Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วันงดสูบบุหรี่โลก

วันงดสูบบุหรี่โลก

Published by saowanee.yaukala, 2020-05-26 00:01:09

Description: วันงดสูบบุหรี่โลก

Search

Read the Text Version

วนั งดสูบบุหรี่โลกจัดขนึ้ ครงั้ แรกในวนั ท่ี 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1988 โดยองค์การอนามยั โลก เนอ่ื งจากเล็งเหน็ อนั ตรายของบุหร่ี ต่อสขุ ภาพ ของผสู้ บู บหุ รีแ่ ละผู้ไม่สูบบหุ รแ่ี ต่ไดร้ ับควนั บหุ รี่ การจดั งานวันงดสบู บุหร่โี ลกก็เพอ่ื กระตนุ้ ใหผ้ ู้สบู บุหรี่เลกิ สบู ให้รัฐบาล ชุมชนและประชากรโลก ตระหนกั ถงึ ความสาคญั และเขา้ ร่วม กิจกรรมและกระตุ้นให้รัฐบาลกาหนดนโยบาย/กฏหมายเพอ่ื ควบคุม ยาสบู องคก์ ารอนามยั โลกระบชุ ัดเจนว่า การสบู บุหร่ีเปน็ สาเหตุ สาคัญของการป่วยและเสยี ชวี ติ ก่อนวัยอนั ควรทส่ี ามารถปอ้ งกันได้ และกาหนดให้ วนั ที่ 31 พฤษภาคม ของทกุ ปีเป็นวนั งดสูบบหุ รี่โลก ( World No Tobacco Day) วนั งดสูบบุหรี่โลกครง้ั แรก ใช้คาขวญั “บุหรหี่ รือสุขภาพต้องเลือกสขุ ภาพ”

ไมว่ ่าจะท้งั คนสบู บหุ ร่หี รือคนไดร้ ับควนั บหุ ร่มี ือสอง ก็ได้รับ ผลเสยี กบั ร่างกายไม่แพ้กนั ในระยะยาว มาดูกนั วา่ ในบุหรี่ ประกอบดว้ ยสารพิษหลกั ๆ อะไรบ้าง \"นโิ คตนิ \" สารพิษตัวรา้ ยท่ีในระยะออกฤทธิก์ ระตนุ้ สมองและระบบประสาทสว่ นกลาง ทาให้ความดนั โลหิตสงู ขึน้ หวั ใจและชพี จรเตน้ เร็ว และทาให้หนกั กวา่ ปกติ แต่ ระยะตอ่ มาจะมีฤทธิก์ ดระบบประสาท ทาใหห้ ลอดเลือดตบี ลง และเกดิ โรค เกย่ี วกับหลอดเลือดหัวใจและความดนั โลหติ สงู \"ทาร์\" สารทาร์จะจับอยทู่ ่ีปอด และรวมตวั กับฝุน่ ละอองทส่ี ูดเข้าไป ทาให้เกดิ การ ระคายเคอื ง อนั เปน็ สาเหตขุ องการไอและก่อให้เกิดมะเรง็ ปอดและโรคถงุ ลมโป่ง พอง

คาร์บอนมอนอกไซด\"์ เปน็ ก๊าซท่เี กดิ จากการเผาไหมช้ นิดเดียวกับทีพ่ น่ ออกจากทอ่ ไอเสีย รถยนต์ ซงึ่ จะขดั ขวางการลาเลยี งออกซิเจนของเมด็ เลือดแดง ทาให้ ผสู้ ูบบหุ รไ่ี ดร้ ับออกซิเจนน้อยลงไม่ตา่ กวา่ รอ้ ยละ 10-15 รา่ งกายจึง ต้องสร้างเมด็ เลือดแดงเพิ่มขน้ึ ทาใหเ้ ลอื ดข้นและหนืดมากข้ึน หัวใจ ต้องเตน้ เรว็ และทางานมากข้นึ \"ไฮโดรเจนไซยาไนด์\" กอ่ ให้เกดิ อาการไอ มีเสมหะ ปวดศรี ษะ และคลื่นไสอ้ าเจียน เปน็ พษิ ทใ่ี ชใ้ นการทาสงคราม โดยสารไนเตรทในบหุ ร่ีเป็นตวั การทาให้ เกิดสารชนดิ น้ี และเปน็ ตวั สกดั กน้ั เอนไซม์ทีเ่ กี่ยวกับการหายใจหลาย ตัว ทาใหเ้ กดิ ความผิดปกติของการเผาผลาญพลังงานที่กลา้ มเนอื้ หวั ใจและท่ผี นงั หลอดเลอื ด

\"ไนโตรเจนไดออกไซด์\" สาเหตุของโรคถุงลมปอดโป่งพอง โดยจะไปทาลายเยอ่ื บหุ ลอดลม ส่วนปลายและถุงลม \"แอมโมเนยี \" ใชใ้ นการปรงุ แต่งรสชาตแิ ละช่วยใหน้ โิ คตนิ ดดู ซึมเขา้ สู่สมองและ ประสาทเร็วขึน้ มฤี ทธ์ิระคายเคอื งเน้อื เย่อื ทาใหแ้ สบตา แสบจมูก และหลอดลมอกั เสบ \"ไนโตรเจนออกไซด\"์ ทาใหห้ วั ใจเต้นเรว็ ข้ึน ใจสั่น \"ไซนาไนด์\" ใชเ้ ป็นยาเบอ่ื หนู ถา้ ได้รบั สารน้ีมาก จะทาใหห้ วั ใจเปน็ อัมพาตและ หยุดหายใจได้ ที่มา : แผบ่ พับรหู้ รอื เปล่า อะไรอยใู่ นบหุ ร่ี โดย Sook Pulblishing โดย สสส.

คณุ ไมส่ ูบบุหรีเ่ พราะคุณทราบดวี า่ บหุ รีท่ าลายสขุ ภาพมากเพยี งใด แต่ คณุ ทราบหรอื ไม่วา่ ควนั บหุ ร่ีท่ีล่องลอยอยใู่ นอากาศก็เปน็ อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพของคุณได้ไมแ่ พ้กนั การสูดดมควันบหุ ร่ีโดยไม่ตงั้ ใจสง่ ผลร้าย แค่ไหน? บทความน้มี คี าตอบท่เี ราเชอื่ วา่ จะทาใหค้ ณุ ไม่อยากเขา้ ใกล้ ควันพษิ เหล่านอ้ี กี อยา่ งแนน่ อน ควนั บหุ รี่มอื สอง คอื ควันบหุ ร่ีทีผ่ ูส้ ูบพ่นออกมาทางลมหายใจผสมกับ ควันจากปลายมวนบุหรีท่ ่ีกาลังเผาไหม้โดยไมผ่ ่านตัวกรองสารพษิ ใดๆ ควนั ชนิดนีป้ ระกอบดว้ ยสารเคมีมากกวา่ 7,000 ชนิด เป็นสารพิษ นับร้อยชนิดและในจานวนน้ีราว 70 ชนดิ เปน็ สารกอ่ มะเรง็ ทส่ี ามารถ ปะปนอย่ใู นอากาศไดน้ านถงึ 5 ชวั่ โมงโดยไม่มกี ลนิ่ ให้รับรู้ได้เลย

สารพิษในควนั บุหรี่เกิดจากการเผาไหมข้ องสารเคมีทมี่ อี ยใู่ นใบยาสบู ตามธรรมชาติ จากสารเคมที ่ีใชป้ รงุ แต่งกล่นิ และรสในกระบวนการ ผลติ บุหร่ี และจากกระดาษที่ใชม้ วนบุหร่ี ซง่ึ ตวั อย่างของสารพิษ เหล่าน้ี ได้แก่ เบนซีน เปน็ สารกอ่ มะเรง็ ท่ีพบในยาฆ่าแมลงซ่ึงอาจตดิ มากบั ใบ ยาสบู ฟอรม์ าลดีไฮด์หรอื ฟอรม์ าลนี เปน็ สารกอ่ มะเรง็ ท่ีกอ่ ให้เกิดการ ระคายเคืองต่อดวงตา เยื่อบุจมูก และเย่อื บุทางเดินหายใจ พอโลเนียม-210เป็นสารกมั มันตรังสี เป็นสาเหตุของการเกิด โรคมะเร็งปอด แคดเมียม เปน็ สารโลหะทเ่ี ป็นอันตรายตอ่ ไต ตับ และสมอง รวมถึงเพ่ิมความเสย่ี งตอ่ การเกิดมะเรง็ ปอดและอัณฑะ

สารตะกั่ว เปน็ สารโลหะท่ที าลายสมอง ไต ระบบประสาทและเม็ด เลอื ดแดงอย่างรนุ แรง สามารถถูกดูดซมึ ผ่านผวิ หนังได้โดยเฉพาะใน เด็ก แอมโมเนยี ใช้ปรงุ แต่งรสชาตแิ ละช่วยใหน้ ิโคตินดดู ซมึ เขา้ สสู่ มอง และประสาทสว่ นกลางเร็วขนึ้ มฤี ทธิร์ ะคายเคอื งเนื้อเย่ือ ทาให้แสบตา แสบจมกู หลอดลมอักเสบ โครเมียม เป็นสารโลหะทอ่ี าจตกค้างในใบยาสูบหลงั จากการพน่ ยา ฆ่าแมลง คาร์บอนมอนอกไซด์ เปน็ แก๊สท่เี กดิ จากการเผาไหมบ้ ุหร่ี ออกฤทธ์ิ ขัดขวางการลาเลยี งออกซิเจนของเม็ดเลอื ดแดง ทาให้ผสู้ ูดควันบุหร่ี ได้รบั ออกซเิ จนนอ้ ยลง เลอื ดข้นและหนืดข้นึ จนหัวใจตอ้ งทางานหนัก เพอ่ื ให้เลือดนาออกซิเจนไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกายซึ่งนาไปสู่สาเหตุ ของการเกิดโรคหวั ใจ สารหนู มผี ลตอ่ ระบบทางเดนิ อาหาร และเชอื่ มโยงกบั การเกิด ภาวะหัวใจขาดเลือด

สารเคมีเหลา่ นี้ไมไ่ ด้อยู่แคใ่ นควนั ที่เราสดู ดมเข้าไป แต่ยงั ติดอยู่บน เสน้ ผมและเสื้อผา้ ของผู้สบู อยบู่ นพรม บนข้าวของเครอื่ งใช้ตา่ งๆ ท่ี เรยี กกนั วา่ ควนั บุหรี่มอื สามซง่ึ เปน็ อนั ตรายตอ่ คนรอบขา้ งไมแ่ พ้ควัน บหุ รีม่ อื สองเลย











อ้างองิ 1. โรงพยาบาลบารุงราษฎร์ในกรงุ เทพ ทไี่ ดร้ ับการรบั รองจาก JCI มาตรฐานโรงพยาบาล ระดบั สากล 33 สุขุมวทิ ซอย 3 เขตวัฒนา กรงุ เทพ 10110 ประเทศไทย 2. ทม่ี า : แผ่บพับร้หู รอื เปลา่ อะไรอย่ใู นบหุ รี่ โดย Sook Pulblishing โดย สสส. 3. โรงพยาบาลกรุงเทพพัทยาเปน็ โรงพยาบาลในเครือโรงพยาบาลกรุงเทพ ต้งั อยู่เลขท่ี 301 หมู่ 6 ถนนสขุ ุมวิท กม. 143 ตาบลนาเกลือ อาเภอบางละมุง จังหวดั ชลบรุ ี (ในเขตเมือง พทั ยา) 4. มูลนธิ ริ ณรงคเ์ พอ่ื การไมส่ ูบบหุ รี่ 36/2 ซอยประดิพทั ธ์ 10 ถนนประดิพัทธ์ แขวงพญาไท เขตพญาไท กรงุ เทพฯ 10400 โทรศพั ท์ 0-2278-1828 โทรสาร 0-2278-1830 5.https://www.google.com/search?q=%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0% B8%99%E0%B8%87%E0%B8%94%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B 8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%AB%E0%B8%A3%E0%B8 %B5%E0%B9%88&rlz=1C1NHXL_thTH815TH815&sxsrf=ALeKk01Po9 zDpYjsFnF247D0F0znb5SEMw:1590398089133&source=lnms&tbm =isch&sa=X&ved=2ahUKEwitvp3J1s7pAhXSW3wKHVsqDdgQ_AUoAXoE CBYQAw&biw=1366&bih=608#imgrc=tsD0jmfFsUiVwM&imgdii=rPIqorF YQR13FM 6.https://www.google.com/search?q=%E0%B8%A7%E0%B8%B1 %E0%B8%99%E0%B8%87%E0%B8%94%E0%B8%AA%E0%B8 %B9%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%AB%E0 %B8%A3%E0%B8%B5%E0%B9%88&rlz=1C1NHXL_thTH815TH 815&sxsrf=ALeKk01Po9zDpYjsFnF247D0F0znb5SEMw:159039 8089133&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ved=2ahUKEwitvp3J1s 7pAhXSW3wKHVsqDdgQ_AUoAXoECBYQAw&biw=1366&bih=60 8#imgrc=SUCqesvqOUIQkM


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook