Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผน กศน.จังหวัดเพชรบูรณ์ 2563 ครั้งที่ 4.1123

แผน กศน.จังหวัดเพชรบูรณ์ 2563 ครั้งที่ 4.1123

Published by saowanee.yaukala, 2020-09-18 03:07:02

Description: แผน กศน.จังหวัดเพชรบูรณ์ 2563 ครั้งที่ 4.1123

Search

Read the Text Version

แผนปฏบิ ัติการ ประจาปี 2563 (ฉบับปรับปรุง สงิ หาคม 2563) สานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย จังหวัดเพชรบูรณ์

คานา สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดเพชรบูรณ์ (สานักงาน กศน.จังหวัดเพชรบูรณ์) จัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เพื่อเป็นแนวทางการดาเนิน กจิ กรรม/โครงการ การจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ของหนว่ ยงานและสถานศึกษาในสังกัด สานักงาน กศน.จังหวัดเพชรบูรณ์ ทง้ั 11 อาเภอ โดยสานักงาน กศน. ซ่ึงเป็นหนว่ ยงานต้นสังกัด ให้แนวทางการ ดาเนนิ งาน การติดตาม และประเมินผลการดาเนินงาน ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งเป็นสถาบันภายใต้การ กากบั ดูแล จักไดป้ รบั แผนงาน/โครงการ แนวทางการดาเนินกิจกรรมของหนว่ ยงานและสถานศึกษา ผู้ปฏิบัติงาน ให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์ท่ีกาหนดไว้ โดยเป้าหมายการดาเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เน้นพัฒนา กศน. ตาบล (กศน.ตาบลเป็นฐาน) ให้เป็นกลไกการขับเคลื่อนการจัดการศึกษาและส่งเสริมภาคีเครือข่ายในการจัด การศึกษาเพ่ือสร้างและกระจายโอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิตในชุมชน เพ่ือร่วมกันพัฒนาคุณภาพชีวิตของ ประชาชนอย่างยัง่ ยนื ต่อเน่ือง สานักงาน กศน.จังหวัดเพชรบูรณ์ ขอขอบคุณสถานศึกษาในสังกัดทั้ง 11 อาเภอ รวมทั้งภาคีเครือข่าย และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องท่ีให้ความร่วมมือในการจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2563 (ฉบับ ปรับปรุง เมษายน 2563) จนสาเร็จได้เป็นอย่างดี และหวังเป็นอย่างย่ิงว่าจะสามารถใช้เป็นแนวทางในการ ดาเนินงานและเป็นเคร่ืองมือในการกากับติดตามผลการดาเนินงาน เพ่ือพัฒนาการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยในพื้นท่ีบริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผลและเกิดประโยชน์ต่อองค์กร ประชาชน และประเทศชาติ รวมท้ังเป็นข้อมูลสาหรับหน่วยงาน และผู้สนใจกิจกรรมงานการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัย ได้ศกึ ษาและให้ขอ้ เสนอแนะการดาเนินงานทดี่ ตี อ่ ไป สานกั งาน กศน.จังหวดั เพชรบูรณ์ เมษายน 2563

สารบญั คานา หนา้ 1 ส่วนที่ 1 บทนา 11 สภาพทวั่ ไปของสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จังหวัด 21 เพชรบูรณ์ โครงสรา้ งสานกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจังหวัด เพชรบูรณ์ สว่ นที่ 2 ทศิ ทางของสานักงาน กศน.จังหวัดเพชรบูรณ์ 2.1 ยุทธศาสตร์และจดุ เน้นการดาเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2563 สว่ นท่ี 3 รายละเอยี ดแผนงาน/โครงการตามแผนปฏิบัตกิ ารประจาปี 35 งบประมาณ พ.ศ.2563 103 โครงการประกอบแผนปฏิบัตกิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2563 สว่ นที่ 4 แนวทางการดาเนินงานให้เปน็ ผลสาเรจ็ ภาคผนวก ภาพโครงการ/กจิ กรรม คณะผ้จู ดั ทา

1 ส่วนท่ี 1 บทนา สภาพทั่วไปของจังหวดั เพชรบรู ณ์ ลักษณะทางภมู ศิ าสตร์ ที่ตัง้ จังหวดั เพชรบูรณ์มีตาแหน่งทางภมู ิศาสตร์ในเขตภาคเหนือตอนลา่ งของประเทศไทย โดยเกณฑ์ การแบง่ ภาคของราชบณั ฑิตยสถาน ได้กาหนดให้เพชรบรู ณ์เป็นจังหวัดในภาคกลาง จงั หวดั เพชรบรู ณเ์ ปน็ จงั หวัด ท่ีมีแนวเขตติดต่อระหว่างภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ประมาณเส้นรุง้ ที่ 16 องศาเหนอื กบั เสน้ แวง 101 องศาตะวนั ออก ส่วนท่กี ว้างทสี่ ดุ วดั จากทิศตะวันออกถึงทิศตะวนั ตกยาว 55 กิโลเมตร สว่ นทีย่ าวทีส่ ดุ วัดจากทิศเหนือถึงทิศใตย้ าว 296 กิโลเมตร อยหู่ า่ งจากกรุงเทพมหานคร 346 กโิ ลเมตร ตามทางหลวงแผน่ ดินหมายเลข 21 อาณาเขต จังหวัดเพชรบูรณม์ อี าณาเขตตดิ ต่อกับจังหวัดใกล้เคียงดังน้ี ทิศเหนือ ตดิ ต่อกับ จังหวดั เลย ทิศใต้ ตดิ ต่อกับ จงั หวัดลพบรุ ี ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ต่อกับ จังหวดั ขอนแก่นและชัยภูมิ ทิศตะวนั ตก ติดตอ่ กับ จังหวัดพษิ ณุโลก นครสวรรค์ และพจิ ติ ร ขนาดพ้ืนที่ จังหวัดเพชรบูรณ์มีพนื้ ทป่ี ระมาณ 12,668.416 ตารางกโิ ลเมตร หรือประมาณ 7,917,760 ไร่ สงู จากระดับนา้ ทะเลประมาณ 114 เมตร มีพนื้ ทีใ่ หญ่เป็นอันดบั ที่ 9 ของประเทศ ลักษณะ ทางกายภาพของจังหวดั เพชรบรู ณ์นน้ั เป็นพ้นื ทร่ี าบล่มุ แบบทอ้ งกระทะ ประกอบดว้ ยเนนิ เขา ป่า และทร่ี าบ เป็นตอน ๆ สลับกนั ไป พื้นที่มีลกั ษณะลาดชนั จากเหนือลงไปใต้ ตอนเหนือมที วิ เขาสูง ตอนกลางเปน็ พน้ื ทรี่ าบ และมีเทือกเขาขนาบกันไปท้งั สองข้างมีลกั ษณะเปน็ รปู เกือกมา้ มแี ม่น้าปา่ สกั เปน็ แม่น้าสายสาคัญโดยไหลจาก จงั หวัดเลย เพชรบูรณ์ ผ่านไปส่จู ังหวัดในภาคกลาง แลว้ ลงสู่แม่นา้ เจา้ พระยา ตามลาดับ จึงสง่ ผลใหพ้ ้ืนทด่ี มี ี ทรพั ยากรธรรมชาติมากมาย ดนิ มสี ภาพอุดมสมบูรณเ์ หมาะแก่การเพาะปลูกพชื ทาการเกษตร ภูมิประเทศ เป็นท่ีลุ่มแบบแอ่งกระทะประกอบด้วยเนินเขา ป่า และที่ราบเป็นท่ีดอนสลับกันไป พ้นื ท่ีเปน็ ทีล่ าดชัน จากเหนือลงใต้ ทางตอนเหนือมที วิ เขาสงู สว่ นตอนกลางเป็นที่ราบและมีเทือกเขาเพชรบูรณ์ ขนาบ ก้ันทั้งทางทิศตะวันออกและทิศตะวันตก มีแม่น้าป่าสักเป็นแม่น้าสายสาคัญที่สุดไหลผ่านตอนกลางของ จงั หวดั จากทิศเหนือลงทิศใต้ยาวประมาณ 350 กิโลเมตร ซึ่งมีต้นกาเนิดจากภูเขาผาลาในจังหวัดเลย และมี ห้วยลาธารหลายสายท่ีเกิดจากเทือกเขาเพชรบูรณ์ แม่น้าป่าสักไหลผ่าน อาเภอหล่มเก่า อาเภอหล่มสัก

2 อาเภอเมืองเพชรบูรณ์ อาเภอหนองไผ่ อาเภอบึงสามพัน อาเภอวิเชียรบุรี และอาเภอศรีเทพ จังหวัด เพชรบูรณ์ และไหลผ่านอาเภอชัยบาดาลจังหวัดลพบุรี อาเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรีและไหลลงแม่น้า เจ้าพระยาที่ อาเภอพระนครศรีอยุธยา ในฤดูฝนถ้ามีฝนตกมากน้าจะไหลท่วมฝ่ังทาให้เกิดอุทกภัยตามบริเวณ ชายฝั่งแมน่ า้ สว่ นในฤดแู ล้งนา้ จะต้นื เขินเปน็ ชว่ ง ไม่เพียงพอสาหรับทาการเกษตร ต้องใช้แหล่งน้าธรรมชาติท่ีมี กระจายทั่วไป เชน่ ลาน้าพงุ ลาน้าเข็ก หนองขาม หนองแค หนองนารี บงึ สามพัน เป็นตน้ ลักษณะภูมิอากาศ เน่ืองจากสภาพภูมิประเทศล้อมรอบด้วยภูเขา ทาให้สภาพภูมิอากาศแตกต่าง กันมากในแต่ละฤดูกาล คือ อากาศจะร้อนมากในฤดูร้อน และหนาวจัดในฤดูหนาว โดยเฉพาะอย่างย่ิงในพื้นที่ อาเภอน้าหนาว อาเภอเขาค้อ และอาเภอหล่มเก่า ส่วนพ้ืนที่บนภูเขาจะมีอากาศเย็นตลอดทั้งปี ในฤดูฝนมีฝนตก ชุก และมีน้าป่าไหลหลากมาท่วมในที่ราบ โดยเฉพาะบริเวณลุ่มแม่น้าป่าสักตอนใต้ของจังหวัด ในฤดูแล้งน้าจะ ขาดแคลนไม่เพยี งพอกบั การเกษตรกรรม ในฤดูร้อนและฤดูฝน จะมอี ณุ หภมู ิ 20-24 องศา ทรพั ยากรธรรมชาติ จังหวดั เพชรบูรณ์ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม หลายชนิด ดังน้ี 1. แหล่งน้าธรรมชาติ ประกอบด้วยแม่น้าป่าสัก ลุ่มน้าเชิญ ลุ่มน้าเข็ก ซึ่งเป็นแหล่ง ต้นน้าของ แมน่ ้าสายต่าง ๆ 2. ป่าไม้ในจังหวัดเพชรบูรณ์มีเนื้อที่ 2,006.51 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 100.00 ของพื้นที่จังหวัด เป็นป่าสงวนแห่งชาติ จานวน 13 แห่ง อุทยานแห่งชาติ 3 แห่ง เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า 2 แห่ง เขตห้ามล่า สัตว์ป่า 2 แห่ง สวนรุกขชาติ 3 แห่ง วนอุทยาน 1 แห่ง สามารถจาแนกตามเขตการใช้ประโยชน์ทรัพยากร ที่ดินและป่าไม้ ได้แก่ เขตเพ่ือการอนุรักษ์เขตเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจเขตพ้ืนที่เหมาะสมแก่การเกษตร คิดเป็นรอ้ ยละ 58.59 และ 6.67 ของพืน้ ทปี่ ่าไม้ท้งั หมดตามลาดับ สภาพทว่ั ไปทางสังคม ลักษณะประชากร สภาพสังคมของจังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นสังคมดั้งเดิมประชากรส่วนใหญ่ประกอบ อาชีพเกษตรกรรม และมีพ้ืนเพหลักแหล่งท่ีเดิมมาก่อน มีภาษาพูดท้องถ่ิน ส่วนมากเป็นคนเชื้อชาติไทย สญั ชาตไิ ทย ประชากรท่ีอาศยั อยใู่ นเขตอาเภอเมืองเพชรบูรณ์ อาเภอหล่มสัก อาเภอหล่มเก่า และอาเภอน้าหนาว เป็นคนท้อง ถิ่นด้ังเดิม ส่วนประชากรในเขตอาเภอชนแดน อาเภอหนองไผ่ อาเภอบึงสามพัน อาเภอวิเชียรบุรี อาเภอศรีเทพ อาเภอวงั โป่ง และอาเภอเขาค้อ เป็นประชากรทอี่ พยพมาจากท้องที่อ่ืน

3 สภาพการปกครอง จงั หวดั เพชรบูรณม์ ีองค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นรวม 127 แห่ง ประกอบดว้ ย องคก์ ารบริหารส่วนจังหวดั 1 แหง่ , เทศบาลเมอื ง 3 แห่ง, เทศบาลตาบล 22 แห่ง และองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล 102 แห่ง เทศบาลเมือง ได้แก่ เทศบาลเมืองเพชรบรู ณ์ เทศบาลเมืองหล่มสัก และเทศบาลเมืองวิเชยี รบุรี ตารางที่ 1.1 ข้อมูลการแบ่งเขตการปกครองจังหวดั เพชรบูรณ์ ลาดับที่ อาเภอ จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน ตาบล หมบู่ า้ น เทศบาลเมือง เทศบาลตาบล อบต. 1 อาเภอเมอื งเพชรบรู ณ์ 2 อาเภอหล่มสัก 17 216 1 3 15 3 อาเภอหลม่ เกา่ 4 อาเภอน้าหนาว 23 251 1 1 19 5 อาเภอเขาค้อ 6 อาเภอชนแดน 9 98 - 19 7 อาเภอวังโป่ง 8 อาเภอหนองไผ่ 4 30 - -4 9 อาเภอบึงสามพัน 10 อาเภอวเิ ชยี รบุรี 7 72 - 14 11 อาเภอศรเี ทพ 9 139 - 48 รวม 5 64 - 25 13 142 - 69 9 123 - 19 14 189 1 1 14 7 106 - 26 1,43 3 22 102 117 0 ท่มี า : ที่ทาการปกครองจังหวดั เพชรบรู ณ์ (31 สงิ หาคม 2563)

4 ตารางท่ี 1.2 ข้อมูลประชากร บา้ น และความหนาแน่นของประชากรจังหวัดเพชรบูรณ์ ท่ี อาเภอ จานวนประชากร (คน) ครัวเรือน ความหนาแน่น ชาย หญงิ รวม ร้อยละ จานวน ร้อยละ (ตอ่ ตร.กม.) 1 อาเภอเมืองเพชรบรู ณ์ 104,84 105,79 210,64 21.1 76,506 22.9 92.35 6 7 3 7 9 2 อาเภอหล่มสัก 77,533 80,044 157,57 15.8 50,593 15.2 102.63 7 4 1 3 อาเภอหลม่ เก่า 32,930 34,046 66,976 6.73 19,185 5.77 72.24 4 อาเภอน้าหนาว 9,255 8,785 18,040 1.81 6,150 1.85 29.1 5 อาเภอเขาคอ้ 18,520 18,393 36,913 3.71 12,174 3.66 27.69 6 อาเภอชนแดน 40,025 39,774 79,799 8.02 28,795 8.65 70.18 7 อาเภอวงั โป่ง 18,549 18,873 37,422 3.76 11,137 3.35 68.92 8 อาเภอหนองไผ่ 56,189 56,560 112,74 11.3 35,076 10.5 82.89 9 3 4 9 อาเภอบงึ สามพนั 35,705 36,208 71,913 7.23 28,916 8.69 146.82 1 อาเภอวิเชยี รบรุ ี 65,340 67,173 132,51 13.3 41,959 12.6 81.2 0 3 2 1 1 อาเภอศรีเทพ 35,102 35,455 70,557 7.09 22,246 6.69 87.11 1 รวม 493,99 501,10 995,10 100 332,73 100 78.55 482 7 ทมี่ า : ท่ีทาการปกครองจังหวัดเพชรบรู ณ์ (31 สิงหาคม 2563)

5 ภาพที่ 1 แผนทจี่ ังหวัดเพชรบูรณ์

6 ภาพที่ 2 สานักงาน กศน.จงั หวดั เพชรบรู ณ์ ความเปน็ มาของสานักงาน กศน.จังหวดั เพชรบรู ณ์ วันที่ 28 สิงหาคม 2518 กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศจัดต้ังศูนย์การศึกษาประชาชนจังหวัด เพชรบูรณ์ โดยรวมห้องสมุดประชาชนจังหวัด โรงเรียนฝึกฝนอาชีพเคล่ือนที่ 22 โรงเรียนผู้ใหญ่เคลื่อนท่ี 32, 33, 34 และ 35 ให้อยู่ในสังกัดกองการศึกษาผู้ใหญ่ กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ โดยได้รับ งบประมาณเงนิ กจู้ ากธนาคารโลก โครงการพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน (คพน.) จานวน 10 ล้านบาท จัดสร้าง อาคารสานักงาน อาคารเรียนสายสามัญ สายอาชีพ พร้อมบ้านพัก และครุภัณฑ์ ยานพาหนะ ในเน้ือที่ 72 ไร่ เศษ ที่ถนนสามคั คชี ยั ตาบลในเมอื ง อาเภอเมอื งเพชรบรู ณ์ เม่ือวันที่ 23 มีนาคม 2523 กระทรวงศึกษาธิการ ได้จัดต้ังกรมการศึกษานอกโรงเรียนข้ึน จึงได้โอนกิจกรรมของกองการศึกษาผู้ใหญ่ กรมสามัญศึกษามาสังกัดกองส่งเสริมปฏิบัติการ กรมการศึกษานอก โรงเรียน และได้เปล่ียนชื่อศูนย์การศึกษาประชาชน มาเป็นศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดเพชรบูรณ์ โดยเป็นสถานศกึ ษาในราชการบรหิ ารส่วนกลาง ทม่ี าตง้ั ในส่วนภูมิภาค เม่ือวันที่ 27 กรกฎาคม 2546 ประกาศยุบกรมการศึกษานอกโรงเรียน ตาม พระราชบัญญัติ การศึกษา พ.ศ.2542 เป็นสานักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน ขึ้นตรงต่อสานักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2551 ประกาศให้สานักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียนปรับเปลี่ยน ภารกิจมาเป็นสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตามพระราชบัญญัติส่งเสริม การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั พ.ศ.2551 ปั จ จุ บั น ส านั กง าน ส่ ง เส ริ ม กา ร ศึ กษ าน อก ร ะ บ บ แล ะก าร ศึก ษา ตา มอั ธ ย าศั ย จั งห วัด เพ ช ร บู ร ณ์ หรือ สานักงาน กศน.จังหวัดเพชรบูรณ์ ต้ังอยู่ที่ 325 ถนนสามัคคีชัย ตาบลในเมือง อาเภอเมืองเพชรบูรณ์ จั ง ห วั ด เ พ ช ร บู ร ณ์ ร หั ส ไ ป ร ษ ณี ย์ 6 7 0 0 0 โ ท ร ศั พ ท์ 0 5 6 -7 2 1 5 3 2 , 0 5 6 -7 2 0 3 9 1 โทรสาร 056-721536

7 อานาจหนา้ ท่ีสานกั งาน กศน. จงั หวดั เพชรบูรณ์ สานักงานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจังหวัดเพชรบูรณ์ เรียกโดยย่อว่า สานักงาน กศน.จังหวัดเพชรบูรณ์ มีชื่อภาษาอังกฤษว่า Phetchabun Provincial Office of the Non – Formal and Informal Education อันเป็นผลสืบเนื่องจากมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.2551 เม่ือวันที่ 4 มีนาคม 2551 ทาให้มีการปรับเปล่ียนช่ือและ อานาจหนา้ ท่ีของศนู ย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดเพชรบรู ณ์ เป็นช่ือดังกลา่ วข้างตน้ และมอี านาจหนา้ ท่ี ดงั นี้ เป็นหน่วยงานธุรการของคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ภายในจงั หวัด รวมทงั้ มอี านาจหน้าท่ี ดังต่อไปน้ี 1. จดั ทายุทธศาสตร์ เปา้ หมายและแผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใน จังหวัดให้สอดคล้องกับนโยบาย มาตรฐานการศึกษา แผนการศึกษาชาติ แผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั และความตอ้ งการของทอ้ งถิน่ และชมุ ชน 2. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัยและรวบรวมขอ้ มูลสารสนเทศด้านการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั 3. วิเคราะห์ จัดต้ังจัดสรรเงินงบประมาณให้แก่สถานศึกษาและภาคีเครือข่ายที่จัดการศึกษานอก ระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 4. ประสาน ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของ สถานศกึ ษาและภาคีเครอื ขา่ ย 5. จัดระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษานอกระบบตามท่ีกฎหมายกาหนด 6. ส่งเสริม สนับสนุนการเทียบโอนผลการเรียนการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์และการ เทยี บระดบั การศึกษา 7. ส่งเสรมิ และพัฒนาหลักสตู ร สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษารว่ มกบั สถานศึกษาและ ภาคีเครอื ข่าย 8. ระดมทรัพยากรด้านต่างๆ รวมทั้งทรัพยากรบุคคลเพ่ือการมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสนับสนุน การจัดและพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 9. สง่ เสรมิ สนับสนนุ การวิจัย และพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 10. พัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยและภาคเี ครือขา่ ย 11. ส่งเสริมสนับสนุนติดตามและรายงานผลการดาเนินงานตามโ ครงการอันเน่ืองมา จากพระราชดาริ งานนโยบายพเิ ศษของรัฐบาลและงานเสรมิ สร้างความม่นั คงของชาติ 12. กากบั ดูแล นิเทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอธั ยาศยั ของสถานศึกษาและภาคีเครือข่าย 13. ปฏบิ ตั ิงานอ่ืน ๆ ตามท่ีไดร้ บั มอบหมาย การบรหิ ารและการจัดการ สานกั งาน กศน.จังหวัดเพชรบูรณ์ มีระบบการบริหารและการจัดการ เพื่อส่งเสริมสนับสนุน กากับ ดูแลและนิเทศติดตามผลการดาเนินงานของสถานศึกษาในสังกัด ทั้ง 11 แห่ง ให้สถานศึกษาทาหน้าท่ีส่งเสริม สนับสนุน ประสานงาน และจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยร่วมกับภาคีเครือข่ายในระดับ พ้นื ที่ ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ โดยมโี ครงสร้างการบริหาร และหน่วยงานในสังกัดสถานศึกษา

8 พน้ื ท่เี ขตรับผดิ ชอบ สานกั งาน กศน.เพชรบรู ณ์ รบั ผดิ ชอบพ้นื ท่ี 11 อาเภอ 117 ตาบล 1,430 หมบู่ ้าน 1 อบจ. 22 เทศบาลตาบล 3 เทศบาลเมือง 102 อบต. โดยมี กศน.อาเภอ แต่ละอาเภอรับผิดชอบทาหน้าที่ส่งเสริม สนับสนุน ประสานงาน และจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยร่วมกับภาคีเครือข่ายในระดับ พ้ืนท่ี มีศูนย์การเรียนชุมชนกระจายในตาบล จานวน 117 แห่ง เพื่อเป็นสถานท่ีพบกลุ่ม และจัดการเรียนรู้ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาอัธยาศยั บุคลากร ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สานกั งาน กศน.จงั หวดั เพชรบรู ณ์ มีบุคลากร ท่ีเปน็ ขา้ ราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา จานวน 28 คน พนกั งานราชการ จานวน 164 คน และลกู จา้ งประจา จานวน 1 คน ลูกจา้ งช่วั คราว 69 คน รวมทั้งส้ิน 262 คน งบประมาณ สานักงาน กศน.จังหวัดเพชรบูรณ์ ได้รับงบประมาณเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย แบ่งเป็นงบบุคลากรในส่วนเงินเดือนข้าราชการ ลูกจ้างประจา และ พนักงานราชการ งบลงทุน จะได้รับจัดสรรเป็นรายปี เพ่ือเป็นค่าครุภัณฑ์ และซ่อมแซม ปรับปรุงสิ่งก่อสร้าง ซ่ึงทางสานักงาน กศน.จะเป็นผู้พิจารณาจัดสรรในส่วนงบดาเนินงาน จะได้รับจัดสรรตาม จานวนกลุม่ เป้าหมาย โดยสานักงาน กศน. จะใช้ฐานปงี บประมาณกอ่ นในการจัดสรรทาให้ไม่สามารถเพ่ิมจานวน งบประมาณ แต่ปรับลดในจานวนกลุ่มเป้าหมาย และงบอุดหนุนได้รับการจัดสรรตามค่าใช้จ่ายรายหัวตามเลข บัตรประจาตัวประชาชน 13 หลัก ของนักศึกษาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานนอกระบบ เพ่ือเป็นค่าใช้จ่ายใน การดาเนินการจัดกจิ กรรม และคา่ ตอบแทนครปู ระจาศนู ยก์ ารเรียนชมุ ชน และ ครูประจากลุ่ม

ผูอ้ านวยการ สา รองผู้อานวยก จ กลุ่มอานวยการ กลุ่มยุทธศาสตร์ กล่มุ ส่งเสรมิ กลุม่ ส่งเส และการพัฒนา การศกึ ษานอกระบบ การศึกษาตาม 1.งานบรหิ ารงานท่ัวไป 1.งานยุทธศาสตร์และแผนงาน 1.งานการศึกษาพน้ื ฐาน 1.งานสง่ เสริมพัฒ - งานธรุ การ/สารบรรณ - งานวเิ คราะห์และพฒั นานโยบาย - งานสง่ เสรมิ การศกึ ษาพนื้ ฐาน แหล่งเรียนรู้ - งานอาคารสถานที่ การศกึ ษา - งานสง่ เสรมิ การพัฒนาครู - งานสง่ เสรมิ และ - งานยานพาหนะ - งานจดั ทาแผนพฒั นาและ - งานสง่ เสรมิ การศึกษาพน้ื ฐาน - งานจัดระบบบรหิ าร แผนปฏิบตั ิการฯ ร่วมกบั ภาคเี ครอื ขา่ ย แหล่งเรียนรู้ และพฒั นาองค์กร - งานติดตาม ประเมนิ ผลและ - งานสง่ เสรมิ การรู้หนังสอื และภมู ิปญั ญาท 2. งานบรหิ ารงานบุคคล รายงานผลการดาเนินงานตาม - งานส่งเสรมิ การจัดการศกึ ษา - งานสง่ เสรมิ และ - งานวางแผนอัตรากาลงั นโยบาย พืน้ ฐานทกุ กล่มุ เปา้ หมาย ห้องสมดุ ประชา และกาหนดตาแหน่ง 2. งานขอ้ มูลสารสนเทศ 2.งานการศึกษาต่อเน่ือง - งานส่งเสรมิ ศนู ย - งานสรรหา/บรรจแุ ต่งตง้ั - งานสง่ เสรมิ การศกึ ษาเพอื่ พฒั นา เรียนรู้ชุมชน - งานบาเหนจ็ ความชอบ และรายงาน อาชีพ 2. งานสง่ เสริมนทิ และทะเบียนประวตั ิ - งานข้อมูลสารสนเทศ - งานส่งเสรมิ การศกึ ษาเพ่ือพฒั นา และเผยแพร่ - งานพฒั นาบคุ ลากร - งานพัฒนาระบบเทคโนโลยี ทกั ษะชวี ติ - งานสง่ เสรมิ นทิ ร - งานวนิ ยั และนติ ิกร สารสนเทศ - งานส่งเสรมิ การศึกษาเพ่ือพัฒนา และเผยแพร่ 3. งานบริหารการเงินและ - งานสประสานเครอื ขา่ ย สังคมและชุมชน - งานสง่ เสรมิ นทิ ร เทคโนโลยี - งานส่งเสรมิ การจดั กระบวนการ สินทรัพย์ สารสนเทศและการสอื่ สาร (ICT) เรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ - งานบริหารการเงนิ 3. งานงบประมาณและระดม 3.งานสง่ เสรมิ การเทยี บโอน/เทียบ - งานบริหารบญั ชี ทรพั ยากร ระดบั การศึกษา - งานบริหารพสั ดุและสนิ ทรพั ย์ - งานบริหารงบประมาณ - งานสง่ เสรมิ การเทยี บโอนผล 4.กลมุ่ งานประชาสมั พันธ์ - งานระดมทรพั ยากร การศึกษา เทยี บระดับการศึกษา - งานการสร้างเครอื ข่าย 4. งานส่งเสริมการพฒั นา - งานศนู ย์ทะเบยี นนกั ศกึ ษา การประชาสมั พันธ์ ยุทธศาสตร์

านกั งาน กศน.จังหวดั 9 การ สานกั งาน กศน. คณะกรรมการสานักงาน กศน.จังหวัด จงั หวดั สรมิ กลุ่มภาคีเครือขา่ ย กลุ่มนิเทศตดิ ตาม กลมุ่ ตรวจสอบ มอธั ยาศัย และกจิ การพเิ ศษ และประเมนิ ผล ภายใน ฒนา 1.งานส่งเสริมภาคเี ครือขา่ ย 1. งานนเิ ทศตดิ ตามและพฒั นาระบบ 1.งานตรวจสอบการเงนิ - งานแสวงหาและจดั ทาขอ้ มูล บรหิ ารและกระบวนการเรยี นรู้ และการบญั ชี ะพฒั นา ภาคีเครอื ขา่ ย - งานนิเทศการศกึ ษา - งานประสานและสนบั สนุน - งานตืดตามและประเมินผลระบบบริหาร - การสอบทาน/ประเมนิ ความ ท้องถน่ิ ความรว่ มมือ และจดั การเรยี นรู้ เพยี งพอของระบบการควบคมุ ะพฒั นา - งานจัดสรรทรพั ยากร - งานพฒั นาทรัพยากรบคุ คลและภาคี ภายใน าชน และสทิ ธิประโยชน์ เครอื ข่าย - การตรวจสอบการปฏิบตั ิตาม ยก์ าร - งานจัดและพฒั นากิจกรรม - งานพฒั นาการเรยี นรู้ กฎระเบียบ ภาคีเครอื ขา่ ย 2. งานสง่ เสริมและพฒั นาระบบการ - การตรวจสอบความถกู ตอ้ ง ทรรศการ 2. งานกจิ การพิเศษ ประกันคุรภาพการศกึ ษา - การตรวจสอบการดแู ลรกั ษา - งานสนับสนนุ โครงการ - งานสง่ เสริมระบบประกนั คุณภาพภายใน ทรัพสิน รรศการ อนั เนอื่ งมาจากพระราชดาริ สถานศึกษา - การรายงานผลการตรวจสอบ - งานส่งเสรมิ กจิ การลูกเสอี - งานตรวจสอบครุ ภาพภายในสถานศกึ ษา - การตดิ ตามผลการตรวจสอบ รรศการ และยวุ กาชาด - งานส่งเสริมและประสานงานการประเมิน - การให้คาปรกึ ษาแนะนา - งานสง่ เสรมิ กจิ การเพอ่ื ความ คณุ ภาพการศกึ ษา 2. งานตรวจสอบการดาเนนิ การ มัน่ คงของชาติ - งานวิจัยและพฒั นาระบบการประกนั - การประเมินความเส่ยี งของงาน - งานส่งเสรมิ สนับสนนุ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา - การศึกษาขอ้ มลู ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง นโยบายเร่งดว่ นของรฐั บาล/ 3. งานวัดผลและประเมนิ ผลการศึกษา - การวางแผนการตรวจสอบ - งานส่งเสรมิ การวัดผลและประเมินผล - การปฏิบัติงานตรวจสอบ การศกึ ษา - งานพฒั นาและใหบ้ รกิ ารเครือ่ งมอื วัดผล และประเมินผลการศกึ ษา - งานนิเทศ ติดตามการวัดผลและ ประเมนิ ผลการศึกษา - งานทดสอบทางการศึกษา 4. งานสง่ เสรมิ และพัฒนาหลักสตู ร สือ่ นวตั กรรมและเทคโนดลยที างการศึกษา

10 โครงสรา้ งการบรหิ าร สานกั งาน กศน.จงั หวัดเพชรบูรณ์ กลมุ่ โซนลกู พ่อขนุ ผาเมือง กลุม่ โซนศิษย์หลวงพ่อทบ กลุ่มโซนลูกพระนเรศวรมหาราช กศน.อาเภอ ห้องสมดุ ประชาชน กศน.อาเภอ หอ้ งสมุดประชาชน กศน.อาเภอ หอ้ งสมุดประชาชน หล่มสกั อาเภอหลม่ สัก เมือง จังหวัด หนองไผ่ อาเภอหนองไผ่ กศน.อาเภอ กศน.ตาบล 23 กศน.อาเภอ หอ้ งสมดุ ประชาชน กศน.อาเภอ กศน.ตาบล 13 หลม่ เก่า แห่ง ชนแดน เฉลมิ ราชกมุ ารี บงึ สามพนั แห่ง กศน.อาเภอ ห้องสมดุ ประชาชน กศน.อาเภอ กศน.ตาบล 17 ห้องสมุดประชาชน เขาคอ้ อาเภอหลม่ เก่า วงั โปง่ แหง่ อาเภอบึงสามพัน กศน.อาเภอ กศน.ตาบล 9 แหง่ หอ้ งสมดุ ประชาชน กศน.ตาบล 9 แห่ง นา้ หนาว อาเภอชนแดน ห้องสมุดประชาชน ห้องสมุดประชาชน อาเภอเขาคอ้ กศน.ตาบล 9 แหง่ อาเภอวิเชียรบรุ ี กศน.ตาบล 7 แหง่ หอ้ งสมุดประชาชน กศน.อาเภอ กศน.ตาบล 14 กศนอ.าตเาภบอลวงั 5โปแ่งห่ง วเิ ชียรบุรี แหง่ หอ้ งสมุดประชาชน อาเภอน้าหนาว กศน.อาเภอ หอ้ งสมุดประชาชน กศน.ตาบล 4 แหง่ ศรีเทพ อาเภอศรเี ทพ กศน.ตาบล 7 แห่ง

ทาเนียบผู้บริหารการศึกษา สานักงาน กศน.จงั หวดั เพชรบูรณ์ 11 ลาดับที่ ชื่อ – นามสกุล ปีทดี่ ารงตาแหน่ง 1 นายพิสัณห์ ปิ่นมาศ พ.ศ. 2522 - 2528 2 นายโฆษิต โฆษณสันติ พ.ศ. 2528 - 2530 3 นายบญุ ถน่ิ โยธะไชยสาร พ.ศ. 2530 –2531 4 นายประกิต วิเศษพาณิชย์ พ.ศ. 2531 – 2533 5 นายไพโรจน์ พาเจริญ พ.ศ. 2533 – 2536 6 นายศิลปชยั ดวงแก้ว พ.ศ. 2536 – 2539 7 นายประสทิ ธ์ิ อุดมโภชน์ พ.ศ. 2539 – 2540 8 นายสชุ ัย อมรางกูร พ.ศ. 2540 – 2542 9 นายทวีศกั ดิ์ สีหราช พ.ศ. 2542 – 2545 10 นายวชิ ยั โล้วิเลิศ พ.ศ. 2545 – 2548 11 นายวรินทร์ วริ ณุ พันธ์ พ.ศ. 2548 – 2549 12 นายวิชยั โลว้ ิเลศิ พ.ศ. 2549 – 2550 13 นายนรา เหล่าวิชยา พ.ศ. 2551 – 2552 14 นายอธญิ ณัฏฐ์ ธนะแพทย์ พ.ศ. 2553 – 2554 15 นายชาย มะลลิ า พ.ศ. 2554 – 2560 16 นายราเชนทร์ บรู ณศาสตร์ พ.ศ. 2560 - 2562 17 นายภัทร ภัทรกุลบดินทร์ พ.ศ. 2562 – 2563 18 นางชนกพร จุฑาสงฆ์ พ.ศ. 2563 - ปัจจบุ ัน

12 ทาเนียบผู้บริหารสถานศกึ ษา กศน.อาเภอ ตาแหน่ง ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมอื งเพชรบรู ณ์ ลาดบั ที่ ชือ่ – นามสกลุ ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอหล่มสกั 1 นายอนุชา วจิ ติ รศิลป์ ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอหลม่ เก่า 2 นายวรี ะพล กลัน่ ตา ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอเขาคอ้ 3 นายประภาส โปแ้ ล ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอวเิ ชยี รบุรี 4- ผู้อานวยการ กศน.อาเภอชนแดน 5 ว่าท่ี ร.ต.ประจวบ เจนชยั ผู้อานวยการ กศน.อาเภอศรเี ทพ 6 นายสมประสงค์ น้อยจันทร์ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอหนองไผ่ 7 นางอานวย กิจนยั ผู้อานวยการ กศน.อาเภอวงั โปง่ 8 นางมาลี เพง็ ดี ผู้อานวยการ กศน.อาเภอนา้ หนาว 9 นายเกรียงไกร วงศ์วริ ิยชาติ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอบงึ สามพัน 10 - 11 นางสุกญั ญา กาโกน ขอ้ มลู บคุ ลากร ลาดับที่ ประเภท/ตาแหน่ง จานวน (คน) 1 ผบู้ ริหารการศึกษา 2 2 ผบู้ ริหารสถานศึกษา 9 3 ข้าราชการ - ศกึ ษานเิ ทศก์ 2 - ครู 9 - บรรณารกั ษ์ 6 4 พนักงานราชการ - พนักงานราชการท่วั ไป 17 - ครู อาสาสมคั ร กศน. 30 - ครู กศน.ตาบล 117 5 ลกู จา้ งประจา 1 6 ลกู จา้ งช่วั คราว (ครู ศรช.) 38 7 ลูกจา้ งเหมาบริการ 31 รวม 262

13 สถานศึกษาในสังกดั สานักงาน กศน.จังหวัดเพชรบูรณ์ ที่ สถานศึกษา กศน.ตาบล (แหง่ ) โทรศัพท์ โทรสาร 1 กศน.อาเภอเมืองเพชรบรู ณ์ 17 056-721-110 056-721-110 2 กศน.อาเภอหลม่ สกั 23 056-701-661 056-701-661 3 กศน.อาเภอหลม่ เก่า 9 056-709-237 056-709-237 4 กศน.อาเภอเขาคอ้ 7 056-728-191 056-728-191 5 กศน.อาเภอนา้ หนาว 4 056-779-121 056-779-026 6 กศน.อาเภอชนแดน 9 056-761-667 056-761-667 7 กศน.อาเภอวงั โป่ง 5 056-758-238 056-758-238 8 กศน.อาเภอหนองไผ่ 13 056-781-117 056-781-846 9 กศน.อาเภอบงึ สามพัน 9 056-731-390 056-732-391 1 0 กศน.อาเภอวิเชยี รบรุ ี 14 056-791-498 056-791-498 1 1 กศน.อาเภอศรีเทพ 7 056-755-097 056-799-032 117 รวม ห้องสมดุ ประชาชน ลาดับที่ ชอื่ หอ้ งสมุดประชาชน โทรศัพท์ 1 หอ้ งสมุดประชาชนจงั หวดั เพชรบูรณ์ 056-723-038 2 ห้องสมุดประชาชน \"เฉลิมราชกมุ ารี\" อาเภอเมืองเพชรบูรณ์ 056-725-092- 4 3 ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอชนแดน 056-761-667 4 ห้องสมุดประชาชนอาเภอหล่มสัก 056-701-950 5 ห้องสมุดประชาชนอาเภอหล่มเกา่ 056-709-237 6 ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอวิเชียรบรุ ี 056-791-498 7 หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอศรีเทพ 056-755-097 8 ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอหนองไผ่ 056-711-876 9 ห้องสมุดประชาชนอาเภอบึงสามพนั 056-732-391 10 ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอน้าหนาว 056-779-121 11 หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอวังโป่ง 056-758-238 12 ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอเขาค้อ 056-728-112

14 บ้านหนังสือชุมชน ลาดับท่ี อาเภอ หมู่บ้าน สนับสนนุ หนังสือพิมพ์และนิตยสาร จานวน (แหง่ ) จานวน (แห่ง) 1 อาเภอเมืองเพชรบรู ณ์ อปท. ผู้มจี ิตศรัทธา อื่นๆ รวม 2 อาเภอชนแดน 216 3 อาเภอหลม่ สกั 139 13 - - 13 4 อาเภอหลม่ เกา่ 251 5 อาเภอวิเชียรบุรี 98 27 - 9 6 อาเภอศรเี ทพ 189 7 อาเภอหนองไผ่ 106 - 22 - 22 8 อาเภอบึงสามพนั 142 9 อาเภอนา้ หนาว 123 -8-8 10 อาเภอวงั โปง่ 30 11 อาเภอเขาค้อ 64 - 12 - 12 72 รวม 1,430 -8-8 6 20 - 26 36 - 9 6 4 - 10 -5-5 25 - 7 32 97 - 129

15 จานวนนกั ศึกษาท่ลี งทะเบียน ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 (จาแนกตามระดบั การศกึ ษา/เพศ) จานวนนกั ศึกษาจาแนกตามระดับการศึกษา ปีการศึกษา 1/2563 ท่ี อาเภอ ประถม มัธยมต้น มัธยมปลาย ปวช. รวม ชาย หญิง อื่นๆ ชาย หญิง อ่ืนๆ ชาย หญิง อ่นื ๆ ชาย หญิง อน่ื ๆ 1 อาเภอเมอื งเพชรบรู ณ์ 49 19 607 143 1 958 298 1,256 2 อาเภอชนแดน - 47 179 148 203 3 255 255 5 515 3 อาเภอหล่มสกั - 52 64 1 421 246 1 581 436 1 1,018 4 อาเภอหลม่ เก่า - 16 22 2 222 102 245 171 416 5 อาเภอวเิ ชียรบุรี - 83 259 152 102 198 301 499 6 อาเภอศรเี ทพ - 8 6 147 144 173 175 1 349 7 อาเภอหนองไผ่ - 27 85 346 282 3 433 456 889 8 อาเภอบงึ สามพัน 27 162 124 132 1 175 204 379 9 อาเภอนา้ หนาว 47 49 43 46 46 92 10 อาเภอวังโป่ง 18 116 123 69 2 159 154 1 314 11 อาเภอเขาค้อ 8 27 68 60 2 153 115 1 269 รวม 339 945 3 2,407 1,708 13 3,376 2,611 9 11,411 ที่มา: ระบบฐานขอ้ มูลและโปรแกรมเพอื่ การบริหารจัดการ /NFE-MIS/ 31 สิงหาคม 2563

16 สภาพแวดล้อมของหนว่ ยงาน (SWOT) ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกของสานกั งาน กศน.จังหวดั เพชรบรู ณ์ จุดแข็ง 1. ให้บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยแก่ประชาชนได้อย่างท่ัวถึง อาทิ กศน.อาเภอ กศน.ตาบล แหลง่ เรียนรู้ชมุ ชน ห้องสมุดประชาชน 2. มีศูนยก์ ลางเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการ บริหารจดั การ ที่สามารถใหบ้ ริการหนว่ ยงาน/สถานศกึ ษา ผ้รู ับบริการและประชาชนไดอ้ ย่างทวั่ ถึง 3. เป็นศูนย์กลางจัดประสานการกาหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนและงบประมาณ ติดตาม และประเมนิ ผลของสานักงาน กศน. ท่ีเข้มแขง็ สามารถใชเ้ ปน็ เคร่อื งมือในการบริหารได้อยา่ งมเี อกภาพ 4. มีศูนย์กลางในการบริหารงานบุคคล และส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา และเครือขา่ ยท่ีมปี ระสทิ ธิภาพ 5. มกี ารประสานงานเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการดาเนินงานการศึกษานอก ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย 6. มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพ่ือกระตุ้นให้สถานศึกษาพัฒนาการศึกษาอย่างต่อเนื่อง เป็นไปตามมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 7. มีรูปแบบการให้บริการส่ือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาท่ีหลากหลาย สามารถ ให้บริการที่ตอบสนองความต้องการของกล่มุ เปา้ หมายไดอ้ ยา่ งทั่วถงึ 8. มีระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์เพื่อการศกึ ษาเป็นการเฉพาะตามโครงการ MOENet 9. มรี ะบบฐานขอ้ มลู เพอ่ื การบริหารจดั การเป็นระบบเดยี วกันท่ัวประเทศ จุดออ่ น 1. บุคลากร มีการโยกย้ายและปรับเปล่ียนหน้าที่รับผิดชอบทาให้ขาดความต่อเนื่องและความ ชานาญในการปฏิบตั ิงาน 2. บุคลากรขาดความรู้ ทักษะ และความเอาใจใส่ในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหาร และจดั การศกึ ษา 3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับขั้นพ้ืนฐาน อยูใ่ นเกณฑต์ ่า 4. การจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานยังไม่เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 5. การนิเทศติดตามผลการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในระดับพื้นท่ี ยงั ขาดความตอ่ เนอ่ื งและไม่ครอบคลุมทุกพน้ื ที่ 6. หน่วยงานและสถานศึกษา มีครุภัณฑ์ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ไม่ครอบคลุมทุกพื้นท่ี ทาให้มจี านวนไมเ่ พียงพอต่อการจัดการเรยี นการสอนให้กับกลุ่มเป้าหมาย 7. บุคลากรบางส่วนยังขาดความรู้ ทักษะ และความเอาใจใส่ในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการบริหารและจดั การศึกษา โอกาส 1. กฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ กาหนดให้บุคคลมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษา 12 ปี โดยไม่เสยี คา่ ใช้จา่ ย 2. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 เน้นทิศทางในการพัฒนาคนให้มีคุณธรรม นาความรู้ โดยกาหนดเป้าหมายทจี่ ะเพิม่ จานวนปกี ารศึกษาเฉล่ียของคนไทยเปน็ 15 ปี

17 3. ประชาชนตระหนักและเห็นความสาคัญของการศึกษาในการนาไปใช้ในการพัฒนาอาชีพ และพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ของตน 4. ภาคส่วนต่างๆของสังคม มีความต่ืนตัวและเข้ามามีส่วนร่วมมากย่ิงขึ้นในการกาหนดทิศทาง และพฒั นาการศกึ ษา 5. ความเจริญก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทาให้เอื้อต่อการบริหารจัดการ และการจัดการเรียนการสอน และเป็นช่องทางให้ประชาชน และผู้เรียนแสวงหาความรู้ได้ตามนโยบายประเทศ ไทย 4.0 อปุ สรรค 1. การประกาศใช้และปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิรูปการศึกษายังมีความล่าช้าไม่ทัน กบั การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างการบริหาร 2. ค่าครองชีพในปัจจุบันสูงข้ึน ทาให้ผู้เรียนต้องให้ความสาคัญกับการประกอบอาชีพ เพอื่ รับภาระคา่ ใชจ้ ่ายที่สูงข้ึน จงึ ไม่สามารถมาเรียนและทากิจกรรมต่างๆ ครบตามท่หี ลกั สตู รกาหนดไว้

18 สว่ นที่ 2 ทศิ ทางของสานกั งาน กศน.จงั หวัดเพชรบรู ณ์ สานักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จงั หวดั เพชรบรู ณ์ ได้จัดทาแผนปฏิบัตกิ าร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2563 โดยมสี าระสาคญั ดังตอ่ ไปน้ี ปรชั ญา “ปรัชญาของเศรฐกจิ พอเพยี ง และ ปรัชญาคิดเปน็ ” วสิ ยั ทศั น์ “กศน.เพชรบรู ณ์ รว่ มสร้างสงั คมแหง่ การเรยี นรูต้ ลอดชีวิต สามารถดารงชีวติ ทเี่ หมาะสมกบั ชว่ งวยั สอดคลอ้ ง กบั หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงและมที ักษะที่จาเปน็ ในโลกศตวรรษท่ี 21” อัตลกั ษณ์ ใฝ่เรียนรู้ ค่คู ุณธรรม ดาเนินชีวิตแบบพอเพยี ง พนั ธกจิ 1. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ เพ่ือยกระดับ การศึกษาพัฒนาทักษะการเรียนรู้ของประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมายให้เหมาะสมทุกช่วงวัย และพร้อมรับ การเปลีย่ นแปลงบริบททางสงั คม และสร้างสงั คมแห่งการเรียนรตู้ ลอดชวี ิต 2. ส่งเสรมิ สนับสนนุ และประสานการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายและชุมชน ในการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิตของชุมชน รวมทั้งการดาเนิน กิจกรรมของศนู ยก์ ารเรยี น และแหล่งการเรียนรใู้ นรูปแบบต่างๆ 3. ส่งเสริมและพัฒนาการนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาใช้ให้เกิดประสิทธิภาพในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้กับประชาชนอย่าง ทว่ั ถึง 4. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เทคโนโลยี ส่ือและนวัตกรรม การวัด และประเมินผลในทุกรปู แบบให้สอดคลอ้ งกบั บริบทในปัจจบุ นั 5. พัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ เพ่ือมุ่งจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ โดยยดึ หลกั ธรรมาภิบาลและการมสี ่วนรว่ ม เปา้ ประสงค์ 1. ประชาชนผูดอย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมท้ังประชาชนทั่วไปไดรับโอกาสทาง การศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน การศึกษาตอเนื่อง และการศึกษาตาม อัธยาศัย ท่ีมีคุณภาพอยางเทาเทียมและท่ัวถึง เปนไปตามสภาพ ปญหาและความตองการของแตละ กลุมเปาหมาย 2. ประชาชนไดรับการยกระดับการศึกษา สรางเสริมและปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม ความเปน พลเมืองท่ีสอดคลองกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอันนาไปสูการยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริม สราความเขมแข็งใหชุมชน เพ่ือพัฒนาไปสูความมั่นคงและยั่งยืนทางดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ประวตั ิศาสตร และส่งิ แวดลอม

19 3. ประชาชนไดรับโอกาสในการเรียนรูและมีเจตคติทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่เหมาะสม สามารถคิดวิเคราะห และประยุกตใชในชีวิตประจาวัน รวมท้ังแกปญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิตไดอยาง สรางสรรค 4.ประชาชนไดรับการสรางและสงเสรมิ ใหมนี สิ ัยรกั การอานเพือ่ พฒั นาการแสวงหาความรูดวยตนเอง 5. ชมุ ชนและภาคีเครือขายทกุ ภาคสวน มสี วนรวมในการจัด สงเสริม และสนบั สนุนการศกึ ษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั รวมทงั้ การขบั เคลื่อนกจิ กรรมการเรียนรูของชุมชน 6. หนวยงานและสถานศกึ ษา กศน. สามารถนาเทคโนโลยีทางการศกึ ษา และเทคโนโลยดี จิ ิทลั มาใชในการยกระดบั คณุ ภาพในการจดั การเรยี นรูและเพมิ่ โอกาสการเรยี นรูใหกับประชาชน 7. หนวยงานและสถานศึกษาพัฒนาส่ือ นวัตกรรม และการจัดกระบวนการเรียนรูเพ่ือแกปญหา และ พัฒนาคุณภาพชีวิต ท่ีตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงบริบทด านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ประวัตศิ าสตร และสง่ิ แวดลอม รวมทัง้ ตามความตองการของประชาชนและชุมชนในรปู แบบที่หลากหลาย 8. หนวยงานและสถานศึกษามีระบบการบริหารจัดการองคกรที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ และเป นไป ตามหลกั ธรรมาภิบาล 9. บุคลากร กศน.ทุกประเภททุกระดับไดรับการพัฒนาเพ่ือเพ่ิมสมรรถนะในการปฏิบัติงาน การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั และการปฏบิ ตั งิ านตามสายงานอยางมีประสทิ ธภิ าพ ตัวช้ีวดั ตัวช้วี ัดเชงิ ปริมาณ 1.จานวนผูเรยี นการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานท่ีไดรับการสนบั สนุนคาใชจายตาม สทิ ธทิ ีก่ าหนดไว 2. จานวนของคนไทยกลุมเปาหมายตางๆ ที่เขารวมกิจกรรมการเรียนรู ไดรับบริการกิจกรรม การศึกษาตอเนื่อง และการศกึ ษาตามอธั ยาศัยท่ีสอดคลองกับสภาพ ปญหา และความตองการ 3. รอยละของกาลงั แรงงานทีส่ าเรจ็ การศกึ ษาระดับมัธยมศึกษาตอนตนข้ึนไป 4. จานวนภาคเี ครอื ขายทีเ่ ขามามสี วนรวมในการจดั /พฒั นา/สงเสริมการศึกษา (ภาคีเครือขาย : สถานประกอบการ องคกร หนวยงานทม่ี ารวมจัด/พัฒนา/สงเสริมการศึกษา) 5. จานวนผูรบั บรกิ ารในพนื้ ท่ีเปาหมายไดรับการสงเสริมดานการรหู นังสอื และการพัฒนาทักษะชวี ติ 6. จานวนนักเรยี น/นักศกึ ษาท่ีไดรบั บรกิ ารติวเขมเต็มความรู 7. จานวนประชาชนทไี่ ดรบั การฝกอาชีพระยะสัน้ สามารถสรางหรอื พัฒนาอาชพี เพอื่ สรางรายได 8. จานวน ครู กศน. ตาบล จากพื้นท่ี กศน.ภาค ไดรบั การพัฒนาศกั ยภาพดานการจัดการเรียน การสอนภาษาอังกฤษเพือ่ การส่อื สาร 9. จานวนประชาชนทไ่ี ดรับการฝกอบรมภาษาตางประเทศเพ่ือการสื่อสารดานอาชพี 10. จานวนผูผานการอบรมหลักสูตรการดูแลผูสงู อายุ 11. จานวนประชาชนท่ีผานการอบรมจากศูนยดิจทิ ลั ชุมชน 12. จานวนหลักสูตรหรือส่ือออนไลนที่ใหบริการกับประชาชน ท้ังการศึกษานอกระบบระดับ การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน การศึกษาตอเนอื่ ง และการศกึ ษาตามอัธยาศัย

20 ตวั ชีว้ ัดเชงิ คุณภาพ 1. รอยละของคะแนนเฉล่ยี ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ การศกึ ษานอกระบบ (N-NET) ทุกรายวชิ าทกุ ระดบั 2. รอยละของผูเรยี นทไี่ ดรับการสนับสนนุ การจดั การศึกษาขัน้ พ้ืนฐานเทยี บกบั คาเปาหมาย 3. รอยละของประชาชนกลุมเปาหมายที่ลงทะเบียนเรียนในทุกหลักสูตร/กิจกรรมการศึกษาต อเน่อื ง เทียบกบั เปาหมาย 4. รอยละของผูผานการฝกอบรม/พัฒนาทกั ษะอาชพี ระยะสัน้ สามารถนาความรูไปใชในการ ประกอบอาชพี หรือพฒั นางานได 5. รอยละของผูเรียนในเขตพื้นท่จี ังหวดั ชายแดนภาคใตทีไ่ ดรับการพฒั นาศกั ยภาพ หรอื ทกั ษะ ดานอาชีพ สามารถมีงานทาหรือนาไปประกอบอาชพี ได 6. รอยละของผูจบหลักสูตร/กจิ กรรมที่สามารถนาความรูความเขาใจไปใชไดตามจดุ มุงหมาย ของหลกั สูตร/กิจกรรม การศึกษาตอเน่อื ง 7. รอยละของประชาชนทไ่ี ดรบั บริการมคี วามพึงพอใจตอการบรกิ าร/เขารวมกิจกรรมการเรยี นรู การศกึ ษาตามอธั ยาศยั 8. รอยละของประชาชนกลุมเปาหมายที่ไดรับบริการ/เขารวมกิจกรรมที่มีความรูความเขาใจ/ เจตคต/ิ ทกั ษะ ตามจุดมงุ หมายของกิจกรรมที่กาหนด ของการศึกษาตามอธั ยาศยั 9. รอยละของผูสงู อายุท่เี ปนกลุมเปาหมาย มีโอกาสมาเขารวมกิจกรรมการศึกษาตลอดชวี ิต

21 จดุ เน้นการดาเนินงาน กศน. ตามยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาประเทศ 6 ด้าน 1. ยทุ ธศาสตรดานความมั่นคง 1.1 พฒั นาและเสรมิ สรางความจงรักภกั ดตี อสถาบนั หลกั ของชาตพิ รอมทั้งนอมนาและเผยแพร ศาสตรพระราชา หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง รวมถงึ แนวทางพระราชดาริตาง ๆ 1.2 เสรมิ สรางความรูความเขาใจ และการมสี วนรวมอยางถูกตองกับการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ในบริบทของไทย มีความเปนพลเมืองดี ยอมรับและ เคารพความหลากหลายทางความคดิ และอดุ มการณ 1.3 สงเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาเพื่อปองกนั และแกไขปญหาภัยคกุ คามในรูปแบบใหม ทงั้ ยาเสพติด การคามนษุ ย ภยั จากไซเบอร ภัยพบิ ตั จิ ากธรรมชาติ โรคอบุ ตั ใิ หม ฯลฯ 1.4 สรางความรู ความเขาใจในขนบธรรมเนยี ม ประเพณี วัฒนธรรมของประเทศเพอื่ นบาน กลุมชาติพันธุ และชาวตางชาตทิ ่ีมีความหลากหลาย 2. ยุทธศาสตรดานการสรางความสามารถในการแขงขนั 2.1 ยกระดบั การจัดการศกึ ษาอาชพี กศน. เพอื่ พัฒนาทกั ษะอาชีพของประชาชนใหรองรบั อุตสาหกรรมเปาหมายของประเทศ (First S - curve และ New S - curve) โดยเฉพาะในพื้นที่เขตระเบียง เศรษฐกิจ และเขตพัฒนาพเิ ศษตามภมู ิภาคตาง ๆ ของประเทศ สาหรบั พน้ื ทป่ี กตใิ หพฒั นาอาชพี ท่ีเนน การตอยอดศกั ยภาพและตามบริบทของพนื้ ท่ี 2.2 จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาพื้นที่ภาคตะวันออก ยกระดับการศึกษาให กับประชาชนใหจบ การศึกษาอยางนอยการศึกษาภาคบังคับ สามารถนาคุณวุฒิท่ีไดรับไปตอยอดในการประกอบอาชีพ รองรับ การพัฒนาเขตพื้นทีร่ ะเบียบเศรษฐกิจภาคตะวนั ออก (EEC) 2.3 พัฒนาและสงเสริมประชาชนเพ่อื ตอยอดการผลติ และจาหนายสนิ คาและผลติ ภณั ฑ กศน. ออนไลนพรอมทัง้ ประสานความรวมมอื กบั ภาคเอกชนในการเพมิ่ ชองทางการจาหนายสนิ คาและผลิตภัณฑ ใหกวางขวางยง่ิ ขึ้น 3. ยทุ ธศาสตรดานการพฒั นาและเสริมสรางศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย 3.1 สรรหา และพฒั นาครูและบุคลากรทีเ่ กย่ี วของกบั การจดั กจิ กรรมและการเรยี นรูเปนผูเชอ่ื มโยง ความรูกับผูเรียนและผูรับบริการ มีความเปน “ครูมืออาชีพ” มีจิตบริการ มีความรอบรูและทันตออการ เปล่ียนแปลงของสงั คม และเปน “ผูอานวยการการเรยี นรู” ที่สามารถบริหารจดั การความรู กจิ กรรม และการ เรยี นรทู ด่ี ี 1) เพม่ิ อัตราขาราชการครูใหกับสถานศึกษาทกุ ประเภท 2) พัฒนาขาราชการครูในรปู แบบครบวงจร ตามหลกั สูตรที่เชอื่ มโยงกับวทิ ยฐานะ 3) พฒั นาครูใหสามารถปฏบิ ตั ิงานไดอยางมปี ระสทิ ธิภาพ โดยเนนเรอ่ื งการพัฒนาทกั ษะการ จัดการเรยี นการสอนออนไลน ทกั ษะภาษาตางประเทศ ทกั ษะการจัดกระบวนการเรยี นรู 4) พฒั นาศึกษานเิ ทศก ใหสามารถปฏิบัตกิ ารนิเทศไดอยางมปี ระสิทธภิ าพ 5) พัฒนาบคุ ลากรทกุ ระดับทกุ ประเภทใหมคี วามรแู ละทกั ษะเรื่องการใชประโยชนจากดิจทิ ลั และภาษาตางประเทศท่จี าเปน รวมทัง้ ความรเู กยี่ วกับอาชีพทร่ี องรบั อุตสาหกรรมเปาหมายของประเทศ (First S - Curve และ New S - Curve) 3.2 พฒั นาหลกั สตู รการจัดการศึกษาอาชพี ระยะสนั้ ใหมีความหลากหลาย ทันสมัย เหมาะสม กบั บริบทของพ้นื ที่ และตอบสนองความตองการของประชาชนผรู ับบรกิ าร 3.3 สงเสรมิ การจดั การเรียนรูทท่ี ันสมยั และมีประสทิ ธภิ าพ เออ้ื ตอการเรยี นรูสาหรับทกุ คน สามารถเรียนไดทุกที่ทกุ เวลา มกี ิจกรรมที่หลากลาย นาสนใจ สนองตอบความตองการของชุมชน

22 3.4 เสริมสรางความรวมมือกับภาคีเครือขาย ประสาน สงเสริมความรวมมือภาคีเครือขาย ทั้งภาครัฐเอกชน ประชาสังคม และองคกรปกครองสวนทองถ่ิน รวมทั้งสงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวม ของชุมชนเพ่ือสรางความเขาใจ และใหเกิดความรวมมือในการสงเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและการ เรยี นรใู หกบั ประชาชนอยางมคี ณุ ภาพ 3.5 พัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาเพื่อประโยชน ตอการจัดการศึกษาและกลุมเปาหมาย เชน จดั การศกึ ษาออนไลน กศน. ทัง้ ในรูปแบบของการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน การพัฒนาทักษะชวี ิต ทกั ษะอาชพี และการศึกษาตามอธั ยาศยั รวมทั้งสงเสริมการใชเทคโนโลยีในการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการ การจัดการ เรยี นรแู ละใชการวิจยั อยางงายเพ่ือสรางนวัตกรรมใหม 3.6 พฒั นาศกั ยภาพครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา และประชาชนท่วั ไป ดานความรูความเขาใจ และทกั ษะในการใชเทคโนโลยีดจิ ิทัล (Digital Literacy) 3.7 ยกระดบั การศึกษาใหกับกลุมเปาหมายทหารกองประจาการ รวมทงั้ กลุมเปาหมายพิเศษอืน่ ๆ อาทิ ผูตองขัง คนพิการ เด็กออกกลางคัน ประชากรวัยเรียนที่อยูนอกระบบการศึกษา ใหจบการศึกษานอก ระบบระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน 3.8 พฒั นาทักษะภาษาตางประเทศเพอื่ การส่อื สารของประชาชนในรปู แบบตาง ๆ โดยเนนทักษะ ภาษาเพื่ออาชีพ ทัง้ ในภาคธรุ กิจ การบริการ และการทองเท่ียว 3.9 เตรยี มความพรอมของประชาชนในการเขาสูสงั คมผูสงู อายทุ ี่เหมาะสมและมีคณุ ภาพ 3.10 จดั กิจกรรมวิทยาศาสตรเชงิ รุกใหกบั ประชาชนในชมุ ชน โดยใหความรวู ิทยาศาสตรอยางงาย ทงั้ วทิ ยาศาสตรในวถิ ีชีวิต และวิทยาศาสตรในชวี ติ ประจาวนั รวมท้งั ความกาวหนาทางวิทยาศาสตร เทคโนโลยแี ละนวตั กรรม 3.11 สงเสรมิ การรูภาษาไทยใหกับประชาชนในรูปแบบตาง ๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขตพื้นทสี่ งู ใหสามารถฟง พดู อาน และเขยี นภาษาไทย เพอ่ื ประโยชนในการใชชวี ิตประจาวนั ได 4. ยทุ ธศาสตรดานการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม 4.1 พฒั นาแหลงเรียนรใู หมีบรรยากาศและสภาพแวดลอมท่ีเอ้ือตอการเรียนรูมีความพรอมในการ ใหบริการกิจกรรมการศกึ ษาและการเรยี นรู 1) เรงยกระดับ กศน.ตาบลนารอง ๙๒๘ แหง (อาเภอละ ๑ แหง) ใหเปน กศน.ตาบล ๕ ดี พรีเมยี ม ท่ีประกอบดวย ครูดี สถานที่ดี (ตามบริบทของพ้ืนท่ี) กิจกรรมดี เครือขายดี และมีนวัตกรรมการเรียนรูท่ีดีมี ประโยชน 2) จัดใหมศี นู ยการเรียนรูตนแบบ กศน. เพ่ือยกระดบั การเรียนรูเปนพืน้ ทก่ี ารเรยี นรู (Co - Learning Space) ที่ทันสมยั สาหรบั ทกุ คน มีความพรอมในการใหบรกิ ารตาง ๆ 3) พัฒนาหองสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ าร”ี ใหเปน Digital Library 4.2 จดั ตัง้ ศูนยการเรียนรูสาหรบั ทกุ ชวงวัยทีม่ ีกจิ กรรมทหี่ ลากหลาย ตอบสนองความตองการ ในการเรียนรใู นแตละวยั เพ่ือใหมพี ฒั นาการเรยี นรทู ่เี หมาะสม และมีความสขุ กับการเรียนรูตามความสนใจ 4.3 สงเสรมิ และสนบั สนุนการจัดการศกึ ษาและการเรยี นรูสาหรับกลุมเปาหมายผูพิการ โดยเนน รปู แบบการศึกษาออนไลน 5. ยทุ ธศาสตรดานการสรางการเตบิ โตบนคณุ ภาพชวี ติ ทเี่ ปนมติ รตอสง่ิ แวดลอม 5.1 สงเสริมใหมีการใหความรกู ับประชาชนในการรับมือและปรบั ตัวเพ่อื ลดความเสยี หาย จากภัยธรรมชาติและผลกระทบทเ่ี ก่ียวของกับการเปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ 5.2 สรางความตระหนักถึงความสาคัญของการสรางสงั คมสเี ขยี ว สงเสรมิ ความรูใหกับประชาชน

23 เกย่ี วกบั การคดั แยกตง้ั แตตนทาง การกาจัดขยะ และการนากลับมาใชซ้า 5.3 สงเสริมใหหนวยงานและสถานศึกษาใชพลังงานท่ีเปนมิตรกับส่ิงแวดลอม รวมท้ังลดการใช ทรพั ยากรที่สงผลกระทบตอส่งิ แวดลอม เชน รณรงคเรอ่ื งการลดการใชถุงพลาสตกิ การประหยดั ไฟฟา เปนตน 6. ยทุ ธศาสตรดานการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การภาครฐั 6.1 พัฒนาและปรับระบบวิธกี ารปฏิบัตริ าชการใหทันสมัย มคี วามโปรงใส ปลอดการทุจริตและ ประพฤติมิชอบ บริหารจดั การบนขอมูลและหลกั ฐานเชงิ ประจักษ มงุ ผลสัมฤทธ์ิมคี วามโปรงใส 6.2 นานวัตกรรมและเทคโนโลยรี ะบบการทางานทีเ่ ปนดิจิทลั มาใชในการบริหารและพัฒนางาน 6.3 สงเสรมิ การพฒั นาบุคลากรทกุ ระดับอยางตอเนื่อง ใหมีความรูและทักษะตามมาตรฐานตาแหนง ใหตรงกับสายงาน ความชานาญ และความตองการของบุคลากร ภารกจิ ตอเนือ่ ง 1. ดานการจัดการศึกษาและการเรียนรู 1.1 การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1) สนบั สนนุ การจดั การศึกษานอกระบบตัง้ แตปฐมวัยจนจบการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน โดยดาเนนิ การ ใหผูเรียนไดรับการสนับสนุนคาจัดซ้ือหนังสือเรียน คาจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียน และคาจัด การเรียนการสอนอยางทั่วถึงและเพียงพอ เพื่อเพ่ิมโอกาสในการเขาถึงบริการทางการศึกษาท่ีมีคุณภาพ โดยไมเสียคาใชจาย 2) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานใหกับกลุมเปาหมายผูดอย พลาดและขาด โอกาสทางการศึกษา ผ านการเรียนแบบเรียนรู ด วยตนเอง การพบกลุ ม การเรียนแบบชั้นเรียน และการจดั การศกึ ษาทางไกล 3) พัฒนาประสิทธิภาพ คุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน ท้ังดานหลักสูตร รูปแบบ/กระบวนการเรียนการสอน สื่อและนวัตกรรม ระบบการวัดและ ประเมนิ ผลการเรียน และระบบการใหบรกิ ารนกั ศกึ ษาในรูปแบบอื่นๆ 4) จัดใหมีการประเมินเพ่ือเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรูและประสบการณท่ีมี ความโปรงใส ยุติธรรม ตรวจสอบได มีมาตรฐานตามที่กาหนด และสามารถตอบสนองความตองการของกลุม เปาหมายไดอยางมีประสทิ ธภิ าพ 5) จดั ใหมกี ิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผเู รียนทีม่ ีคณุ ภาพทีผ่ เู รยี นตองเรียนรแู ละเขารวมปฏบิ ัติกจิ กรรม เพ่อื เปนสวนหนงึ่ ของการจบหลกั สตู ร อาทิ กจิ กรรมเสรมิ สรางความสามคั คี กจิ กรรมเกี่ยวกบั การปองกันและ แกไขปญหายาเสพติด การแขงขนั กฬี า การบาเพญ็ สาธารณประโยชนอยางตอเน่อื ง การสงเสริมการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริยทรงเปนประมุข กจิ กรรมลูกเสอื เนตรนารี และยวุ กาชาด กิจกรรมจิตอาสาและการจดั ต้ังชมรม/ชุมนุม พรอมทัง้ เปดโอกาสใหผูเรียนนากจิ กรรมการบาเพ็ญประโยชน อ่นื ๆ นอกหลกั สูตร มาใชเพมิ่ ช่ัวโมงกิจกรรมใหผเู รียนจบตามหลักสตู รได 1.2 การสงเสริมการรหู นังสอื 1) พัฒนาระบบฐานขอมูลผไู มรหู นังสอื ใหมีความครบถวน ถูกตอง ทนั สมยั และเปนระบบเดียวกัน ทั้งสวนกลางและสวนภูมภิ าค 2) พัฒนาหลักสูตร สื่อ แบบเรยี น เครอ่ื งมอื วดั ผลและเครอื่ งมอื การดาเนนิ งานการสงเสริม การรหู นงั สอื ทสี่ อดคลองกับสภาพแตละกลมุ เปาหมาย

24 3) พฒั นาครู กศน.และภาคเี ครอื ขายท่ีรวมจดั การศกึ ษา ใหมีความรู ความสามารถ และทักษะการ จดั กระบวนการเรยี นรใู หกับผไู มรหู นังสอื อยางมีประสทิ ธภิ าพ และอาจจดั ใหมีอาสาสมคั รสงเสรมิ การรูหนงั สอื ในพน้ื ทท่ี ่มี ีความตองการจาเปนเปนพิเศษ 4) สงเสรมิ สนบั สนนุ ใหสถานศกึ ษาจัดกจิ กรรมสงเสรมิ การรูหนงั สือ การคงสภาพการรูหนังสือ การพัฒนาทักษะการรหู นงั สอื ใหกับประชาชนเพ่อื เปนเคร่อื งมือในการศกึ ษาและเรียนรอู ยางตอเน่อื งตลอด ชีวติ ของประชาชน 1.3 การศกึ ษาตอเนื่อง 1) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาอยางย่ังยืน โดยใหความสาคัญกับการจัดการศึกษา อาชพี เพ่ือการมงี านทาในกลุมอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทาง หรือการบริการรวมถึงการเนนอาชีพชางพ้ืนฐาน ท่ีสอดคลองกับศักยภาพของผูเรียน ความตองการและ ศกั ยภาพของแตละพืน้ ทม่ี คี ุณภาพไดมาตรฐานเปนท่ียอมรบั สอดรับกับความตองการของตลาดแรงงาน และ การพฒั นาประเทศ ตลอดจนสรางความเขมแข็งใหกับศูนยฝกอาชีพชุมชน โดยจัดใหมีหนึ่งอาชีพเดน รวมทั้ง ใหมกี ารกากับ ตดิ ตาม และรายงานผลการจดั การศกึ ษาอาชพี เพือ่ การมีงานทาอยางเปนระบบและตอเนือ่ ง 2) จดั การศกึ ษาเพื่อพัฒนาทักษะชวี ิตใหกับทุกกลุมเปาหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผูสูงอายุ ที่สอดคลองกับความตองการจาเปนของแตละบุคคล และมุงเนนใหทุกกลุมเปาหมายมีทักษะการดารงชีวิต ตลอดจนสามารถประกอบอาชพี พ่ึงพาตนเองไดมีความรคู วามสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเองให อยูในสังคมไดอยางมีความสุข สามารถเผชิญสถานการณ ตางๆ ท่ีเกิดขึ้นในชีวิตประจาวันได อยางมี ประสทิ ธภิ าพ และเตรยี มพรอมสาหรับการปรบั ตัวใหทนั ตอการเปลี่ยนแปลงของขาวสารขอมูลและเทคโนโลยี สมัยใหมในอนาคตโดยจัดกิจกรรมที่มีเนื้อหาสาคัญตางๆ เชน สุขภาพกายและจิต การปองกันภัยยาเสพติด เพศศึกษา คุณธรรมและคานิยมที่พึงประสงคความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน ผานการศึกษารูปแบบ ตาง ๆ อาทิ คายพฒั นาทักษะชีวิตการจัดตัง้ ชมรม/ชุมนุม การสงเสริมความสามารถพเิ ศษตาง ๆ 3) จัดการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาสงั คมและชมุ ชน โดยใชหลกั สูตรและการจัดกระบวนการเรยี นรู แบบบูรณาการในรปู แบบของการฝกอบรม การประชมุ สัมมนา การจดั เวทีแลกเปลีย่ นเรยี นรูการจัดกิจกรรม จิตอาสา การสรางชุมชนนกั ปฏิบตั ิ และรปู แบบอนื่ ๆ ท่เี หมาะสมกบั กลุมเปาหมาย และบรบิ ทของชุมชน แตละพื้นท่ี เคารพความคิดของผูอื่น ยอมรับความแตกตางและหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ รวมท้ังสังคม พหุวัฒนธรรม โดยจัดกระบวนการใหบุคคลรวมกลุมเพื่อแลกเปล่ียนเรียนรูรวมกัน สราง กระบวนการจิตสาธารณะ การสรางจิตสานึกความเปนประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิ และรับผิดชอบตอ หนาทีค่ วามเปนพลเมอื งดี การสงเสริมคุณธรรม จริยธรรม การบาเพ็ญประโยชนในชุมชน การบริหารจัดการ น้า การรบั มือกับสาธารณภยั การอนรุ ักษพลงั งานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอม ชวยเหลือซ่ึงกันและกัน ในการพัฒนาสังคมและชมุ ชนอยางยั่งยนื 4) การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งผานกระบวนการเรียนรูตลอด ชีวิตในรูปแบบตางๆ ใหกับประชาชน เพื่อเสริมสรางภูมิคุมกัน สามารถยืนหยัดอยูไดอยางมั่นคง และมีการ บรหิ ารจัดการความเสี่ยงอยางเหมาะสม ตามทิศทางการพัฒนาประเทศสูความสมดลุ และย่งั ยนื

25 1.4 การศกึ ษาตามอธั ยาศัย 1) พฒั นาแหลงการเรยี นรูทม่ี ีบรรยากาศและสภาพแวดลอมท่เี ออื้ ตอการอานและพัฒนาศกั ยภาพ การเรยี นรใู หเกดิ ขึ้นในสังคมไทย ใหเกิดขึ้นอยางกวางขวางและท่ัวถึง เชน พัฒนาหองสมุดประชาชนทุกแห่ง ใหมีการบริการท่ีทันสมัย สงเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครสงเสริมการอาน การสรางเครือขายสงเสริม การอ่าน จดั หนวยบรกิ ารเคลือ่ นทพ่ี รอมอุปกรณเพื่อจัดกิจกรรมสงเสริมการอานและการเรียนรูที่หลากหลาย ใหบริการกับประชาชนในพ้ืนท่ีตางๆ อยางทั่วถึง สม่าเสมอ รวมท้ังเสริมสรางความพรอมในดานบุคลากร สือ่ อปุ กรณเพอ่ื สนับสนุนการอานและการจดั กจิ กรรมเพื่อสงเสริมการอานอยางหลากหลาย 2) จัดสรางและพัฒนาศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษา ใหเปนแหลงเรียนรูวิทยาศาสตรตลอดชีวิต ของประชาชน เปนแหลงสรางนวตั กรฐานวทิ ยาศาสตรและเปนแหลงทองเท่ียวเชิงศิลปะวิทยาการประจาทองถ่ิน โดยจัดทาและพัฒนานิทรรศการ ส่ือและกิจกรรมการศึกษาที่เนนการเสริมสรางความรูและสรางแรงบันดาลใจ ดานวิทยาศาสตรสอดแทรกวิธีการคิดเชิงวิเคราะห การคิดเชิงสรางสรรค และปลูกฝงเจตคติทางวิทยาศาสตร์ ผานการกระบวนการเรียนรูท่ีบูรณาการความรูดานวิทยาศาสตร ควบคูกับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตรและคณิต ศาสตรรวมทั้งสอดคลองกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บริบทของชุมชน และประเทศ รวมท้ังระดับ ภูมิภาคและระดบั โลก เพอื่ ใหประชาชนมีความรูและสามารถนาความรูและทักษะไปประยกุ ตใชในการดาเนินชีวิต การพัฒนาอาชีพ การรักษาสิ่งแวดลอม การบรรเทาและปองกันภัยพิบัติทางธรรมชาติ รวมท้ังมีความสามารถ ในการปรับตัวรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของโลกท่ีเป นไปอยางรวดเร็วและรุนแรง (Disruptive Change) ไดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ 1.5 ประสานความรวมมือหนวยงาน องคกร หรือภาคสวนตางๆ ท่ีมีแหลงเรียนรูอื่นๆ เพ่ือสงเสริมการจัด การศึกษาตามอัธยาศัยใหมีรูปแบบท่ีหลากหลาย และตอบสนองความตองการของประชาชน เชน พิพิธภัณฑ ศูนยเรยี นรู แหลงโบราณคดี หองสมดุ เปนตน 2. ดานหลกั สูตร ส่อื รปู แบบการจดั กระบวนการเรยี นรู การวดั และประเมินผล งานบรกิ ารทางวิชาการ และการประกนั คุณภาพการศกึ ษา 2.1 สงเสริมการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู และกิจกรรม เพื่อสงเสริม การศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ท่หี ลากหลาย ทันสมยั รวมทง้ั หลักสตู รทองถิน่ ทส่ี อดคลองกบั สภาพบรบิ ท ของพนื้ ที่ และความตองการของกลุมเปาหมายและชมุ ชน 2.2 สงเสริมการพัฒนาสื่อแบบเรียน ส่ืออิเล็กทรอนิกสและส่ืออื่นๆ ท่ีเอ้ือตอการเรียนรูของผูเรียน กลุ่มเป้าหมายทวั่ ไปและกลุมเปาหมายพิเศษ 2.3 พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกลใหมีความทันสมัย ดวยระบบหองเรียนและการควบคุม การสอบออนไลน 2.4 พัฒนาระบบการประเมินเพ่ือเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรูและประสบการณ เพ่ือใหมีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความตองการของกลุมเปาหมายไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทง้ั มกี ารประชาสมั พนั ธใหสาธารณชนไดรบั รูและสามารถเขาถึงระบบการประเมนิ ได 2.5 พฒั นาระบบการวดั และประเมินผลการศกึ ษานอกระบบทกุ หลักสตู ร โดยเฉพาะหลกั สตู ร ในระดบั การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐานใหไดมาตรฐาน โดยการนาแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอเิ ล็กทรอนกิ ส (e-Exam) มาใชอยางมีประสิทธภิ าพ 2.6 สงเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู การวัดและประเมินผล และเผยแพรรูปแบบการจัด สงเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและ

26 การศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้งใหมีการนาไปสูการปฏิบัติอยางกวางขวางและมีการพัฒนาใหเหมาะสมกับ บรบิ ทอยางตอ่ เน่ือง 2.7 พฒั นาระบบประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษาใหไดมาตรฐาน เพอ่ื พรอมรับการประเมนิ คณุ ภาพ ภายนอก โดยพฒั นาบุคลากรใหมีความรู ความเขาใจ ตระหนักถึงความสาคัญของระบบการประกันคุณภาพและ สามารถดาเนินการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาไดอยางตอเนื่องโดยใชการประเมินภายในดวยตนเอง และจดั ใหมีระบบสถานศึกษาพี่เลย้ี งเขาไปสนบั สนุนอยางใกลชดิ สาหรับสถานศึกษาท่ียังไมไดเขารับการประเมิน คุณภาพภายนอก ใหพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษาใหไดคุณภาพตามมาตรฐานทกี่ าหนด 2.8 ประชาสมั พนั ธ สรางการรับรูใหกับประชาชนท่วั ไปเก่ียวกับการบริการทางวิชาการดานการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยและสรางชองทางการแลกเปลี่ยนเรียนรูดานวิชาการของหนวยงานและ สถานศกึ ษาในสงั กดั อาทิ ขาวประชาสมั พนั ธผานส่ือรปู แบบตางๆ การจัดนทิ รรศการ/มหกรรมวชิ าการ กศน. 3. ดานเทคโนโลยีเพื่อการศกึ ษา 3.1 ผลิตและพัฒนารายการวิทยุและรายการโทรทัศนเพื่อการศึกษา เพ่ือใหเช่ือมโยงและตอบสนอง ต่อการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษา เพ่ือกระจายโอกาสทาง การศึกษาสาหรับกลุมเปาหมายตางๆ ใหมีทางเลือกในการเรียนรูท่ีหลากหลายและมีคุณภาพ สามารถพัฒนา ตนเองใหรูเทาทันสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการส่ือสาร เชน รายการพัฒนาอาชีพเพื่อการมีงานทา รายการติวเข มเติมเต็มความรู ฯลฯ เผยแพร ทางสถานีวิทยุศึกษา สถานีวิทยุโทรทัศน เพื่อการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ETV) และทางอินเทอรเนต็ 3.2 พัฒนาการเผยแพรการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั โดยผานระบบ เทคโนโลยดี ิจิทัล และชองทางออนไลนตางๆ เชน Youtube Facebook หรอื Application อน่ื ๆ เพ่ือสงเสริมให ครู กศน. นาเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั มาใชในการสรางกระบวนการเรยี นรูดวยตนเอง (Do It Yourself : DIY) 3.3 พัฒนาสถานีวิทยุศึกษาและสถานีโทรทัศนเพื่อการศึกษา เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตและการ ออกอากาศใหกลุมเปาหมายสามารถใชเปนชองทางการเรียนรูที่มีคุณภาพไดอยางตอเน่ืองตลอดชีวิตโดยขยาย เครือขายการรับฟงใหสามารถรับฟงไดทุกที่ ทุกเวลา ครอบคลุมพ้ืนที่ท่ัวประเทศ และเพ่ิมชองทางใหสามารถ รับชมรายการโทรทัศนไดท้ังระบบ Ku -Band C -Band Digital TV และทางอินเทอรเน็ต พรอมที่จะรองรับการ พัฒนาเปนสถานวี ิทยุโทรทัศนเพอื่ การศกึ ษาสาธารณะ (Free ETV) 3.4 พัฒนาระบบการใหบริการส่อื เทคโนโลยีเพื่อการศกึ ษา เพ่ือใหไดหลายชองทางทัง้ ทางอินเทอรเนต็ และรูปแบบอ่ืนๆ อาทิApplication บนโทรศัพทเคลื่อนที่ และ Tablet รวมทั้งส่ือ Offline ในรูปแบบตางๆ เพื่อใหกลมุ เปาหมายสามารถเลือกใชบริการเพ่ือเขาถงึ โอกาสทางการศึกษาและการเรยี นรูไดตามความตองการ 3.5 สารวจ วจิ ยั ตดิ ตามประเมินผลดานการใชสื่อเทคโนโลยีเพื่อการศกึ ษาอยางตอเน่ือง เพือ่ นาผล มาใชในการพฒั นางานใหมีความถูกตอง ทนั สมัยและสามารถสงเสรมิ การศกึ ษาและการเรยี นรูตลอดชีวติ ของประชาชนไดอยางแทจรงิ 4. ดานโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดาริ หรอื โครงการอันเกยี่ วเน่ืองจากราชวงศ 4.1 สงเสรมิ และสนับสนนุ การดาเนนิ งานโครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดารหิ รือโครงการอัน เก่ียวเนอ่ื งจากราชวงศ 4.2 จัดทาฐานขอมลู โครงการและกจิ กรรมของ กศน. ทีส่ นองงานโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาริ หรอื โครงการอันเก่ียวเน่ืองจากราชวงศเพือ่ นาไปใชในการวางแผน การตดิ ตามประเมินผลและการพัฒนางาน ไดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ 4.3 สงเสรมิ การสรางเครอื ขายการดาเนนิ งาน เพือ่ สนับสนุนโครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาริ

27 เพือ่ ใหเกิดความเขมแข็งในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 4.4 พฒั นาศูนยการเรยี นชุมชนชาวไทยภเู ขา “แมฟาหลวง”เพ่อื ใหมีความพรอมในการจดั การศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ตามบทบาทหนาทท่ี ่ีกาหนดไวอยางมปี ระสทิ ธิภาพ 4.5 จดั และสงเสริมการเรยี นรูตลอดชีวิตใหสอดคลองกับวิถชี ีวติ ของประชาชนบนพนื้ ทสี่ ูง ถ่ิน ทุรกนั ดาร และพื้นทช่ี ายขอบ 5. ดานการศกึ ษาในจงั หวดั ชายแดนภาคใตพื้นทเี่ ขตเศรษฐกจิ พิเศษ และพ้นื ที่บรเิ วณชายแดน 5.1 พัฒนาการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ในจงั หวดั ชายแดนภาคใต 1) จดั และพฒั นาหลกั สตู ร และกจิ กรรมสงเสริมการศกึ ษาและการเรยี นรทู ีต่ อบสนองปญหา และความตองการของกลมุ เปาหมาย รวมท้ังอตั ลกั ษณและความเปนพหุวฒั นธรรมของพ้นื ที่ 2) พฒั นาคุณภาพการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานอยางเขมขนและตอเน่ือง เพ่อื ใหผเู รยี นสามารถนาความรูทไ่ี ดรับไปใชประโยชนไดจรงิ 3) ใหหนวยงานและสถานศกึ ษาจดั ใหมีมาตรการดแู ลรักษาความปลอดภยั แกบุคลากรและ นกั ศึกษา กศน. ตลอดจนผมู าใชบริการอยางทัว่ ถงึ 5.2 พฒั นาการจดั การศกึ ษาแบบบูรณาการในเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พิเศษ 1) ประสานความรวมมือกับหนวยงานที่เกี่ยวของในการจัดทาแผนการศึกษาตามยุทธศาสตร และบริบทของแตละจงั หวดั ในเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พิเศษ 2) จัดทาหลักสูตรการศึกษาตามบรบิ ทของพ้นื ท่ี โดยเนนสาขาท่เี ปนความตองการของตลาด ใหเกดิ การพฒั นาอาชพี ไดตรงตามความตองการของพ้ืนที่ 5.3 จดั การศกึ ษาเพ่อื ความม่ันคง ของศูนยฝกและพฒั นาอาชพี ราษฎรไทยบริเวณชายแดน (ศฝช.) 1) พัฒนาศูนยฝกและพฒั นาอาชีพราษฎรไทยบรเิ วณชายแดน เพอ่ื ใหเปนศูนยฝกและสาธิต การประกอบอาชีพดานเกษตรกรรม และศูนยการเรียนรตู นแบบการจดั กิจกรรมตามแนวพระราชดารปิ รัชญา เศรษฐกจิ พอเพียง สาหรบั ประชาชนตามแนวชายแดน ดวยวิธกี ารเรียนรทู ่ีหลากหลาย 2) มงุ จัดและพัฒนาการศกึ ษาอาชีพโดยใชวธิ ีการหลากหลาย ใชรูปแบบเชิงรุก เพอ่ื การเขาถึง กลุมเปาหมาย เชน การจัดมหกรรมอาชีพ การประสานความรวมมือกับเครือขาย การจัดอบรมแกนนาดาน อาชีพท่เี นนเรอื่ งเกษตรธรรมชาติทส่ี อดคลองกบั บรบิ ทของชุมชนชายแดน ใหแกประชาชนตามแนวชายแดน 6. ดานบคุ ลากร ระบบการบริหารจดั การ และการมสี วนรวมของทุกภาคสวน 6.1 การพฒั นาบคุ ลากร 1) พัฒนาบุคลากรทุกระดับ ทุกประเภทใหมีสมรรถนะสูงข้ึนอยางตอเน่อื ง ท้งั กอนและระหวาง การดารงตาแหนงเพ่อื ใหมเี จตคติทดี่ ใี นการปฏิบตั งิ าน สามารถปฏบิ ัติงานและบริหารจัดการการดาเนินงาน ของหนวยงานและสถานศึกษาไดอยางมีประสทิ ธิภาพ รวมทงั้ สงเสริมใหขาราชการในสังกัดพฒั นาตนเอง เพอ่ื เล่ือนตาแหนงหรือเล่ือนวทิ ยฐานะ โดยเนนการประเมนิ วิทยฐานะเชงิ ประจกั ษ 2) พัฒนาศึกษานเิ ทศก กศน. ใหมสี มรรถนะทจี่ าเปนครบถวน มคี วามเปนมืออาชพี สามารถ ปฏบิ ตั ิการนเิ ทศไดอยางมศี ักยภาพ เพอ่ื รวมยกระดับคณุ ภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอธั ยาศยั ในสถานศกึ ษา 3) พฒั นาหัวหนา กศน. ตาบล/แขวง ใหมีสมรรถนะสงู ขนึ้ เพ่อื การบรหิ ารจดั การ กศน. ตาบล/ แขวงและการปฏบิ ตั งิ านตามบทบาทภารกิจอยางมปี ระสทิ ธิภาพ โดยเนนการเปนนกั จัดการความรแู ละผู อานวยความสะดวกในการเรยี นรูเพ่อื ใหผูเรยี นเกิดการเรยี นรทู ่ีมปี ระสทิ ธภิ าพอยางแทจรงิ

28 4) พัฒนาครกู ศน. และบุคลากรที่เก่ียวของกบั การจัดการศกึ ษาใหสามารถจัดรปู แบบการเรียนรูได อยางมีคณุ ภาพ โดยสงเสริมใหมีความรคู วามสามารถในการจัดทาแผนการสอน การจดั กระบวนการเรียนรู การวดั และประเมินผล และการวจิ ยั เบอื้ งตน 5) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ท่ีรับผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู ใหมีความรู้ ความสามารถและมีความเปนมืออาชพี ในการจัดบริการสงเสรมิ การเรยี นรูตลอดชวี ติ ของประชาชน 6) สงเสริมใหคณะกรรมการ กศน. ทุกระดับ และคณะกรรมการสถานศกึ ษา มีสวนรวมในการ บรหิ ารการดาเนนิ งานตามบทบาทภารกิจของ กศน. อยางมีประสทิ ธภิ าพ 7) พัฒนาอาสาสมัคร กศน. ใหสามารถทาหนาที่สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศยั ไดอยางมปี ระสิทธภิ าพ 8) พฒั นาสมรรถนะและเสริมสรางความสมั พันธระหวางบุคลากร รวมทั้งภาคีเครอื ขายทง้ั ใน และตางประเทศในทุกระดับ โดยจัดใหมีกิจกรรมเพ่ือเสริมสรางสัมพันธภาพและเพิ่มประสิทธิภาพในการ ทางานรวมกันในรูปแบบท่ีหลากหลายอยางตอเนื่องอาทิ การแขงขันกีฬา การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนา ประสทิ ธิภาพในการทางาน 6.2 การพฒั นาโครงสรางพน้ื ฐานและอัตรากาลัง 1) จัดทาแผนการพัฒนาโครงสรางพืน้ ฐานและดาเนนิ การปรบั ปรุงสถานท่ี และวสั ดุอุปกรณใหมี ความพรอมในการจัดการศึกษาและการเรยี นรู 2) บริหารอัตรากาลังที่มีอยู ท้ังในสวนที่เปนขาราชการ พนักงานราชการ และลูกจาง ใหเกิด ประสิทธิภาพสูงสดุ ในการปฏิบตั ิงาน 3) แสวงหาความรวมมอื จากภาคเี ครือขายทกุ ภาคสวนในการระดมทรพั ยากรเพอื่ นามาใชในการ ปรบั ปรุงโครงสรางพน้ื ฐานใหมีความพรอมสาหรบั ดาเนนิ กจิ กรรมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั และการสงเสริมการเรียนรูสาหรับประชาชน 6.3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ 1) พัฒนาระบบฐานขอมูลใหมีความครบถวน ถูกตอง ทันสมัย และเช่ือมโยงกันทั่วประเทศ อยางเปนระบบเพ่ือใหหนวยงานและสถานศึกษาในสังกัดสามารถนาไปใชเปนเครื่องมือสาคัญในการบริหาร การวางแผน การปฏบิ ัติงาน การตดิ ตามประเมินผล รวมท้งั จัดบรกิ ารการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั อยางมีประสิทธภิ าพ 2) เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการบริหารจดั การงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกากับ ควบคุม และเรงรดั การเบิกจายงบประมาณใหเปนตามเปาหมายท่กี าหนดไว ๓) พัฒนาระบบฐานข อมูลรวมของนักศึกษา กศน. ให มีความครบถ วน ถูกต อง ทันสมัย และเชื่อมโยงกันท่ัวประเทศ สามารถสืบค นและสอบทานไดทันความตองการเพ่ือประโยชน ในการ จัดการศึกษาใหกับผูเรยี นและการบริหารจัดการอยางมีประสทิ ธิภาพ 4) สงเสริมใหมีการจัดการความรูในหนวยงานและสถานศึกษาทุกระดับ รวมท้ังการศึกษาวิจัย เพ่ือสามารถนามาใชในการพัฒนาประสิทธิภาพการดาเนินงานท่ีสอดคลองกับความตองการของประชาชน และชมุ ชนพรอมทัง้ พฒั นาขีดความสามารถเชิงการแขงขนั ของหนวยงานและสถานศกึ ษา 5) สร างความร วมมือของทุกภาคส วนทั้งในประเทศและต างประเทศ ในการพัฒนา และสงเสรมิ การจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย และการเรยี นรูตลอดชีวติ 6) สงเสริมการใชระบบสานักงานอิเล็กทรอนิกส E - office) ในการบริหารจัดการ เชน ระบบ การลา ระบบสารบรรณอิเลก็ ทรอนิกส ระบบการขอใชรถราชการ ระบบการขอใชหองประชุม เปนตน

29 6.4 การกากบั นิเทศ ติดตาม ประเมนิ และรายงานผล 1) สรางกลไกการกากับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดาเนินงานการศึกษานอก ระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยใหเชื่อมโยงกบั หนวยงาน สถานศึกษา และภาคเี ครือขายทงั้ ระบบ 2) ใหหนวยงานและสถานศึกษาที่เกี่ยวของทุกระดับ พัฒนาระบบกลไกการกากับ ติดตาม และรายงานผลการนานโยบายสูการปฏบิ ัติ ใหสามารถตอบสนองการดาเนินงานตามนโยบายในแตละเรื่องได อยางมีประสทิ ธิภาพ 3) สงเสริมการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และส่ืออื่น ๆ ท่ีเหมาะสม เพื่อการกากับ นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมินผล และรายงานผลอยางมีประสทิ ธิภาพ 4) พัฒนากลไกการตดิ ตามประเมินผลการปฏบิ ตั ริ าชการตามคารบั รองการปฏิบัตริ าชการประจาป ของหนวยงาน สถานศึกษา เพ่ือการรายงานผลตามตัวช้ีวัดในคารับรองการปฏิบัติราชการประจาป ของสานักงานกศน. ใหดาเนินไปอยางมปี ระสิทธิภาพ เปนไปตามเกณฑ วธิ กี าร และระยะเวลาท่ีกาหนด 5) ใหมกี ารเชือ่ มโยงระบบการนิเทศในทกุ ระดับ ทั้งหนวยงานภายในและภายนอกองคกร ตงั้ แต สวนกลาง ภมู ภิ าค กลุมจงั หวดั จงั หวดั อาเภอ/เขต และตาบล/แขวง เพือ่ ความเปนเอกภาพในการใชขอมูล และการพฒั นางานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย

ส่วนท รายละเอยี ดแผน สานกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวัดเพช งบประมาณ สาหรับการดาเนินงานการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จานวน 94,553,287 บาท โดยจาแนกเป็นแผนงานต่างๆ ดงั น้ี 1. แผนงาน : บคุ ลากรภาครัฐ ผลผลติ : รายการค่าใช้จา่ ยบคุ ลากรภาครฐั ท่ี รายการ เปา้ หมาย/คน งบประมาณ ไตรม 43,638,190 1. งบบคุ ลากร คา่ ตอบแทนพนกั งานราชการ ครู กศน.ตาบล 162 41,639,890 ครู อาสาสมัคร และตาแหนง่ อน่ื ๆ 162 1,426,500 2 งบดาเนินงาน (เงินประกันสงั คม) 12 571,800 ครู กศน.ตาบล ครอู าสมคั รฯ และตาแหนง่ อืน่ 3 งบดาเนินงาน (คา่ เชา่ บา้ น) ค่าเชา่ บ้านขา้ ราชการ

32 ที่ 3 นงาน /โครงการ ชรบูรณ์ ได้จัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ตามวงเงินอนุมัติจัดสรร ย จากสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดเพชรบูรณ์ แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ ระยะเวลาดาเนนิ การ หมายเหตุ มาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 ตลุ าคม 2562 - กันยายน 2563 23,164,440 20,191,750 22,453,440 19,186,450 711,000 715,500 ตลุ าคม 2562 - กันยายน 2563 (12) (11) ตลุ าคม 2562 - 282,000 289,800 กันยายน 2563

2.1แผนงาน : แผนงานพ้นื ฐานดา้ นการพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรัพยากรมน ผลผลติ ท่ี 4 ผู้รับบรกิ ารการศึกษานอกระบบ ที่ โครงการ/งาน/กจิ กรรม เปา้ หมาย/คน งบประมาณ ไตรม 1 งบดาเนินงาน 1.1 การจัดกจิ กรรมการศกึ ษาตอ่ เน่ือง 16,210 4,943785 2,472 สง่ เสริมการร้หู นังสือ พฒั นาทกั ษะชีวิต 2,170 1,122,000 561 พฒั นาสังคมแลชุมชน 4,680 489,785 244 เรียนร้หู ลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 4,680 1,666,000 833 1.2 คา่ ตอบแทนคา่ ใชส้ อยและวสั ดุ 4,680 1,666,000 833 งบบรหิ าร 2,186,500 639 คา่ สาธารณปู โภค - 594,000 229 ค่าเชา่ รถยนต์ ( 4 ประตู้) - 576,000 150 คา่ เชา่ รถยนต์ (รถตู้) - 554,400 138 3 คัน 288,000 72,0 1 คนั

33 นุษย์ แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ ระยะเวลาดาเนนิ การ หมายเหตุ มาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 2,350 - 2,471,435 - 1,000 - 561,000 - ตลุ าคม 2562 - 550 บาท/ 4,950 - 244,835 - กนั ยายน 2563 คน 3,200 - 833,800 - 3,200 - 832800 - ตลุ าคม 2562 - 115 บาท/ 9,700 559,600 997,100 531,600 กนั ยายน 2563 คน 9,500 100,000 264,500 0,000 225,000 201,000 138,600 ตลุ าคม 2562 - 400 บาท/ 8,600 138,600 138,600 72,000 กันยายน 2563 คน 000 72,000 72,000 ตลุ าคม 2562 - 400 บาท/ กนั ยายน 2563 คน ตุลาคม 2562 - กันยายน 2563 ตลุ าคม 2562 - กนั ยายน 2563 ตลุ าคม 2562 - กนั ยายน 2563 ตุลาคม 2562 - กนั ยายน 2563

ท่ี โครงการ/งาน/กจิ กรรม เป้าหมาย/คน งบประมาณ ไตรม คา่ เช่ารถยนต์ (รถตู้ใหม)่ 1 คัน 148,500 25,6 - 25,600 ค่าบ้ียประชุม คณะกรรมการ กศน. 45 90,000 ¤ ส่งิ อานวยความสะดวก สือ บริการและช่วยเหลอื 20 รายการ 609,000 อ่นื ใดทางการศึกษา สาหรับคนพกิ าร 3 รายการ 1,762,200 2. งบลงทุน คา่ ครภุ ณั ฑค์ อมพวิ เตอร์ งบค่าทด่ี นิ ละสง่ิ กอ่ สรา้ ง หมายเหตุ งบลงทนุ 1.1 ค่าครุภณั ฑ์ จัดสรร 609,000 บาท คนื 1,100 บาท 1.2 ค่าสงิ่ กอ่ สรา้ ง (ปรับปรงุ บ้านพักคร)ู จัดสรร 984,000 บาท คนื 199,000 บาท 1.3 คา่ สิง่ กอ่ สรา้ ง (ปรบั ปรงุ หอพกั ชาย - หญงิ ) จดั สรร 303,000 บาท คนื 3,000

34 แผนการใช้จ่ายงบประมาณ ระยะเวลาดาเนนิ การ หมายเหตุ มาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 - - 74,250 74,250 เมษายน 2563 - กันยายน 2563 600 - - - ตุลาคม 2562 - กนั ยายน 2563 - 90,000 - - ตลุ าคม 2562 - กันยายน 2563 - 609,600 - - ตลุ าคม 2562 - (607,900) กนั ยายน 2563 - 1,762,200 - - ตุลาคม 2562 - กันยายน 2563 บาท

2.2 แผนงาน : แผนงานพ้ืนฐานดา้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์ ผลผลติ ท่ี 5 ผ้รู ับบริการการศกึ ษาตามอัธยาศัย ที่ โครงการ/งาน/กิจกรรม เป้าหมาย/คน งบประมาณ ไตรมา 1 งบดาเนินงาน 4,484,720 2,157 1.1 กิจกรรมจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศัย 14 2,192,160 1,096 - 818,360 502, ค่าตอบแทน /ใชส้ อยและวสั ดุ คา่ จา้ งเหมาปฏบิ ัตงิ าน งบบริหาร ค่าจัดซื้อหนงั สือ ส่อื สาหรับหอ้ งสมดุ ประชาชน 12 แห่ง 390,000 195, คา่ บรกิ ารส่ือสารและโทรคมนาคม 24 แหง่ 409,200 204, คา่ สาธารณปู โภค 12 แห่ง 120,000 39,0 9 แห่ง 180,000 30,0 ค่าซือ้ หนังสอื พิมพใ์ ห้ กศน.ตาบล 180,000 90,0 ค่าซอื้ หนงั สือพมิ พ์ให้ กศน.ตาบล 9 แห่ง (งบประมาณคา่ ก่อสร้าง) คา่ หนงั สอื สอ่ื กิจกรรม 9 แหง่ 195,000

35 แผนการใช้จา่ ยงบประมาณ ระยะเวลาดาเนนิ การ หมายเหตุ าส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 7,080 140,000 2,187,640 - ตลุ าคม 2562 - 6,080 - 1,096,080 - กนั ยายน 2563 ,400 - 315,960 - ,000 - 195,000 - ตุลาคม 2562 - ,600 - 204,600 - กนั ยายน 2563 000 40,000 41,000 - ตุลาคม 2562 - 000 100,000 50,000 กนั ยายน 2563 000 90,000 ตุลาคม 2562 - กันยายน 2563 195,000 ตุลาคม 2562 - กันยายน 2563 ตุลาคม 2562 - กันยายน 2563 ตลุ าคม 2562 - กันยายน 2563 ตุลาคม 2562 - กนั ยายน 2563

ที่ โครงการ/งาน/กจิ กรรม เปา้ หมาย/คน งบประมาณ ไตรมา - 2. งบลงทุน 1,312,500 งบคา่ ทด่ี นิ ละสิง่ ก่อสรา้ ง 3 รายการ 1,312,500 หมายเหตุ งบลงทุน คา่ ส่งิ กอ่ สร้าง ปรับปรงุ หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอวงั โป่ง จดั สรร 847,000 บาท คนื

36 แผนการใช้จ่ายงบประมาณ ระยะเวลาดาเนนิ การ หมายเหตุ าส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 1,312,500 - ตุลาคม 2562 - - 1,312,500 - กนั ยายน 2563 น 3,000 บาท

3. แผนงาน : แผนงานยุทธศาสตรส์ ร้างควมเสมอภาคทางการศกึ ษา โครงการสนบั สนนุ คา่ ใช้จ่ายในการจดั การศึกษาตง้ั แต่ระดับอนบุ าลจนจบก ท่ี โครงการ/งาน/กิจกรรม เป้าหมาย/คน งบประมาณ ไตรม 1 งบเงินอุดหนุน - เงินอุดหนุนทวั่ ไป 12,132 29,664,027 17,27 12,132 5,108,800 2,713 คา่ หนังสอื เรยี น 12,132 4,114,507 1,372 ค่ากิจกรรมพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น 12,132 19,867,420 12,82 2 ค่าจัดการเรียนการสอน 6005000000 ค่าตอบแทน ครูผสู้ อนคนพิการ 4 573,300 360 2. งบรายจ่ายอ่นื 21,000 21, ค่าใชต้ า่ ยโครงการเทียบโอนความรู้เทยี บระดบั 70 21,000 21, การศกึ ษามิตคิ วามรู้ความคิด หมายเหตุ 1.งบเงนิ อุดหนนุ 1.1 ค่าหนังสือเรยี น จดั สรร 2,554,440 บาท คืน 158,760 บาท 1.2 คา่ กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น จัดสรร 1,653,615 บาท คืน 846,628 บา 1.3 ค่าตอบแทน (ครผู สู้ อนคนพิการ) จัดสรร 360,000 บาท คนื 56,612 บาท

37 การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน แผนการใช้จ่ายงบประมาณ ระยะเวลาดาเนินการ หมายเหตุ มาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 70,998 9,183,856 3,415,967 29,664,027 ตุลาคม 2562 - 3,200 - 2,395,680 - กนั ยายน 2563 2,490 1,935030 806,987 - ตุลาคม 2562 - - กนั ยายน 2563 25,308 7,248,826 - ตุลาคม 2562 - 0,000 - 213,300 - กนั ยายน 2563 ตลุ าคม 2562 - กนั ยายน 2563 ,000 ,000 - - - ตลุ าคม 2562 - กนั ยายน 2563 าท

4. แผนงาน : แผนงานยุทธศาสตรเ์ พอ่ื สนบั สนนุ ด้านการพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพ โครงการขบั เคล่อื นการพัฒนาการศกึ ษาท่ียัง่ ยนื ที่ เปา้ หมาย/คน งบประมาณ โครงการ/งาน/กิจกรรม ไตร งบรายจา่ ยอ่ืน - 7,003,900 1. คา่ ใช้จา่ ยโครงการศูนยฝ์ ึกอาชพี ชุมชน 959 863,100 จัดแบบ 1 อาเภอ 1 อาชพี จัดแบบพฒั นาอาชีพ (ไม่เกิน 30 ซ.ม.) 3,838 2,686,600 จัดแบบช้ันเรยี นวชิ าชพี (31 ซ.ม. ขั้นไป) (2,973) (2,675,700) งบรายจา่ ยอ่ืน 3,838 3,454,200 (2,973) (2,081,100) 2. คา่ ใช้จา่ ยโครงการภาษาตา่ งประเทศเพื่อการสื่อสาร 490 (417) 588,000 ด้านอาชีพ หมายเหตุ งบรายจ่ายอน่ื 1. คา่ ใช้จา่ ยโครงการศนู ย์ฝึกอาชีพชุมชน -จัดแบบพัฒนาอาชีพ (ไม่เกนิ 30 ซ.ม.) จัดสรร 2,686,600 บาท คืน 778,500 บา - จัดแบบช้ันเรียนวชิ าชพี (31 ซ.ม. ขั้นไป) จดั สรร 3,454,200 คืน 605,500 บาท 2. คา่ ใชจ้ า่ ยโครงการภาษาตา่ งประเทศเพ่อื การสอ่ื สารดา้ นอาชพี จดั สรร 588,000

38 พทรัยกรมนษุ ย์ แผนการใช้จา่ ยงบประมาณ รมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 ระยะเวลาดาเนนิ การ หมายเหตุ 3,501,500 2,118,400 ตุลาคม 2562 - 900บ/คน 431,100 432,000 กนั ยายน 2563 700บ/คน 1,343,300 1,332,400 900บ/คน 1,727,100 354,000 ตุลาคม 2562 - กนั ยายน 2563 ตุลาคม 2562 - กนั ยายน 2563 - 499,800 เมษายน 2563 - 1,200/คน กันยายน 2563 าท ท บาท คนื 88,200 บาท

5. แผนงาน : แผนงานยทุ ธศาสตรพ์ ัฒนาศกั ยภาพคนตลอดช่วงชีวิต โครงการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตผสู้ งู อายุ ท่ี โครงการ/งาน/กจิ กรรม เปา้ หมาย/คน งบประมาณ ไตร งบรายจา่ ยอ่ืน ค่าใช้จา่ ยโครงการความรว่ มมอื การผลิตผดู้ ูแลผ้สู ูงอายุ 120 154,200 77 120 154,200 77 6. แผนงาน : แผนงานยทุ ธศาสตรพ์ ฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมดิจิทลั โครงการพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมดิจิทลั ท่ี โครงการ/งาน/กิจกรรม เปา้ หมาย/คน งบประมาณ ไตร งบรายจา่ ยอน่ื 1,755 1,000,900 52 คา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งเครอื ข่ายดิจทิ ลั ชมุ ชนระดับตาบล 1,755 1,000,900 52

39 รมาส 1 แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ ระยะเวลาดาเนนิ การ หมายเหตุ ไตรมาส 4 7,100 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 7,100 - ตลุ าคม 2562 - 77,100 77,100 กนั ยายน 2563 แผนการใช้จา่ ยงบประมาณ รมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 ระยะเวลาดาเนินการ หมายเหตุ 22,370 - 478,530 - 22,370 - 478,530 - ตลุ าคม 2562 - กนั ยายน 2563

40 1.โครงการสง่ เสรมิ การร้หู นังสือ 2. ความสอดคล้องกับนโยบาย จดุ เน้นการดาเนินงานงาน กศน. ตามยุทธศาสตร์กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 6 ยทุ ธศาสตร์ 1. พฒั นาหลักสูตร กระบวนการเรยี นการสอน และการวัดผลประเมนิ ผล 1.3 จัดการศกึ ษาเพ่ือเพม่ิ อัตราการร้หู นังสือให้คนไทยให้สามารถอ่านออกเขียนได้ 3. หลกั การและเหตผุ ล การจัดการส่งเสริมการรู้หนังสือเป็นการจดั การศึกษาสาหรับประชาชนทไี่ มร่ หู้ นงั สือ หรอื ผ้ทู ่ีลืมหนังสือ เพอ่ื ใหส้ ามารถอา่ นออกเขียนได้ และมีความรู้พนื้ ฐานทางด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ตลอดจน ความรู้ทีจ่ าเปน็ ต้องนาไปใช้ประโยชนใ์ นชีวติ ประจาวัน โดยมวี ิธกี ารจัดการศึกษาทสี่ อดคล้องกับสภาพและความ ตอ้ งการของผู้เรียน 4. วัตถปุ ระสงค์ 4.1 เพื่อสง่ เสริมจานวนประชากรทไ่ี มร่ ู้หนังสอื ในพ้ืนท่จี ังหวดั เพชรบรู ณ์ ใหไ้ ด้เรียนรู้สามารถ อ่านออกเขยี นได้ 4.2 เพ่อื ป้องกันการลมื หนังสอื ของประชาชนในเขตพน้ื ทจี่ ังหวัดเพชรบูรณ์ 5. เปา้ หมาย เชิงปริมาณ ประชาชนท่ีไม่รหู้ นังสือ และลืมหนังสือ ในเขตจังหวัดเพชรบรู ณ์ จานวน 2,170 คน เชงิ คณุ ภาพ ประชาชนในเขตพ้ืนทจ่ี ังหวดั เพชรบูรณ์ สามารถอ่านออกเขียนได้ และมีความรู้พนื้ ฐาน ทางดา้ นคณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ตลอดจนความรู้ทจ่ี าเป็นต้องนาไปใช้ประโยชน์ในชวี ิตประจาวัน 6. วธิ ดี าเนนิ การ วตั ถปุ ระสงค์ กล่มุ เป้าหมาย เป้าหมาย พ้ืนที่ ระยะเวลา งบ (คน) ดาเนินการ ประมาณ กจิ กรรมหลกั 1.เพ่ือส่งเสรมิ จานวน ประชาชนในเขต ตุลาคม (บาท) ประชากรท่ไี มร่ หู้ นังสือใน 2,170 พ้นื ที่ 2562 - 1,122,000 จดั การศกึ ษา จังหวัด กันยายน กลมุ่ เปา้ หมายผ้ไู มร่ ู้ พน้ื ทจ่ี ังหวดั เพชรบรู ณ์ จงั หวัด 2563 หนงั สือ ด้วยหลกั สูตร เพชรบรู ณ์ทไ่ี มร่ ู้ สือ่ ทีเ่ หมาะสม ใหไ้ ดเ้ รยี นรสู้ ามารถอ่าน หนงั สือ และลมื เพชรบรู ณ์ ออกเขยี นได้ หนังสือ 2.เพ่ือปอ้ งกันการลมื - เกษตรกร หนงั สือของประชาชนใน - รับจา้ ง - ค้าขาย เขตพน้ื ทจี่ งั หวดั - ผดู้ ้อยโอกาส - ผู้พกิ าร เพชรบูรณ์ - ผู้ตอ้ งขัง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook