น แต่งขึ้นมาเพื่อปลอบประโลม คลายทุกข์ และปลุกใจให้ ลุกขน้ึ สู้กบั อุปสรรค เพราะตอนนั้นเป็นช่วงที่เกิดวิกฤตการ ร.ศ.๑๑๒ โดยเหตุการณ์ครั้งนี้เป็นการขัดแย้งระหว่าง ประเทศไทยกับประเทศฝรั่งเศส และได้ทวีความรุนแรงมากขึ้น ฝรั่งเศสได้ส่งเรือรบมารุกล้าที่ปากน้าเจ้าพระยา ทางด้านประเทศไทยจึงยอมทาสัญญา ยอมเสียดินแดนฝั่งซ้ายของแม่น้าโขงและยอมเสียค่าปรับให้กับฝรั่งเศส เพ่ือใหแ้ ลว้ จบกันไป เมื่อกล่าวถึงการยอมเสียดินแดนฝั่งซ้ายของแม่น้าโขงให้แก่ประเทศฝรั่งเศส จากที่เราศึกษาแค่แผนท่ี ประเทศไทยตรงสว่ นที่ยอมเสียไปในเหตุการณ์ ร.ศ.๑๑๒ เราได้พบดินแดนที่เสียไปตรงส่วนอื่นในแต่ละครั้ง จึงได้ ทาการศกึ ษาเพ่มิ เตมิ และไดท้ ราบว่าแผนท่ปี ระเทศไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ มีพื้นที่ ๑,๒๙๔,๙๙๒ ตารางกิโลเมตร ทิศเหนือครอบคลุมแควน้ สบิ สองปันนา จรดประเทศจีน ทิศตะวันออกเฉียงเหนือครอบคลุมพ้นื ที่ทั้งฝั่งซ้ายและขวา ของแมน่ ้าโขง ทิศตะวันออกครอบคลุมดินแดนเขมรท้ังหมด ทิศตะวนั ตกจรดชายแดนพม่ามีเมืองมะริด ทวาย และ ตะนาวศรีอยู่ภายใต้การปกครองของกรุงศรอี ยธุ ยา ทศิ ใต้จรดชายแดนมลายู ดังนนั้ จะเห็นได้ว่าประเทศไทยในอดีต นน้ั มพี น้ื ที่เปน็ บรเิ วณกวา้ งขวาง แตไ่ ดม้ ีการเสียดินแดนใหก้ บั ฝรั่งเศสถึง ๖ ครัง้ ซ่งึ ในความเป็นจริงนั้นประเทศไทย ไม่ได้เสยี ดินแดนให้กบั ฝร่งั เศสเพียงประเทศเดียว แตย่ ังมกี ารเสยี ดินแดนให้กับประเทศอังกฤษ ๔ ครั้ง ประเทศจีน ๑ ครง้ั ประเทศพม่า ๒ ครงั้ และประเทศกมั พูชา ๑ ครั้ง จึงทาใหป้ ระเทศไทยเกิดการสูญเสียดินแดนรวมทั้งสิ้นทั้ง ๑๔ ครง้ั จนสง่ ผลทาใหเ้ กิดเป็นแผนทีป่ ระเทศไทยในปัจจุบนั ทเ่ี รียกวา่ แดนขวานทอง

๓๒ บรรณำนกุ รม (๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔). เรยี กใช้เมอื่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ จาก http://www.thailandsusu.com/webboard/index.php?topic=153791.0;wap2 (๑๕ กรกฎาคม ๒๕๖๐). เข้าถึงได้จาก http://www.siammanussati.com/ Bundit Chantanit. (๒๕๕๖). เรยี กใชเ้ มอ่ื ๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ จาก http://chantanit.blogspot.com/2013/07/blog-post_13.html Jutalak Cherdharun. (๘ มิถนุ ายน ๒๕๖๔). เรียกใช้เมื่อ ๑ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔ จาก https://blog.startdee.com/ MThai. (๑๔ กนั ยายน ๒๕๕๘). เรียกใช้เม่ือ ๓๑ ตลุ าคม ๒๕๖๔ จาก https://scoop.mthai.com/specialdays/5451.html Petcharat Namwong. (๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๖). เรยี กใช้เมอื่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๖๔ จาก https://prezi.com/knxvpkqjvt-z/presentation/ Piyanan Mueangsong. (๑๐ ธนั วาคม ๒๕๖๑). เรยี กใช้เมอื่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ จาก https://prezi.com/p/ckd6mxnetrdq/presentation/?fallback=1 Poundtawan. (๑๗ กันยายน ๒๕๕๙). เรียกใชเ้ มอ่ื ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ จาก https://www.winnews.tv/news/7875 THE STANDARD TEAM. (๑๓ กรกฎาคม ๒๕๖๒). เรยี กใชเ้ มื่อ ๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔ จาก https://thestandard.co/onthisday13july2436/ กงิ่ กาญจน.์ (๘ กันยายน ๒๕๕๘). เรียกใช้เมอ่ื ๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ จาก https://kingkarnk288.wordpress.com/ ไกรฤกษ์ นานา. (ตุลาคม ๒๕๕๓). เรยี กใช้เมื่อ ๑๑ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔ จาก https://www.sarakadee.com/2010/11/01/%E0%B8%A3-%E0%B8%A8- %E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%92/

๓๓ คมชัดลกึ . (๑๓ กรกฎาคม ๒๕๖๐). เรยี กใชเ้ มือ่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ จาก https://www.komchadluek.net/today-in-history/287221 คมชดั ลึก. (๓ ตลุ าคม ๒๕๖๑). เรียกใชเ้ ม่ือ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ จาก https://www.komchadluek.net/today-in-history/346314 จารวุ รรณ สขุ ุมาลพงษ.์ (ม.ป.ป.). เรียกใช้เม่ือ ๑ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔ จาก http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2 %E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81 ณรงค์ วชิ ิตญาณ. (๒๙ ตลุ าคม ๒๕๖๐). เรียกใชเ้ มือ่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ จาก http://oldweb.mcu.ac.th/ นิติ บือสาแม. (๒๖ มกราคม ๒๕๕๙). เรียกใชเ้ มื่อ ๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔ จาก https://prezi.com/nyluhqeqce12/presentation/ ประจักษ์ น้อยเหน่ือย. (๒๒ ธนั วาคม ๒๕๕๙). เรียกใชเ้ มื่อ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ จาก http://noinuay.blogspot.com/2016/12/blog-post.html ประเสริฐ วิทยารฐั และคณะ. (ม.ป.ป.). แผนทีป่ ระเทศไทย. กรุงเทพ: สานักพมิ พว์ ฒั นาพานชิ . พรี พล สงนยุ้ . (๒๕๕๐). สาเหตุของการเกิดร.ศ.๑๑๒. วารสารทางวชิ าการพ.ศ.๒๕๕๐ กองวิชาประวัตศิ าสตรส์ ว่ น การศึกษา โรงเรยี นนายรอ้ ยพระจลุ จอมเกล้า. พงศธ์ ารา. (๒๕๖๑). เรียกใชเ้ มือ่ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ จาก http://thailandhistorypong.blogspot.com/p/blog-page.html วรพงษ์ แพรมว่ ง และคณะ. (พฤศจิกายน ๒๕๖๓). เรยี กใชเ้ มื่อ ๑๑ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔ จาก https://library.parliament.go.th/th/radioscript/rr2563-nov2 วินทร์ เลยี ววาริณ. (๘ มิถนุ ายน ๒๕๖๒). เรียกใชเ้ ม่ือ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ จาก www.winbookclub.com ศูนยอ์ าเซยี นศึกษา วทิ ยาลัยนครนา่ น. (ม.ป.ป.). เรยี กใช้เมื่อ ๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔ จาก http://www.nan.mcu.ac.th/ สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา. (๒๒ ตุลาคม ๒๕๖๓). เรียกใชเ้ มอื่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๖๔ จาก https://www.cdti.ac.th/

๓๔ สถาบนั พระปกเกลา้ . (ม.ป.ป.). เรียกใช้เม่อื ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ จาก http://www.bb.go.th/_support/ สภาพร สานกั ข่าวทนี ิวส์. (๑ ธนั วาคม ๒๕๕๙). เรียกใช้เมือ่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ จาก https://www.tnews.co.th/foreign/215238/1- สานกั ขา่ วสบั ปะรด. (๒๑ มกราคม ๒๕๖๑). เรียกใช้เม่ือ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ จาก https://www.pineapplenewsagency.com/th สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน. (๒๕๖๑). ขัตตยิ พันธกรณ.ี กรงุ เทพ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพรา้ ว. สานกั หอสมุดกลาง มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง. (๒๙ มีนาคม ๒๕๕๔). เรียกใช้เมอ่ื ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ จาก https://www.lib.ru.ac.th/journal/damrong.html สุนีรัตน.์ (๖ เมษายน ๒๕๖๑). เรียกใชเ้ มื่อ ๓๑ ตลุ าคม ๒๕๖๔ จาก https://documen.site/download/13638_pdf# หอจดหมายเหตุ อคั รสังฆมณฑลกรงุ เทพ. (๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๘). เรยี กใช้เม่อื ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ จาก https://catholichaab.com อภิวัจ สุปรีชาวุฒิพงศ.์ (๑๓ กรกฎาคม ๒๕๕๖). เรียกใช้เม่ือ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ จาก https://www.posttoday.com/politic/report/234118

ตะปดู อกใหญตรึง้ บาทา อยูเฮย จงึ บ อาจลลี า คลองได เชิญผูทเี่ มตตา แกสัตว ปวงแฮ ชักตะปนู ้ใี ห สงขาอัญขยม