Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แฟ้มสะสมผลการปฏิบัติงาน (Portfolio)

แฟ้มสะสมผลการปฏิบัติงาน (Portfolio)

Published by อนัญญา สุทธิ, 2022-03-03 21:37:49

Description: รายงานการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู (ขั้นทดลองสอน)

Search

Read the Text Version

Portfolio แฟ้มสะสมผลการปฏิบตั ิงาน รายงานการฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ครู

ก คานา แฟ้มสะสมผลการปฏบิ ตั ิงาน (Portfolio) เลม่ นี้ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของรายวิชา ๑๑๐๐๔๐๒ การฝึกทักษะ วิชาชีพครู ๒ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา จัดทาข้ึนเพ่ือรายงานการฝึกประสบการณ์ วิชาชีพครู (ขั้นทดลองสอน) โรงเรียนสันติราษฎร์วิทยาลัย ซึ่งประกอบไปด้วย ข้อมูลนักศึกษา ตารางทดลองสอน แผนการจัดการเรยี นรู้ ส่ือการเรยี นการสอน กจิ กรรมการเรียนการสอน ผลงานผู้เรียน บันทึกหลังการสอน การปฏิบัติงานทดลองสอน ประมวลภาพการเข้าร่วมกิจกรรมภายในโรงเรียน โครงการ ภาพนิเทศการสอน และวดิ ีโอการสอน ข้าพเจ้าขอขอบคุณผู้อานวยการโรงเรียน ท่ีเปิดโอกาสให้ข้าพเจ้าได้มาฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพครู ในครั้งน้ี ขอขอบคุณครูกานต์ธิดา แก้วกาม คุณครูพี่เล้ียง รวมถึงคณะครูทุกท่าน ท่ีคอยสนับสนุน มอบความรัก ความเมตตา ความรู้ ประสบการณ์ต่าง ๆ อกี ทงั้ ขอขอบคณุ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ฤดี กมลสวัสดิ์ อาจารยน์ ิเทศก์ ที่คอ่ ยให้คาแนะนา และคอ่ ยชว่ ยเหลือเสมอมา ข้าพเจ้าหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแฟ้มสะสมผลการปฏิบัติงาน (Portfolio) เล่มน้ี จะเป็นประโยชน์ ต่อทุกท่านสาหรับการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูไม่มากก็น้อย หากผิดพลาดประการใด กราบขออภัย และน้อมรับคาแนะนาเพอื่ ไปแก้ไขต่อไป อนญั ญา สุทธิ ผู้จดั ทา

สารบัญ ข คานา หนา้ ท่ี สารบญั ก ๐๑ ข้อมลู นกั ศึกษา ข ๐๒ ตารางทดลองสอน ๑ ๐๓ แผนการจดั การเรยี นรู้ ๓ ๐๔ สือ่ การเรยี นการสอน ๕ ๐๕ กิจกรรมการเรยี นการสอน ๕๖ ๐๖ ผลงานผ้เู รยี น ๖๗ ๐๗ บนั ทึกหลังการสอน ๗๕ ๐๘ การปฏิบตั งิ านทดลองสอน ๗๙ ๐๙ ประมวลภาพการเขา้ ร่วมกจิ กรรมภายในโรงเรียน ๙๗ ๑๐ โครงการ ๑๐๘ ๑๑ ภาพนเิ ทศการสอน และวดิ โี อการสอน ๑๑๓ ๑๑๕

๐๑ ข้อมลู นกั ศึกษา

๒ ขอ้ มลู นกั ศกึ ษา ชอื่ : นางสาวอนัญญา สทุ ธิ รหัสนกั ศกึ ษา ๖๑๘๑๑๒๔๐๓๕ สาขาวิชาภาษาไทย (ค.บ. ๕ ป)ี เบอร์โทรศัพท์: ๐๖๕-๖๒๕๔๙๗๕ G-mail: [email protected] Line: sutthi_sin โรงเรียนสันตริ าษฎร์วทิ ยาลยั ครพู ีเ่ ล้ยี ง ครกู านต์ธิดา แก้วกาม อาจารยน์ เิ ทศ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ฤดี กมลสวัสดิ์ โรงเรยี นรัตนโกสินทรส์ มโภชบางขุนเทียน ครูพ่ีเลยี้ ง ครถู นมิ รกั ษ์ อญั ชันบตุ ร อาจารย์นเิ ทศก์ อาจารย์กฤษฎา กาญจนวงศ์

๐๒ ตารางทดลองสอน

๔ ตารางทดลองสอน ระยะเวลาปฏิบตั ิการสอน ระหวา่ งวันที่ ๑๓ ธนั วาคม ๒๕๖๔ ถึงวนั ที่ ๗ มกราคม ๒๕๖๕ หมายเหตุ ได้รับมอบหมายใหท้ ดลองสอนในระดับชน้ั ม.๖/๒, ม.๖/๕, ม.๖/๙, ม.๖/๑๐ ระหว่างวันที่ ๑๓-๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๔ จัดการเรียนการสอนรูปแบบ Online และ Onsite ระหว่างวันที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๖๔ ถึง ๗ มกราคม ๒๕๖๕ จัดการเรียนการสอน รปู แบบ Online

๐๓ แผนการจดั การเรยี นรู้

๖ แผนการจดั การเรียนรู้ แบบฟอร์มแผนการจัดการเรียนรู้

๗ แผนการจดั การเรยี นรู้ แบบฟอร์มแผนการจัดการเรียนรู้ (ตอ่ )

๘ แผนการจดั การเรยี นรู้ แบบฟอร์มแผนการจัดการเรียนรู้ (ตอ่ )

๙ แผนการจดั การเรยี นรู้ แบบฟอร์มแผนการจัดการเรียนรู้ (ตอ่ )

๑๐ แผนการจดั การเรยี นรู้ แบบฟอร์มแผนการจดั การเรียนรู้ (ตอ่ )

ON-LINE / ON-SITE / K P . A

: : : :

/ .

Power Point . O-NET . . . . . .

. . . . . . O-NET . . Power Point . . .

K K K P P P A

: ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... - - - ......... ............../.................../...............

เ ยนดแผน การ ใ เ น เ ยนภาษา แสดงทรรศนะ การ ดแผน การ การ กา เ น เ ยน เ น ญ เ ดโอกาสใ ไเ ยน แสดงความ ดเ น เ ยนเ ยนเ ด การ แลกเป ยน ระห าง เ ยน เ น แผน การ ด การ สามารถ มฤทฒนา ผล ของ เ ยนไ เ อหานอกจาก ความ แ ว ใน เ องสอน ควร ฒนา เ ยน ของ การ อแสดง ทรรศนะ าง เหมาะสม เ อใ เ ยนไ ไป ป บใ ใน ต ประ น อ เ ยนใ ใน การ ด การ ดเจน เ น อ สอดค อง บ แผน การ เ ยน เ ยนด การ เ ยนไ และ สามารถ ฒนา การ ของ Ai ้ดีรู้ผู้รีรัพู้รีรัจัก้ล่ีท่ืส็ปัชู้รีรัจ้ช่ีท่ืสัวำจิวีช้ชัรำน้ดีรู้ผ้หิพ่ย่ืรีรู้ผัพู้ผ้ลู้ร้ืนีด้ดีรู้ผ์ิธัสัพ่ีทู้รีรัจ็ปีรู้ผ่วู้รีร่ีลิก็หิค้ดีรูผ้หิปัคำส็ปีรู้ผ้น่ีทู้รีรัจ็ป้ชู้รีรัจ

บันทกึ หลงั การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ รหัสวชิ า ท๓๓๑๐๒ รายวิชา ภาษาไทยพน้ื ฐาน ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๖ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ๑. ผลการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………… ๒. ปัญหาและอปุ สรรค …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………….…………………ผ้สู อน (นางสาวอนญั ญา สทุ ธิ) นกั ศกึ ษาฝึกประสบการณว์ ิชาชพี ครู



: . : :



. . . . .

O-NET/ Note . . . . . . . . . . . ..

แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ ๒ รหสั วชิ า ท๓๓๑๐๒ รายวชิ า ภาษาไทยพนื้ ฐาน ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๖ ภาคเรยี นที่ ๒ หนวยการเรยี นรทู ี่ ๒ เหตผุ ลกบั ภาษา (การอนมุ านเหตแุ ละผลทสี่ มั พนั ธก นั ) จำนวน ๓ คาบ (จำนวน ๑๕๐ นาท)ี ชือ่ ผสู อน นางสาวอนญั ญา สทุ ธิ ON-LINE ๑. มาตรฐานการเรยี นร/ู ตวั ชว้ี ดั ๑.๑ มาตรฐานการเรยี นรู มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนำไปใชตัดสินใจ แกปญหา ในการดำเนินชวี ติ และมีนสิ ยั รกั การอา น ๑.๒ ตวั ช้ีวัด ท ๔.๑ ม.๔-๖/๑ คาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่อานและประเมินคาเพื่อนำความรูความคิด ไปใชตัดสนิ ใจแกปญ หาในการดำเนินชวี ติ ๑.๓ จุดประสงคการเรยี นรู ดานความรู (K) ๑. นักเรียนอธบิ ายความหมายของการอนมุ านได ๒. นกั เรียนอธบิ ายประเภทของการอนุมานได ๓. นักเรียนอธบิ ายขน้ั ตอนการพจิ ารณาการอนุมานได ดานทักษะกระบวนการ (P) ๑. นักเรยี นสามารถวเิ คราะหป ระเภทของการอนุมานได ๒. นักเรียนสามารถวิเคราะหขั้นตอนการพิจารณาการอนุมาน และความแตกตางระหวาง โครงสรางการแสดงเหตผุ ลได ๓. นักเรียนสามารถวิเคราะหโ จทยเร่ืองการอนมุ านได

ดานคุณลกั ษณะ(A) ๑. นกั เรยี นรวมกิจกรรมการเรยี นการสอนเรื่องการอนุมานดวยความตั้งใจ ๒. สาระสำคญั การอนุมาน คือ การคาดคะเนโดยใชเหตุและผล เปนกระบวนการคิดในการหาขอสรุปที่ไดอาจไมใชขอสรุป ทตี่ องเปน จรงิ เสมอไป การอนุมานเหตุและผลท่ีสมั พนั ธก นั มี ๓ ประเภท คือ การอนุมานจากเหตุไปหาผล การอนุมาน จากผลไปหาเหตุ และการอนุมานจากผลไปหาผล ผูเรียนจะตองศึกษาความหมายของการอนุมาน ประเภทของ การอนุมาน เพื่อเปนพื้นฐานในการเรียนรู เรื่อง การอนุมานเหตุและผลที่สัมพันธกันและวิเคราะหโจทย เร่อื ง การอนุมาน ๓. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค ⃞ รักชาติ ศาสน กษัตริย ⃞ อยูอยา งพอเพียง ⃞ ซอื่ สัตยสจุ รติ √ ⃞ มงุ ม่ันในการทำงาน √ ⃞ ใฝเ รยี นรู ⃞ มีจติ สาธารณะ √ ⃞ มวี ินัย ⃞ รกั ความเปนไทย ๔. สมรรถนะสำคัญของผเู รยี น √ ⃞ ความสามารถในการสื่อสาร : นกั เรยี นสามารถนำเสนอความหมายของการอนมุ านได √ ⃞ ความสามารถในการคิด : นกั เรยี นสามารถวเิ คราะหประเภทของการอนุมานได ⃞ ความสามารถในการแกป ญหา ⃞ ความสามารถในการใชท กั ษะชีวิต √ ⃞ ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี : นกั เรยี นสามารถใชเ ทคโนโลยีในการเรยี นรูดว ยตนเอง ๕. ดา นคณุ ลกั ษณะของผเู รยี นตามหลกั สตู รมาตรฐานสากล √ ⃞ เปนเลิศวชิ าการ ⃞ สื่อสารสองภาษา √ ⃞ ล้ำหนาทางความคิด √ ⃞ ผลิตงานอยา งสรา งสรรค ⃞ รวมกนั รับผดิ ชอบตอ สงั คมโลก ๖. บรู ณาการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๖.๑ หลกั ความพอประมาณ ผูเรียนใชส อื่ การเรียนรไู ดอ ยา งคมุ คา ใชท ักษะความสามารถในการรวมทำกจิ กรรมไดอ ยางเหมาะสม

๖.๒ หลกั ความมเี หตผุ ล ผูเรียนใชเ หตผุ ลในการวิเคราะห การอธิบายความหมาย ประเภทของการอนมุ านตามความเขาใจ ของตนเอง ๖.๓ หลกั ภมู คิ มุ กนั ผูเรยี นรบั ฟง และแลกเปลย่ี นความคดิ เห็นกบั ครแู ละเพ่ือนรว มชัน้ ๖.๔ เงอื่ นไขความรู ๑) มคี วามรเู รือ่ งความหมายของการอนมุ าน ๒) มคี วามรูเร่อื งประเภทของการอนมุ าน ๖.๕ เงอื่ นไขคณุ ธรรม ๑) มคี วามใฝรใู ฝเรยี น ๒) ตรงตอ เวลา ๓) มคี วามรับผดิ ชอบ ๗. ชิ้นงาน/ภาระงาน แบบฝก หัด กิจกรรมท่ี ๑๒ สรุปความรู เร่อื ง การอนมุ าน แบบฝก หดั กจิ กรรมท่ี ๑๓ ลองทำโจทยกันเถอะ ใบกิจกรรม “ตะลยุ โจทยการอนมุ าน” กจิ กรรมเลือกกลองสมุ อนุมาน กิจกรรมแอบเปด การด ๘. กระบวนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู คาบท่ี ๑ (จำนวน ๕๐ นาท)ี ขนั้ นำเขา สบู ทเรยี น (๕ นาท)ี ๑. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับโครงสรางการแสดงเหตุผลวาประกอบดวยอะไรบาง จากน้ัน ครูใชสื่อ Power Point บัตรประโยคจำนวน ๓ ประโยค ตั้งคำถามวานักเรียนคิดวาประโยคขอไหนเปนการอนุมาน แลว ครอู ธบิ ายเพิ่มเติมทลี ะประโยค ดงั น้ี บัตรประโยคที่ ๑ เมฆครมึ้ บตั รประโยคท่ี ๒ ฝนตกแน ๆ บตั รประโยคท่ี ๓ เมฆมาอกี แลว ฝนตกแน ๆ

(แนวการอธิบาย บัตรประโยคที่ ๑ เมฆครึ้ม คือ ขอมูลลึก ๆ เปนขอเท็จจริง บัตรประโยคที่ ๒ ฝนตกแน ๆ คือ การเดา วาฝนมันจะตก ในความเปนจริงแลวอาจจะตกหรือไมตกก็ได สวนบัตรประโยคที่ ๓ เมฆมา อกี แลว ฝนตกแน ๆ คือ เปนการคาดคะเน คาดการณว า เมื่อเมฆมาอีกแลว ฝนกจ็ ะตกแน ๆ) ขน้ั การจดั การเรยี นรู (๔๐ นาท)ี ๑. ครูใหนักเรียนตอบคำถามกระตุนความคิดวา การอนุมานคืออะไร ตามความเขาใจของตนเอง เพื่อเปน การเชอ่ื มโยงเขา สูการจัดการเรยี นรู (แนวคำตอบ การอนุมาน คือ การคาดคะเน คาดการณ คาดเดาจากขอสรุป ซึ่งขอสรุปก็คือผลจาก เหตุผลทม่ี ีอย)ู ๒. ครอู ธิบายความหมายของการอนุมานโดยใชส่ือ Power Point ประกอบการอธบิ าย (แนวการอธิบาย การอนุมาน หมายถึง การคาดคะเนโดยใชเหตุและผลที่สัมพันธกัน วาผลที่เกิด เปนแบบนี้ เหตุก็เปนแบบนี้ หรือเหตุเกิดแบบนี้ ผลก็เปนแบบนี้ ซึ่งขอสรุปที่ไดอาจไมใชขอสรุปที่เปนจริงเสมอไป เอางาย ๆ เหมือนที่เราจินตนาการเหตุการณตอนจบของการดูละครจากเหตุที่มีอยู วาตอนจบเราอยากใหเปนจบ แบบนี้นะ หรือมโนจากสิ่งที่เราพบเห็น เชน เราเจอรปภ. คน เราก็คิดวารปภ. คนนี้คงไมใชแคผูรักษาความปลอดภัย อาจจะเปนประธานบรษิ ัทกไ็ ด ซง่ึ เปน สงิ่ ทเี่ ราคาดเดาไปเอง) ๓. ครูอธบิ ายประเภทของการอนมุ านวามี ๓ ประเภท ไดแ ก ๑. การอนุมานจากเหตุไปหาผล ๒. การอนุมานจากผลไปหาเหตุ ๓. การอนุมานจากผลไปหาผล ๔. ครูอธิบายประเภทของการอนุมานเพ่ิมเตมิ (แนวการอธิบาย ใหนักเรียนสังเกตวาเมื่อขึ้นตนดวยคำวา จาก “เหตุ, ผล, ผล” เปนสิ่งที่เรารู สวน ไปสู “ผล, เหตุ, ผล” เปนสิ่งที่คาด คือ เมื่อเรารูเหตุก็สามารถคาดถึงผลได เมื่อรูผลก็รูวาเหตุที่เกิดขึ้นคืออะไร แลวผลแบบนี้ ก็สามารถคาดผลอีกแบบได ดังนั้น จำไววา การอนุมาน จากสิ่งที่รู ไปสู สิ่งที่คาด แตโครงสราง การแสดงเหตุผล คือ ลำดับการวางเหตแุ ละผล ๕. ครตู ้ังคำถามถามนกั เรียนวา นกั เรียนคิดวา การอนมุ านจากเหตุไปหาเหตมุ ีหรือไม (แนวการตอบ การอนุมานจากเหตุไปหาเหตุ ไมมี เพราะประโยคหนึ่งประโยคจะตองมีเหตุและผล ถงึ จะเปนประโยคได ดงั นนั้ ประเภทของการอนมุ านจะมีแค ๓ ประเภทเทาน้นั ) ๖. ครูอธิบายขั้นตอนการพิจารณาการอนุมานเพิ่มเติมและใหขอสังเกตเกี่ยวกับประเภทการอนุมาน วาถา อยากรเู ปน การอนุมานประเภทไหนใหพ จิ ารณาจาก ๓ ขัน้ ตอน ดังน้ี ๑. พิจารณาวาสวนใดเปนเหตุ สว นใดเปน ผล ๒. พิจารณาวาสว นใดเปน สง่ิ ที่รู สว นใดเปน สิ่งทีค่ าด ๓. พจิ ารณาการตอบอนมุ านสมั พนั ธจากส่งิ ท่รี ู ไปสสู งิ่ ทีค่ าด

จากนั้นครูยกตัวอยางขอความ แลวอธิบายตามขั้นตอนการพิจารณา ประเภทของการอนุมาน โดย ใหนกั เรยี นรว มกนั วิเคราะหข อความทก่ี ำหนดพรอมทง้ั บอกโครงสรา งการแสดงเหตุผล ตวั อยา งประโยค เขานา จะชนะการประกวด เพราะเขาทำสุดฝมอื (แนวคำตอบ ขั้นตอนที่ ๑ ใหพิจารณาสวนใดเปนเหตุ สวนใดเปนผล ใหนักเรียนสังเกตคำเชื่อม คือ คำวา “เพราะ” หลังคำเชื่อม “เพราะ” จะเปนเหตุเสมอ ดังนั้น เขาทำสุดฝมือ(เหตุ) คิดงาย ๆ วาการที่เขา จะชนะการประกวดไดนั้นก็เพราะวาเขาไดทำสุดฝมือแลวหรือเปลา สวนเขานาจะชนะการประกวด(ผล) ขั้นตอนที่ ๒ พิจารณาสวนใดเปนสิ่งที่รู สวนใดเปนสิ่งที่คาด เรา(รู) วาเขาทำสุดฝมือแลว จากนั้นสังเกตคำเชื่อม คำวา “นาจะ” คือ คาด เปนสิ่งที่เราคาดคะเน คาดเดา ดังนั้น เขานาจะชนะการประกวด(คาด) ขั้นตอนที่ ๓ พิจารณาการตอบ อนุมานจากส่งิ ท่รี ู ไปสูส่งิ ทคี่ าด จะไดเปน เหตุ ผล สรปุ ตัวอยางประโยคนเ้ี ปน การอนุมานประเภทจากเหตุ ไปหาผล สวนโครงสรา งการแสดงเหตุและผล จะสนใจการเรียงตามลำดบั ของประโยค คอื ผล เหตุ) ๗. ครสู รปุ ข้นั ตอนการพจิ ารณาการอนมุ านใหนกั เรียนกอนเขา ทำกิจกรรม ๘. ครูใหนักเรียนทำกิจกรรมพิจารณาขอความการอนุมานเหตุและผล โดยใชสื่อ Wordwall วงลอ สุม เลขท่ี จำนวน ๓ คน ใหมารวมวิเคราะหข อ ความวาเปนการอนมุ านประเภทใดตามขั้นตอนการพจิ ารณาการอนุมาน พรอมท้งั สมุ เรยี กช่อื หรอื เลขท่ีนักเรียนคนอื่น ๆ ดวย เพือ่ ตรวจสอบความรู ความเขาใจ ขน้ั สรปุ (๕ นาท)ี ๑. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรู เกี่ยวกับความหมายของการอนุมาน และประเภท ของการอนุมาน แลวตั้งคำถามกลับนักเรียนวาจะรูไดอยางวาขอความนี้เปนการอนุมานประเภทไหน จะสามารถ พจิ ารณาไดจ ากอะไร ๒. ครูใหนักเรียนทำแบบฝกหัด กิจกรรมที่ ๑๒ สรุปความรู เรื่อง การอนุมาน ในเอกสาร ประกอบการเรยี น โดยใหนักเรยี นสรุปความรูจ ากการจัดการเรียนรใู นรูปแบบแผนผังความคิดเปน การบา น คาบท่ี ๒ (จำนวน ๕๐ นาท)ี ขน้ั นำเขา สบู ทเรยี น ๑๐ นาท)ี (แผนสำหรบั การนิเทศการสอน) ๑. ครใู ชคำถามตรวจสอบความรูเกย่ี วกับเนื้อหาท่ไี ดเรียนในคาบที่แลว ๒. ครูใหนักเรียนรวมเลนเกม “ชวนคิด กระตุนสมอง” โดยใชสื่อ Wordwall เกี่ยวกับความหมาย ประเภทของการอนุมาน และขั้นตอนการพิจารณาการอนุมาน จากนั้นครูใหนักเรียนรวมชวยกันคิด ชวยกันตอบ ตามขอคำถาม แลวครูรวมคะแนนของแตละหองไว ซึ่งจะเปนการกระตุนความคิดกับนักเรียน เพื่อเปนการทบทวน ความรแู ละเชอ่ื มโยงเขา สกู ารจดั การเรยี นรู ขน้ั การจดั การเรยี นรู (๓๕ นาท)ี ๑. ครูใหนักเรียนทำกิจกรรมเลือกกลองสุมอนุมาน โดยใชสื่อ Power Point มีจำนวนกลองสุม ทั้งหมด ๖ กลอง ครูใชวิธีการถามวาใครจะเปนอาสาคนแรก ถาไมมีครูจะใชวิธีการสุมเรียกชื่อหรือเลขที่ของนักเรียน ใหเลือกหมายเลขกลองสุม ๑-๖ จำนวน ๑ กลอง จากนั้นครูใหนักเรียนพิจารณาขอความที่ปรากฏ ครูถามนักเรียนวา

ขอความที่ปรากฎเปนการอนุมานประเภทใด ครูใชคำถามถามนักเรียนเกี่ยวกับการพิจารณาขอความ ตามขั้นตอนการพิจารณาการอนุมานอยางไร แลวครูเฉลยคำตอบพรอมอธิบายประเภทของการอนุมาน และโครงสรางการแสดงเหตุผล ซ่งึ เพือ่ นในชั้นเรยี นจะมสี ว นรวมชว ยกันคิด ชว ยกันบอก ในกรณที น่ี ักเรยี นอาจจะตอบ ไมไดครูจะใชวิธีถามนักเรียกวาตองการใหเพื่อนมาชวยไหม จากนั้นครูจะเปดโอกาสใหนักเรียนเรียกชื่อเพื่อนมารวม ชวยคิด เมื่อจบกลองสุมกลองแรกครูใหนักเรียนเรียกสุมชื่อหรือเลขที่ของเพื่อนคนถัดไปใหมาเลือกกลองสุมที่ ๒,๓ และครูใหแตมคะแนนแกนักเรียน ๒. ครทู บทวนขั้นตอนการพิจารณาการอนุมานใหน ักเรยี นอีกหนึง่ คร้ัง กอนเขากจิ กรรมตอ ไป ๓. ครูใหนักเรียนรวมทำกิจกรรม “แอบเปดการด” โดยใชสื่อ Power Point เปนการดประเภท ของการอนุมาน มีการดประเภทของการอนุมานมาใหจำนวน ๓ ใบ ครูใหนักเรียนทำกิจกรรมโดยรวมกันเลือก หมายเลขการดจำนวน ๒ ใบ จากนั้นครูใหนักเรียนทุกคนคิดขอความประเภทของการอนุมานที่ตัวแทนหองเลือก หมายเลขเปด การดได ประเภทละ ๑ ตวั อยาง โดยครูใหเวลานักเรียนในการคดิ ๕ นาที เม่อื หมดเวลาครูจะใหนกั เรยี น นำเสนอขอ ความของตนเองจำนวน ๒ คน โดยใหเลอื กมาเพียง ๑ ประเภทจาก ๒ ประเภทจากการเลอื กการดประเภท ของการอนุมาน นักเรียนคนแรกจะนำเสนอประเภทของการอนมุ านที่เปดการดไดในใบแรก นกั เรียนคนทีส่ องนำเสนอ นำเสนอประเภทของการอนุมานใบที่สองตามลำดับ โดยครูจะถามนักเรียนวามีใครจะอาสาเปนคนแรกนำเสนอ ขอความประเภทของการอนุมานที่ตนเองไดคิดขึ้น ถาไมมีครูจะใชวิธีการสุมเรียกชื่อหรือเลขที่ของนักเรียน โดยครู จะเปนคนเขียนขอความของนักเรียนใหเพื่อนรวมชั้นไดเห็น จากนั้นครูจะถามนักเรียนวาขอความที่นักเรียนคิดมา นักเรียนมีขั้นตอนการพิจารณาการอนุมานอยางไรบาง อะไรเปนเหตุ อะไรเปนผล อะไรเปนสิ่งท่ีรู อะไรเปนสิ่งที่คาด ครูและนักเรียนในชั้นเรียนรวมกันตรวจสอบ หลังจากจบคาบเรียนครูจะใหนักเรียนทุกคนถายภาพขอความประเภท การอนุมานท่ีตนเองคิดข้นึ สง ในไลนกลุม หอ ง เพื่อเชค็ ชอ่ื การเขา หองเรียน ข้ันสรปุ (๕ นาที) ๑. ครใู หน กั เรยี นสรุปความรทู ่ีไดรบั หลงั จากการทำกจิ กรรม ผา นชองทาง Padlet และมอบหมาย งานใหน กั เรียนไปศกึ ษาขอ สอบ เร่อื ง การอนมุ าน คาบท่ี ๓ (จำนวน ๕๐ นาท)ี ขน้ั นำเขา สบู ทเรยี น (๕ นาท)ี ๑. ครทู บทวนความรเู รอื่ งความหมาย ประเภทของการอนมุ าน และข้นั ตอนการพิจารณาการอนุมาน เพอื่ เชอ่ื มโยงเขาสกู ารจัดการเรียนรู ขนั้ การจดั การเรยี นรู (๔๐ นาท)ี ๑. ครูใหนักเรียนรวมกันทำกิจกรรม “ตะลุยโจทยการอนุมาน” จากใบกิจกรรมที่ครูสงไฟลใหใน ไลนกลุมหองโดยครูใหเวลานักเรียนฝกทำโจทยจากขอสอบ ๙ วิชาสามัญ และขอสอบ O-NET จำนวน ๕ ขอ ดว ยตนเองกอ นเปน เวลา ๑๕ นาที เพื่อเปน การตรวจสอบความรู

๒. ครูเฉลยขอสอบและอธิบายโจทยไปละทีละขอ ใหนักเรียนในชั้นเรียนมีสวนรวมในการวิเคราะห โจทยและตัวเลือกแตละขอ ครูจะใชวิธีการสุมเรียกชื่อหรือเลขที่ของนักเรียนแตละคน โดยครูตั้งคำถามจากโจทย เพื่อกระตุนความคิดของนักเรียน แลวใหนักเรียนรวมกันตอบ จากนั้นครูใหเพื่อนคนแรกสุมเรียกชื่อหรือเลขที่ของ เพอ่ื นคนตอไป ใหม าวิเคราะหโ จทยแ ละตัวเลอื กขอตอไป ขน้ั สรปุ (๕ นาท)ี ๑. ครูมอบหมายใหนักเรียนกลับไปทบทวนความรู และฝกทำโจทยเพิ่มเติมในแบบฝกหัด “ลองทำโจทยกันเถอะ” จากเอกสารประกอบการเรียน วชิ าภาษาไทยพื้นฐาน ๓๓๑๐๒ ช้นั มธั ยมศึกษาปท่ี ๖ ๙. สอ่ื /วสั ดอุ ุปกรณ/ แหลงเรียนรู สอ่ื ๑. ส่อื Power Point เรื่อง การอนุมานเหตแุ ละผลท่ีสมั พันธก นั ๒. สื่อ Wordwall เรื่อง “ชวนคดิ กระตุนสมอง” ๓. ส่ือ Wordwall วงลอ สมุ เลขที่ ๔. แอปพลเิ คชนั่ Padlet แหลง เรยี นรู ๑. หอ งสมดุ โรงเรยี นสันติราษฎรวทิ ยาลยั ๒. เอกสารประกอบการเรียน วชิ าภาษาไทยพน้ื ฐาน ๓๓๑๐๒ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที่ ๖ ๑๐. การวดั และการประเมินผลการเรยี นรู วธิ วี ดั เครอื่ งมอื เกณฑก ารประเมนิ K การซกั ถามและตอบคำถาม นกั เรยี นตอบคำถามไดร อยละ ๖๐ ถือวาผา น K การตอบคำถาม คำถาม นกั เรียนไดค ะแนนรอยละ ๖๐ ถือวา ผาน K การซกั ถาม ตอบคำถามผาน Wordwall นักเรยี นตอบคำถามไดร อ ยละ ๖๐ ถอื วาผาน P การตอบคำถาม คำถาม นักเรยี นตอบคำถามไดรอ ยละ ๖๐ ถอื วาผา น P การทำแบบฝก หัด กิจกรรมที่ นักเรยี นไดคะแนนรอ ยละ ๘๐ ถอื วาผา น ๑๒ สรุปความรู เร่อื ง การอนุมาน คำถาม P การทำแบบฝกหดั กจิ กรรมที่ ตรวจแบบฝกหดั สรปุ ความรู นกั เรียนไดคะแนนรอยละ ๘๐ ถอื วาผา น ๑๓ ตะลุยโจทยก ารอนุมาน เรอื่ ง การอนมุ าน A การสังเกตพฤติกรรมการเรยี นรู ตรวจแบบฝก หัด ตะลยุ โจทย นักเรียนใหค วามรวมมอื ในกจิ กรรมในระดบั ดี การอนุมาน ถือวา ผา น กิจกรรมการเรยี นการสอน คำถาม และแบบสงั เกต พฤตกิ รรมการเรยี นรู้

๑๑. แบบสงั เกตพฤติกรรมการเรียนรู คำช้แี จง ใหทำเคร่ืองหมาย √ ลงในชอ ง ความต้ังใจ ความรวมมือ ตรงตอเวลา ผลสำเร็จ รวม ในการทำงาน ของงาน ลำดับ ชือ่ -สกลุ ในการทำงาน ๔๓๒๑ ๔๓๒๑๔๓๒ ๑ ๔๓๒ ๑ ขอ เสนอแนะเพิ่มเตมิ : ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ........................................................................................................................................................................................ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. เกณฑการใหค ะแนน ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมอยา งสมำ่ เสมอ ให ๔ คะแนน ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบอ ยคร้ัง ให ๓ คะแนน ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบางคร้ัง ให ๒ คะแนน ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมนอ ยคร้ัง ให ๑ คะแนน

เกณฑก ารตดั สนิ คณุ ภาพ ระดบั คณุ ภาพ ดมี าก ชวงคะแนน ดี ๑๘ - ๒๐ พอใช ๑๔ - ๑๗ ปรบั ปรุง ๑๐ - ๑๓ ตำ่ กวา ๑๐ ลงชือ่ ............................................................ผูประเมิน (นางสาวอนัญญา สทุ ธ)ิ ............../.................../...............

ความคิดเหน็ (คณุ ครพู ีเ่ ลีย้ ง) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื ………………………………………………. (นางสาวกานตธ ดิ า แกว กาม) ตำแหนง คณุ ครพู ี่เลี้ยง วันที่ ……………………………………………….

บันทกึ หลงั การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ รหัสวชิ า ท๓๓๑๐๒ รายวิชา ภาษาไทยพน้ื ฐาน ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๖ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ๑. ผลการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………… ๒. ปัญหาและอปุ สรรค …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………….…………………ผ้สู อน (นางสาวอนญั ญา สทุ ธิ) นกั ศกึ ษาฝึกประสบการณว์ ิชาชพี ครู

แบบฝกหัด และใบกจิ กรรม

แบบฝก หดั กจิ กรรมท่ี ๑๒ สรปุ ความรู เรอื่ ง การอนมุ าน (คาบเรยี นที่ ๑) คำชี้แจง ใหนักเรียนสรุปความรูเรื่องการแสดงเหตุผลและการอนุมานดวยภาษาของตนเอง โดยสรุป เปนแผนผงั ความคดิ

แบบฝก หดั กจิ กรรมที่ ๑๓ ลองทำโจทยก นั เถอะ (คาบท่ี ๓) ขอสอบ O-NET/ ๙ วิชาสามญั Note เพมิ่ เตมิ ๖. ขอ ความตอ ไปนี้เปน การอนมุ านประเภทใด “นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖ มีความมุงมั่น ตั้งใจ และจริงจัง ทุกคนคงเดนิ ทางไปถงึ ฝน ” ๑. อนมุ านจากเหตไุ ปหาเหตุ ๒. อนุมานจากเหตไุ ปหาผล ๓. อนมุ านจากผลปหาผล ๔. อนมุ านจากผลไปหาผล ๗. ขอ ใดอนุมานไดว าเปน ความคดิ ของผเู ขียนขอความตอ ไปน้ี วรรณคดีมีบทบาทเหมือนงานศิลปะประเภทอื่น ๆ คือ สรางความ บันเทิงใจและจรรโลงใจ ความบันเทิง คือ ความอิ่มใจ สวนความ จรรโลงใจ หมายถึง ความผองแผว ชื่นบานและราเริง หายจากความ หมกมุนกังวลและมีอารมณที่ขัดเกลาแลว วรรณคดีจึงนับวาเปนสิ่งที่ กลอมเกลามนุษยใหรูจักขัดเกลาแลว วรรณคดีจึงนับวาเปนสิ่งท่ี กลอ มเกลามนุษยใหร ูจกั ความงาม ความดี และความเปนจริงของชวี ติ ๑. คนที่อานวรรณคดีแลวเขาใจยอมเขาใจดูศิลปะอื่น ๆ ใหเ ขาใจได ๒. ถา ไมไดอา นวรรณคดีคนเราจะหมกมุน กังวลใจ ๓. ถาผูใดตองการรูจักความเปนจริงของชีวิต ผูนั้นตอง อานวรรณคดี ๔. การอานวรรณคดีอาจทำเกิดความพึงพอใจและมีจิตใจ ท่ีสงู ขน้ึ ได ๕. วรรณคดคี วรจัดใหรวมอยูในกลมุ เดยี วกันกบั ศลิ ปะประเภทอืน่

ใบกจิ กรรม “ตะลยุ โจทยก ารอนมุ าน” (คาบที่ ๓) ขอ สอบ O-NET/ ๙ วิชาสามญั Note เพิม่ เตมิ ๑. ขอ ใดไมอาจอนุมานไดวา เปนบุคลิกภาพของผูพูดขอความได หากเรากลัวการกระทำผิด เราจะทำอะไรไมเปนเลย การทำผิด เปนสวนสำคัญของการเจริญเติบโตทางปญญา หากเราไมทำอะไรเลย เพราะกลัวทำผิดก็จะพลาดโอกาสที่ไดพบสิ่งที่ดีที่จำเปนสำหรับ การเจรญิ เตบิ โตของชวี ติ อยางหนึ่ง (ขอ สอบ ๙ วชิ าสามัญ ป ๒๕๕๗) ๑. รักการเรยี นรู ๒. มองการณไกล ๓. กลา ไดกลา เสยี ๔. มีจิตใจเขมแข็ง ๕. มคี วามรอบคอบ ๒. จากคำพดู ตอ ไปนอ้ี นุมานไดว า ผพู ูดเปนคนอยางไร(ขอ ๒๗) “เรื่องที่เพิ่งผานมา ผมมองทะลุแลว ชีวิตคนเราตองเดินหนา ตอ ผมเก็บสิ่งดี ๆ ไวในใจก็พอ ไมนาเชื่อวาในหัวใจดวงนิดของเรานี้จะ เปน ทีเ่ กบ็ อะไรตาง ๆ ไวมากมาย” (ขอสอบ ๙ วิชาสามญั ป ๒๕๖๐) ๑. เกบ็ กด ๒. คดิ มาก ๓. ทำใจได ๔. ไมสนใจอดีต ๕. มองโลกในแงล บ ๓. ขอใดไมอาจอนุมานไดวาเปนบุคลิกภาพของผูพูดตามขอความ ตอ ไปน้ี(ขอ ๑๖) ผมใชความพยายามอยางเต็มที่ที่จะเปดหองสมุดการตูน เพื่ออนุรักษ สงเสริมและเผยแพร การตูนไทยใหยังคงอยูเปนมรดกทาง ภูมิปญญาที่สําคัญของคนในชาติสืบตอไปหลังจากการตูนไทยไมไดรับ ความนิยมเหมือนในอดีต (ขอ สอบ ๙ วิชาสามัญ ป ๒๕๖๐) ๑. อดทน ๒. มุมานะ ๓. ประนปี ระนอม ๔. หวงใยสังคม ๕. มคี วามคิดสรา งสรรค

ขอสอบ O-NET/ ๙ วิชาสามญั Note เพิม่ เตมิ ๔. ขอ ใดไมส ามารถอนมุ านไดจากขอความตอไปน้ี(ขอ ๒) จิ้งหรีดเปนสินคาที่มีแนวโนมทางการตลาดดีขึ้นทั้งในประเทศ ไทย และตางประเทศ สหภาพยุโรปหรืออียูเปนอีกตลาดหนึ่งที่นาสนใจ เพราะนอกจากจะมีผูบริโภคถึง ๕๐๘ ลานคนแลว อียูยังปรับปรุง กฎระเบียบวาดวย “อาหารใหม” (Novel Food) โดยยอมรับอาหาร พ้ืนบา น เชน แมลง และอำนวยความสะดวกในการขึน้ ทะเบียนดวย (ขอสอบ ๙ O-NET ป ๒๕๖๑) ๑. อาหารประเภทแมลงเปนทน่ี ิยมในตลาดอยี ู ๒. ไทยกำลังจะมีรายไดสูงจากการสงออกจิ้งหรีด และแมลงอนื่ ๓. อียูยอมรับอาหารพื้นบานจากหลายประเทศ เปน “อาหารใหม” ๔. อาหารประเภทแมลงทำรายไดจากตางประเทศมากกวาใน ประเทศ ๕. นอกจากประเทศในอียูแลวไทยยังสงออกแมลง ไปขายยงั ประเทศอืน่ ๆ อกี ดว ย ๕. ขอใดไมอาจอนุมานไดวาเปนลักษณะของผูเขียนขอความตอไปน้ี (ขอ ๔๐) ผมมองเห็นปญ หาในพน้ื ที่นเ้ี ปน อยางดี เรามีผวู า ราชการจังหวัด มาแลวนับไมถวน แตปญหาก็ไมเบาบางลงเลย ผมในฐานะที่เกิดที่น่ี ประสบกับปญหาดวยตัวเองมาตลอด ทราบสาเหตุของปญหาที่แทจริง ผมอยากอาสาเขา มาแกป ญ หาใหต รงประเด็น โปรงใสและตรวจสอบได (ขอสอบ O-NET พ.ศ. ๒๕๖๒) ๑. มวี ิสัยทัศน ๒. มีศลิ ปะในการพดู ๓. รักถิ่นฐานบา นเกิด ๔. มีประสบการณสูงในการทำงาน

แผนการจดั การเรยี นรทู ่ี ๓ รหสั วชิ า ท๓๓๑๐๒ รายวชิ า ภาษาไทยพนื้ ฐาน ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๖ ภาคเรยี นท่ี ๒ หนว ยการเรยี นรทู ่ี ๓ การแสดงเหตผุ ล (นริ นัย อปุ นยั ) จำนวน ๒ คาบ (จำนวน ๑๐๐ นาท)ี ชอื่ ผสู อน นางสาวอนญั ญา สทุ ธิ ON-LINE ๑. มาตรฐานการเรยี นร/ู ตวั ชว้ี ดั ๑.๑ มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนำไปใชตัดสินใจ แกปญหา ในการดำเนินชีวิต และมีนสิ ยั รกั การอาน ๑.๒ ตัวชี้วดั ท ๑.๑ ม.๔-๖/๔ คาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่อาน และประเมินคาเพื่อนำความรู ความคิดไปใช ตดั สินใจแกป ญหาในการดำเนนิ ชวี ติ ท ๑.๑ ม.๔-๖/๕ วิเคราะห วิจารณ แสดงความคิดเห็นโตแยงกับเรื่องที่อาน และเสนอ ความคดิ ใหมอยา งมีเหตุผล ๑.๓ จดุ ประสงคการเรียนรู ดานความรู (K) ๑. นกั เรียนอธบิ ายความหมายของการแสดงเหตผุ ลดวยวิธนี ริ นยั ได ๒. นักเรยี นอธบิ ายความหมายของการแสดงเหตผุ ลดวยวธิ ีอุปนยั ได ดา นทกั ษะกระบวนการ (P) ๑. นักเรยี นสามารถวิเคราะหก ารแสดงเหตุผลดว ยวิธนี ิรนยั ได ๒. นกั เรยี นสามารถวิเคราะหก ารแสดงเหตุผลดว ยวธิ ีอปุ นัยได ๓. นักเรียนสามารถพิจารณาความแตกตางการแสดงเหตผุ ลดว ยวิธีนิรนัย และวธิ ีอุปนัยได ดา นคุณลกั ษณะ(A) ๑. นักเรยี นใหค วามรว มมอื ในการทำกจิ กรรมดว ยความตง้ั ใจ

๒. สาระสำคญั การแสดงเหตุผล เปนกระบวนการคิดในการหาขอสรุปจากเหตุผลที่มีอยูมี ๒ วิธี คือ การแสดงเหตุผลดวย วิธีนิรนัย เปนการแสดงเหตุผลจากสวนรวมไปหาสวนยอยหรือการอนุมาน และการแสดงเหตุผลดวยวิธีอุปนัย เปน การแสดงเหตผุ ลจากสวนยอยไปหาสวนรวม ๓. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค ⃞ อยอู ยางพอเพียง √ ⃞ ซอื่ สตั ยสจุ ริต √ ⃞ มุงมน่ั ในการทำงาน √ ⃞ รกั ความเปน ไทย √ ⃞ ใฝเรยี นรู √ ⃞ มีจิตสาธารณะ ⃞ รกั ชาติ ศาสน กษตั รยิ  √ ⃞ มวี นิ ยั ๔. สมรรถนะสำคัญของผูเ รียน √ ⃞ ความสามารถในการสอ่ื สาร : นักเรยี นสามารถอภปิ รายความหมายของการแสดงเหตผุ ลดวยวธิ ีนิรนัย และวิธีอุปนัยได √ ⃞ ความสามารถในการคดิ : นักเรยี นสามารถวิเคราะหค วามแตกตา งของการแสดงเหตผุ ลดว ยวิธนี ิรนยั และวิธีอปุ นัยได ⃞ ความสามารถในการแกป ญ หา √ ⃞ ความสามารถในการใชทกั ษะชีวติ : นกั เรยี นสามารถทำงานรว มกับเพ่อื นรวมช้นั ไดอ ยางมคี วามสุข √ ⃞ ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี : นกั เรยี นสามารถใชเทคโนโลยีในการเรยี นรูดวยตนเอง ๕. ดา นคณุ ลกั ษณะของผเู รยี นตามหลกั สตู รมาตรฐานสากล √ ⃞ เปน เลิศวิชาการ √ ⃞ สื่อสารสองภาษา ⃞ ลำ้ หนาทางความคิด ⃞ ผลติ งานอยางสรา งสรรค √ ⃞ รวมกนั รบั ผิดชอบตอสังคมโลก ๖. บรู ณาการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๖.๑ หลกั ความพอประมาณ ผเู รียนใชส ่อื การเรียนรูไ ดอยางคุมคา ใชท กั ษะความสามารถในการรวมทำกจิ กรรมไดอ ยางเหมาะสม ๖.๒ หลกั ความมเี หตผุ ล ผูเรียนใชเหตุผลในการวิเคราะห การอธิบายความหมายของการแสดงเหตุผลดวยวิธีนิรนัย และ วธิ ีอุปนยั ตามความเขาใจของตนเอง

๖.๓ หลกั ภมู คิ มุ กนั ผูเ รยี นรับฟงและแลกเปล่ยี นความคดิ เห็นกบั ครูและเพ่อื นรว มชัน้ ๖.๔ เงอ่ื นไขความรู ๑) มคี วามรเู รอ่ื งความหมายการแสดงเหตุผลดวยวิธนี ริ นยั และวิธีอปุ นัย ๒) มคี วามรูเร่ืองการแสดงเหตผุ ลดว ยวธิ ีนริ นยั และวิธีอปุ นัย สามารถพจิ ารณาขอความถกู ตอ ง ๖.๕ เงอื่ นไขคณุ ธรรม ๑) มคี วามใฝรใู ฝเรียน ๒) ตรงตอ เวลา ๓) มคี วามรับผดิ ชอบ ๗. ชิ้นงาน/ภาระงาน ใบงานที่ ๑ การแสดงเหตผุ ลดว ยวิธนี ิรนัยและอุปนัย กจิ กรรมท่ี ๑ การแสดงเหตุผลดวยวิธีนริ นยั กจิ กรรมที่ ๒ ตะลุยโจทย กิจกรรมที่ ๓ “ทายซิ…ฉันคอื ใคร ชวยบอกที” กจิ กรรมท่ี ๔ ลองทำโจทยกนั เถอะ ๘. กระบวนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู คาบที่ ๑ (จำนวน ๕๐ นาท)ี ขนั้ นำเขา สบู ทเรยี น (๕ นาท)ี ๑. ครกู ลาวทกั ทายนกั เรียน และพดู คุยกับนักเรยี น ๒. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการแสดงเหตุผล สามารถสื่อสารไดอยางไรบาง โดยใหนักเรียน รวมกันแสดงความคิดเห็น แลวตั้งคำถามกระตุนความคิดกับนักเรียนวานักเรียนมีการแสดงเหตุผลในรูปแบบใดบาง เพือ่ เปน การเชื่อมโยงเขาสูก ารจัดการเรียนรู ขน้ั การจัดการเรยี นรู (๔๐ นาท)ี ๑. ครูใหนักเรียนตอบคำถามกระตุนความคิดวา การแสดงเหตุผล ประกอบดวยอะไรบาง แลวครูอธิบายเนือ้ หาเพิ่มเตมิ (แนวการอธบิ าย การแสดงเหตผุ ล ประกอบดวย เหตุผล และขอสรุป ซงึ่ เหตุผล หมายถึง หลักทั่วไป พื้นฐาน กฎเกณฑ และขอเท็จจริง ซึ่งทำหนาที่รองรับขอสรุป สวนขอสรุป หมายถึง ขอวินิจฉัย ขอตัดสินใจ หรือขอ ยตุ ิเก่ียวกบั เรอื่ งใดเรอื่ งหนึง่ )

๒. ครูใชส่ือ Power Point ประกอบการอธบิ าย วา วิธีการแสดงเหตผุ ล เรยี กอีกอยา งวา วธิ ีอนมุ าน หรือวิธีการสรุป ซึง่ อนมุ าน หมายถึง การคาดคะเนวา คาดเดาวา ซ่งึ การแสดงเหตแุ บง เปน ๒ วิธี คือ วธิ ที ี่ ๑ การแสดงเหตผุ ลดว ยวธิ ีนริ นยั วิธีที่ ๒ การแสดงเหตุผลดว ยวิธีอุปนัย จากน้นั ครชู ีแ้ จงกระบวนการแสดงเหตผลทงั้ ๒ วธิ นี ีว้ า นกั เรียนจำเปน ตองมีความเขาใจความคิด รวบยอดทีส่ มั พันธก ับเรือ่ งน้ีกอน คือ ความคิดรวบยอดเกยี่ วกับการอนุมาน ๔. ครอู ธิบายความหมายการแสดงเหตผุ ลดว ยวธิ นี ิรนยั และใหว ิธีการจดจำการแสดงเหตผุ ลดว ย วธิ ีนริ นยั เพื่อใหน กั เรียนจดจำไดง ายมากขึน้ (แนวการอธิบายวิธีที่ ๑ การแสดงเหตุผลดวยวิธีนิรนัย เปนการใหเหตุผลแบบสมเหตุสมผล ทำไมถงึ สมเหตุสมผล เพราะวาเราเห็นภาพรวมทั้งหมดกอน แลวจึงสรุป คือ เมื่อเราเห็นภาพรวมทั้งหมดแลว จึงเอาสวนหนึ่ง มาสรุป ดังนั้น การใหเหตุผลหรือสรุปขอสรุปถูกตองเสมอ ก็คือจะไดภาพรวมไปหาภาพยอย สวนวิธีการจำของ การแสดงเหตุผลดวยวิธนี ริ นัย ใหจำวา “นิรนยั คอื น น หมายถงึ แนนอน” คอื แนนอน ๑๐๐% ผลทไี่ ดจ ะเปน “ตอ ง เปน เชน นัน้ ”) ๕. ครูยกตัวอยางขอ ความการแสดงเหตผุ ลดวยวธิ นี ิรนยั พรอมอธบิ ายเปนแผนภาพ (แนวการอธิบาย ตัวอยาง ๖/๑๑ สอบผานภาษาไทยทุกคน ตั้วอยูหองนั้น ตั้วก็สอบผานภาษาไทย แสดงวาภาพใหญคือ ๖/๑๑ สอบผาน ตั้วก็ตองสอบผาน เพราะตั้วเปนสมาชิกของ ๖/๑๑ ดังนั้น สรุปไดวา ตว้ั สอบผา น เปน จริงแนนอน) ๖. ครูอธิบายขอระวังในการพิจารณาขอความการแสดงเหตุผลดวยวิธีนิรนัย แลวยกตัวอยาง ขอ ความใหน ักเรยี น (แนวการอธิบาย ขอควรระวัง บางทีการแสดงเหตุผลดวยวิธีนิรนัยจะสรุปผิด ถาหากมีสมมติฐานท่ี บกพรอง ตัวอยางเชน สัตวปกบินได นกเพนกวินมีปก สรุปไดวา นกเพนกวินบินได ถานึกถึงความเปนจริงพิจารณา จากแผนภาพ สัตวปกบินได เปนภาพรวม นกเพนกวินเปนสัตวปก เปนภาพยอย ดังนั้น เพนกวินตองบินได เปนการ สรุปแบบนิรนัย แตพอไดผลสรุปแลวผิด เพราะถาพิจารณาจริง ๆ แลว นกแพนกวินไมสามารถบินได มันจะใชวิธีการ วิ่งไปวิ่งมาแตมันมีปกเหมือนกัน มันจึงบินไมได ดังนั้น สัตวปกทุกตัวไมจำเปนตองบินได จึงเปนเหตุผลท่ีสมมติฐาน บกพรอง จำงา ยๆ วาอยาใชค วามรูและประสบการณเ ดิมนำมาใช) ๗. ครูอธิบายขอ สรุปของการแสดงเหตุผลดวยวิธีนริ นัย (แนวการอธิบาย ขอสรุปของการแสดงเหตุผลดวยวิธีนิรนัย “ตองเปนเชนนั้น” หรือ “ยอมเปน เชนนั้น” ไมมีทางเลี่ยงเปนอยางอื่นได เนื่องจากขอสนับสนุนเปนทุกกรณี ขอสรุปเปนกรณีหนึ่งนั้น จึงไมมีทางที่จะ หลดุ พน ไปเปน อืน่ ได) ๘. ครูตรวจสอบความรูของผูเรียนโดยใชคำถามเกี่ยวกับการแสดงเหตุผลดวยวิธีนิรนัย แลวอธิบาย เพม่ิ เตมิ ในสว นทนี่ กั เรียนไมเ ขา ใจ

๙. ครูใหนักเรียนทำกิจกรรมที่ ๑ การแสดงเหตุผลดวยวิธีนิรนัย โดยใหนักเรียนพิจารณา การแสดงเหตุผล พรอมทัง้ วาดแผนภาพ และทำแบบทดสอบในกจิ กรรมท่ี ๒ ตะลยุ โจทย เพ่ือตรวจสอบความรู ขน้ั สรปุ (๕ นาที) ๑. ครูใหนักเรียนรวมกันสรุปความรูเกี่ยวกับการแสดงเหตุผลดวยวิธีนิรนัย โดยครูใชวิธีการสุมช่ือ นักเรียนรวมตอบคำถาม ๒. ครมู อบหมายงานใหน กั เรยี นไปคนหาขอสอบเก่ียวกบั การแสดงเหตผุ ลดวยวิธนี ิรนัย แลว ใหฝกทำ โจทยจากขอสอบ ๙ วชิ าสามญั และขอสอบ O-NET เพิม่ เติม คาบที่ ๒ (จำนวน ๕๐ นาท)ี ขนั้ นำเขา สบู ทเรยี น (๕ นาท)ี ๑. ครูกลาวทักทายนกั เรยี น และพดู คยุ กบั นักเรยี น ๒. ครูทบทวนความรูเกี่ยวกับการแสดงเหตุผลดวยวิธีนิรนัย เพื่อเปนการเชื่อมโยงเขาสูการจัด การเรยี นรู (คำถาม การแสดงเหตุแบงเปนกี่วิธี แนวการตอบ การแสดงเหตุแบงเปน ๒ วิธี คือ วิธีที่ ๑ การแสดงเหตุผลดว ยวิธีนิรนัย และวิธที ี่ ๒ การแสดงเหตผุ ลดว ยวธิ ีอุปนัย) ขน้ั การจดั การเรยี นรู (๔๐ นาท)ี ๑. ครูใหนักเรียนตอบคำถามกระตุนความคิดวา การแสดงเหตุผลดวยวิธีอุปนัย มีลักษณะเปน อยา งไร แลวครูอธบิ ายเนอ้ื หาเพมิ่ เตมิ (แนวการอธิบาย การแสดงเหตุผลดวยวิธีอุปนัย คือ การแสดงเหตุผลจากสวนยอยไปหาสวนรวม ซึง่ จะแตกตา งจากการแสดงเหตผุ ลดวยวิธีนิรนัย จะเปน การแสดงเหตุผลจากสว นรวมไปสว นยอ ย) ๒. ครูอธิบายความหมายการแสดงเหตุผลดวยวิธีอุปนัย และใหวิธีการจดจำการแสดงเหตุผล ดวยวิธีอปุ นยั (แนวการอธิบาย การแสดงเหตุผลดวยวิธีอุปนัย เปนการใหเหตุผลที่ไมสมเหตุสมผล ไมจำเปนตอง เปนอยางนั้น หรือถูกตองเสมอไป เปนการแสดงเหตุผลจากสวนยอยไปหาสวนรวม สวนวิธีการจดจำการแสดงเหตุผล ดวยวิธีอุปนัย ใหจำวา “อุปนัย อ น หมายถึง โอ โน ไมแนนอน ” คืออาจจะนะ ๕๐ / ๕๐ ผลที่ไดจะเปน “นาจะเปน เชนนั้น”) ๓. ครยู กตัวอยางขอ ความการแสดงเหตุผลดว ยวิธีอปุ นยั พรอ มอธบิ ายเปน แผนภาพ (แนวการอธิบาย ตัวอยาง ตั้วชอบเรียนวิชาภาษาไทย เพื่อน ๆ คนอื่นในหองก็คงไมตางจากตั้ว แสดงวาตั้วชอบภาษาไทยเปนภาพยอย สวนเพื่อนคนอื่น ๆ ในหอง เปนภาพใหญ ซึ่งตั้วเปนเพียงแคสวนหนึ่งของ สมาชิกในหองที่ชอบภาษาไทย แตในความจริงแลวเพื่อนคนอื่น ๆ ในหองอาจจะไมไดชอบภาษาไทยเหมือนตั้ว ดังนน้ั สรุปวา เพอ่ื นคนอน่ื ๆ ในหอ งชอบภาษาไทย เปน สงิ่ ท่ไี มแนน อน เพราะเพอ่ื นคนอน่ื ๆ อาจจะชอบหรือไมชอบ ภาษาไทยเหมือนต้วั กไ็ ด)

๔. ครูอธบิ ายขอสรุปของการแสดงเหตผุ ลดว ยวิธอี ุปนยั (แนวการอธิบาย ขอสรุปของการแสดงเหตุผลดวยวิธีอุปนัย “นาจะเปนเชนนั้น” “ควรจะเปน เชนนั้น” “คงจะเปนเชนนั้น” “มักจะเปนเชนนั้น” ไมใช “ตอง หรือยอมจะเปนเชนนั้น”เนื่องจากขอสนับสนุนยกมา เพยี งบางกรณเี ทานน้ั ขอสรปุ จุงอาจไมเ ปนจรงิ ตามน้ัน) ๕ ครูตรวจสอบความรูของผูเรียน โดยใหนักเรียนพิจารณาขอความการแสดงเหตุผลดวยวิธีอุปนัย แลว อธบิ ายเพ่มิ เติมในสว นท่นี กั เรยี นไมเ ขา ใจ ๖. ครูใหนักเรียนทำกิจกรรมที่ ๓ “ทายซิ…ฉันคือใคร ชวยบอกที” โดยครูมีขอความมาให แลวให นักเรียนทายขอความทีค่ รูใหมาวา เปนการแสดงเหตุผลดวยวิธีใด และทำแบบทดสอบในกิจกรรมที่ ๔ ลองทำโจทยกัน เถอะ เพือ่ ตรวจสอบความรู ขนั้ สรปุ (๕ นาที) ๑. ครูใชคำถามเกี่ยวกับความแตกตางของการแสดงเหตุผลดวยวิธีนิรนัยและวิธีอุปนัย โดยครูใช วธิ กี ารสุมชอื่ นักเรยี นรว มตอบคำถาม ๒. ครูมอบหมายงานใหนักเรียนทำใบงานที่ ๑ การแสดงเหตุผลดวยวิธีนิรนัยและอุปนัย พิจารณา ขอความวาเปนการแสดงเหุผลแบบนิรนัยหรืออุปนัย และใหไปฝกทำโจทยเพิ่มเติมจากขอสอบ ๙ วิชาสามัญ และ ขอสอบ O–NET จำนวนคนละ ๒ ขอ โดยเขียนโจทย แสดงวิธีการคิด เฉลยคำตอบ แลวใหถายภาพใบงานสงในไลน กลมุ หอง ๙. สื่อ/วสั ดอุ ปุ กรณ/แหลงเรียนรู สอ่ื ๑. ส่อื Power Point เร่ือง การแสดงเหตุผลดวยวิธีนริ นัย และวธิ ีอปุ นยั แหลง เรียนรู ๑. หอ งสมุดโรงเรียนสนั ตริ าษฎรว ทิ ยาลยั ๒. เอกสารประกอบการเรยี น วิชาภาษาไทยพื้นฐาน ๓๓๑๐๒ ชัน้ มธั ยมศึกษาปท ี่ ๖ ๑๐. การวัดและการประเมินผลการเรยี นรู วิธวี ัด เครอื่ งมอื เกณฑการประเมนิ นกั เรยี นตอบคำถามไดรอยละ ๖๐ ถอื วา ผา น K การซักถามและตอบคำถาม คำถาม นักเรยี นไดค ะแนนรอยละ ๖๐ ถอื วาผา น นกั เรยี นใหความรว มมือในกจิ กรรมในระดบั ดี K การซักถามและตอบคำถาม คำถาม ถอื วา ผา น นกั เรยี นไดคะแนนรอ ยละ ๖๐ ถอื วาผา น P การทำกิจกรรมท่ี ๑ การแสดง คำถามและแบบสงั เกต เหตุผลดวยวิธีนริ นัย พฤตกิ รรมการเรยี นรู P การซักถามและและตอบคำถาม คำถาม

วธิ ีวดั เครอ่ื งมอื เกณฑก ารประเมิน นักเรยี นใหค วามรว มมือในกจิ กรรมในระดบั ดี P การตอบคำถามและทำกจิ กรรม คำถามและแบบสังเกต ที่ ๒ ตะลยุ โจทย กจิ กรรมท่ี ๔ พฤตกิ รรมการเรียนรู ถือวา ผา น ลองทำโจทยก นั เถอะ นกั เรยี นตอบคำถามไดรอ ยละ ๖๐ ถอื วา ผา น A การสังเกตพฤตกิ รรมการเรยี นรู กิจกรรมการเรยี นการสอน คำถาม และแบบสังเกต พฤตกิ รรมการเรยี นรู ๑๑. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเรียนรู คำชแ้ี จง ใหทำเครือ่ งหมาย √ ลงในชอ ง ความตงั้ ใจ ความรวมมอื ตรงตอเวลา ผลสำเร็จ รวม ในการทำงาน ของงาน ลำดบั ชือ่ -สกุล ในการทำงาน ๔๓๒๑ ๔๓๒๑๔๓๒ ๑ ๔๓๒ ๑ ขอเสนอแนะเพ่มิ เตมิ : ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook