Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือทีระลึกครบรอบ 33 ปี สำนักงานประกันสังคม

หนังสือทีระลึกครบรอบ 33 ปี สำนักงานประกันสังคม

Published by Rumthai Press, 2023-08-14 07:34:23

Description: สำนักงานประกันสังคม

Search

Read the Text Version

33 ปี ครอบครวั ประกันสงั คม สารบัญั สารจากประธานกรรมการ คณะกรรมการประกันั สังั คม 4 คณะกรรมการกองทุนุ เงิินทดแทน 6 คณะกรรมการการแพทย์์กองทุนุ ประกัันสังั คม 8 คณะกรรมการการแพทย์ก์ องทุุนเงินิ ทดแทน 10 คณะกรรมการอุทุ ธรณ์ ์ 12 คณะกรรมการตรวจสอบกองทุนุ ประกันั สัังคม 14 คณะกรรมการตรวจสอบกองทุุนเงิินทดแทน 16 คุณุ ค่า่ วัันวาน กว่า่ จะมีีประกันั สังั คม 21 เส้น้ ทางพััฒนา 1. การขยายความคุ้้ม� ครองกองทุนุ ประกันั สัังคม และกองทุุนเงิินทดแทน 33 2. ช่่องทางการให้บ้ ริกิ ารรัับ - จ่า่ ยเงิินกองทุนุ ประกัันสัังคม และกองทุุนเงิินทดแทน 39 3. ระบบเทคโนโลยีสี ารสนเทศ 42 4. การพััฒนาการของการบริหิ ารเงิินลงทุุน 44 5. ความร่ว่ มมือื ระหว่่างประเทศ 46 6. ศููนย์ฟ์ ื้น้� ฟูสู มรรถภาพคนงาน 57 7. บริิการทางการแพทย์์ 61 8. การประชาสััมพัันธ์์ 70

สร้า้ งสรรค์ ์ สำำ�เร็จ็ ขยายผล 75 1. ขัับเคลื่่อ� นสำำ�นักั งานประกันั สังั คมสู่�ระบบราชการ 4.0 82 2. ปฏิริ ูปู เทคโนโลยีีที่่ท� ันั สมััย 86 3. เพิ่�่มช่่องทางการให้้บริกิ าร 89 4. เพิ่�่มสิิทธิิประโยชน์์กองทุนุ ประกันั สัังคม 92 5. การจััดบริิการทางการแพทย์์สำำ�หรัับผู้�ป้ ระกัันตน 102 6. การให้้ความคุ้้ม� ครองประกันั สังั คมภาคสมััครใจแก่่แรงงานอิสิ ระ 105 7. กองทุนุ เงินิ ทดแทนสร้้างความปลอดภัยั อุ่่�นใจในการทำำ�งาน 115 8. ศูนู ย์ฟ์ ื้น้� ฟูสู มรรถภาพคนงานให้้โอกาสลููกจ้้าง ผู้้�ประกัันตนสู่่�ชีวี ิิตใหม่่ 127 9. การปรับั ปรุุงแก้้ ไขกฎหมาย 129 10. สร้้างผลตอบแทนการลงทุุนสู่�กองทุุนที่่�เติบิ โตและมั่่น� คง 135 11. พััฒนาการประกันั สังั คมไทยไปสู่�ระดับั โลก 143 12. ประกันั สังั คมยุคุ ใหม่ ่ สื่่�อสาร ฉับั ไว ใกล้้กันั กว่า่ เดิมิ 147 13. สปส. เคีียงข้้างทุกุ วิกิ ฤต สปส. มอบสุขุ สปส. ช่่วยเหลือื ผู้�้ประกัันตนในสถานการณ์์โควิดิ 19 สปส. ลงพื้�้นที่่�เชิงิ รุกุ ช่ว่ ยเหลือื ผู้้�ประกัันตนทุกุ วิกิ ฤต 14. รางวัลั แห่่งความสำำ�เร็็จสู่�ความภาคภูมู ิิใจ สปส. 164 เชื่�อ่ มั่่�น ทัันสมัยั ยั่่ง� ยืืน ยุทุ ธศาสตร์ส์ู่�ความสำ�ำ เร็จ็ 173 บริิการทัันสมัยั ทุุกที่่�ทุุกเวลา Modernized Services Anytime Anywhere 181 สปส. ทีีม SSO TEAM ผู้บ�้ ริิหารสำ�ำ นัักงานประกัันสัังคม 186 บก. ทีมี 194 เ บื้้�องหลังั การทำ�ำ งาน 196 รายชื่่�อคณะทำำ�งานจัดั ทำ�ำ หนังั สือื ครบรอบ 33 ปีี สำำ�นักั งานประกัันสังั คม 198

สารจากประธานกรรมการประกนั สงั คม นายบุญุ ชอบ สุุทธมนัสั วงษ์์ ผมในฐานะปลััดกระทรวงแรงงานและประธานกรรมการประกัันสัังคม ขอแสดงความชื่น่� ชมยิินดีใี นโอกาสสำำ�นักั งานประกันั สังั คม ครบรอบ 33 ปีี ในวัันที่่� 3 กันั ยายน 2566 ในช่่วงปีีที่่�ผ่่านมาคณะกรรมการประกัันสัังคมได้้ร่่วมเสนอแนะนโยบาย และมาตรการต่่างๆ ในการพััฒนางานประกัันสัังคม ตลอดจนให้้ความเห็็น ในการปรับั ปรุงุ แก้้ไขกฎหมาย วางระเบียี บเกี่่ย� วกับั การรับั เงินิ การจ่า่ ยเงินิ การจัดั หา ผลประโยชน์์ของกองทุุนประกัันสัังคม เพื่่�อพััฒนางานประกัันสัังคมให้้สำำ�เร็็จ ลุุล่่วง โดยสำำ�นัักงานประกัันสัังคมได้้นำำ�ข้้อคิิดเห็็น ข้้อเสนอแนะของคณะกรรมการ ประกัันสัังคมไปดำำ�เนิินการจนเกิิดผลสััมฤทธิ์์� ทำำ�ให้้ระบบประกัันสัังคมของ ประเทศไทยสามารถให้้ความคุ้�มครองสิิทธิิประโยชน์์ด้้านต่่างๆ รวมถึึงการให้้บริิการแก่่นายจ้้าง ลููกจ้้าง และผู้�ประกัันตน ได้้อย่่างมีีประสิิทธิิภาพ เป็็นที่่�ยอมรัับของผู้�มารัับบริิการตลอดจนบริิหารจััดการกองทุุนอย่่างระมััดระวััง โดยกระจายความเสี่่�ยง ในการลงทุนหลักทรัพย์ต่างๆ ให้เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจ เพื่อเพิ่มโอกาสและผลตอบแทนในการลงทุน สร้างเสถียรภาพ และความมั่นคงให้แก่กองทนุ ตลอดระยะเวลาที่่�ผมดำำ�รงตำำ�แหน่่งปลััดกระทรวงแรงงานและประธานกรรมการประกัันสัังคมได้้ให้้ความสำำ�คััญ กับั การพัฒั นางานประกันั สังั คมอย่า่ งต่อ่ เนื่อ�่ งโดยกำ�ำ กับั ดูแู ลการดำ�ำ เนินิ งานของสำ�ำ นักั งานประกันั สังั คมให้เ้ ป็น็ ไปตามยุทุ ธศาสตร์ช์ าติิ และแผนงานระดัับต่่างๆ รวมทั้้�งผลัักดัันให้้มีีการแก้้ ไขกฎหมายประกัันสัังคมเพื่�่อเพิ่�่มสิิทธิิประโยชน์์ให้้สอดคล้้องเหมาะสมกัับ สภาวะเศรษฐกิจิ และสัังคมในปัจั จุุบััน อันั จะส่่งผลให้ผู้้�ประกัันตนมีคี ุณุ ภาพชีวี ิิตที่่ด� ีี เป็็นกำำ�ลังั สำ�ำ คัญั ในการพัฒั นาประเทศต่่อไป ผมและคณะกรรมการประกัันสัังคม มีีความมุ่�งมั่่�นที่่�จะสนัับสนุุนและส่่งเสริิมการดำำ�เนิินงานประกัันสัังคมให้้บรรลุุ วััตถุุประสงค์์ตามที่่�กำำ�หนดไว้้ รวมถึึงจะกำำ�กัับดููแลให้้กองทุุนประกัันสัังคมเป็็นกองทุุนในการดููแลสิิทธิิประโยชน์์ให้้แก่่ผู้�ประกัันตน อย่่างมั่่�นคง และในโอกาสที่่�สำำ�นัักงานประกัันสัังคมได้้ดำำ�เนิินงานมาเป็็นระยะเวลา 33 ปีี ขออำำ�นวยพรให้้สำำ�นัักงานประกัันสัังคม เป็็นองค์์กรแห่่งความเชื่่�อมั่่�น ได้้รัับการไว้้วางใจจากทุุกภาคส่่วน เป็็นที่่�ยอมรัับทั้้�งในประเทศและต่่างประเทศ เพื่�่อเป็็นหลัักประกััน ทางสังั คมที่่�มั่่�นคงของประชาชนและประเทศชาติสิ ืืบต่อ่ ไป (นายบุญชอบ สทุ ธมนัสวงษ์) ปลดั กระทรวงแรงงาน ประธานกรรมการประกันสังคม 4

คณะกรรมการประกนั สังคม ผูแ้ ทนฝา่ ยรัฐบาล ท่ีปรกึ ษาคณะกรรมการ 1. นายบุญชอบ สุทธมนัสวงษ ์ (ปลัดกระทรวงแรงงาน) ประธานกรรมการ 12. พลโท กฤษฎา ดวงอไุ ร ทีป่ รึกษา 2. นางภทั รพร วรทรัพย ์ (ผูแ้ ทนกระทรวงการคลัง) กรรมการ ผ้ชู ว่ ยเลขานุการ 3. นายณรงค ์ อภกิ ุลวณชิ (ผ้แู ทนกระทรวงสาธารณสุข) กรรมการ 13. นางสาวนนั ทนิ ี ทรัพย์ศริ ิ ผชู้ ่วยเลขานกุ าร 4. นายกรณินทร์ กาญจโนมยั (ผู้แทนส�ำนักงบประมาณ) กรรมการ รัักษาการในตำำ�แหน่ง่ ที่่ป� รึกึ ษาด้า้ นประสิทิ ธิิภาพสำำ�นักั งานประกันั สัังคม 5. เลขาธกิ ารส�ำนกั งานประกนั สงั คม (นายบญุ สงค์ ทพั ชยั ยทุ ธ)์ กรรมการและเลขานกุ าร 14. นางนิยดา เสนยี ม์ โนมยั ผูช้ ว่ ยเลขานกุ าร ผู้แทนฝา่ ยนายจ้าง ผู้อ�ำนวยการกองนโยบายและแผนงาน 6. นายพจน์ อรา่ มวฒั นานนท์ กรรมการ 7. นายสมพงศ ์ นครศร ี กรรมการ 13 5 12 4 14 2 3 8. นายสวุ ิทย์ ศรเี พยี ร กรรมการ 11 10 9 1 6 7 8 ผูแ้ ทนฝ่ายผู้ประกันตน 9. นายทวี ดียิ่ง กรรมการ 10. นายธีระวิทย ์ วงศเ์ พชร กรรมการ 11. นางสาวอรุณ ี ศรโี ต กรรมการ 33 ปี ครอบครัวประกันสงั คม TRSUSSOT 5

สารจากประธานกรรมการกองทนุ เงนิ ทดแทน นายบุญสงค์ ทพั ชัยยทุ ธ์ ผมในฐานะประธานกรรมการกองทุนุ เงินิ ทดแทน ขอแสดงความชื่น่� ชมยินิ ดีี ในโอกาสครบรอบ 33 ปีี แห่่งการสถาปนาสำำ�นัักงานประกัันสัังคม ในวัันที่่� 3 กันั ยายน 2566 กองทุุนเงิินทดแทน เป็็นกองทุุนที่่�จััดตั้้�งขึ้�นตั้้�งแต่่ ปีี 2515 ภายใต้้ กรมแรงงาน กระทรวงมหาดไทย เพื่�่อจ่่ายเงิินทดแทนให้้แก่่ลููกจ้้าง เมื่่�อลููกจ้้าง ประสบอันั ตรายหรือื เจ็บ็ ป่ว่ ย ถึงึ แก่ค่ วามตายหรือื สูญู หายเนื่อ่� งจากการทำ�ำ งาน ให้้กัับนายจ้้าง โดยนายจ้้างจะมีีหน้้าที่่�จ่่ายเงิินสมทบเข้้ากองทุุนเพีียงฝ่่ายเดีียว ซึ่ง�่ การบริหิ ารจัดั การกองทุนุ เงินิ ทดแทนอยู่�ภายใต้ก้ ารกำ�ำ กับั ดูแู ลของสำ�ำ นักั งาน ประกัันสัังคม การดำำ�เนิินงานที่่�ผ่่านมากองทุุนเงิินทดแทนให้้ความสำำ�คััญกัับ การดููแลลูกู จ้า้ งที่่�ประสบอัันตรายเนื่�อ่ งจากการทำ�ำ งาน พิิการ หรืือทุพุ พลภาพ โดยมีีศููนย์์ฟื้้�นฟููสมรรถภาพคนงาน ดำำ�เนิินการด้้านการพััฒนาคุุณภาพชีีวิิต ของลููกจ้้าง เพื่่�อให้ส้ ามารถกลับั ไปดำำ�รงชีวี ิติ ได้อ้ ย่า่ งอิิสระ ปััจจุุบัันกองทุุนเงิินทดแทนอยู่�ระหว่่างการพััฒนารููปแบบการให้้บริิการโดยนำำ�นวััตกรรมการให้้บริิการแบบ e-Service ที่่�มีีความทัันสมััย เพื่่�อให้้นายจ้้าง ลููกจ้้าง มีีความสะดวก รวดเร็็ว เช่่น การแจ้้งการประสบอัันตรายหรืือเจ็็บป่่วยเนื่่�องจาก การทำำ�งานผ่่านระบบ e-Compensate การแจ้ง้ อััตราเงิินสมทบประจำำ�ปีผี ่่านระบบ e-Rate สำ�ำ หรับั การเรียี กดูรู หััสประเภทกิิจการ อััตราเงิินสมทบหลััก อััตราเงิินสมทบประจำำ�ปีีและรายละเอีียดการคำำ�นวณเงิินสมทบตามค่่าประสบการณ์์ประจำำ�ปีี ซึ่่�งถืือเป็็น ความก้า้ วหน้า้ ของกองทุนุ เงินิ ทดแทนอย่า่ งต่อ่ เนื่่อ� ง สำำ�หรัับก้้าวต่่อไปของกองทุุนเงิินทดแทน ผมในฐานะเลขาธิิการสำำ�นัักงานประกัันสัังคม และประธานกรรมการกองทุุน เงิินทดแทน จะมุ่�งมั่่�นพััฒนากองทุุนเงิินทดแทนให้้เป็็นกองทุุนที่่�มั่่�นคง เพื่�่อให้้ลููกจ้้างได้้รัับสิิทธิิประโยชน์์ที่่�เหมาะสมและเพีียงพอ ต่่อการดำำ�รงชีีวิิตในขณะที่่�หยุุดพัักรัักษาตััวหรืือเป็็นผู้้�ทุุพพลภาพ ตลอดจนสนัับสนุุนให้้นายจ้้างมีีการส่่งเสริิมหรืือป้้องกััน การประสบอันั ตรายเนื่อ่� งจากการทำ�ำ งานในสถานประกอบการ เพื่อ�่ ลดการประสบอันั ตรายหรือื เจ็บ็ ป่ว่ ย เนื่อ่� งจากการทำ�ำ งานของลูกู จ้า้ ง รวมทั้้ง� จะพัฒั นาระบบเทคโนโลยีที ี่่ท� ันั สมัยั เพื่อ่� บริกิ ารนายจ้า้ ง ลูกู จ้า้ ง ให้้ได้ร้ ับั บริกิ ารที่่ส� ะดวก รวดเร็ว็ ทุกุ ที่่ � ทุกุ เวลา และจะปรับั ปรุงุ กระบวนการทำำ�งานโดยคำำ�นึึงถึึงการใช้้งานและความพึึงพอใจของผู้้�รัับบริิการ เพื่�่อสร้้างให้้องค์์กรเป็็นที่่�ยอมรัับ เชื่่�อมั่่�น ไว้้วางใจ ในโอกาสครบรอบ 33 ปีี แห่่งการสถาปนาสำ�ำ นักั งานประกัันสัังคมนี้้� ผมขออำำ�นาจสิ่่ง� ศัักดิ์์�สิิทธิ์�ทั้้ง� หลายที่่ท� ุกุ ท่่านเคารพ นัับถืือ ดลบัันดาลประทานพรให้้ทุุกท่่านมีีความสุุข ความเจริิญ มีีพลัังกาย พลัังใจ ในการมุ่�งมั่่�นพััฒนากองทุุนเงิินทดแทนให้้ ก้า้ วไปพร้้อมกับั สำำ�นักั งานประกัันสัังคม เพื่�อ่ สร้้างหลัักประกัันที่่�มั่่น� คงให้้กัับลููกจ้้างและผู้�ประกันั ตนสืืบไป (นายบญุ สงค์ ทพั ชัยยทุ ธ์) เลขาธิิการสำำ�นัักงานประกันั สัังคม 6 ประธานกรรมการกองทุนุ เงินิ ทดแทน

คณะกรรมการกองทนุ เงินทดแทน 1. เลขาธิิการสำำ�นัักงานประกันั สังั คม ประธานกรรมการ ผู้้�ช่ว่ ยเลขานุุการ (นายบุุญสงค์์ ทััพชััยยุุทธ์)์ 14. ผู้้�อำำ�นวยการสำ�ำ นัักงานกองทุุนเงิินทดแทน ผู้้�ช่ว่ ยเลขานุกุ าร 2. ผู้�แทนสำำ�นักั งานประกันั สัังคม กรรมการและเลขานุกุ าร (นางกนกนัันท์ ์ วีรี ิยิ านันั ท์์) (นางสาวณัฐั ชนน วััฒนญาณนนท์)์ 15. ผู้้�อำำ�นวยการกลุ่�มงานอุุทธรณ์์และงานเลขานุกุ ารฯ ผู้้�ช่่วยเลขานุกุ าร รองเลขาธิกิ ารสำ�ำ นักั งานประกัันสังั คมที่่�กำ�ำ กับั ดููแลสำ�ำ นัักงานกองทุุนเงิินทดแทน (นางกรณัฏั ฐ์์ ศิริ ิคิ ำ�ำ รณ) ผู้�ทรงคุณุ วุฒุ ิิ 3. พัันตำำ�รวจตรีี หญิิง รมยง สุุรกิิจบรรหาร กรรมการ 4. นายจำ�ำ ลอง ช่่วยรอด กรรมการ 6 5. นายณัฐั วัฒั น์์ ธีรี ทััศน์์ธำำ�รงค์ ์ กรรมการ 15 5 13 8 14 11 12 4 9 6. นายสุุเมธ รวมทรัพั ย์์ กรรมการ 7 ศาสตราจารย์์ภานุุพัันธ์์ ทรงเจริิญ กรรมการ 10 ผู้�แทนฝ่่ายนายจ้า้ ง 21 3 7 8. นางอุรุ ุยุ า วีสี กุุล กรรมการ 9. นายประพันั ธ์ ์ ปุุษยไพบููลย์ ์ กรรมการ 10. นายทวีเี กีียรติ ิ รองสวััสดิ์์� กรรมการ ผู้�แทนฝ่่ายลููกจ้า้ ง 11. นายบรรจง บุญุ ชื่�่น กรรมการ 12. นายการะเวก ศรีผี ดุุง กรรมการ 33 ปี ครอบครวั ประกนั สังคม 13. นายพิิชััย ซื่่�อมั่่�น กรรมการ TRSUSSOT 7

สารจากประธานกรรมการการแพทยก์ องทนุ ประกนั สงั คม พล.ต.ท. นพ. ธนา ธุุระเจน ในวาระที่่�ครบ 33 ปีีแห่่งการบริิการที่่�มีีประสิิทธิิภาพของสำำ�นัักงานประกัันสัังคม กระทรวง แรงงาน ผมขอแสดงความชื่น�่ ชมการทำำ�งานที่่�ทุ่�มเทและมีีผลงานเชิงิ ประจัักษ์์ในทุกุ มิิติทิ างการแพทย์์ เพื่อ่� ผู้�ประกันั ตน ภายใต้้การดำำ�เนิินยุทุ ธศาสตร์์ “SSO TRUST” ที่่�ทำำ�ให้ก้ ารบริกิ ารทางการแพทย์์ มีีมาตรฐานที่่�ดีีขึ้�น การเข้้าถึึงที่่�เท่่าเทีียมอย่่างเป็็นระบบ การนำำ�ระบบสารสนเทศมาให้้บริิการ อย่า่ งรวดเร็ว็ และการสร้า้ งนวัตั กรรมใหม่ท่ างการแพทย์์ เพื่อ่� ทำ�ำ ให้ผู้้�ประกันั ตนหายจากการเจ็บ็ ป่ว่ ย อย่า่ งรวดเร็็ว ลดการพิิการและทุพุ พลภาพจากการทำ�ำ งาน เป็็นที่่�ทราบว่่าในปััจจุุบััน การแพทย์์เพื่�่อการสาธารณสุุขมีีการเปลี่�ยนแปลงไป อย่่างรวดเร็ว็ เพื่่�อให้ต้ อบสนองต่อ่ บริบิ ทใหม่ข่ องการบริกิ ารทางการรักั ษาที่่ม� ีปี ระสิทิ ธิิภาพสำำ�หรัับ ผู้�ประกัันตน ให้้ได้้รัับการบริิการอย่่างมีีมาตรฐานและสามารถเข้้าถึึงได้้อย่่างเท่่าเทีียม จึึงเป็็น บทบาทสำำ�คััญที่่�คณะกรรมการการแพทย์์ อนุุกรรมการการแพทย์์ และที่่�ปรึึกษาได้้พยายาม อย่่างเต็็มความสามารถ ประสานงานกัับผู้�ประกัันตน นายจ้้าง และสำำ�นัักงานประกัันสัังคม เพื่�่อ ปรัับสิิทธิิประโยชน์์ในด้้านการรัักษาให้้สามารถที่่�จะตอบสนองชีีวิิตประจำำ�วัันของผู้ �ประกัันตนในระบบ ประกัันสัังคม โดยมีีเรื่�องที่่�สำำ�คััญ ได้้แก่่ การเพิ่่�มสิิทธิิประโยชน์์การเข้้าถึึงการบริิการการผ่่าตััด 5 โรคในโรงพยาบาล ที่่ม� ีีมาตรฐานที่่�ขึ้�นทะเบียี นกัับประกัันสัังคมและรับั การบริกิ ารรักั ษาภายใน 15 วััน การเพิ่่�มสิทิ ธิกิ ารเบิกิ จ่่ายอุปุ กรณ์์ต่า่ งๆ การเพิ่่ม� สิทิ ธิิ การบริิการทำำ�เส้้นเลืือดเพื่�่อการล้้างไต โดยไม่่ต้้องสำำ�รองจ่่ายค่่าบริิการฯ และอื่�่นๆ เป็็นต้้น ทั้้�งนี้้� มุุมมองของการบริิหารการบริิการ ทางการแพทย์เ์ ป็น็ สิ่ง� ที่่�มีปี ระโยชน์์ในการขยายความครอบคลุุมในทุุกมิิติิ อย่า่ งไรก็ต็ าม สิ่ง� ที่่ม� ากกว่า่ การรักั ษาที่่ม� ีมี าตรฐาน การเข้า้ ถึงึ ที่่เ� ท่า่ เทียี ม ครอบคลุมุ การรักั ษา ที่่ส� ามารถลดความพิิการ หรือื ทุุพพลภาพจากโรคเรื้�อรััง หรืือโรคที่่�เกิิดขึ้�นจากการทำำ�งาน การลดการผ่่าตััดต่่างๆ จากโรคอัันไม่่เนื่่�องจากการทำำ�งาน และ การปรัับเพิ่�่มค่่าใช้้จ่่ายด้้านการรัักษาที่่�จำำ�เป็็นในทุุกมิิติิ คืือ การมีีสุุขภาวะที่่�ดีีและการป้้องกัันโรคที่่�เกิิดขึ้�น จากการศึึกษาพบว่่า ผู้้�ป่่วย 80% อาจจะไม่่จำำ�เป็็นต้้องมารัับการบริิการที่่�โรงพยาบาล และ โรคที่่�เกิิดขึ้�น 70 - 80% สามารถป้้องกัันได้้ในระยะเริ่�มต้้น เพื่�่อให้้มีีสุุขภาวะที่่�ดีีแก่่ผู้�ประกัันตนทุุกคน และลดการเจ็็บป่่วย สิ่่�งเหล่่านี้้�จะเกิิดขึ้�นได้้ในการพััฒนาแนวคิิดการพััฒนาการรัักษา สมััยใหม่่ (Modern Medicine)  การผ่่าตััดที่่�มีีการฟื้้�นสภาพเร็็ว (Minimally Invasive Surgery) การส่่งเสริิมสุุขภาพป้้องกัันโรค เชิิงรุุกเพื่�่อลดโรคที่่�เป็็นภาวะแทรกซ้้อนของ NCDs (Non Communicable Diseases) การนำำ�เทคโนโลยีีชีีวภาพเพื่�่อการรัักษา (Biotechnology) ที่่�มีีหลัักฐานเชิิงประจัักษ์์และอรรถประโยชน์์ การลดการรอคอยเพื่่�อรัับการบริิการทางการแพทย์์และเพิ่่�มการเข้้าถึึง อย่่างรวดเร็็วทัันต่่อเหตุุการณ์์ สิ่่�งเหล่่านี้้�จะเป็็นความพยายามที่่�จะผลัักดัันเพื่่�อให้้บรรลุุสู่่�จุุดหมาย เพื่่�อให้้ผู้ �ประกัันตนได้้รัับประโยชน์์ สููงสุดุ อย่่างมีีมาตรฐาน ในทุกุ ๆ มิติ ิิ และกองทุนุ มีีความมั่่�นคง ภายใต้ย้ ุุทธศาสตร์ ์ “SSO TRUST” (พล.ต.ท. นพ. ธนา ธุรุ ะเจน) 8 ประธานกรรมการการแพทย์ก์ องทุุนประกันั สัังคม

คณะกรรมการการแพทย์กองทนุ ประกนั สังคม 1. พลตำำ�รวจโท ธนา ธุรุ ะเจน ประธานกรรมการ 14. นายอาคม ชััยวีีระวััฒนะ กรรมการ 15. พลอากาศโท อิิทธพร คณะเจริิญ กรรมการ 2. นายจิินดา โรจนเมธินิ ทร์์ กรรมการ 16. ผู้�แทนสำำ�นักั งานประกันั สังั คม กรรมการและเลขานุกุ าร (นายบุุญสงค์ ์ ทัพั ชััยยุุทธ์์) 3. นายณรงค์์ฤทธิ์� พานิิชชีวี ะ กรรมการ เลขาธิิการสำำ�นักั งานประกันั สัังคม 4. นายธงชััย กีรี ติหิ ััตถยากร กรรมการ 5. ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์พ์ ิิเศษธนิินทร์ ์ เวชชาภิินัันท์์ กรรมการ 6. นายธเรศ กรััษนััยรวิิวงค์์ กรรมการ 7. รองศาสตราจารย์์พฤหััส ต่่ออุดุ ม กรรมการ 16 7 10 11 2 4 15 5 14 39 6 8. รองศาสตราจารย์พ์ ิิสิษิ ฐ์ ์ พิิริยิ าพรรณ กรรมการ 9. นางเลิศิ ลัักษณ์ ์ ลีีลาเรืืองแสง กรรมการ 12 1 13 8 10. นายวชิิรวิทิ ย์์ บุญุ เติิม กรรมการ 11. รองศาสตราจารย์์วีรี ะศัักดิ์์ � จรัสั ชััยศรีี กรรมการ 12. รองศาสตราจารย์์ศุภุ ชััย รััตนมณีฉี ััตร กรรมการ 13. ศาสตราจารย์์คลินิ ิิกสุุพรรณ ศรีีธรรมมา กรรมการ 33 ปี ครอบครวั ประกนั สงั คม TRSUSSOT 9

สารจากประธานกรรมการการแพทยก์ องทุนเงนิ ทดแทน นายแพทย์ช์ าตรีี บานชื่�น ผมได้้ร่่วมงานกัับสำำ�นัักงานประกัันสัังคม ต่่อเนื่่�องยาวนานมาตั้้�งแต่่ พ.ศ. 2537 – 2540 ในฐานะผู้้�อำำ�นวยการโรงพยาบาลนพรััตนราชธานีี กรมการแพทย์์ กระทรวงสาธารณสุุข โดย โรงพยาบาลนพรััตนราชธานีี เป็็นโรงพยาบาลสำำ�หรัับผู้�ประกัันตน ประมาณแสนกว่่าคน ทั้้�งนี้้� ยังั มีคี ลินิ ิกิ เครือื ข่า่ ยมากกว่า่ 30 คลินิ ิกิ และประสานกับั โรงพยาบาลในสังั กัดั กรุงุ เทพมหานคร เพื่อ่� ให้้ ผู้�ประกันั ตนสามารถเข้า้ รับั บริกิ ารในเครือื ข่า่ ยได้้โดยไม่ต่ ้อ้ งรอใบส่ง่ ตัวั โรงพยาบาลนพรัตั นราชธานีี ได้้รัับรางวััลเป็็นโรงพยาบาลประกัันสัังคมดีีเด่่นในช่่วงเวลานั้้�น หลัังจากนั้้�นผมมีีโอกาสได้้ร่่วมงาน กัับสำำ�นัักงานประกัันสัังคมต่่อเนื่�่องมาหลายวาระ ทั้้�งกรรมการการแพทย์์กองทุุนประกัันสัังคม กรรมการการแพทย์์ กองทุุนเงิินทดแทน จนได้้มีีโอกาสเป็็นประธานกรรมการการแพทย์์ ของทั้้�ง 2 กองทุุน อยู่่�หลายวาระ ในช่่วงที่่�ดำำ�รงตำำ�แหน่่ง รองอธิิบดีี (พ.ศ. 2540 - 2544) และอธิิบดีีกรมการแพทย์์(พ.ศ. 2547 - 2550) ได้้ร่่วมกัับสำำ�นัักงานประกัันสัังคมในการอบรม หลัักสููตรแพทย์์อาชีีวเวชศาสตร์์และพััฒนาคลิินิิกอาชีีวเวชศาสตร์์ที่่�โรงพยาบาลนพรััตนราชธานีี และโรงพยาบาลอื่่�นๆ ทั่่�วประเทศในสัังกััดกระทรวงสาธารณสุุขกองทุุนเงิินทดแทนและกองทุุน ประกัันสัังคม เป็็นต้้นแบบของกากำำ�เนิิดระบบหลัักประกัันสุุขภาพถ้้วนหน้้าของประเทศ จนเกิิด พระราชบััญญััติิหลักั ประกัันสุุขภาพแห่ง่ ชาติิ ตามมาในปี ี พ.ศ. 2545 ในปัจั จุุบันั หลักั ประกัันสุุขภาพของประเทศไทย มีี 3 กองทุุนหลักั ได้แ้ ก่่ ประกัันสัังคม (สปส.) หลักั ประกัันสุุขภาพแห่่งชาติิ (สปสช.) และกองทุนุ รักั ษาพยาบาล ข้้าราชการ ประกันั สัังคมเป็น็ กองทุนุ ที่่�มีีการร่่วมจ่่ายโดยผู้้�ประกัันตน เป็็นกองทุุนที่่�เริ่่�มต้้นด้้วยหลัักการเพื่่�อจะทำำ�ให้้เกิิด ความรัับผิิดชอบร่่วมกัันของลููกจ้้าง นายจ้้าง และรััฐบาล ซึ่่�งเป็็นหลัักการที่่�ใช้้เป็็นมาตรฐานหลัักของประเทศต่่าง ๆ ที่่�มีีความมั่่�นคงของ หลัักประกัันสุุขภาพที่่�จะทำำ�ให้้เกิิดความยั่่�งยืืนได้้ดีีที่่�สุุด กองทุุนเงิินทดแทนเป็็นกองทุุนแรกของระบบหลัักประกัันสุุขภาพของประเทศไทย ที่่�ออกแบบมาเพื่�่อดููแลผู้�ประกัันตนที่่�เกิิดโรคเนื่�่องจากการทำำ�งาน รวมถึึงอุุบััติิเหตุุจากการทำำ�งาน และยัังคงเป็็นกองทุุนทางการแพทย์์ ที่่�ใช้้ระบบการจ่่ายเงิินเยีียวยาแบบ Fee Schedules เป็็นหลััก ทำำ�ให้้ผู้�ประกัันตนสามารถเลืือกสถานพยาบาลได้้ตามความสมััครใจ ได้้มากขึ้�น และสถานพยาบาลยัังคงยิินดีีให้้บริิการอย่่างมีีคุุณภาพ มาตรฐานภายใต้้การควบคุุมกำำ�กัับโดยกรรมการการแพทย์์ และอนุุกรรมการฯ ชุดุ ต่า่ งๆ ตลอดระยะเวลา 33 ปีที ี่่�ผ่า่ นมา กองทุุนประกันั สังั คมและกองทุุนเงิินทดแทนได้ร้ ับั การยอมรับั ในคุุณภาพและมาตรฐานเป็็นอย่่างดีี และมีีความมุ่�งมั่่น� พัฒั นาคุุณภาพ และมาตรฐานทางการแพทย์์ เพื่อ�่ ให้้เกิิดความยั่่�งยืืนในอนาคตต่่อไป (นายแพทย์ช์ าตรีี บานชื่�่น) 10 ประธานกรรมการการแพทย์์กองทุนุ เงิินทดแทน

คณะกรรมการการแพทยก์ องทุนเงินทดแทน 1. นายชาตรีี บานชื่�น่ ประธานกรรมการ 14. ผู้�แทนสำำ�นักั งานประกัันสังั คม กรรมการและเลขานุกุ าร 2. นายเจษฎา โชคดำำ�รงสุขุ กรรมการ (นายบุุญสงค์์ ทััพชัยั ยุทุ ธ์์) เลขาธิกิ ารสำำ�นัักงานประกันั สังั คม 3. นางสาวฉันั ทนา ผดุุงทศ กรรมการ 15. ผู้้�อำำ�นวยการสำ�ำ นัักงานกองทุุนเงินิ ทดแทน ผู้้�ช่ว่ ยเลขานุกุ าร 4. ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์ ต่่อพล วัฒั นา กรรมการ (นางกนกนัันท์ ์ วีีริยิ านัันท์์) 5. นายทวีีศิิลป์ ์ วิิษณุโุ ยธิิน กรรมการ 16. ผู้้�อำ�ำ นวยการกลุ่�มงานเลขานุกุ าร ผู้้�ช่่วยเลขานุกุ าร 6. นายบรรเทิิง พงศ์์สร้้อยเพชร กรรมการ คณะกรรมการการแพทย์์กองทุุนเงิินทดแทน 7. รองศาสตราจารย์์ ประวิทิ ย์์ กิิติิดำ�ำ รงสุขุ กรรมการ (นางสุุพัตั รา สุุขประสิิทธิ์�) 8. ศาสตราจารย์์ พรชัยั สิทิ ธิศิ รัณั ย์ก์ ุุล กรรมการ 14 2 11 10 8 4 3 5 16 9. นายพรเทพ ศิิริวิ นารังั สรรค์์ กรรมการ 10. นายวิิชิิต ศิิริิทัตั ธำำ�รง กรรมการ 7 6 13 1 9 12 15 11. นายสมบูรู ณ์ ์ ทศบวร กรรมการ 12. ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์พ์ ิิเศษ สวรรค์์ ขวััญใจพานิชิ กรรมการ 13. ศาสตราจารย์์ สารเนตร์์ ไวคกุลุ กรรมการ 33 ปี ครอบครัวประกันสังคม TRSUSSOT 11

สารจากประธานกรรมการอทุ ธรณ์ นายอาทติ ย ์ อสิ โม เนือ่ งในโอกาสวนั คลา้ ยวนั สถาปนาส�ำนกั งานประกนั สงั คม ครบรอบ 33 ปี ในวัันที่่� 3 กัันยายน 2566 ผมขอแสดงความยิินดีีและขอส่่งความปรารถนาดีีมายััง ผู้้�บริิหารสำำ�นัักงานประกัันสัังคม และบุุคลากรของสำำ�นัักงานประกัันสัังคม ทุุกท่่าน ที่่�ได้้ร่่วมมืือร่่วมใจกัันทำำ�หน้้าที่่�ของตนอย่่างเต็็มประสิิทธิิภาพเพื่่�อพััฒนา การให้้บริิการด้้านประกัันสัังคมที่่�ทัันสมััยแก่่ลููกจ้้าง ผู้้�ประกัันตน และนายจ้้าง อันั เป็น็ การส่ง่ เสริมิ ให้ส้ ำ�ำ นักั งานประกันั สังั คมเป็น็ องค์ก์ รที่่�ได้ร้ ับั ความเชื่อ�่ มั่่น� ไว้ว้ างใจ โปร่ง่ ใส และสามารถตรวจสอบได้้ ผมมีีความผููกพัันกัับสำำ�นัักงานประกัันสัังคม ซึ่�่งเปรีียบเสมืือนบ้้าน ที่่�เป็็นหลัักประกัันการสร้้างความสุุขในการดำำ�รงชีีวิิตทุุกช่่วงระยะเวลาให้้แก่่ลููกจ้้าง และผู้�ประกัันตน นับั ตั้้�งแต่ท่ ี่่�ผมได้ร้ ัับการแต่ง่ ตั้้ง� จากรัฐั มนตรีีว่า่ การกระทรวงแรงงาน เป็นประธานกรรมการอุทธรณ์ ผมและกรรมการอุทธรณ์ทุกท่าน รวมทั้งคณะอนุกรรมการอุทธรณ์ (กรณีท่ัวไป) คณะอนุกรรมการอุทธรณ์ (กรณีทั่วไป 2) คณะอนุกรรมการอุทธรณ์ (กรณีเก่ี ยวกับแพทย์) และคณะอนุกรรมการ อทุ ธรณ์ (วชิ าการ) ไดท้ �ำหนา้ ที่พจิ ารณาวนิ จิ ฉยั อทุ ธรณ์ โดยการใชด้ ลุ พนิ จิ ที่พจิ ารณาอยบู่ นพื้นฐานของกฎหมาย เพื่อให้ นายจา้ ง ผปู้ ระกนั ตน หรอื บคุ คลอน่ื ใด ซง่ึ ไดร้ บั ผลกระทบจากค�ำสง่ั ของพนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี ซง่ึ สง่ั การตามกฎหมายให้ไดร้ บั ความเป็นธรรม สร้างหลักประกันความมั่นคงมากขึ้น อันเป็นกลไกหนึ่งเพื่อเยียวยาความเดือดร้อนให้แก่นายจ้าง และผปู้ ระกนั ตน ประกอบกบั ไดท้ �ำหนา้ ทเี่ พื่อใหค้ �ำแนะน�ำแกส่ �ำนกั งานในการแก้ไขเพมิ่ เตมิ กฎ ระเบยี บ และเสนอแนะแนวทาง ทีเ่ ป็นประโยชน์ในการสรา้ งความเชื่อม่ันไว้วางใจ ซงึ่ จะส่งผลใหเ้ ร่ืองอทุ ธรณล์ ดน้อยลง ในโอกาสนี้้� ผมขออาราธนาคุณุ พระศรีรี ััตนตรัยั และสิ่่�งศัักดิ์์ส� ิทิ ธิ์ท� ั้้ง� หลายที่่ท� ุกุ ท่า่ นเคารพนัับถืือ จงดลบันั ดาล ประทานพรให้้ผู้�บริิหารและบุุคลากรในสัังกััดสำำ�นัักงานประกัันสัังคมทุุกท่่าน ประสบแต่่ความสุุขความสำำ�เร็็จ มีคี วามเจริญิ รุ่�งเรือื ง ถึงึ พร้อ้ มด้ว้ ยพลังั กาย พลังั ใจและพลังั สติปิ ัญั ญา เพื่อ�่ ร่ว่ มกันั ขับั เคลื่อ�่ นการสร้า้ งหลักั ประกันั ที่่ม� ั่่น� คง ให้แกล่ ูกจา้ ง ผ้ปู ระกันตน และนายจา้ ง ต่อไป นายอาทติ ย์ อิสโม 12 ประธานกรรมการอทุ ธรณ์

คณะกรรมการอทุ ธรณ์ 1. นายอาทิตย์ อิสโม ประธานกรรมการ 13. ผู้�แทนสำำ�นัักงานประกันั สัังคม กรรมการและเลขานุกุ าร กรรมการ 2. นายชาตพิ งษ ์ จรี ะพันธุ กรรมการ (1) เลขาธิกิ ารสำ�ำ นักั งานประกัันสัังคม (นายบุุญสงค์์ ทััพชัยั ยุทุ ธ์)์ หรืือ กรรมการ 3. นายแพทยช์ าญวิทย์ ทระเทพ กรรมการ (2) รองเลขาธิิการสำำ�นัักงานประกัันสัังคมที่่�กำำ�กัับดููแลกองกฎหมาย กรรมการ 4. นายอนนั ตช์ ยั อทุ ัยพัฒนาชีพ กรรมการ (นางมารศรี ี ใจรัังษีี) กรรมการ 5. นางอ�ำมร เชาวลติ กรรมการ กรรมการ 6. นางเธียรรัตน์ นะวะมะวัฒน์ กรรมการ 10 12 11 4 3 78 9 2 กรรมการ 7. นายสมพงษ ์ เจริญทรัพยถ์ าวร 13 6 (1) 8. นายกว ี รตั นปรชี าเวช 15 13 (2) 9. วา่ ทร่ี อ้ ยตรี สิทธิพร บาลทพิ ย ์ 10. นายวสันต์ มหิงษา 11. นายมนัส โกศล 12. นายธนัสถา ค�ำมาวงษ ์ 33 ปี ครอบครวั ประกันสงั คม TRSUSSOT 13

สารจากประธานกรรมการตรวจสอบกองทนุ ประกันสังคม นายสุพจน์ สงิ หเ์ สน่ห์ ในโอกาสท่ีส�ำนักงานประกันสังคม ครบรอบ 33 ปี ในวันที่ 3 กันยายน 2566 ผมขอแสดงความยนิ ดกี บั สำ� นกั งานประกนั สงั คม ทส่ี ำ� นกั งานมคี วามมนั่ คง ภายใตก้ ารบรหิ าร ที่มีประสทิ ธภิ าพ ควบค่กู ับการสร้างความสขุ ในการใช้ชีวติ ให้แกน่ ายจา้ ง ลูกจ้าง ผูป้ ระกันตน และบุคลากรของสำ� นกั งานประกันสังคม ผมมีความผูกพันกับบ้านหลังน้ีมาตลอด นับจากได้รับการแต่งต้ังจากรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงแรงงาน ซ่ึงครบวาระในเดือนมิถุนายน 2566 โดยตลอดระยะเวลา 2 ปี ผมและคณะกรรมการตรวจสอบกองทุนประกันสังคม ได้ท�ำหน้าที่ ให้ค�ำปรึกษาเกี่ยวกับ การตรวจสอบกองทนุ และใหค้ ำ� แนะน�ำแกส่ �ำนักงานในการแก้ไขกฎหมาย ขอ้ บงั คบั ระเบียบ ประกาศ ค�ำสั่ง หรือมติคณะรัฐมนตรีเก่ียวกับการบริหารกองทุน การก�ำหนดมาตรฐาน หรือมาตรการเกี่ยวกับระบบ และการควบคุมการตรวจสอบการบริหารกองทุน รวมทั้ง มาตรฐานเกี่ยวกับการควบคุมและการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าท่ีตรวจสอบภายใน เพื่อนำ� ไปใชเ้ ป็นแนวทางสำ� หรบั การจดั วางระบบควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน มาตรการปอ้ งกันหรอื ควบคุมความเสียหายในส�ำนกั งาน อกี ทง้ั เสนอแนะให้สำ� นักงานแก้ไข ข้อบกพร่องหรือปฏิบัติให้ถกู ต้องตามกฎหมายขอ้ บงั คับ ระเบียบ ประกาศ คำ� สั่ง หรอื มติ คณะรัฐมนตรีและเสนอแนะในประการอื่นตามท่ีคณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร ตลอดจนติดตามการด�ำเนินการ แก้ไขและการปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำ สอบทานให้มีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเปิดเผย สอบทานการบริหาร ความเสี่ยงและติดตามการบริหารความเส่ียงที่ส�ำคัญอย่างต่อเน่ือง พิจารณาเสนอแนะขอบเขตการตรวจสอบ และ แผนงานการตรวจสอบแก่หน่วยงานตรวจสอบภายในของส�ำนักงานประกันสังคม และติดตามผลการด�ำเนินงานตาม ขอ้ เสนอแนะ เพ่ือรายงานผลการตรวจสอบต่อรัฐมนตรี ในโอกาสครบรอบ 33 ปี ของส�ำนักงานประกันสังคม ผมขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัยและส่ิงศักด์ิสิทธ์ิ ท้ังหลายท่ีทุกท่านเคารพนับถือ จงดลบันดาลประทานพรให้ข้าราชการและเจ้าหน้าท่ีส�ำนักงานประกันสังคมทุกท่าน ประสบความสุขสวัสดี มีความเจริญรุ่งเรือง ถึงพร้อมด้วยพลังกาย พลังใจและพลังสติปัญญา เพ่ือเป็นพลังส�ำคัญ ในการดูแลนายจ้าง ลกู จา้ ง ผปู้ ระกันตนใหม้ หี ลกั ประกนั ทม่ี ัน่ คง นายสพุ จน์ สงิ ห์เสน่ห์ 14 ประธานกรรมการตรวจสอบกองทุนประกนั สังคม

คณะกรรมการตรวจสอบกองทนุ ประกนั สังคม 1. นายสุพจน ์ สงิ ห์เสน่ห ์ ประธานกรรมการ 2. นางอัญชล ี เตชะนิยม กรรมการ 3 4 3. นางสาวอลัมพร ศิรริ ัตนบุญชัย กรรมการ 2 7 4. นางสาวพรวิลยั เดชอมรชยั กรรมการ 5 16 5. นายชาตรี สวุ รรณนิ กรรมการ 6. นายประเสรฐิ หวังรตั นปราณ ี กรรมการ 7. ผู้อ�ำนวยการกล่มุ ตรวจสอบภายใน กรรมการและเลขานุการ ส�ำนักงานประกนั สังคม (นางสาวรตั นา ธนะจนั ทร)์ 33 ปี ครอบครัวประกันสังคม TRSUSSOT 15

สานักงานประกันสังคมเป็นหน่วยงานหนึ่งท่ีมีความสาคัญในการส่งเสริมให้เศรษฐกิจ และสังคม ประเทศมีความมั่นคง ซ่ึงตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาผลงานความสาเร็จในการบริหารราชการของสานัก ประสังคมได้เป็นท่ีประจักษ์โดยท่ัวไป ทั้งนี้ ด้วยความม่งุ ม่ัน ตง้ั ใจในการทางานของผู้บริหารและข้าราชการทุกท นายอนัันต์์  สิิริิแสงทักั ษิณิสารจากประธผมาในนกฐารนระมปกระาธราตนรควณจะสกรอรบมกกาอรงตทรวนุ จเสงอินบทกดองแททุนนเงินทดแทน ได้มีโอกาสติดตามแนวทางการดาเนิน ของกองทุนเงินทดแทน ในช่วงปี พ.ศ. 2566 ถึง 2570 มีการกาหนดแนวทางการดาเนินงานด้วยกา นวสำัตำ�นกัรักรงมานเทปรคะโกนัันโสลัังยคีดมิจเปิท็็นัลหนม่า่วรยองางนรหับนึ่ก่�งาที่ร่�มทีีคาวงาามนสำำ�โคดััญยใใชนก้ราะรบส่บ่งเสeริิม– Compensate ในการแจ้งการประสบอันต ให้้เศรษเนฐก่ือิิจงจแลาะกสัังกคามรขทอางปงราะนเทศใมหีีค้บวราิกมมาั่่�นรคแงก่ นซึ่�่งาตยลจอ้าดงระลยะูกเวจล้าางที่่�ผแ่่าลนะมสาผถลางนานพยาบาลในความตกลงของกองทุนเงินทดแ คโ ดวยทาั่ม่ว� สมกไำปำ�าีกผ เรทัรา้้็มทง�็จรนใีาใ้นพ้น � งดฐ้ัฒกาว้านายนนรคขะปบาวอรรารงิะมิะหธลมบุาาู่ก�งรนบจมัรค่่น�า้สาณง ชตาัแ้กะ้รง�กบใาสจรรบใรนนขมบอเกกทรูงาาณสรศรำทำ�ตำาน�ำเัรกงพักวาาจงื่อนราสขรในออห่วปบงม้สผกูร้ก�าบะอกับมรงัิันหิทหาุาุนสรนัรัเงถงแ่วิคินลนยมทะงาขไ้ดาา้ดข้แรน้เ้อทาปภ็นชม็นากูลทไยีาด่่ไ�้ปรน้มปทีรุอีโกุใอะกจชทกั่ักไ้วา่าดษนสิเ์้ค์ แรลาะะพหัฒ์ แนลาะรละบดบกใาหร้บปรริกะาสรบดอิจันิทตัลรแาบยบเนรวื่อมง ติิดตามเพแน่อื วใทหา้นงกาายรจดำ้า�ำ งเนิินลงกู าจน้าขงองรกวอมงทถุนุ ึงเเงิจินา้ทหดนแท้านทใี่ผนชู้ป่ว่ ฏงปิบี ี ัตพ.ิงศา.น25ไ6ด6้ร ถับึึงค2ว5า7ม0 สะดวกรวดเร็ว ทั้งผู้ให้บริการและผู้รับบร รเมนีือีก่่�องางรัรจับกแมาำกกำ�บาากหกรบานทยำเรดำ�ฉ่ิงทงำแขพำ�านึ้งนนาวาะทนโรรดาใวหางย้ม้บกยใชถรา้ิ้ริกแรึงะาดพลบำรำ�บะัฒแเกพน่eิน่นินัฒาา–งยชนาจCน่อ้า้oาดงกง้mท้ว รลpยะาููกeกงบnจดา้ว้าsริจaงนนิทtำกeแำ�ลัลนาใะนรวสเััทตกพถากาา่ือรนงรใแพสรหจ้มยา้ง้ขกเราท้อาบสคมรานโปลูลนเรใทขโนะลส่าคศยบวีวเีดอพสาิัิจมันาิ่ือิทตตรัรัลกรดอมาล้างยางนรับควกาามรคเชุ้มื่อคมรตอ่องแบกริ่กลูากรจด้าิจงใิทนัลสตถ่าางนๆปทระ่ีจกะอเกบ ใขแชบอ้้บวงิกิบเูคอูร(ใTงรนณทrาุอuุนาะนsหกเ์งtิา์าeินรคแdทรล่ตด่วะOแมลทโrกดดgนัับaกย มหnากีนีกiร่zาา่ปวaรรยtรสพiงoัะรัฒาสn้านบนงภwอพาัาันรiยลtะตhบนังรบอแGาสกหยoาไ่งดรoเ้นกส้ืd่่�แอานลรงเGทะจขพoศัาับัฒvกเเeพคกืน่r�่อnาาลใรaรื่หอ้ะnท้สบนำำc�าบสeงมใู่อ)าหา้นรง้บเพถคขรินอ์ื่กอิกำำ�งเราขพ้ลรแู้อูด่ิมกหิมิูจปจิูล่้งิท้ราัไคัปละงวสาิทมธเิผชลื่อใมนั่นกาครวสารม้างไแวล้วะางเขใ้จาถแึงลหะลมักีธปรรระมกาันภสิบ แขร้บ้อวบดมูรเลู รว็ข็วแด่มา่ทักงั้ศว้�งูกส่แนูผู้ลา�ยรใ์รหา่์เง้พด้บืวง้่้าอ�่ราินจใิกนหค้าะ้นวรททาาแยลาุกมจะใค้กุผ้หู้า�้ม้ล�งรส้ัค บัุ่มลารูบูกอนรทิจงกิัก้แุ้ากากงง่วราล่ ูมรัยนูกวาจปมก(้้าEถยริงึ่f่งึง�ะใfนเขึeจก้้ส�นา้cันถหtรนาสiว้vนงั้ามeปคทีถ่ึ่รผ�มูงึ้ะS�พปกปัoฏอฒั ริcบบิ ะันiกัตaสิาาิงlชบาร่่อนแSคบงไeวทดบ้cาาร้เัฉuงบัมดพคrิสiจิ าวtิาิทyะาัเรัลมราSส็จยเพ ะyืกด่แ่อ�s้าวลtใวกหะe้พห้ัmัฒน)นา้ ใานทกรกั้งะนาบรี้วใบนนกรหาิหรลาทักราอกงสยาาร่ารบงสยนรง่ัิเหทยาศนื รตเชลิงอรดุกไทป่ีก้าว เแพหื่ง่อครวอางมรเัชบื่อกมานั่รเคชืเ่วอนามือ่มตไงว่อใว้ นบาโงรอใิกจกแาลาระสดมวิจธี นัิทรรัลสมตถา่าาภปงบิ ๆนาลทาค่ี(จTะรrเuบกsิดรteอขdึ้นบOในr3gอ3aนnปาizคีaขตtiอoโnงดสwยาiกtนhาGักรสงoารo้นาdงปGพoรลvะังeกแrnหันa่งสnกังcาคeร)มขเพับื่ผอเคมเพลขม่ิ่ืออปนใรสหะู่สอ้คทิงุณคธผิ์กงาลรมความดีที่ทุก ในการตสร้ังา้ ใงจแลทะาเขา้ สถ่งึงหผลลักนปาระพกาันใสหังค้ทม่าแกนแ่ ผรงู้บงารนิหทากุ รกลแุ่มลทะุกขว้ายั ร (าEfชfeกcาtivรeทSุกoทci่าalนSeปcรurะitสy Sบyคstวeาmม)  สทุข้ังนค้ี ใวนาหมลักเจการริญทั้งด้านการ บตรลิหอาดรคไปเชริงอรุกบทค่ีกร้าัววหแน้าลดะังมกลีส่าุขวภจาะทพ�ำพใหล้ส�าำนนักางมานัยปแรขะก็งันแสรังคงสมปมรบะสูรบณคว์ าเพมสื่อ�ำรเร่ว็จมก้ากวันหสน้ารใ้านงกสารรบรรคิห์สาราอนยัก่างงยาั่งนยืนประกันสังคม   “ อเนงื่อคงใก์ นรโอแกหา่งสควนัวสามถาเชปนอ่ื ามคน่ั รดบรา้ อนบก3า3รใปหี ขบ้ องรสิก�ำานรกั ปงารนะปกรนั ะกสนั ังสคงั มคทมีท่ผันมขสอมใหยั ้คแุณลงะายม่งั คยวืนามตดลที อี่ทดุกไทป่านตัง้ ใจท�ำ ส่งผลน�ำพาใหท้ ่านผู้บริหาร และข้าราชการทุกท่าน ประสบความสขุ ความเจริญทั้งดา้ นการงาน ครอบครัว และมีสขุ ภาพ พลานามยั แขง็ แรงสมบรู ณ์ เพื่อรว่ มกนั สรา้ งสรรคส์ �ำนกั งานประกนั สงั คมไปสู่ “องคก์ รแหง่ ความเชื่อมน่ั ดา้ นการใหบ้ รกิ าร ประกันสงั คมที่ทันสมัยและยง่ั ยืนตลอดไป” 16  ประธนานานยากยอรรอนมนนักันาตตร์ต์  รสสวริิรจิแแิสสอสบงงกททอักกั งษทษณิุนิณเงินทดแทน ประธานคณะกรรมการตรวจสอบกองทนุ เงินทดแทน

คณะกรรมการตรวจสอบกองทนุ เงนิ ทดแทน 1. นายอนันต ์ สิรแิ สงทักษิณ ประธานกรรมการ 2. นายนาวิน แสงสนั ต์ กรรมการ 61 3. นางสาวอ�ำพนั ธ์ ธุววิทย์ กรรมการ 2 4 4. นายมโหสถ เกิดเดช กรรมการ 5 3 5. นางสาวดลใจ ทดแทนคณุ กรรมการ 6. ผอู้ �ำนวยการกลุ่มตรวจสอบภายใน กรรมการและเลขานกุ าร ส�ำนกั งานประกนั สงั คม (นางสาวรตั นา ธนะจนั ทร)์ 33 ปี ครอบครัวประกันสงั คม TRSUSSOT 17



คุุณค่า่ วัันวาน



กว่าจะมปี ระกนั สงั คม ุคณ ่คาวันวาน ปีี 2495 – 2501 ปฐมบทการประกัันสังั คมไทย ปีี 2495 รััฐบาลจอมพล ป. พิิบููลสงคราม จััดตั้้�งคณะกรรมการสัังคมสงเคราะห์์ ดููแลงานด้้านสวััสดิิการสัังคม รวมถึึงตั้้�งอนุุกรรมการสัังคมสงเคราะห์์ และได้้พิิจารณา เสนอร่่างพระราชบัญั ญััติปิ ระกันั สัังคมฉบับั แรกของประเทศไทย เมื่�อ่ วัันที่�่ 27 ธัันวาคม 2495 33 ปี ครอบครวั ประกนั สงั คม TRSUSSOT 21

คณุ คา่ วนั วาน ปีี 2497 ประกาศใช้้พระราชบััญญััติิประกัันสัังคม พ.ศ. 2497 เมื่่�อวัันที่่� 9 กุุมภาพัันธ์์ 2497 และจััดตั้้�งกรมประกัันสัังคมขึ้้�นในสัังกััด กระทรวงการคลััง เพื่่�อเตรีียมการใช้้บัังคัับกฎหมาย โดยใช้้บัังคัับ เฉพาะลููกจ้้างที่่�มีีรายได้้ตั้้�งแต่่ 500 บาทต่่อเดืือนขึ้้�นไป และกำำ�หนด อััตราเงินิ สมทบต่า่ งกัันตามช่่วงรายได้้ เพศ และส่่วนแห่ง่ ความรัับผิดิ ชอบ ร่่วมจ่่ายเงิินสมทบระหว่่างลููกจ้้าง นายจ้้าง และรััฐบาล 22

ุคณ ่คาวันวาน ปีี 2499 มีีการเดิินขบวนประท้้วง คััดค้้านการบัังคัับใช้้พระราชบััญญััติิ ประกัันสัังคม พ.ศ. 2497 โดยกล่่าวโจมตีีว่่าเป็็นการเก็็บภาษีีแบบใหม่่ที่่�แปลงรููป มาในรููปพระราชบััญญััติิช่่วยเหลืือประชาชน จนในที่่�สุุดได้้มีีการสั่่�งระงัับการบัังคัับใช้้ พระราชบััญญััติิดังั กล่า่ วไว้้โดยไม่ม่ ีีกำำ�หนด ปีี 2501 ยุุบกรมประกัันสัังคมเป็็น กองความมั่่�นคงแห่่งสัังคม สัังกััด กรมประชาสงเคราะห์์ให้้มีีหน้้าที่่�พิิจารณา แก้้ไข พระราชบััญญััติิประกัันสัังคม พ.ศ. 2497 และเตรียี มงานต่า่ งๆ ให้พ้ ร้อ้ มที่จ�่ ะดำำ�เนิินการประกัันสังั คมต่่อไป 33 ปี ครอบครวั ประกนั สังคม TRSUSSOT 23

คณุ คา่ วนั วาน ปกี้ี้า2ว5แ1ร5กข–อ2ง5ก3า3รปกำร�ำ ะเนกิัดิันสกังัอคงมทุนุ เงินิ ทดแทน ปีี 2515 ประกันั สังั คมเริ่�มเป็็นรูปู ธรรมครั้�งแรกเมื่่�อมีีประกาศของคณะปฏิิวัตั ิิ ฉบับั ที่�่ 103 เมื่อ�่ วันั ที่�่ 16 มีีนาคม 2515 ให้ม้ ีีกองทุนุ เงินิ ทดแทนเพื่อ�่ ดูแู ลลูกู จ้า้ งที่ป�่ ระสบอันั ตรายจากการทำ�ำ งาน ให้้แก่น่ ายจ้า้ ง โดย ศ. นิคิ ม จันั ทรวิิทุรุ อธิิบดีีกรมแรงงานในขณะนั้้น� ตั้�ง้ ระบบงานกองทุุนเงินิ ทดแทน ขึ้�้นในกรมแรงงาน ปีี 2517 คณะรััฐมนตรีีมีีมติิเอกฉัันท์์ให้้เริ่ �มดำำ�เนิินงานกองทุุนเงิินทดแทน ในวัันที่่� 1 มกราคม 2517 ปีี 2527 ศ. นิิคม จัันทรวิิทุุร ที่่�ปรึึกษารััฐมนตรีีว่่าการกระทรวงมหาดไทยในขณะนั้้�น เสนอแนวทางปรับั ปรุงุ งานกองทุนุ เงินิ ทดแทน เพื่อ�่ ขยายความคุ้�มครองไปให้ถ้ ึงึ การเจ็บ็ ป่ว่ ยนอกงาน ปีี 2528 การนำำ�เสนอร่่างพระราชบััญญััติิประกัันสัังคมถึึง 3 ฉบัับ และมีีการจััดสััมมนา เพื่่�อขอความเห็็นจากผู้้�ที่่�มีีส่่วนเกี่่�ยวข้้องอย่่างกว้้างขวาง จนกลายเป็็นเรื่่�องที่่�คนไทยกล่่าวถึึง มากที่ส�่ ุุด ปีี 2532 รัฐั บาลยอมรับั ความสำ�ำ คััญของการประกันั สังั คม และผลัักดัันให้้มีีการพิิจารณา ร่่างพระราชบััญญััติิประกัันสัังคมเป็็นวาระพิิเศษ ซึ่่�งต่่อมามีีมติิเป็็นเอกฉัันท์์เห็็นชอบในหลัักการ พร้้อมแต่่งตั้้�งคณะกรรมาธิิการวิสิ ามัญั ทำำ�หน้้าที่่�พิิจารณากฎหมายและแปรญััตติิ 24

ปีี2533 ร่า่ งกฎหมายประกันั สังั คมได้เ้ ข้า้ สู่�กระบวนการพิจิ ารณาในสภาผู้�แทนราษฎรโดยผ่า่ นการพิจิ ารณา ุคณ ่คาวันวาน ของคณะกรรมาธิิการ และวุฒุ ิสิ ภา และมีีการแก้้ไขหลายต่อ่ หลายครั้�ง จวบจนเดืือนมิิถุุนายน 2533 คณะรััฐมนตรีี ได้้มีีมติิเห็็นชอบในหลัักการร่่างพระราชบััญญััติิประกัันสัังคมที่่�ขอแก้้ไขเพิ่่�มเติิม โดยขอให้้จััดตั้้�ง “สำำ�นัักงาน ประกัันสัังคม” ขึ้้�นในกระทรวงมหาดไทย จนในที่่�สุุดวัันที่่� 11 กรกฎาคม 2533 กฎหมายประกัันสัังคมจึึงได้้ ผ่่านการพิิจารณาของสภาด้้วยคะแนนเสีียงเอกฉัันท์์ ทำำ�ให้้ผู้�แทนสภาองค์์การลููกจ้้าง สภาแรงงานแห่่งประเทศไทย และสภาองค์ก์ ารลูกู จ้า้ งเสรีแี ห่ง่ ชาติิ นำ�ำ โดยนายทนง โพธิ์อ� ่า่ น ได้เ้ ข้า้ พบพล.อ.ชาติชิ าย ชุณุ หะวันั นายกรัฐั มนตรีี เพื่�่อแสดงความขอบคุุณที่�่รััฐบาลได้ผ้ ่่านกฎหมายประกัันสัังคม ทั้้�งนี้้� พระราชบััญญััติิประกัันสัังคมมีีผลใช้้บัังคัับ เมื่่�อวัันที่่� 2 กัันยายน 2533 และสำำ�นัักงานประกัันสัังคม ได้จ้ ัดั ตั้�้งขึ้น�้ ในวัันที่่� 3 กัันยายน 2533 33 ปี ครอบครัวประกนั สังคม TRSUSSOT 25

คณุ คา่ วนั วาน อาคารชั่่ว� คราว ปีี 2533 : อาคารกระทรวงมหาดไทย และอาคารอำ�ำ นวยการสถาบันั พััฒนาฝีมี ืือแรงงาน แม้้จะมีีการจััดตั้้�งสำำ�นัักงานประกัันสัังคมขึ้้�นอย่่างเป็็นทางการตามการประกาศใช้้พระราชบััญญััติิประกัันสัังคม พ.ศ. 2533 แต่่ยัังไม่ม่ ีีสถานที่่�ตั้�ง้ ของสำำ�นัักงาน จึงึ ต้้องอาศััยอาคารดำ�ำ รงราชานุุภาพของกระทรวงมหาดไทย และสถานที่่� ของสำ�ำ นักั งานกองทุนุ เงินิ ทดแทน อาคารกรมแรงงาน ในบริิเวณกระทรวงมหาดไทย เป็็นสถานที่่ท� ำำ�การชั่่�วคราว โดยชั้น� 8 อาคารกรมแรงงาน ใช้้สำ�ำ หรับั เตรียี มงานประกัันสังั คม ในขณะเดีียวกัันได้้ใช้้ ชั้ �น 3 อาคารอำำ�นวยการสถาบัันพััฒนาฝีีมืือแรงงาน ถนนมิิตรไมตรีี เขตห้้วยขวาง เป็็นห้้องทำำ�งานของเลขาธิิการสำำ�นัักงานประกัันสัังคม โดยต่่อมาได้้ขยายสถานที่่�ทำำ�งานของเจ้้าหน้้าที่่�จััดเตรีียมข้้อมููล ด้้านคอมพิิวเตอร์์ไปยังั ชั้�น 5 อาคารอุุปกรณ์์ช่ว่ ยฝึกึ ที่่�ทำ�ำ การชั่ว�่ คราว อาคารดำ�ำ รงราชานุภุ าพ กระทรวงมหาดไทย และอาคารสถาบันั พัฒั นาฝีมี ือื แรงงาน 26

ปีี 2534 : อาคารเก็บ็ เอกสารของธนาคารเพื่่�อการเกษตรและสหกรณ์ก์ ารเกษตร (ธกส.) ุคณ ่คาวันวาน ปัญั หาระลอกใหม่เ่ กิดิ ขึ้น�้ เมื่อ�่ สถาบันั พัฒั นาฝีมี ืือแรงงานมีีความจำ�ำ เป็น็ ต้อ้ งขอพื้้น� ที่ค�่ ืืนจากสำ�ำ นักั งานประกันั สังั คม ซึ่ง�่ นับั ว่า่ เป็น็ ความกดดันั พอสมควรเนื่อ�่ งจากใกล้ก้ ับั ช่ว่ งการรับั เงินิ สมทบของนายจ้า้ งและลูกู จ้า้ งงวดแรกในเดืือนเมษายน จนในที่่�สุุดก็็ได้้อาคารเก็็บเอกสารของธนาคารเพื่่�อการเกษตรและสหกรณ์์การเกษตร (ธกส.) ตั้้�งอยู่�ใกล้้ทางรถไฟ ริิมคลองประปา ถนนประชาชื่่�น เป็น็ ที่่ท� ำ�ำ การ ช่่วงปลายเดืือนมีีนาคม สำำ�นัักงานประกัันสัังคมได้้เช่่าพื้้�นที่่� จำำ�นวน 4 ชั้ �น และย้้ายที่่�ทำำ�การมายัังอาคารใหม่่ อย่า่ งไรก็ต็ าม สำ�ำ นักั งานกองทุนุ เงินิ ทดแทนยังั ไม่ไ่ ด้ย้ ้า้ ยตามมาในขณะนั้้น� เนื่อ�่ งจากพื้้น� ที่ย�่ ังั ไม่เ่ พียี งพอให้เ้ จ้า้ หน้า้ ที่ท�่ั้้ง� หมด นั่่�งทำ�ำ งานร่่วมกัันได้้ พิธิ ีีเจิมิ ป้า้ ยสำ�ำ นักั งานประกันั สังั คม ณ อาคารเก็บ็ เอกสาร ธกส. อาคารศูนู ย์บ์ ริกิ ารผู้้�ประกันั ตน บริิเวณด้า้ นหน้้า 33 ปี ครอบครัวประกันสงั คม สำ�ำ นัักงานประกันั สัังคม อาคารเก็็บเอกสาร ธกส. TRSUSSOT 27

คณุ คา่ วนั วาน อาคารถาวร ปีี 2536 : พื้้�นที่�บ่ ริิเวณโรงพยาบาลศรีีธััญญา ในขณะที่่�สััญญาเช่่าอาคารกัับธกส. ใกล้้สิ้้�นสุุดลง สำำ�นัักงานประกัันสัังคมได้้รัับความเมตตาจาก คุณุ ประสิทิ ธิ์� อุไุ รรัตั น์์ ช่ว่ ยเจรจากับั นพ.วิทิ ุรุ แสงสิงิ แก้ว้ อธิบิ ดีีกรมการแพทย์์ในขณะนั้้น� โดยท่า่ นเล็ง็ เห็น็ ถึงึ ความจำ�ำ เป็น็ ของการประกันั สังั คม และได้ค้ ำ�ำ นึงึ ถึงึ ประโยชน์ข์ องประเทศชาติเิ ป็น็ สำ�ำ คัญั จึงึ แบ่ง่ ที่ด�่ ินิ ราชพัสั ดุภุ ายในบริเิ วณโรงพยาบาล ศรีธี ััญญาให้้กับั สำำ�นัักงานประกันั สัังคม จำำ�นวน 16 ไร่่ 1 งาน เพื่่อ� ก่่อสร้้างอาคารสำำ�นักั งานประกันั สัังคม ปีี 2537 : การก่่อสร้้างอาคาร สำำ�นัักงานประกัันสัังคมเริ่ �มก่่อสร้้างอาคารในเดืือนมกราคม โดยมีีนายเสริิมศัักดิ์์� การุุณ รััฐมนตรีีช่่วย ว่่าการกระทรวงแรงงาน ในขณะนั้้�น เป็็นผู้้�วางศิิลาฤกษ์์ก่่อสร้้าง รวมระยะเวลาก่่อสร้้าง 800 วััน และก่่อสร้้างเสร็็จ ในปีี 2539 จึึงได้้ถืือกำำ�เนิิดเป็น็ สำำ�นัักงานประกันั สังั คมในปัจั จุุบันั 28

พิธิ ีีเปิิด ุคณ ่คาวันวาน เมื่อ�่ วันั ที่่� 7 ตุลุ าคม 2540 พระบาทสมเด็จ็ พระเจ้้าอยู่่�หัวั มหาวชิิราลงกรณ บดิินทรเทพยวรางกููร เมื่�่อครั้�งทรงดำำ�รง พระราชอิิสริิยยศสมเด็็จพระบรมโอรสาธิิราช เจ้้าฟ้้ามหาวชิิราลงกรณ สยามมกุุฎราชกุุมาร ได้้ทรงพระกรุุณา เสด็็จพระราชดำำ�เนิินเปิิดอาคารสำำ�นัักงานประกัันสัังคมเป็็นที่่�ทำำ�การถาวรจวบจนปััจจุุบัันนี้้� นัับเป็็นพระมหากรุุณาธิิคุุณ อันั หาที่่ส� ุดุ มิิได้แ้ ก่ข่ ้้าราชการและเจ้า้ หน้้าที่่ส� ำำ�นักั งานประกัันสังั คม 33 ปี ครอบครวั ประกันสังคม TRSUSSOT 29



เส้้นทางพัฒั นา



1. การขยายความคมุ้ ครองกองทุนประกนั สังคม และกองทุนเงนิ ทดแทน เส้นทาง ัพฒนา การขยายความคมุ้ ครองกองทนุ ประกนั สงั คม การค้มุ ครองตามมาตรา 33 และ มาตรา 39 2547 คมุ้ ครองกรณวี ่างงาน 2545 บังคับใช้กับสถานประกอบการ การคุ้มครองตามมาตรา 40 ทมี่ ลี กู จ้าง 1 คนขึ้นไป 2541 คุ้มครองกรณี 2563 ขยายอายผุ ปู้ ระกนั ตน มาตรา 40 สงเคราะหบ์ ุตรและชราภาพ จากอายุ 15 ปี - 60 ปี เปน็ อายุ 15 ปี - 65 ปี 2536 บังคับใช้กับสถานประกอบการ ทม่ี ีลกู จ้าง 10 คนขึ้นไป 2561 เพ่มิ ทางเลือกท่ี 3 เจ็บป่วย (เงินทดแทนการขาดรายได)้ ทุพพลภาพ ตาย บ�ำ เหนจ็ ชราภาพ และสงเคราะห์บุตร 2534 บังคบั ใชก้ บั สถานประกอบการ 2558 ยกเลกิ บ�ำ นาญชราภาพ ทีม่ ีลูกจ้าง 20 คนขึ้นไป และสทิ ธปิ ระโยชน์ 4 กรณี และโอนไป กอช. (เจบ็ ป่วย คลอดบตุ ร ทพุ พลภาพ และตาย) 2556 เพิ่มทางเลือก บำ�นาญชราภาพ มาตรา 40 2554 ปรับปรุงประกันสังคมภาคสมคั รใจ 33 ปี ครอบครัวประกนั สังคม ตามมาตรา 40 เปน็ 2 ทางเลอื ก (ทางเลือกที่ 1 TRSUSSOT เจบ็ ป่วย ทพุ พลภาพ ตาย และทางเลือกที่ 2 เพ่ิมบ�ำ เหน็จชราภาพ) 2537 เรมิ่ ประกันสงั คมภาคสมคั รใจ ตามมาตรา 40 33

เสน้ ทางพฒั นา กองทุุนประกัันสัังคมเป็็นกองทุุนที่่�เริ่ �มดำำ�เนิินการภายใต้้พระราชบััญญััติิประกัันสัังคม พ.ศ. 2533 ภายหลััง จากพระราชบััญญััติิมีีผลบัังคัับใช้้ จึึงได้้จััดตั้้�งสำำ�นัักงานประกัันสัังคมขึ้้�นเมื่่�อวัันที่่� 3 กัันยายน 2533 โดยมีีการพััฒนา ทั้้�งการขยายความคุ้�มครอง และสิิทธิิประโยชน์์สำำ�หรัับผู้�ประกันั ตนมาตรา 33 39 และ 40 ดังั นี้้� ผู้้�ประกัันตนมาตรา 33 และมาตรา 39 ปีี 2534 ให้ค้ วามคุ้�มครองผู้�ประกัันตนภาคบังั คัับตามมาตรา 33 (ลูกู จ้า้ งที่�ม่ ีีอายุไุ ม่ต่ ่ำ��ำ กว่า่ 15 ปีี และ ไม่่เกิิน 60 ปี)ี ในสถานประกอบการที่่ม� ีีลููกจ้้างตั้ง�้ แต่่ 20 คนขึ้�น้ ไป ซึ่ง�่ ขณะนั้้�นมีีสถานประกอบการที่ข่� ึ้�น้ ทะเบีียน 30,255 แห่่ง และ ลููกจ้้างที่่�ขึ้้�นทะเบีียนเป็็นผู้�ประกัันตนเพีียง 2.93 ล้้านคน โดยให้้สิิทธิิประโยชน์์ 4 กรณีี ได้้แก่่ เจ็็บป่่วย คลอดบุุตร ทุุพพลภาพ และตาย ทั้้�งนี้้� ในส่่วนผู้�ประกันั ตนที่่�สิ้้�นสภาพการเป็็นลููกจ้า้ งและส่ง่ เงิินสบทบครบ 12 เดืือน มีีความประสงค์์ ได้้รัับความคุ้�มครองจากกองทุุนประกัันสัังคมอย่่างต่่อเนื่่�อง ให้้แจ้้งความจำำ�นงสมััครเป็็นผู้�ประกัันตนตามมาตรา 39 ภายใน 6 เดืือนนับั แต่่วันั สิ้้�นสุุดความเป็็นผู้�ประกันั ตนตามมาตรา 33 ปีี 2536 ขยายความคุ้�มครองไปยังั ลูกู จ้า้ งในสถานประกอบการที่�ม่ ีีลูกู จ้า้ งตั้ง�้ แต่่ 10 คนขึ้�น้ ไป ปีี 2541 ให้้ความคุ้�มครองเพิ่่ม� อีีก 2 กรณีี ได้แ้ ก่่ สงเคราะห์์บุตุ ร และชราภาพ ปีี 2545 ขยายความคุ้�มครองไปยัังลููกจ้้างในสถานประกอบการที่่�มีีลููกจ้้างตั้้�งแต่่ 1 คนขึ้้�นไป ทำำ�ให้้มีี สถานประกอบการขึ้้�นทะเบีียนลููกจ้้างเป็็นผู้�ประกัันตนกัับกองทุุนประกัันสัังคมเพิ่่�มขึ้้�นอย่่างต่่อเนื่่�อง จนปััจจุุบัันมีี สถานประกอบการที่ข�่ ึ้น�้ ทะเบีียน 513,562 แห่ง่ และผู้�ประกันั ตนที่�่ได้ร้ ับั ความคุ้�มครองในระบบประกันั สังั คมกว่า่ 13 ล้า้ นคน ปีี 2547 ได้้ขยายความคุ้�มครองกรณีีว่่างงานสำำ�หรัับผู้้�ประกัันมาตรา 33 เนื่่�องจากสภาวะเศรษฐกิิจ มีีความเหมาะสมที่�่จะจััดเก็บ็ เงินิ สมทบเพื่�อ่ การจ่่ายประโยชน์์ทดแทนกรณีีว่า่ งงาน ผู้�้ ประกันั ตนมาตรา 40 ปีี 2537 เริ่�มจัดั เก็บ็ เงิินสมทบผู้�ประกันั ตนตามมาตรา 40 ในอัตั ราปีลี ะ 2,880 บาท ต่่อมาได้้ปรับั เพิ่่ม� อัตั รา เงินิ สมทบเป็น็ ปีลี ะ 3,110 บาท และ 3,360 บาท ในปีี 2539 และปีี 2541 ตามลำำ�ดับั โดยจะได้ร้ ัับสิทิ ธิิประโยชน์์ 3 กรณีี ได้้แก่่ คลอดบุตุ ร ทุพุ พลภาพ และตาย ปีี 2554 สำำ�นัักงานประกัันสัังคมได้้ปรัับรููปแบบการจััดเก็็บเงิินสมทบสำำ�หรัับผู้�ประกัันตนตามมาตรา 40 จากรายปีเี ป็น็ รายเดืือนเพื่อ�่ เป็น็ แนวทางใหม่ใ่ ห้ป้ ระชาชนเลืือกจ่า่ ยเงินิ สมทบ โดยปรับั ประโยชน์ท์ ดแทนเป็น็ 2 ทางเลืือก ได้แ้ ก่่ 34

เส้นทาง ัพฒนา ทางเลืือกที่่� 1 อััตราเงิินสมทบเดืือนละ 100 บาท โดยผู้�ประกัันตนจ่่าย 70 บาท และรััฐบาลช่่วยสมทบให้้ 30 บาท ได้้รับั ประโยชน์ท์ ดแทน 3 กรณีี ได้แ้ ก่่ เจ็็บป่ว่ ย (เงิินทดแทนการขาดรายได้)้ ทุพุ พลภาพ และตาย ทางเลืือกที่่� 2 อัตั ราเงิินสมทบเดืือนละ 150 บาท โดยผู้�ประกัันตนจ่่าย 100 บาท และรัฐั บาลช่่วยสมทบให้้ 50 บาท ได้้รัับประโยชน์์ทดแทน 4 กรณีี ได้้แก่่ เจ็็บป่่วย (เงิินทดแทนการขาดรายได้้) ทุุพพลภาพ ตาย และบำำ�เหน็็จ ชราภาพ ปีี 2556 สำำ�นัักงานประกัันสัังคมได้้มีีการปรัับปรุุงพระราชกฤษฎีีกากำำ�หนดหลัักเกณฑ์์และอััตราเงิินสมทบ ประเภทของประโยชน์์ทดแทน ตลอดจนหลัักเกณฑ์์และเงื่่�อนไขแห่่งสิิทธิิในการรัับประโยชน์์ทดแทนของบุุคคลซึ่่�งสมััคร เป็็นผู้�ประกัันตน (ฉบัับที่่� 2) พ.ศ. 2556 ราชกิิจจานุุเบกษา โดยการเพิ่่�มสิิทธิิประโยชน์์ความคุ้�มครองกรณีีชราภาพ (บำ�ำ นาญ) เพื่อ�่ เป็น็ ทางเลืือกที่�่ 3 ให้ส้ ำ�ำ หรับั ผู้�ประกันั ตนทางเลืือกที่�่ 1 และทางเลืือกที่�่ 2 สามารถเลืือกซื้อ� ความคุ้�มครองกรณีี ชราภาพ (บำ�ำ นาญ) เพิ่่ม� ได้้ โดยจััดเก็บ็ เงิินสมทบเดืือนละ 200 บาท โดยผู้�ประกัันตนจ่่าย 100 บาท และรัฐั บาลช่่วยสมทบ ให้้ 100 บาท ทั้้ง� นี้้� ผู้�ประกัันตนสามารถจ่า่ ยเงิินสมทบเพิ่่ม� กรณีีชราภาพได้้อีีกไม่เ่ กินิ เดืือนละ 1,000 บาท 33 ปี ครอบครวั ประกนั สังคม TRSUSSOT 35

เสน้ ทางพฒั นา ปีี 2558 มีีการบัังคัับใช้้พระราชบััญญััติิการให้้สิิทธิิแก่่ผู้�สมััครเป็็นสมาชิิกของกองทุุนการออมแห่่งชาติิ บางกรณีีและการโอนเงินิ จากกองทุนุ ประกันั สังั คมในกรณีีชราภาพไปยังั กองทุนุ การออมแห่ง่ ชาติิพ.ศ.2558 โดยผู้�ประกันั ตน มีีสิิทธิิแสดงความจํํานงโอนมาเป็็นสมาชิิกกองทุุนการออมแห่่งชาติิ ตามหลัักเกณฑ์์และวิิธีีการที่่�กองทุุนและสํํานัักงาน ประกัันสัังคมร่่วมกัันกํําหนด และโอนเงิินของผู้�ประกัันตนที่่�แสดงความจํํานงทั้้�งจํํานวนจากกองทุุนประกัันสัังคมมาเป็็น เงิินสะสมในบััญชีีรายบุุคคลของสมาชิิกรายนั้้�นที่่�มีีอยู่่�กัับกองทุุนการออมแห่่งชาติิ โดยเป็็นการปรัับปรุุงระบบการออม เพื่่�อการดํํารงชีีพยามชราภาพให้้มีีประสิิทธิิภาพมากยิ่่�งขึ้้�นภายใต้้การกํํากัับดููแลของหน่่วยงานเดีียวกััน ทั้้�งนี้้� สำำ�นัักงาน ประกัันสัังคมได้้ยกเลิิกความคุ้�มครองกรณีีชราภาพ (บำำ�นาญ) ตามพระราชกฤษฎีีกากำำ�หนดหลัักเกณฑ์์และอััตราการ จ่า่ ยเงินิ สมทบ ประเภทของประโยชน์ท์ ดแทน ตลอดจนหลัักเกณฑ์แ์ ละเงื่่อ� นไขแห่ง่ สิทิ ธิิในการรับั ประโยชน์์ทดแทนของบุคุ คล ซึ่่�งสมััครเป็็นผู้�ประกัันตน (ฉบัับที่่� 3) พ.ศ. 2558 ซึ่่�งมีีผลใช้้บัังคัับตั้้�งแต่่วัันที่่� 26 กัันยายน 2558 ส่่งผลให้้ผู้�ประกัันตน ตามมาตรา 40 ที่่�เลืือกความคุ้�มครองกรณีีบำำ�นาญชราภาพ (ทางเลืือกที่่� 3) สิ้้�นสุุดความเป็็นผู้�ประกัันตนโดยผลของ กฎหมาย ส่่วนสถานะของผู้�ประกันั ตนทางเลืือกที่่� 1 และทางเลืือกที่�่ 2 ยัังคงอยู่� ปีี 2561 สำำ�นัักงานประกัันสัังคมได้้เพิ่่�มสิิทธิิประโยชน์์ทางเลืือกใหม่่ให้้กัับผู้้�ประกัันตนตามมาตรา 40 โดยออกพระราชกฤษฎีีกากำำ�หนดหลัักเกณฑ์์และอััตราการจ่่ายเงิินสมทบ ประเภทของประโยชน์์ทดแทนตลอดจน หลัักเกณฑ์์และเงื่่�อนไขแห่่งสิิทธิิในการรัับประโยชน์์ทดแทนของบุุคคลซึ่่�งสมััครเป็็นผู้้�ประกัันตน พ.ศ. 2561 มีีผลใช้้บัังคัับตั้้�งแต่่วัันที่่� 28 มีีนาคม 2561 ซึ่่�งเป็็นสิิทธิิประโยชน์์ทางเลืือกที่่� 3 อััตราเงิินสมทบ เดืือนละ 450 บาท โดยผู้�ประกัันตนจ่่าย 300 บาท และรััฐบาลช่่วยสมทบให้้ 150 บาท ได้้รัับประโยชน์์ทดแทน 5 กรณีี ได้้แก่่ เจ็็บป่่วย (เงินิ ทดแทนการขาดรายได้)้ ทุุพพลภาพ ตาย ชราภาพ(บำำ�เหน็จ็ ) และสงเคราะห์บ์ ุุตร ปีี 2563 สำำ�นัักงานประกัันสัังคม ดำำ�เนิินการปรัับปรุุงแก้้ไขกฎหมาย เรื่่�อง การขยายอายุุของบุุคคลซึ่่�งอาจ สมััครเข้้าเป็็นผู้�ประกัันตนตามมาตรา 40 จากเดิิมมีีอายุุไม่่ต่ำำ��กว่่า 15 ปีีบริิบููรณ์์และไม่่เกิิน 60 ปีีบริิบููรณ์์ เป็็นอายุุ ไม่่ต่ำำ�� กว่า่ 15 ปีบี ริิบููรณ์์และ ไม่เ่ กินิ 65 ปีบี ริิบููรณ์์ 36

การขยายความค้มุ ครองกองทนุ เงินทดแทน เส้นทาง ัพฒนา เริ่ม� ให้ค้ วามคุ้�มครองครอบคลุมุ สถานประกอบการที่ม�่ ีีลููกจ้า้ งตั้�้งแต่่ 20 คนขึ้�้นไป เฉพาะกรุุงเทพมหานครได้ร้ ับั สิิทธิคิ ่า่ รัักษาพยาบาล ค่า่ ทดแทน ค่า่ ทำ�ำ ศพ เพิ่่ม� สิิทธิคิ ่า่ ฟื้้น� ฟููสมรรถภาพ 2517 ในการทำ�ำ งาน ขยายความคุ้ �มครอง 2528 ครบทุกุ จังั หวัดั ทั่่�วประเทศ 2531 ขยายความคุ้ �มครองครอบคลุุม ใช้้บังั คัับ พ.ร.บ. เงินิ ทดแทน พ.ศ. 2537 ขยายความคุ้ �มครองครอบคลุุมสถานประกอบการ ประกาศใช้้ พ.ร.บ. เงิินทดแทน (ฉบัับที่�่ 2) พ.ศ. 2561 สถานประกอบการที่ม่� ีีลููกจ้า้ ง เพื่�อ่ ใช้้แทนประกาศคณะปฏิิวัตั ิิ ที่่ม� ีีลููกจ้้างตั้้ง� แต่่ 1 คนขึ้้�นไป โดยขยายความคุ้�มครองครอบคลุุมลูกู จ้้างส่ว่ นราชการ/ ฉบับั ที่�่ 103 ตั้�้งแต่่ 10 คนขึ้น�้ ไป สถานทููต/องค์์กรระหว่่างประเทศ 2536 2537 2545 2561 2562 ขยายความคุ้�มครองงครอบคลุมุ ถึงึ ลูกู จ้้าง ในกิจิ การเพาะปลูกู /ประมง/ป่า่ ไม้้/ เลี้้�ยงสัตั ว์์ 33 ปี ครอบครัวประกนั สงั คม TRSUSSOT 37

เสน้ ทางพฒั นา กองทุุนเงิินทดแทน จััดตั้้�งขึ้้�นตามเจตนารมณ์์ของประกาศคณะปฏิิวััติิ ฉบัับที่่� 103 ลงวัันที่่� 16 มีีนาคม 2515 กำำ�หนดให้้มีีกองทุุนเงิินทดแทนในกรมแรงงาน กระทรวงมหาดไทย เพื่่�อเป็็นหลัักประกัันความมั่่�นคงในการจ่่าย เงิินทดแทนแก่่ลููกจ้้างแทนนายจ้้าง เมื่่�อลููกจ้้างประสบอัันตรายหรืือเจ็็บป่่วย หรืือถึึงแก่่ความตายเนื่่�องจาก การทำำ�งาน โดยจ่่ายเป็็นค่่ารัักษาพยาบาล ค่่าทดแทน และค่่าทำำ�ศพ ต่่อมาวัันที่่� 3 กัันยายน 2533 ได้้มีีการจััดตั้้�ง สำำ�นัักงานประกัันสัังคมขึ้้�น จึึงได้้โอนงานของสำำ�นัักงานกองทุุนเงิินทดแทน กรมแรงงาน มาอยู่�ในสัังกััดสำำ�นัักงาน ประกันั สังั คม ปีี 2517 เริ่ �มดำำ�เนิินการให้้ความคุ้�มครองสถานประกอบการที่่�มีีลููกจ้้างตั้้�งแต่่ 20 คนขึ้้�นไป เฉพาะในพื้้�นที่่� กรุงุ เทพมหานคร โดยเริ่ม� แรกมีีลููกจ้้าง จำำ�นวน 272,848 คน ให้้ความคุ้�มครองค่่ารักั ษาพยาบาล ค่่าทดแทน และค่า่ ทำำ�ศพ ปีี 2528 เพิ่่�มสิิทธิคิ ่่าฟื้้�นฟูสู มรรถภาพในการทำ�ำ งาน ปีี 2531 ขยายความคุ้�มครองครบทุุกจังั หวััดทั่่�วประเทศ เมื่อ�่ วันั ที่่� 1 กรกฎาคม 2531 ปีี 2536 ขยายความคุ้�มครองครอบคลุมุ สถานประกอบการที่ม�่ ีีลูกู จ้า้ งตั้ง�้ แต่่ 10 คนขึ้น�้ ไป เมื่อ�่ วันั ที่�่ 1 ตุลุ าคม 2536 ปีี 2537 ใช้บ้ ังั คัับพระราชบัญั ญััติเิ งินิ ทดแทน พ.ศ.2537 เพื่่�อใช้แ้ ทนประกาศคณะปฏิิวัตั ิิ ฉบัับที่�่ 103 ปีี 2545 ขยายความคุ้�มครองครอบคลุุมสถานประกอบการที่�ม่ ีีลูกู จ้า้ งตั้�ง้ แต่่ 1 คนขึ้้น� ไป ปีี 2561 ประกาศใช้้พระราชบััญญััติิเงิินทดแทน (ฉบัับที่่� 2) พ.ศ.2561 เนื่่�องจากพระราชบััญญััติิเงิินทดแทน พ.ศ.2537 มีีบทบัญั ญัตั ิิบางประการไม่เ่ หมาะสมกับั สภาพการณ์ป์ ััจจุุบันั ทำ�ำ ให้้ไม่่อาจคุ้�มครองสิทิ ธิปิ ระโยชน์์ของลูกู จ้้าง ได้้เท่่าที่่�ควร โดยขยายความคุ้�มครองไปยัังลููกจ้้างส่่วนราชการและลููกจ้้างขององค์์กรที่่�มิิได้้มีีวััตถุุประสงค์์เพื่่�อแสวงหา ผลกำ�ำ ไร รวมถึงึ ลูกู จ้้างที่�่ได้ร้ ัับการจ้า้ งงานในประเทศ และองค์ก์ รระหว่่างประเทศ ปีี 2562 ขยายความคุ้�มครองไปยัังลูกู จ้้างในกิิจการเพาะปลููก ประมง ป่า่ ไม้เ้ ลี้้�ยงสััตว์์ รายละเอีียดวิิวัฒั นาการการเพิ่่�มสิทิ ธิิกองทุุนเงินิ ทดแทน 38

2. ช่่องทางการให้้บริิการรัับ - จ่า่ ยเงิินกองทุุนประกันั สัังคม เส้นทาง ัพฒนา และกองทุุนเงินิ ทดแทน ตลอดระยะเวลากว่่า 30 ปีีที่่�ผ่่านมา สำำ�นัักงานประกัันสัังคมมุ่�งเน้้นการสร้้างหลัักประกัันความมั่่�นคงในการดำำ�รงชีีวิิต อย่่างยั่่�งยืืนให้้กัับผู้้�ประกัันตน ซึ่่�งการจััดเก็็บเงิินสมทบนัับเป็็นภารกิิจหลัักที่่�สำำ�คััญประการหนึ่่�ง เพื่่�อนำำ�เงิินสมทบ เข้้ากองทุุนในการจ่่ายสิิทธิิประโยชน์์ให้้กัับผู้้�ประกัันตนได้้อย่่างต่่อเนื่่�องทั้้�งในปััจจุุบัันและอนาคต โดยเริ่ �มแรกมีีช่่องทาง การชำำ�ระเงิินสมทบเข้้ากองทุุนประกัันสัังคมและกองทุุนเงิินทดแทน และการจ่่ายสิิทธิิประโยชน์์ให้้กัับผู้�ประกัันตนเพีียง 2 ช่่องทาง คืือ ชำำ�ระเงิิน ณ สำำ�นัักงานประกัันสัังคมกรุุงเทพมหานครพื้้�นที่่�/จัังหวััด/สาขา และชำำ�ระเงิินทางไปรษณีีย์์ (ธนาณััติิ ตั๋๋�วแลกเงิิน เช็็คทางไปรษณีีย์์) ทั้้�งนี้้� เพื่่�ออำำ�นวยความสะดวกให้้นายจ้้างและผู้�ประกัันตนมากขึ้้�นประกอบกัับเทคโนโลยีีมีีความก้้าวหน้้า อย่่างรวดเร็็ว สำำ�นัักงานประกัันสัังคมจึึงได้้นำำ�เทคโนโลยีีดิิจิิทััลมาใช้้สนัับสนุุนเพื่่�อขยายและพััฒนาช่่องทางการเข้้าถึึง ตามลำ�ำ ดัับ ดัังนี้้� รับั เงิิน จ่า่ ยเงิิน ปี 2533 ใหบ้ รกิ ารรบั ชำ�ระเงนิ สมทบ และจ่ายสิทธิประโยชน์ ณ สำ�นักงานฯ และผ่านทางไปรษณยี ์ ปี 2533 เพ่มิ ช่องทางการจ่ายสทิ ธิประโยชนผ์ ่านธนาคารโดยวธิ ีประมวลผลเขา้ สู่สว่ นกลาง (กรณีสงเคราะห์บตุ ร) ปี 2542 ปี 2543 เพ่ิมชอ่ งทางการรบั ช�ำ ระเงินสมทบกองทนุ ประกนั สังคมโดยวิธีหักบญั ชเี งินฝากธนาคาร ปี 2545 เพิม่ ชอ่ งทางการรับชำ�ระเงนิ ผ่านเคานเ์ ตอร์ธนาคารและหน่วยบรกิ าร เพิ่มชอ่ งทางการจ่ายสิทธิประโยชนผ์ า่ นธนาคารโดยวิธปี ระมวลผลเข้าสสู่ ว่ นกลาง ปี 2546 ปี 2547 เพม่ิ ช่องทางการรบั ชำ�ระเงินสมทบกองทุนประกันสงั คมผา่ นระบบอเิ ล็กทรอนิกส์ (e-Payment) เพ่ิมช่องทางการจา่ ยประโยชน์ทดแทนกองทนุ เงนิ ทดแทนโดยวธิ ีโอนผ่านธนาคาร ปี 2553 ปี 2562 เพ่มิ ช่องทางการรบั ชำ�ระเงินกองทนุ เงนิ ทดแทนผา่ นระบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (e-Payment) ปี 2563 เพม่ิ ช่องทางการรับช�ำ ระเงนิ สมทบกองทุนประกันสงั คมมาตรา 40 ผา่ น Mobile Application ปี 2563 ปี 2566 และจา่ ยประโยชน์ทดแทนผ่านพร้อมเพย์ (กรณีชราภาพและสงเคราะหบ์ ุตร) ปี 2565 เพม่ิ ชอ่ งทางการจ่ายสทิ ธปิ ระโยชน์กองทนุ ประกนั สงั คมผา่ นพร้อมเพย์ ปี 2566 (เจบ็ ป่วย คลอดบุตร ทุพพลภาพ ตาย และว่างงาน) เพม่ิ ช่องทางการรับชำ�ระเงนิ สมทบกองทุนประกันสงั คมมาตรา 33 และมาตรา 40 ผ่าน QR Code และเพิม่ ช่องทางการจ่ายประโยชนท์ ดแทนกองทนุ เงนิ ทดแทนใหก้ ับลูกจา้ งหรอื ผู้มีสทิ ธผิ า่ นพรอ้ มเพย์ 33 ปี ครอบครัวประกนั สงั คม TRSUSSOT 39

เสน้ ทางพฒั นา ณ มิิถุุนายน พ.ศ. 2566 ช่่องทางการให้้บริิการรับั ชำ�ำ ระเงินิ กองทุนุ ประกันั สังั คมและกองทุนุ เงินิ ทดแทน มีีทั้้�งหมด 14 ธนาคาร 7 หน่่วยบริกิ ารและเพิ่่�มช่่องทาง QR Code ณ มิถิ ุนุ ายน พ.ศ. 2566 ช่อ่ งทางการให้้บริกิ ารจ่่ายชำ�ำ ระเงินิ กองทุุนประกัันสังั คมและกองทุนุ เงิินทดแทน มีีทั้้�งหมด 10 ธนาคาร และเพิ่่ม� ช่่องทาง PromptPay 40

จากการเพิ่่�มช่่องทางและพััฒนารููปแบบการชำำ�ระเงิินและการจ่่ายสิิทธิิประโยชน์์และประโยชน์์ทดแทนกองทุุน เส้นทาง ัพฒนา ประกันั สังั คมและกองทุนุ เงินิ ทดแทนผ่า่ นธนาคาร/หน่ว่ ยบริกิ าร และระบบอิเิ ล็ก็ ทรอนิกิ ส์แ์ บบครบวงจร ทำ�ำ ให้น้ ายจ้า้ ง ลูกู จ้า้ ง และผู้�ประกัันตนได้้รัับความสะดวก รวดเร็็ว ประหยััดเวลา และค่่าใช้้จ่่าย นอกจากนี้้�ยัังสามารถเข้้าถึึงการให้้บริิการของ สำำ�นัักงานประกัันสัังคมได้้ทุุกที่่�ทุุกเวลา และผู้�ประกัันตนสามารถตรวจสอบสิิทธิิในการเบิิกสิิทธิิประโยชน์์ของตนเอง ได้้อย่่างรวดเร็็ว รวมทั้้�งได้้รัับสิิทธิิประโยชน์์ในรููปแบบตััวเงิินอย่่างรวดเร็็ว สร้้างหลัักประกัันทางสัังคมทำำ�ให้้ลููกจ้้าง และผู้�ประกันั ตนมีีชีีวิิตความเป็็นอยู่่�ที่่�มั่่น� คง ส่ง่ ผลให้ป้ ระเทศมีีการพัฒั นาทั้้ง� ด้้านเศรษฐกิจิ และสัังคมอย่่างยั่่ง� ยืืน 33 ปี ครอบครวั ประกนั สังคม TRSUSSOT 41

3. ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เสน้ ทางพฒั นา 2533-2541 กองทนุ ประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน 2542 เริม่ ใช้ระบบ Sapiens 2542-2544 กองทนุ ประกันสงั คม งานแพทย์ งานสมทบ Online Mainframe UFO 2542 Online ถงึ งานทะเบยี น Offline งานประโยชน์ Offline 2545 พัฒนาระบบการรบั เงนิ , การจา่ ยเงิน, ระบบบญั ชี 2533 งานทะเบียน 2549 2546 ผลกั ดนั ให้เปน็ ระบบ online ท่วั ประเทศ โดยมีระบบสำ�คัญ 7 ระบบ ถงึ งานเงินสมทบ งาบสทิ ธิประโยชน์ ไดแ้ ก่ ระบบประโยชนท์ ดแทน ระบบการเงิน ระบบทะเบยี นนายจา้ งและผู้ประกันตน 2541 งานการเงิน กองทุนเงนิ ทดแทน UNIX ระบบเงนิ สมทบ ระบบตรวจสอบ ระบบการบริการทางการแพทย์ และระบบบญั ชี Offline ทัว่ ประเทศ 2547- 2549 เร่มิ น�ำ ระบบ Intranet มาใช้ 2550 database for e-service (DB4) 2555 จดั ท�ำ ฐานขอ้ มูลเพ่ือสนับสนุน การเชอื่ มโยงข้อมูลท้ังภายใน 2555-2556 การให้บริการ e-service ถงึ และภายนอกองคก์ ร 2553 พฒั นาระบบกองทุนเงนิ ทดแทน WCF การจัดส่งเงนิ สมทบด้วยระบบ e-service ปจั จุบัน ปรบั เปลี่ยนระบบกองทนุ เงินทดแทน เพ่อื รองรับ Online ทัว่ ประเทศ การน�ำ สง่ ขอ้ มลู ดว้ ยระบบ e-service ***นายจ้างและผู้ประกันตนหากต้องการ ตดิ ตอ่ ประกนั สังคม ยังคงเขา้ มาตดิ ตอ่ ด้วย การแจ้งเขา้ -ออกของผปู้ ระกันตนผ่าน e-service ตัวเองทีส่ ำ�นักงานประกนั สงั คมเขตพื้นท/่ี 2557 จงั หวดั /สาขา พัฒนาระบบการจ่ายค่าบรกิ ารทางการแพทย์ (NCH) (บูรณาการข้อมูลรว่ มกัน 2554 ปรบั ปรงุ กระบวนการให้หน่วยบริการอืน่ 2550 รับเงนิ แทนสำ�นกั งานประกันสังคมได้ ระหว่าง สปสช. ส�ำ นักงานประกันสังคม และกรมบัญชกี ลาง) ถงึ 2566 เชน่ การรับช�ำ ระเงินผา่ น ธนาคาร กองทนุ ประกนั สงั คม กองทุนเงินทดแทน 2554 และไปรษณยี ์ สนบั สนนุ การรับสิทธปิ ระโยชน์ แพลตฟอร์มกองทนุ เงินทดแทน พัฒนาระบบมาตรา 40 ของผปู้ ระกนั ตนทั้ง 7 กรณี (e-self service) โดยที่สถานพยาบาล นายจา้ ง ผปู้ ระกันตน 42 แพลตฟอร์มสำ�หรบั ผปู้ ระกนั ตนที่ย่นื สามารถท�ำ ธรุ กรรมผ่านระบบได้ ท�ำ ธรุ กรรมผ่านระบบได้

วิวฒั นาการระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศของ เส้นทาง ัพฒนา ส�ำ นกั งานประกันสงั คม ปีี 2533-2541 กองทุุนประกัันสังั คมมีีทั้้�งระบบ Online และ Offline ระบบงานทะเบีียน งานเงินิ สมทบ งานสิิทธิิประโยชน์์ และงานการเงิิน ปีี 2533 ปรัับเปลี่่�ยนระบบกองทุุนเงิินทดแทนเพื่่�อรองรัับ Online ทั่่�วประเทศโดยนายจ้้างและผู้�ประกัันตน หากต้อ้ งการติิดต่่อประกันั สังั คมยังั คงเข้้ามาติิดต่่อด้ว้ ยตััวเองที่�่สำำ�นัักงานประกัันสัังคมกรุุงเทพมหานครพื้้�นที่่�/จังั หวััด ปีี 2542 กองทุุนเงิินทดแทนเริ่�มนำำ�ระบบ Online เข้้ามาใช้้งาน ส่่วนกองทุุนประกัันสัังคมได้้พััฒนาใช้้ระบบ Sapiens ของระบบงานแพทย์์ งานสมทบ งานทะเบีียน และงานประโยชน์์ ปีี 2545 ทั้้ง� 2 กองทุุนได้้มีีการพัฒั นาระบบการรับั เงินิ -จ่่ายเงินิ และระบบบััญชีี ปีี 2546 ผลัักดันั ทั้้�ง 2 กองทุนุ ให้้เป็็นระบบ Online ทั่่�วประเทศ โดยมีีระบบสำำ�คััญ 7 ระบบ ได้้แก่่ ระบบประโยชน์ท์ ดแทน ระบบการเงิิน ระบบทะเบีียนนายจ้้างและผู้�ประกัันตน ระบบเงิินสมทบ ระบบตรวจสอบ ระบบการบริิการทางการแพทย์์ และระบบบััญชีี ปีี 2547-2549 เริ่�มนำำ�ระบบ Intranet (In House Communication: IHC) ทั้้ง� 2 กองทุุน ปีี 2550-2552 พััฒนาจััดทำำ�ฐานข้้อมููล (Data for e-Service : DB4) สนัับสนุุนการเชื่่�อมโยงข้้อมููลทั้้�งภายใน และภายนอกองค์ก์ ร ปีี 2554 ปรัับปรุุงกระบวนการให้้หน่่วยบริิการอื่่�นรัับเงิินแทนสำำ�นัักงานประกัันสัังคมได้้ เช่่น การรัับชำำ�ระเงิิน ผ่่านเคาน์์เตอร์ธ์ นาคาร และไปรษณีีย์์ รวมทั้้ง� พัฒั นาระบบมาตรา 40 ปีี 2555-2556 พััฒนาการให้้บริิการ e-Service อาทิิ การจััดส่่งเงิินสมทบ การนำำ�ส่่งข้้อมููล การแจ้้งเข้้า-ออกของ ผู้�ประกันั ตนด้ว้ ยระบบ e-service ปีี 2557 พััฒนาระบบการจ่่ายค่่าบริิการทางการแพทย์์ (NCH) เพื่่�อบููรณาการข้้อมููลร่่วมกัันระหว่่าง สปสช. สำ�ำ นัักงานประกัันสัังคม และกรมบัญั ชีีกลาง ปีี 2566 กองทุนุ ประกัันสังั คมและกองทุุนเงินิ ทดแทน มีีระบบการเบิิกจ่า่ ยประโยชน์ท์ ดแทนด้้วยตนเอง (e-Self Service) เพื่่�อให้้ผู้�ประกัันตนสามารถทำำ�ธุุรกรรมด้้วยตนเอง พร้้อมทั้้�งมีีแพลตฟอร์์มดิิจิิทััลให้้บริิการแก่่ผู้�ประกัันตน โดยบริิการข้้อมููล ด้้านสิิทธิิประโยชน์์พร้้อมใช้้แบบครบวงจร รวมถึึงให้้บริิการแก่่ลููกจ้้าง นายจ้้าง และสถานพยาบาลในความตกลง เพื่่�อเพิ่่�มความหลากหลายของช่่องทางการให้้บริิการ และยัังเน้้นย้ำำ��ความสำำ�คััญของการคุ้้�มครองข้้อมููลตาม พ.ร.บ. คุ้�มครอง ข้อ้ มูลู ส่่วนบุุคคล เพื่่�อให้้ผู้�ใช้ง้ านไว้ว้ างใจในความปลอดภััยของข้อ้ มููลที่อ�่ ยู่�ในความดููแลของสำ�ำ นัักงานประกัันสังั คม 33 ปี ครอบครวั ประกันสงั คม TRSUSSOT 43

4. พัฒนาการของการบริหารเงินลงทุน เสน้ ทางพฒั นา พ.ศ. 2566 กองทุนตราสารหน้ี ท พ.ศ. 2565 กล่มุ ประเทศตลาดเกิดใหม่ กองทนุ รวมต่างประเทศทีม่ นี โยบายแบบเชิงรกุ สินทรัพยน์ อกตลาด พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2560 ตราสารทุนตา่ งประเทศ ลงทุนตรงในกองทนุ รวม ETF กองทุนอสังหารมิ ทรัพย์ ตา่ งประเทศ ต่างประเทศ พ.ศ. 2546 พ.ศ. 2556 หนุ้ สามัญบริษทั จดทะเบียน กองทุนโครงสรา้ ง กองทนุ รวมอสังหารมิ ทรพั ย์ พื้นฐานและทองคาำ พ.ศ. 2534 พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2565 พ.ศ. 2566 ตั๋วเงนิ คลัง จา้ งบรษิ ทั จัดการ ตราสารหนีต้ า่ งประเทศ กองทุนรวมตา่ งประเทศท่ีมนี โยบายแบบเชงิ รกุ กองทนุ ตราสารหน้ี พนั ธบตั รรฐั บาล สนิ ทรพั ยน์ อกตลาด กล่มุ ประเทศตลาดเกดิ ใหม่ เงนิ ฝากธนาคาร ล้าน บหกอุ้นางกททู้เอุนกยช่อนยที่ พ.ศ. 2546 ไดร้ บั การจดั อันดบั หนุ้ สามญั บริษทั จดทะเบียน พ .ศพ. ัน2ธ5บ3ัต5รรฐั 2ว,ิส5าห0ก0จิ , 000 เครดติ กองทุนรวมอสังหารมิ ทรพั ย์ พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2557 ลงทุนตรงในกองทุนรวม ETF ตราสารทนุ ต่างประเทศ ต่างประเทศ กองทนุ อสังหารมิ ทรัพย์ ต่างประเทศ ีป 2534 ปี 2535 ปี 2536 ปี 2537 ปี 2538 ปี 2539 ปี 2540 ปี 2541 ปี 2542 ปี 2543 ปี 2544 ปี 2545 ปี 2546 ปี 2547 ปี 2548 ปี 2549 ีป 2550 ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ีป 2558 ีป 2559 ีป 2560 ีป 2561 ีป 2562 ีป 2563 ีป 2564 ีป 2565 ีป 2566 2,000,000 1,500,000 พ.ศ. 2556 กองทนุ โครงสร้าง พ้ืนฐานและทองค�ำ 1,000,000 พ.ศ. 2534 พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2549 500,000 ต๋ัวเงินคลัง จา้ งบรษิ ัทจดั การ ตราสารหนต้ี า่ งประเทศ พนั ธบัตรรัฐบาล กองทนุ ยอ่ ย เงินฝากธนาคาร หนุ้ กู้เอกชนท่ี ได้รับการจัดอันดบั พ.ศ. 2535 เครดิต พันธบตั รรัฐวิสาหกิจ 0 ปี 2534 ปี 2535 ปี 2536 ปี 2537 ปี 2538 ปี 2539 ปี 2540 ปี 2541 ปี 2542 ปี 2543 ปี 2544 ปี 2545 ีป 2546 ีป 2547 ีป 2548 ีป 2549 ีป 2550 ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 ีป 2556 ีป 2557 ีป 2558 ีป 2559 ีป 2560 ีป 2561 ีป 2562 ีป 2563 ีป 2564 ีป 2565 ีป 2566 44

เส้นทาง ัพฒนา ในปีี 2534 สำำ�นัักงานประกัันสัังคมเริ่�มดำำ�เนิินการจััดเก็็บเงิินสมทบเพื่่�อให้้ความคุ้�มครองกรณีีประสบอัันตรายหรืือเจ็็บป่่วย ทุุพพลภาพ ตาย และคลอดบุุตร และเริ่�มทำำ�การลงทุุน โดยในช่่วงเริ่�มต้้นเน้้นการซื้้�อตั๋๋�วเงิินคลััง พัันธบััตรรััฐบาล พัันธบััตรรััฐวิิสาหกิิจ และการฝากเงิินกัับธนาคารเป็็นหลััก ต่่อมาในปีี 2541 สำำ�นัักงานฯ ได้้เริ่ �มดำำ�เนิินการจััดเก็็บเงิินสมทบเพื่่�อให้้ความคุ้�มครอง กรณีีสงเคราะห์บ์ ุตุ ร และชราภาพ รวมถึงึ กรณีีว่า่ งงานในระยะต่อ่ มา ทำ�ำ ให้ม้ ีีปริมิ าณเม็ด็ เงินิ สะสมในกองทุนุ เพิ่่ม� ขึ้น�้ จึงึ เป็น็ จุดุ เริ่ม� ต้น้ สำ�ำ หรับั การลงทุนุ ในหุ้�นกู้�เอกชนและการจ้า้ งบริษิ ัทั จััดการกองทุนุ ย่อ่ ยซึ่ง�่ มีีความเชี่�่ยวชาญในการลงทุุนให้้บริหิ ารเงินิ ลงทุนุ กองทุนุ ประกัันสังั คม ต่อ่ มาสำำ�นัักงานประกันั สัังคมได้้ขยายประเภทการลงทุุนให้ม้ ีีความหลากหลายมากขึ้น�้ โดยในปีี 2546 ได้้เริ่�มลงทุุนในหุ้�นสามััญ บริิษััทจดทะเบีียนและกองทุุนรวมอสัังหาริิมทรััพย์์ และในปีี 2549 ได้้เพิ่่�มช่่องทางเพื่่�อขยายการลงทุุนไปยัังต่่างประเทศเป็็นครั้�งแรก ในสินิ ทรัพั ย์ป์ ระเภทตราสารหนี้้ต� ่า่ งประเทศ เพื่อ�่ เป็น็ การกระจายการลงทุนุ จากเม็ด็ เงินิ ที่เ�่ พิ่่ม� มากขึ้น�้ อย่า่ งไรก็ต็ าม สำ�ำ นักั งานประกันั สังั คม ยัังคงพัฒั นาและขยายขอบเขตการลงทุุนอย่า่ งต่่อเนื่อ�่ ง ตามลำ�ำ ดัับ ดัังนี้้� ปีี 2556 ลงทุนุ ในกองทุนุ โครงสร้้างพื้้�นฐานและทองคำ�ำ ปีี 2557 ลงทุุนในตราสารทุุนต่า่ งประเทศและกองทุุนอสังั หาริมิ ทรัพั ย์์ต่่างประเทศ ปีี 2560 ลงทุนุ ในกองทุุนรวม ETF ต่่างประเทศ ปีี 2565 ลงทุนุ ในกองทุุนรวมต่่างประเทศที่่ม� ีีนโยบายการลงทุุนแบบเชิงิ รุุกและสิินทรัพั ย์์นอกตลาด ปััจจุุบัันในปีี 2566 สำำ�นัักงานประกัันสัังคมได้้ลงทุุนในตราสารหนี้้�ประเทศกลุ่�มตลาดเกิิดใหม่่ และมีีแนวโน้้มที่่�จะเพิ่่�มสััดส่่วน การลงทุุนในต่่างประเทศ เพื่่�อให้้การลงทุุนของกองทุุนประกัันสัังคมมีีการกระจายความเสี่่�ยงมากขึ้้�น และสอดรัับกัับการเติิบโตของ กองทุนุ ประกัันสัังคมในอนาคต 33 ปี ครอบครัวประกันสงั คม TRSUSSOT 45

5. ความร่วมมือระหว่างประเทศ เสน้ ทางพฒั นา สำ�นกั งานประกันสงั คม องค์การแรงงานระหวา่ งประเทศ (ILO) ผู้�บริิหารในยุุคก่่อตั้้�งสำำ�นัักงานประกัันสัังคมนำำ�โดยเลขาธิิการคนแรก (นายอำำ�พล สิิงหโกวิินท์์) และรองอธิิบดีี กรมแรงงานในขณะนั้้�น (นางอััมพร จุุณนานนท์์) ให้้ความสำำ�คััญกัับการวางหลัักการและโครงสร้้างที่่�มั่่�นคงเพื่่�อรองรัับ การพััฒนาอย่่างยั่่�งยืืน โดยมุ่�งหมายให้้การประกัันสัังคมไทยมีีมาตรฐานทััดเทีียมระดัับสากล จึึงได้้ขอความช่่วยเหลืือ จากองค์์การแรงงานระหว่่างประเทศ (ILO) ผ่่านโครงการพััฒนาแห่่งสหประชาชาติิ (UNDP) ตั้้�งแต่่ก่่อนพระราชบััญญััติิ ประกัันสังั คมฉบัับแรก (พ.ศ. 2533) จะเริ่�มมีีผลบัังคัับใช้้ จึึงอาจกล่า่ วได้ว้ ่่า ILO อยู่่�คู่่�สำ�ำ นัักงานประกัันสังั คมไทยมาตั้้�งแต่่ เริ่ม� ก่่อร่า่ งสร้้างฐาน และได้ส้ ืืบสานพััฒนาร่่วมกัันจนระบบการประกันั สังั คมไทยก้า้ วหน้า้ ทัดั เทีียมนานาชาติใิ นปัจั จุุบััน การสััมมนาของสำำ�นัักงานประกันั สัังคม เรื่�อ่ ง การประกันั กรณีีบำ�ำ นาญ ระยะริเิ ริ่ม� เตรียี มความพร้อ้ ม (ปีี 2533 - 2534) ในประเทศกำำ�ลัังพัฒั นา สนับั สนุนุ โดย UNDP/ILO จัดั ขึ้�้นในเดืือนธัันวาคม 2535 ในระยะแรก ILO คาดว่่าจะให้้ความช่่วยเหลืือ ในการวางระบบงานประกันั สังั คมด้า้ นต่า่ งๆ เพียี ง 6 เดืือน เริ่่�มตั้้�งแต่่เดืือนมีีนาคม 2533 ภายใต้้โครงการ THA/89/013 เพื่่�อให้้ทัันต่่อการเริ่่�มบัังคัับใช้้ พระราชบัญั ญัตั ิปิ ระกันั สังั คมภายในวันั ที่�่ 1 มีีนาคม 2534 โดยได้้ดำำ�เนิินการวางแผนอย่่างเร่่งด่่วนและประเมิิน ความต้้องการช่่วยเหลืือต่่อไปในระยะยาว รวมถึึง กำำ�หนดโครงการฝึึกอบรมบุุคลากรประกัันสัังคม 46


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook