Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore AF04-07กลุ่มประชากร(THA)

AF04-07กลุ่มประชากร(THA)

Published by Surachaet Visavateeranon, 2021-01-25 04:06:37

Description: AF04-07กลุ่มประชากร(THA)

Search

Read the Text Version

AF 04-07 ขอ้ มูลสำหรับกลมุ่ ประชำกรหรือผูม้ สี ว่ นรว่ มในกำรวจิ ยั ชอื่ โครงกำรวิจัย ผลของการใช้วธิ ีการสอนพลศึกษาตามแนวคิดห้องเรยี นกลบั ด้านร่วมกบั เกมดิจทิ ัล เพื่อสง่ เสริมทักษะการเคล่อื นไหวประกอบอุปกรณส์ าหรับผูเ้ รียนระดบั ประถมศกึ ษา (ภำษำองั กฤษ) The Effects of Using Flipped Classroom Approach and Digital Games to Enhance Manipulative Skills in Physical Education for Elementary School. ชื่อผู้วจิ ัย นายสุรเชษฐ์ วศิ วธีรานนท์ ตำแหนง่ อาจารยส์ าธิต AD สถำนท่ตี ดิ ตอ่ ผู้วจิ ยั (ทท่ี างาน) โรงเรยี นสาธิตจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม (ทบ่ี ้าน) 60/55 ซ.แจ้งวัฒนะ 25 ถ.แจง้ วฒั นะ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบรุ ี โทรศพั ท์ (ท่ีทางาน) 02-2182729 ต่อ …...…-…….. โทรศพั ท์ทบ่ี ้าน โทรศัพทม์ ือถือ 081-8680784 E-mail : [email protected] 1. ขอเรียนเชิญท่านเข้าร่วมในการวิจัยก่อนท่ีท่านจะตัดสินใจเข้าร่วมในการวิจัย มีความจาเป็นที่ ท่านควรทาความเข้าใจว่างานวิจัยนี้ทาเพราะเหตุใด และเก่ียวข้องกับอะไร กรุณาใช้เวลาในการอ่านข้อมูล ต่อไปนอ้ี ยา่ งละเอียดรอบคอบ และสอบถามขอ้ มลู เพ่มิ เติมหรือข้อมลู ท่ีไม่ชัดเจนไดต้ ลอดเวลา 2. งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยท่ีมุ่งสร้างนวัตกรรมในการแก้ปัญหาท่ีเกิดขึ้นจริง ในงานภาคปฏิบัติและ ทาใหเ้ กดิ ความรใู้ หม่ 3. รายละเอียดของกล่มุ ประชากรหรือผู้มีสว่ นรว่ มในการวิจัย 3.1 ลักษณะของกลมุ่ ประชากรหรือผ้มู สี ่วนร่วมในการวิจยั เป็นนกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 3.2 มีจานวนทง้ั หมด 72 คน 3.3 วิธีการได้มาซึ่งกลุ่มประชากรหรือผู้มีส่วนร่วมในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปที ี่ 6 ทเี่ รยี นวชิ าฟตุ บอลทผี่ วู้ จิ ยั เปน็ ผ้สู อน 3.4 การแบ่งกลุ่มผูม้ ีสว่ นร่วมในการวจิ ัยมกี ่กี ลุม่ 2 กลมุ่ กลุม่ ละ 36 คน 4. กระบวนการการวิจยั ทกี่ ระทาต่อกลุม่ ประชากรหรือผู้มสี ่วนร่วมในการวิจัย 4.1 มีอาจารยส์ ุรเชษฐ์ วศิ วธรี านนท์ เป็นผดู้ าเนนิ การ 4.2 สถานท่ีเกบ็ ขอ้ มลู คือ โรงเรียนสาธติ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ฝ่ายประถม 4.3 งานวิจัยนี้ผู้มีส่วนร่วมในการวิจัยต้องเข้าร่วมกิจกรรมตามแผนการจัดการเรียนรู้ ใช้ เวลา 2 วันต่อสปั ดาห์ วันละ 1 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 8 สปั ดาห์ (รวม 16 คร้ัง) และใช้เวลาวันหยุด ในการทบทวนบทเรียนลว่ งหน้าผา่ นเกมดจิ ทิ ลั 5. กระบวนการให้ข้อมูลแก่กลุ่มประชากรหรือผู้มีส่วนร่วมในการวิจัย มีผู้สอน(ผู้วิจัย) เป็น ผู้ดาเนินการ 5.1 ผู้วิจัยช้ีแจงกระบวนการ ข้ันตอนในการร่วมกิจกรรมให้กับนักเรียนทั้ง 2 กลุ่มได้รับ ทราบในชั่วโมงแรกของการเรยี นการสอน 5.2 ผู้วจิ ยั แจกแบบยนิ ยอมเข้ารว่ มการวิจยั สาหรบั พ่อแม่ ผู้ปกครอง และผู้อยใู่ นปกครองให้ นกั เรียนนากลบั ไปใหผ้ ู้ปกครองเซ็นรับทราบ 1/3 V.2.4/2558

AF 04-07 6. ในการเข้าร่วมงานวจิ ยั ไม่มีอนั ตรายรายแรง หรือความเสี่ยงตอ่ ทา่ น 7. ประโยชน์ในการเข้ารว่ มการวิจัยคร้ังนี้ นักเรียนกลุ่มตัวอย่างจะไมไ่ ด้รับประโยชน์โดยตรงในการ เข้าร่วมการวิจยั คร้งั น้ี แต่นักเรียนกลุ่มตัวอย่างจะได้พฒั นาทกั ษะการเคลอ่ื นไหวประกอบอุปกรณ์ใหเ้ พ่ิมขึ้น 7.1 ประโยชนใ์ นเชงิ วิชาการด้านครุศาสตร์ หรือศึกษาศาสตร์ 1) เพิม่ ศักยภาพความสามารถขบั เคล่ือนการปฏริ ูปการศึกษาของประเทศไทย 2) เพ่ิมศักยภาพความสามารถในการปรับใช้สื่อเทคโนโลยีในการเรียนการสอนเพื่อ รองรบั การเตรียมพลเมอื งเข้าส่ปู ระชาคมอาเซยี น 3) คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย จะเปน็ ศนู ยก์ ลางการสร้างองค์ความรู้ การสรา้ งเกมดจิ ิทัลเพื่อการศกึ ษาของประเทศและนานาชาติ 7.2 ประโยชน์ในเชิงการนาไปใช้ในการแก้ปัญหา / พัฒนาการจัดการเรียนการสอน ครุศึกษา เป็นแนวทางในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนพลศึกษา *หากผลการศึกษาเป็นประโยชน์ให้ ผู้วิจัยระบุว่ามแี ผนการจะนาประโยชน์ดงั กลา่ วไปส่กู ล่มุ ควบคุม/ชมุ ชนอย่างไร 1) ได้วิธีการจัดการเรียนการสอนพลศึกษาตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้านร่วมกับ เกมดิจิทัลเพ่ือส่งเสริมทักษะการเคล่ือนไหวประกอบอุปกรณ์สาหรับผู้เรียนระดับ ประถมศึกษา 2) ได้ต้นแบบของโปรแกรมเกมซอคเกอร์ เควส เวอร์ชัน 1.0 (Soccer Quest V.1.0) ในรูปแบบเกมจาลองสถานการณ์เพื่อการศึกษา ซ่ึงสามารถใช้เพื่อวางแผน งานพัฒนาเกมจาลองสถานการณ์เพ่ือการศึกษาในรายวิชาอื่น ๆ ได้ในอนาคต ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 10. การเข้าร่วมในการวิจัยของท่านเป็นโดยสมัครใจ และสามารถปฏิเสธที่จะเข้าร่วมหรือถอนตัว จากการวิจัยได้ทุกขณะ โดยไม่ต้องให้เหตุผลและไม่สูญเสียประโยชน์ท่ีพึงได้รับ ทั้งนี้ไม่มีผลกระทบใดๆ ทงั้ สิ้น 11. หากท่านมขี ้อสงสยั ใหส้ อบถามเพิ่มเติมได้โดยสามารถติดต่อผู้วิจยั ได้ตลอดเวลา 12. ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับท่านจะเก็บเป็นความลับ หากมีการเสนอผลการวิจัยจะเสนอเป็นภาพรวม ข้อมูลใดทีส่ ามารถระบุถงึ ตัวทา่ นได้จะไม่ปรากฏในรายงาน 13. “หากผู้เขา้ ร่วมวิจัยไมไ่ ด้รับการปฏิบัติตามขอ้ มูลดงั กลา่ วสามารถรอ้ งเรียนได้ท่ี คณะกรรมการ พจิ ารณาจรยิ ธรรมการวจิ ยั ในคน กลมุ่ สหสถาบัน ชดุ ท่ี 1 จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย 254 อาคารจามจรุ ี 1 ช้นั 2 ถนนพญาไท เขตปทมุ วนั กรงุ เทพฯ 10330 โทรศัพท์/โทรสาร 0-2218-3202 E-mail: [email protected]” 2/3 V.2.4/2558


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook