Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือสุขศึกษา ชั้นป.4 เล่ม 2

หนังสือสุขศึกษา ชั้นป.4 เล่ม 2

Published by Surachaet Visavateeranon, 2018-05-06 09:56:41

Description: ผู้แต่ง : อาจารย์มลชุลี อนุรักษ์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาสุขศึกษา ชั้นป.4

Search

Read the Text Version

โรงเรียนสาธติ จฬ� าลงกรณม หาวิทยาลยั ฝา ยประถม เอกสารประกอบการเรยี นรู สกลมุุขสศาระกึ กาษรเราียนแรู ละพลศึกษา เลม ท่ี ๒ สิ่งแวดลอมรอบตัวเรา ช้นั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๔ โดย อ. มลชุลี อนรุ กั ษ ชือ่ นามสกุล เลขที่ ชนั้ ป.๔/

ค�ำนำ� โรงเรียนสาธิตจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ฝ่ายประถม มกี ารปรับปรุงเอกสารประกอบการเรียนรู้ในกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ต่างๆ ใหต้ รงตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐานพทุ ธศักราช 2551 เพอ่ื ใหก้ ารจดั การเรียนการสอนมีประสทิ ธิภาพและเกิดประสิทธิผลยิง่ ขึ้น อันจะเป็นผลดีตอ่ นักเรยี นในการเรียนรู้ คณาจารยม์ คี วามต่ืนตวั และพัฒนาการเรยี นการสอนอยา่ งตอ่ เนอื่ ง รวมทั้งผ้ปู กครองกจ็ ะได้เข้าใจแนวทางในการจดั การเรียนการสอนของโรงเรียน ซึ่งทำ� ให้เกดิ ความรว่ มมือในการพฒั นานกั เรยี นอยา่ งชดั เจนและต่อเน่ือง การด�ำเนินการจดั ท�ำเอกสารประกอบการเรยี นรู้ของโรงเรียน ไดร้ ับการสนับสนนุจากสมาคมผปู้ กครองและครโู รงเรียนสาธติ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ในการดำ� เนินการจดั ทำ�และจดั พมิ พ์ ขอขอบคุณคณาจารย์ของโรงเรียนท่รี ่วมมอื ร่วมใจในการจัดทำ� ท�ำให้นักเรียนไดม้ เี อกสารประกอบการเรียนรู้ ในนามของโรงเรียน ขอขอบคุณคณาจารย์ผู้จัดทำ� และสมาคมผปู้ กครองและครูโรงเรียนสาธิตจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ทใี่ หก้ ารสนบั สนนุ เปน็ อย่างดยี ง่ิ หากผูใ้ ชม้ ขี ้อเสนอแนะประการใด โปรดแจง้ ผ่านทางโรงเรียนเพอื่ จะได้ประสานไปยังผู้ที่เกีย่ วข้องตอ่ ไป (รองศาสตราจารย์สุปราณี จิราณรงค)์ ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ฝา่ ยประถม และรองคณบดีคณะครศุ าสตร์

สารบญัสาระการเรียนรู้ ๔ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ สมรรถภาพและการปอ้ งกนั โรคมาตรฐาน พ ๔.๑เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสขุ ภาพ การดำ� รงสุขภาพ การปอ้ งกนั โรคและการสรา้ งสมรรถภาพเพอื่ สุขภาพบทที่ ๑ สิ่งแวดล้อมรอบตัวเรา 3 - ความหมายและความส�ำคญั ของสง่ิ แวดล้อม 4 - ปญั หาส่ิงแวดล้อมท่มี ผี ลต่อสขุ ภาพ 7 - การปฏบิ ัตติ นเพอ่ื รักษาสิ่งแวดลอ้ ม 8 - การจัดส่งิ แวดลอ้ มที่ถูกสขุ ลักษณะ 12 บทที่ ๒ อารมณก์ ับสขุ ภาพ 14 - ความหมายและลักษณะทางอารมณท์ ีม่ ีผลต่อสขุ ภาพ 16 - การจดั การกับอารมณ ์ 20บทที่ ๓ อาหารและผลติ ภณั ฑส์ ขุ ภาพ 22 - การเลอื กซ้อื อาหารและผลติ ภณั ฑ์สขุ ภาพ - พฤตกิ รรมในการบรโิ ภคอาหาร - หลกั ในการอา่ นข้อมูลฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพ สาระการเรียนรู้ ๕ ความปลอดภยั ในชวี ิตมาตรฐาน พ ๕.๑การป้องกันและหลีกเลย่ี งปจั จัยเสี่ยงต่อสุขภาพ การใช้ยา สารเสพตดิบทท่ี ๔ การใชย้ า 26 - ความส�ำคญั ของการใชย้ า 26 - หลกั ในการใชย้ า 29บทที่ ๕ สารเสพตดิ ให้โทษ 30 - สาเหตแุ ละผลเสยี ของการสบู บุหร่ี - สรุ าและโทษของสุรา

บทท่ี ๑ สง่ิ แวดลอ้ มรอบตัวเราความหมายและความสำ�คญั ของส่ิงแวดลอ้ ม สิง่ แวดล้อม หมายถงึ ส่ิงตา่ งๆ ทอ่ี ยรู่ อบตวั เรา ทงั้ ส่ิงที่มีชวี ติ และสิ่งท่ไี มม่ ชี ีวติรวมถงึ สิง่ ท่เี กิดข้นึ เองตามธรรมชาตแิ ละมนุษยส์ รา้ งข้นึ สง่ิ แวดล้อมมคี วามสำ� คัญตอ่ มนษุ ย์ เพราะมนุษยใ์ ชป้ ระโยชนจ์ ากสง่ิ แวดล้อมตา่ งๆ ในการดำ� รงชีวติ การอยู่ในสง่ิ แวดลอ้ มที่ดจี ะทำ� ให้มสี ขุ ภาพที่แข็งแรง มีจิตใจที่สดชืน่ แจ่มใส แต่ถ้าอยู่ในสิง่ แวดลอ้ มที่ไม่ดจี ะส่งผลท�ำใหส้ ุขภาพทรดุ โทรมได้ ส่ิงแวดลอ้ มที่มนษุ ย์พึ่งพาในการด�ำรงชวี ติ เชน่สง่ิ แวดลอ้ มตามธรรมชาติ สิง่ แวดลอ้ มท่ีมนษุ ยส์ ร้างขึน้ 1 น้�ำ ใชใ้ นการอุปโภคและบรโิ ภค 2 ดิน ใช้เปน็ แหลง่ เพาะปลกู 3 พืช ใชเ้ ป็นอาหารและยารกั ษาโรค 4 สตั ว์ ใช้เพ่อื การบรโิ ภค และใชใ้ นการท�ำเกษตรกรรม สิ่งแวดลอ้ มในชมุ ชนหนง่ึ ๆ นับว่ามีอิทธิพลต่อสขุ ภาพของคนทอ่ี าศัยในชุมชนนน้ั ๆ ถ้าชุมชนใดมสี ิง่ แวดล้อมทีด่ ี เช่น อากาศบริสุทธิ์ บา้ นเรือนทอ่ี ยู่อาศยั มคี วามเป็นระเบยี บ เรยี บรอ้ ย สวยงาม สะอาด มีความปลอดภยั เป็นตน้ จะส่งผลใหค้ นในชมุ ชนน้ันมรี ่างกายแข็งแรง สุขภาพจิตดี สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา > ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 3

ชุมชนมสี ภาพแวดล้อมไม่ดี เชน่อากาศเสีย นำ�้ เน่าเหมน็ บ้านเรือนอยู่รวมกันอย่างเบียดเสยี ดหนาแน่น มีการทง้ิ ขยะมูลฝอย สกปรก มเี สยี งอึกทึกคึกโครม มีโรคระบาดเกดิ ข้ึนเสมอๆ สภาพแวดลอ้ มไมด่ ีเหล่าน้จี ะทำ� ลายสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ ของคนในชมุ ชนนน้ัปัญหาส่ิงแวดล้อมทม่ี ีผลต่อสขุ ภาพในปจั จบุ ันพบปญั หาส่งิ แวดล้อมหลายอยา่ งทม่ี ีผลตอ่ สขุ ภาพมีอยู่หลายอย่าง ดังนค้ี อื1 ปัญหานำ�้ ทเี่ น่าเสียหรอื มลพิษทางน้ำ� ทำ� ให้เกิดปญั หาขาดแคลนน้ำ� หรือโรค ติดต่อทางน�ำ้ ได้ ส่งผลกระทบต่อการด�ำรงชีวิตของมนุษย์และสิ่งมชี ีวิตในน้ำ� สาเหตขุ องน้ำ� เนา่ เสยี มีดงั น้ี 1.1 ชุมชนไมม่ ีระบบการบ�ำบดั น้�ำทิ้ง ก่อนปลอ่ ยลงสู่แหล่งนำ�้ 1.2 โรงงานอตุ สาหกรรมปล่อยน�ำ้ เสียลงสู่แหล่งน�ำ้ 1.3 การท้งิ ขยะ ส่ิงปฏิกูล และสารเคมีลงในแหลง่ น้ำ� น�ำ้ เน่าเสียเปน็ แหล่งสะสมของเชื้อโรค ระบบบ�ำบัดนำ้� เสยี กอ่ นปลอ่ ยลงสู่แมน่ �ำ้4 สุขศกึ ษาและพลศึกษา < ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 4

2 ปญั หาอากาศเปน็ พิษหรือมลพษิ ทางอากาศ อาจส่งผลให้เกดิ โรคระบบทางเดนิ หายใจ และปัญหาสุขภาพจติ สาเหตขุ องอากาศเป็นพษิ มดี ังน้ี 2.1 การจราจรท่ตี ดิ ขดั ท�ำใหม้ ีกา๊ ซคาร์บอนมอนอกไซด์ 2.2 โรงงานอุตสาหกรรมปลอ่ ยควนั พษิ ออกมามาก 2.3 ฝนุ่ ละอองท่เี กิดจากการกอ่ สร้างต่าง ๆก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์จากท่อไอเสยี รถยนต์ ควันพษิ จากโรงงานอตุ สาหกรรมเปน็ เป็นสาเหตขุ องมลพษิ ทางอากาศ สาเหตหุ น่ึงที่กอ่ ให้เกิดโรคทางเดนิ หายใจ3 ปญั หาขยะมูลฝอย ขยะมูลฝอย คอื เศษสิง่ เหลอื ท้งิ จากขบวนการผลติ การ บรโิ ภค การใช้สอยและการขบั ถา่ ยของมนษุ ย์ ซ่ึงเป็นปญั หาของโลกสมยั ใหม่ และเปน็ ตัวการสำ� คญั ทที่ ำ� ใหเ้ กดิ ความสกปรกใน ดิน น�ำ้ อากาศ ตลอดจนเปน็ แหลง่ เพาะพันธ์ุเชอ้ื โรคและแมลงวนั ซึง่ สาเหตุเกิดจากดังน้ี 3.1 การก�ำจดั ขยะไมถ่ ูกวธิ ี เช่น เผาขยะ ท้ิงขยะในทสี่ าธารณะ 3.2 การทิง้ ขยะไม่เปน็ ที่ อาจก่อใหเ้ กดิ การสะสมของเชอ้ื โรคประเภทของขยะ1 ขยะเปยี ก หมายถึง ขยะทย่ี อ่ ยสลายได้งา่ ย เช่น เศษอาหาร พืชผัก เปลือกผลไม้ เป็นตน้2 ขยะแหง้ หมายถงึ ขยะทีย่ อ่ ยสลายไดย้ าก เช่น กระดาษ พลาสตกิ แก้ว โลหะ เศษผา้ ไม้ ผลติ ภัณฑ์ทท่ี �ำจากยาง เป็นต้น สขุ ศึกษาและพลศึกษา > ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 5

3 ขยะอันตราย หมายถึง สารเคมี วัตถุมพี ิษ ซาก ถ่านไฟฉาย หลอดไฟ และขยะตดิ เชอื้ จากสถาน พยาบาล 4 ปญั หาเสียงดังหรือมลพษิ ทางเสียง ท�ำให้เกดิ ความร�ำคาญ เกิดอาการตอ่ ระบบ การไดย้ นิ ทำ� ให้ปวดศีรษะและส่งผลเสยี ต่อสขุ ภาพจติ แหลง่ ทท่ี ำ� ใหเ้ กดิ ปัญหา มลพษิ ทางเสยี ง เช่น 4.1 ยานพาหนะประเภทต่างๆ เช่น รถไฟ รถยนต์ รถจกั รยานยนต์ รถบรรทุก เรอื หางยาว และเคร่ืองบนิ เปน็ ต้น 4.2 สถานประกอบการตา่ งๆ ได้แก่ โรงงาน อตุ สาหกรรม การก่อสรา้ ง อ่ซู ่อมรถ เปน็ ตน้ 4.3 ชมุ ชนและสถานบรกิ าร ได้แก่ เสยี งจากคน หรอื เครื่องใช้ภายในบ้าน เชน่ วทิ ยุ โทรทัศน์ และเสยี งในย่านธุรกจิ การค้า สถานบันเทงิ เรงิ รมย์ เปน็ ตน้ 5 ปัญหาสารพิษ ซง่ึ มีผลตอ่ สขุ ภาพของมนุษยม์ าก เชน่ สารพษิ ทีต่ กคา้ งใน ผัก–ผลไม้ สารพษิ ทีป่ นเป้ือนในแมน่ �้ำ เชน่ สารตะกวั่ เปน็ ตน้ มสี าเหตุดงั น้ี 5.1 การใช้สารเคมไี ม่ถกู วธิ หี รือไม่ระมดั ระวัง 5.2 การทิ้งสารเคมไี มถ่ ูกที่ เชน่ ทิ้งในท่สี าธารณะ ทิง้ ปนกบั ขยะอืน่ ๆ6 สุขศึกษาและพลศกึ ษา < ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 4

6 ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติเสือ่ มโทรมและถกู ท�ำลาย ทำ� ใหเ้ กิด ภัยธรรมชาติ สาเหตุ จากการตดั ไม้ท�ำลายปา่ เปน็ ตน้7 ปัญหาจากการต้ังถ่นิ ฐานที่ไมถ่ กู ตอ้ ง ทำ� ให้เกดิ แหลง่ เส่อื มโทรม ชมุ ชนแออัด ส่งผลให้มโี รคระบาดเกิดข้ึนไดง้ า่ ยวิธปี ฏบิ ตั ิตนเพ่อื รักษาส่งิ แวดล้อม ส่ิงแวดลอ้ มมีผลต่อสุขภาพของทุกคน ดงั นนั้ เราจงึ ควรชว่ ยกันดแู ลรักษาสิง่แวดลอ้ ม ซึ่งในวยั ของนักเรียนสามารถปฏบิ ัติได้ดังนี้ 1 ลดหรอื หลกี เล่ียง การใชส้ ิ่งของทที่ ำ� ใหเ้ กิดมลภาวะตอ่ สิง่ แวดลอ้ ม เช่น การ ใช้ถงุ ผา้ หรือตะกร้า แทนการใชถ้ ุงพลาสติก ลดการใชส้ ารเคมีก�ำจัดศตั รพู ชื แลว้ เปลย่ี นมาใช้วธิ ีการทางธรรมชาติแทน 2 แยกขยะก่อนท้งิ และทิ้งลงในถงั ขยะท่มี ฝี า ปิดมดิ ชดิ 3 ทำ� ความสะอาดสถานท่ใี นบ้านหรอื โรงเรียน อยา่ งสม่�ำเสมอ เช่น กวาดและถูห้องเรียนทุก วนั ทำ� ความสะอาดหอ้ งน�้ำหลังใชเ้ สรจ็ แล้ว เป็นต้น สุขศึกษาและพลศึกษา > ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 7

4 ควรมีการบ�าบดั นา�้ เสียในบ้านหรอื โรงเรียนด้วยวธิ ที ่ีถกู ตอ้ ง5 ใช้ทรัพยากรและพลงั งานอยา่ งประหยดั เช่น ใชก้ ระดาษอย่างคุม้ ค่า ปิดน้�า ปิดไฟ หลงั ใชง้ านเสรจ็ ทุกครง้ั เป็นตน้กำรจดั ส่งิ แวดล้อมทีถ่ ูกสขุ ลักษณะ สิง่ แวดลอ้ มทถี่ กู สุขลักษณะจะสง่ ผลท�าให้เรามสี ขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิตดี ดงัน้ันเราควรชว่ ยกันรักษาสิ่งแวดลอ้ มตามความสามารถที่เราทา� ได้กำรจัดสงิ่ แวดล้อม ทบ่ี ้ำน ให้ถูกสขุ ลกั ษณะ1 กำรรักษำส่งิ แวดลอ้ มภำยในบ้ำนเป็นส่ิงส�ำคัญ เพราะสภาพแวดล้อมภายในบ้านมีผลต่อสขุ ภาพของสมาชิกในครอบครัว ถา้ สภาพแวดลอ้ ม ภายในบา้ นไม่ดจี ะส่งผลต่อสุขภาพกายและสขุ ภาพจติ ดังนั้นสมาชกิ ในครอบครวั ควรมีส่วนรว่ มกันเพ่อื ทจี่ ะทา� ให้บา้ นถูกสุขลกั ษณะดงั น้ี1.1 จัดวางส่งิ ของเคร่ืองใช้ภายในบา้ นใหเ้ ป็น เปดิ ประตูหน้าต่างและจัดสิ่งของ ระเบียบเรียบรอ้ ย โดยจัดเป็นหมวดหมู่ เครอ่ื งใช้ใหเ้ ปน็ ระเบียบ เพ่อื สะดวกในการหยิบใช้1.2 เมือ่ นา� ส่ิงของเครอ่ื งใชไ้ ปใชแ้ ลว้ ต้อง ท�าความสะอาดและเกบ็ เขา้ ทใ่ี หเ้ รียบรอ้ ย1.3 เปดิ ประตู หนา้ ต่างห้องต่างๆ ให้แสงแดดส่องเขา้ ถึง และอากาศถา่ ยเทสะดวก1.4 เครอ่ื งนอน ได้แก่ ทน่ี อน หมอน มุ้ง ควรซกั ให้ สะอาดและน�าออกผึง่ แดดอยเู่ สมอ1.5 พน้ื ห้องทุกห้อง ต้องกวาดถูให้สะอาดอยเู่ สมอ8 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา < ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4

การนา� เครอื่ งนอนตาก 1.6 ดูแลห้องน้า� และห้องส้วมใหส้ ะอาดอยเู่ สมอแดดจะชว่ ยฆา่ เชื้อโรค ไมม่ ีกลนิ่ เหมน็ อบั ชนื้ 1.7 ฝาผนงั บา้ นตอ้ งเช็ดให้สะอาด ไมม่ ีหยากไย่รงุ รงั 1.8 หอ้ งครัว หรือบรเิ วณทีใ่ ชป้ ระกอบอาหาร ตอ้ ง หม่ันดูแลทา� ความสะอาดอยูเ่ สมอ 1.9 ล้างจานชามและเครื่องครัวใหส้ ะอาด คว่�าไวใ้ ห้ แหง้ หรือเช็ดแลว้ เก็บใหเ้ รยี บรอ้ ย 1.10 นา� ขยะไปทง้ิ ทีร่ องรับขยะทุกวัน การท้ิงขยะจะช่วยใหส้ ภาพ ล้างจานชามและเคร่ืองครวั ใหส้ ะอาดแวดล้อมสะอาดไม่เป็นแหล่งเช้ือโรค2 การจัดสิ่งแวดลอ้ มรอบๆ บา้ น สามารถปฏบิ ตั ไิ ด้ดงั นี้ 2.1 ดแู ลรักษาบรเิ วณรอบๆ บ้านให้สะอาด ไมใ่ ห้รกรุงรงั 2.2 คว่า� ภาชนะตา่ งๆ ทอ่ี าจมนี �้าขงั อยูบ่ ริเวณรอบๆ เพอ่ื ป้องกันไม่ใหเ้ ป็นท่ี เพาะพันธ์ุยงุ ลาย ซงึ่ เป็นสาเหตุของโรคไข้เลือดออก 2.3 ดแู ลรกั ษาพ้ืนทร่ี อบๆ บา้ นไม่ให้เฉอะแฉะมนี า้� ขัง 2.4 ปลกู ต้นไมร้ อบๆ บา้ น เพื่อใหร้ ม่ ร่นื สวยงามและช่วยใหอ้ ากาศบรสิ ุทธ์ิ 2.5 ถา้ มสี ัตว์เลี้ยงในบา้ น เช่น สนุ ัข แมว ต้องคอยดูแลในเร่อื งความสะอาด จากการขับถ่าย ของสตั ว์เลี้ยงดว้ ย 2.6 ดูแลตัดแตง่ ตน้ ไม้บรเิ วณรอบๆ บ้านใหเ้ รียบรอ้ ย เพอ่ื ปอ้ งกันแมลงและ สัตวม์ ีพษิ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา > ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 4 9

กำรจดั ส่ิงแวดลอ้ ม ท่โี รงเรียน ใหถ้ กู สขุ ลกั ษณะ 1 กำรจดั และดูแลรกั ษำสง่ิ แวดล้อมของชั้นเรยี น โรงเรียนเปน็ สถานทีท่ เ่ี ราใช้ชวี ิต เป็นส่วนใหญ่ เราสามารถปฏบิ ตั ไิ ด้ดังน้ี 1.1 ดูแลรกั ษาความสะอาดชนั้ เรียนอยเู่ สมอ โดยจดั เวร ท�าความสะอาดชนั้ เรียน จัดโตะ๊ และเก้าอีใ้ ห้เป็น ระเบียบเรยี บรอ้ ย 1.2 จัดป้ายนเิ ทศในช้นั เรยี นให้สวยงาม 1.3 เก็บและทงิ้ ขยะลงในที่รองรับขยะทจี่ ดั ไว้ในชนั้ เรียน และนา� ไปท้ิงในที่ รองรบั ขยะของโรงเรยี นทกุ วนั หลังเลิกเรียน 2 กำรจดั และดแู ลรกั ษำส่งิ แวดลอ้ มภำยในบริเวณโรงเรียน 2.1 ช่วยกนั ดแู ลรักษาความสะอาดภายในบริเวณโรงเรยี นใหส้ ะอาด เชน่ ไม่ ทิ้งขยะลงพน้ื ถนน บนโตะ๊ มา้ น่ัง หรือตามสถานท่ตี ่างๆ เมอ่ื พบเหน็ ขยะ ตกหล่นอยใู่ นบริเวณโรงเรยี นควรช่วยกันเก็บไปทิ้งในทรี่ องรบั ขยะท่ีจัดไว้ให้ 2.2 เมื่อรบั ประทานอาหารเสร็จแล้วตอ้ งเกบ็ ภาชนะ จาน ชาม ไปไว้ในที่รองรับให้เรยี บร้อย ไมท่ งิ้ เศษ อาหารหรือแกว้ น�้าบนโต๊ะหรอื บนพ้นื โรงอาหาร เพราะอาจเปน็ แหล่งที่อยอู่ าศยั ของสัตวพ์ าหะน�า โรค เช่น หนู แมลงวนั แมลงสาบ เปน็ ตน้ 2.3 ชว่ ยกนั ดูแลรักษาหอ้ งนา้� ใหส้ ะอาด และกด ชกั โครกทกุ ครง้ั หลงั การขบั ถ่าย 2.4 ช่วยกันปลูกต้นไม้รอบๆ โรงเรยี น เพ่ือให้ร่มร่ืนและ ไม่เดด็ ดอกไม้ทา� ลายตน้ ไม้ภายในบรเิ วณโรงเรียน10 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา < ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 4

การรกั ษาสภาพแวดล้อมภายในชุมชน ชมุ ชนน่าอยกู่ ็ตอ่ เมอ่ื คนท่ีอาศัยอยู่ในชุมชนนั้นๆ ช่วยกนั รกั ษาดูแลสิ่งแวดล้อมภายในชุมชน เช่น การรกั ษาความสะอาด การป้องกนั อากาศเสีย น�้ำเน่าเสีย และไม่สง่ เสยี งดงั จนเป็นท่ีเดือดรอ้ นนา่ ร�ำคาญของคนในชมุ ชน วันที่ 5 มิถุนายน ของทกุ ปี องคก์ รสหประชาชาตไิ ด้ประกาศ ให้เป็น “วันส่งิ แวดล้อมโลก” เพ่ือให้ทุกประเทศได้ ตระหนักและต่ืนตวั เกี่ยวกับวกิ ฤตการณด์ า้ นสิ่งแวดลอ้ ม และหาแนวทางแกไ้ ขปัญหาสง่ิ แวดลอ้ มท่เี กดิ ขน้ึ ทว่ั ไป สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา > ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4 11

บทท่ี ๒ อำรมณ์กับสขุ ภำพ อำรมณ์ หมายถงึ ความรู้สกึ ภายในจติ ใจทม่ี ีต่อสิ่งตา่ งๆ รอบตัวเรา ซึง่ สามารถ แสดงออกมาไดห้ ลายรูปแบบ ข้ึนอย่กู บั สง่ิ ทม่ี ากระทบตอ่ จิตใจ การมอี ารมณท์ ่ีดจี ะมผี ลตอ่ สุขภาพร่างกายและจติ ใจ จงึ ท�าให้ร่าเริงแจม่ ใส สดชืน่ ยม้ิ แยม้ มีสุขภาพร่างกายทด่ี ี ไมเ่ จ็บป่วยงา่ ย ไมเ่ บอื่ อาหารหรอื ปวดศีรษะ รบั ประทาน อาหารไดต้ ามปกติ เนอื่ งจากไม่มคี วามกังวล หรอื ความเครยี ด เหมอื นกับผู้ทม่ี อี ารมณ์ ไม่แจม่ ใส อำรมณท์ ีเ่ ป็นผลดีตอ่ สขุ ภำพ เช่น รกั ช่นื ชม ดีใจ ชอบใจ สนุกสนาน เป็นตน้ อำรมณ์ทีเ่ ปน็ ผลเสียต่อสขุ ภำพ เช่น โกรธ เกลียด หงุดหงดิ เสยี ใจ เศรา้ ใจ อจิ ฉาริษยา วิตกกงั วล เบอื่ หน่าย กลวั เปน็ ตน้ ลักษณะทำงอำรมณท์ ่ีมผี ลดีตอ่ สขุ ภำพ อารมณท์ ีม่ ผี ลดีตอ่ สุขภาพ จะท�าให้รา่ งกายแข็งแรง ปลอดจากโรคภยั ไข้เจบ็ สขุ ภาพจิตแจม่ ใส รา่ เริง เปน็ ทีร่ ักใครข่ องทุกคน อำรมณ์ ดีใจ ชอบใจ เปน็ อารมณท์ ี่มีความรสู้ ึกยนิ ดี พอใจหรือสบายใจเมอ่ื ไดท้ า� หรอื ได้รบั ในสง่ิ ทีต่ ้องการ ประสบความส�าเร็จ ในสิง่ ที่มงุ่ หวงั ซงึ่ แสดงออกด้วยการย้ิม หัวเราะหรอื ร้องไห้ เมอ่ื เกดิ ความร้สู กึ ดใี จเป็นอย่างมาก อำรมณ์ รักและชื่นชม เมื่ออารมณ์ท่ีมคี วามรู้สึกของความผูกพันและพงึ พอใจ ประทบั ใจในสง่ิ ใดสง่ิ หนง่ึ หรอื กบั บุคคลท่ีตนเองถกู ใจ12 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา < ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 4

และนยิ มชมชอบ ซึ่งแสดงออกได้ด้วยการยิม้ แย้ม แจม่ ใส อำรมณ์ สนกุ สนำน เป็นอารมณ์ท่ีมีความสขุ อยกู่ ับการกระท�าอย่างใดอยา่ งหนงึ่ ซ่ึงแสดงออกด้วยการยิ้มอยา่ งเบิกบานหรือหวั เราะลักษณะทำงอำรมณท์ ่มี ผี ลเสียตอ่ สุขภำพ อารมณ์ท่ีมีผลเสยี ตอ่ สุขภาพส่งผลให้ร่างกายออ่ นแอ เชน่ เบอ่ื อาหาร อ่อนเพลียเกิดโรคภยั ไข้เจบ็ ได้ง่าย เช่น ปวดศีรษะ ปวดท้อง เกดิ อาการหายใจเรว็ ตัวสั่น สขุ ภาพจติ เสอื่ ม จติ ใจเศร้าหมอง ไม่สดใส และไม่มใี ครอยากเข้าใกล้ อำรมณ์ เสยี ใจ เปน็ อารมณท์ ี่เกดิ ความผดิ หวังหรือสูญเสยี สิง่ ทีเ่ ป็น ที่รกั และหวงแหนไป ไมส่ บายใจ ไมไ่ ด้ส่ิงทีค่ าดหวัง ไว้ โดยแสดงออกทางอารมณ์ดว้ ยการร้องไห้ เกบ็ ตัวไม่ พดู จา ใบหน้าเศร้าหมอง อำรมณ์ วิตกกังวล เครียด เปน็ อารมณท์ ่ีเกิดจากการคาดการณห์ รือคิดถึงส่งิ ทีท่ �าใหต้ อ้ งผดิ หวงั ซ่ึงอาจจะเกิดหรอื ไม่เกิดข้นึ กไ็ ด้ ท�าใหเ้ กดิ ความทกุ ขก์ ไ็ ด้ ทา� ใหเ้ กดิ ความทุกข์ ใจไม่สบายใจ ซึ่งอาจแสดงออกทางอารมณ์ทใ่ี บหน้า เครง่ ขรมึ เศร้าหมอง หงดุ หงดิ ง่าย ชอบเกบ็ ตวั อยู่ คนเดยี ว ไม่อยากพูดจากับใคร อำรมณ์ กลัว เกิดจากความรูส้ ึกถงึ ความไม่ปลอดภยั ต่อส่งิ ใดสง่ิ หนึ่ง เนอ่ื งจากคิดว่าสง่ิ น้ันจะ สุขศึกษาและพลศกึ ษา > ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 13

เปน็ อนั ตรายต่อตนเอง อารมณ์กลัวอาจแสดงออกได้ด้วยการมอี าการตวั สนั่ หวาดระแวง มองสิ่งต่างๆ รอบตัวด้วยความระมัดระวัง และตน่ื ตกใจอยตู่ ลอด เวลา เช่น อย่คู นเดียวในท่ีมดื ๆ กลวั การถกู ลงโทษ ฯลฯ อำรมณ์ หงดุ หงดิ เปน็ อารมณท์ ่เี กิดจากการไม่ไดร้ บั ในส่ิงทีต่ ้องการหรอื ไม่สามารถ ท�าในส่งิ ทต่ี ้องการได้ ซ่งึ แสดงออกไดด้ ้วยการมีหนา้ บงึ้ ตงึ พูดจา ไม่สภุ าพและไมพ่ อใจอะไรง่ายๆ เปน็ ตน้ อำรมณ์ โกรธ เกลยี ด เป็นความรู้สกึ ไมพ่ อใจอย่างรุนแรงต่อบุคคล ส่งิ ของ หรอื เหตุการณ์ ไมช่ อบจนร้สู ึกไมอ่ ยากเหน็ การ แสดงออกทางอารมณ์จะรุนแรง เชน่ ขวา้ งปาสิ่งของ ท�าลายส่งิ ของ พูดจาไม่สภุ าพแสดงกรยิ าไมพ่ อใจทางสหี นา้ กำรจัดกำรกับอำรมณ์ เมอ่ื มอี ารมณไ์ มร่ า่ เริง แจ่มใส หรือมีความเครยี ด และวติ กกังวล จะทา� ให้สขุ ภาพ เสอื่ มโทรมลงไป ดงั นัน้ เราจึงควรหาวิธีท�าให้จิตใจและอารมณส์ ดช่ืน ร่าเริง แจ่มใส ด้วยการปฏิบตั ิดงั น้ี 1 สร้างความสนุกสนานและกระตือรอื ร้น ใหก้ ับตนเอง • ท�ากิจกรรมท่ีตนเองชอบและเป็น ประโยชนใ์ นทางสร้างสรรค์ • ออกก�าลงั กาย เลน่ กีฬากับเพื่อนๆ เมอ่ื มเี วลาวา่ ง14 สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา < ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4

2. หากจิ กรรมทชี่ ่วยเสรมิ สรา้ งความรา่ เริงให้กับตนเอง • อ่านหนังสอื • คยุ กับเพือ่ นด้วยเรือ่ งสนกุ ๆ • ดูโทรทัศน์ ฟงั เพลง เพ่อื ผอ่ นคลายอารมณ์3. ถ้าไมส่ บายใจ ควรหาวธิ ผี อ่ นคลาย • ปรกึ ษาผ้มู ปี ระสบการณห์ รอื พดู คุยกับเพื่อน • ท�างานอดเิ รกทีต่ นเองชอบ เชน่ วาดภาพ เลน่ ดนตรี ฯลฯ4. พัฒนาจติ ใจให้เขม้ แขง็ • หม่นั พิจารณาเหตุการณท์ ่ผี า่ นมา และให้กา� ลงั ใจตนเอง • ฝกสมาธิใหจ้ ิตใจสงบ ไมห่ วัน่ ไหวงา่ ย การรู้จักจัดการกับอารมณอ์ ย่าง เหมาะสม จะท�าใหม้ ีสุขภาพกาย และจติ ใจท่ีแข็งแรง สุขศึกษาและพลศึกษา > ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 4 15

บทที่ ๓ อาหารและผลิตภณั ฑ์สุขภาพ อาหารและผลติ ภัณฑ์สุขภาพ เปน็ สง่ิ จ�ำเป็นต่อการดำ� รงชวี ิต ดังนัน้ เราจึงควรมี ความรู้ในการเลอื กบรโิ ภคอาหารและผลิตภัณฑ์สขุ ภาพ เพอ่ื ความปลอดภยั อาหาร คือ ส่งิ ทม่ี ีชีวิตบรโิ ภคเพ่ือให้สามารถด�ำรงชีวติ อยไู่ ด้ อาหารมีทง้ั ทม่ี าจาก สง่ิ มีชวี ิต เช่น พชื สตั ว์ จุลนิ ทรยี ์ และส่ิงไมม่ ชี วี ติ เช่น เกลือ น�้ำ ผลติ ภณั ฑส์ ขุ ภาพ คอื ผลิตภณั ฑ์ทใ่ี ชใ้ นการอปุ โภคบรโิ ภค เป็นผลิตภัณฑท์ ่ี จ�ำเปน็ ตอ่ การดำ� รงชีวติ และมีวตั ถุประสงคเ์ พ่อื สขุ ภาพอนามยั ตลอดจนผลิตภัณฑท์ ี่ อาจมผี ลกระทบโดยตรงหรอื โดยอ้อมต่อสขุ ภาพอนามัยของผู้บรโิ ภค การเลือกซ้ืออาหารและผลติ ภณั ฑ์สขุ ภาพ การเลือกซื้ออาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ เพื่อใหเ้ กดิ ความปลอดภยั และได้สินค้า ที่มีคณุ ภาพ มีหลักในการปฏิบัติดังนี้ คอื 1 อา่ นฉลากกอ่ นซอื้ ทกุ คร้ัง อาหาร และผลติ ภณั ฑส์ ุขภาพมฉี ลากระบุ ข้อความท่ีผบู้ ริโภคควรรู้ 2 ถ้าไมเ่ ขา้ ใจต้องถามผ้ทู ีม่ ีความรู้ บางชนิดควรปรึกษาผเู้ ชยี่ วชาญก่อน การใช้ เช่น ยา วิตามนิ เครอื่ งส�ำอาง ฯลฯ 3 ตรวจสอบอาหารและผลิตภณั ฑส์ ุขภาพนน้ั วา่ ตรงตามทีร่ ะบุบนฉลากหรอื ไม่ 4 ปฏิบตั ิตามวิธกี ารบริโภคทรี่ ะบไุ วบ้ นฉลากอยา่ งเคร่งครัด16 สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา < ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 4

อาหาร ก่อนการบริโภค เราควรเลอื กอาหารท่ีมคี ุณค่าและถกู ต้องตามหลกั โภชนาการ ดังนี้ 1 อาหารประเภทเน้อื สัตว์ จะต้องเลอื กเนื้อสตั วท์ ี่สด และใหม่ 1.1 เนอ้ื หมูและเนื้อวัว ตอ้ งมสี แี ดงสด ไมม่ กี ลิ่นเหมน็ เปรีย้ วหรอื เป็นเมือก ลน่ื ๆ กดไปแลว้ เนือ้ ต้องมา เป็นรูปเดมิ ไมบ่ มุ๋ ตามรอยนิ้วท่กี ด 1.2 เน้อื เป็ดและเนื้อไก่ จะตอ้ งไมม่ กี ลนิ่ เหม็น โดย เฉพาะบริเวณใตป้ กี ใต้ขา บรเิ วณช่วงล�ำคอท่ตี ่อกบั ลำ� ตวั และทป่ี ลายปกี ต้องไมม่ สี คี ล้ำ� 1.3 กุ้ง เปลอื กแข็ง หวั ไมข่ าด หางและขาไมเ่ ปน็ สีชมพู หรอื สีสม้ ไมม่ ีกลิ่นเหม็นเน่า ไม่ควรซอื้ กงุ้ ทแ่ี กะเนอ้ื เปลอื กออกแล้ว เพราะอาจเปน็ เนื้อกุ้งทไี่ ม่สด 1.4 ปลา มเี หงือกสีแดงสด ลกู ตาใส เกล็ดไมห่ ลุด กด แลว้ เนื้อไม่บุม๋ ตามรอยที่กด ไม่มกี ลน่ิ เหมน็ เนา่หมแู ละไก่ กุ้ง ปลา สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา > ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 4 17

2 อาหารประเภทผกั และผลไม้ มหี ลักการในการเลือกซอื้ ดังน้ี 2.1 ควรเลือกซ้อื ผกั และผลไม้ทส่ี ด สะอาด ปลอดสารพษิ 2.2 ควรเลือกซอ้ื ผลไมท้ ี่สด ไม่เหยี่ ว และเป็นผลไม้ทมี่ ีในฤดกู าล ควรเลือกซอื้ ผักและผลไมท้ ป่ี ลอดสารพษิ เลอื กซือ้ ผลไมต้ ามฤดูกาล จะไดผ้ ลไม้ท่สี ด ไมใ่ หโ้ ทษตอ่ รา่ งกาย และราคาไมแ่ พง3 อาหารแหง้ ชนดิ ต่างๆ เช่น ปลาหมึกแห้งถั่วเมลด็ แห้ง3.1 เลือกซื้อผลิตภณั ฑ์ทผ่ี ลิตใหมๆ่ ไม่ชน้ื3.2 ไมม่ ีจุดดา่ งด�ำ ไม่ใส่สี3.3 ไมม่ เี ช้อื รา อาหารแหง้ ท่ีปลอดเชอ้ื รา ท�ำให้ร่างกายไมเ่ ป็นโรคภัย 3.4 ไม่มกี ล่นิ เหม็นหืน ทเ่ีมลเีือคกรซ่ือื้องผหลมิตายภัณอฑย์.4. อาหารกระปอ๋ ง4.1 กระปอ๋ งไมบ่ ุบหรอื ไม่โปง่ นูน และไมเ่ ป็นสนมิ4.2 อา่ นฉลากกอ่ นซ้อื ทุกครง้ั4.3 เลอื กซอื้ อาหารกระป๋องทีย่ ังไมห่ มดอายุ กทเลา่กี รือรบะกรปอโิ ๋อาภหงคาไทมรี่ปก่บรลุบะอปดเพ๋อภงอื่ยัเคสรทือ่ำ�ม่ี นงีภหกั างมชานานยะคบณอรยระ.จกสุรเปรนม็นทิ กสาัญทร่ผีลอา่ักานหษกาณราร์ทแทใี่ลหดะก้สยบัอาผบกลแรติ ละภว้ทณั รรฑวับง์อผสาดิาหธชาาอรรบแณโปดสรยุขรูป18 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา < ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4

การเลอื กซื้อผลติ ภณั ฑ์ปรุงรสและปรุงแต่งอาหาร ผลติ ภัณฑ์ท่นี �ำมาปรงุ รสและปรุงแตง่ อาหารใหอ้ ร่อยและมคี ณุ คา่ ให้ประโยชน์ต่อร่างกาย มีหลกั ในการเลอื ก ดังนี้1 ผงชรู ส ลกั ษณะของผงชูรสแท้ 1.1 เลือกผงชูรสแท้ซึง่ มีลักษณะผลกึ เปน็ แทง่ ยาวๆ คอดตรงกลาง ใส ไม่มสี ี ไม่มคี วามวาว 1.2 บรรจุในซองท่เี รียบรอ้ ย ไม่ฉีกขาด 1.3 ไดร้ บั เคร่อื งหมายเลขทะเบยี นอาหารและยา โผมงโชนูรสโซมีชเือ่ดเียรียมกกทลาทูงเาคเมมวี ตา่ไม่ควรบรโิ ภคเกนิ 2 ช้อนชาตอ่ วันน้�ำปลาดตี ้องไมเ่ จือสี และแตง่ กลนิ่ 2 น้�ำปลา 2.1 มเี คร่อื งหมายเลขทะเบียนอาหารและยา 2.2 อยู่ในบรรจุภัณฑ์ทม่ี ีฉลากระบุวัน หมดอายุ ข้อมลู บริโภค ช่อื ทีอ่ ยผู่ ้ผู ลิต ปริมาตรสทุ ธิ 2.3 สีของน�้ำปลาไม่เขม้ เกนิ ไป ไม่มีตะกอน และไมใ่ สส่ ารกนั บดู3 น�้ำส้มสายชู 19 3.1 บรรจใุ นขวดแกว้ เพอื่ ป้องกนั การกดั กร่อน ใส ไม่มีตะกอน มี เครือ่ งหมาย อย. ข้างขวด สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา > ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4

3.2 ควรมีระบปุ ระเภทของน�้ำสม้ สายชู เช่น น�้ำสม้ สายชูหมกั นำ้� ส้มสายชกู ลัน่3.3 ระบปุ ริมาณกรดน้�ำสม้ 4 – 7% และ ปรมิ าตรสุทธิ3.4 น�ำ้ สม้ สายชูแท้ เมอ่ื นำ� ผักมาใสจ่ ะไม่เปลย่ี นสีธัญเปพ็นชื ผผลติลภไมัณ้ ฑห์ทรือีไ่ ดนจ้ �้ำาตกาล กาเรปนน็ �ำผแลอติ ลภกณั อฑฮอท์ ลไ่ี ดม์ จ้ากากลั่นบนฉลากต้องระบุค�ำว่า 4 สผี สมอาหาร สีผสมอาหาร 4.1 บนฉลากตอ้ งมีขอ้ ความเลขทะเบียนต�ำรบั สี ผสมอาหาร ตอ้ งระบุคำ� ว่า สผี สมอาหาร ช่อื สามัญของสผี สมอาหาร ปรมิ าณสุทธิ วิธีใช้ 4.2 ควรเลือกใชส้ ีผสมอาหารที่ได้จากธรรมชาติ เชน่ สมี ่วงจากดอกอัญชัน สเี ขยี วจากใบเตย พฤตกิ รรมทดี่ ีในการบรโิ ภคอาหาร 1 รับประทานอาหารทสี่ ุกและสะอาด 2 รับประทานอาหารใหเ้ ปน็ เวลา 3 รบั ประทานอาหารหลายอยา่ งสบั เปล่ยี นกัน 4 เลือกรับประทานอาหารทปี่ ลอดภยั20 สขุ ศึกษาและพลศึกษา < ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4

5 เลือกรบั ประทานอาหารที่หาไดง้ ่ายและมมี ากตามฤดกู าล 6 เลอื กรบั ประทานอาหารทป่ี รงุ อยา่ งถูกวิธี 7 สร้างนิสัยรกั ความสะอาด โดยการรกั ษาความสะอาดของ ภาชนะใส่อาหาร อปุ กรณ์และสถานทีใ่ นการประกอบอาหารพฤติกรรมท่ไี มด่ ใี นกำรบริโภคอำหำร 1 รบั ประทานอาหารทไี่ ม่สะอาด 2 รับประทานอาหารทป่ี รงุ ไม่สุก 3 รบั ประทานอาหารท่มี ีรสจัด 4 รับประทานอาหารทมี่ ีสสี ันฉูดฉาด 5 รบั ประทานอาหารท่ีใสผ่ งปรงุ รสมากเกนิ ไปผลิตภัณฑส์ ุขภำพ ผลิตภัณฑ์สุขภาพจะเกิดผลดตี ่อสุขภาพหากใชอ้ ยา่ งถกู ต้องเหมาะสม และในทางตรงกนั ขา้ ม หากใช้อย่างไมถ่ ูกตอ้ ง ก็จะเกิดโทษ หรือพษิ ภยั ต่อสขุ ภาพได้ กลุ่มของผลติ ภัณฑส์ ุขภาพ แบ่งออกเป็น 6 กลุ่มมีดังน้ี 1 ยา เชน่ ยาน้า� ยาเม็ด ยาแคปซลู เป็นตน้ 2 อาหาร เช่น นม อาหารกระป๋อง เป็นต้น 3 เครอ่ื งส�าอาง เชน่ สบู่ แปง้ ลปิ สติก เปน็ ต้น 4 เครือ่ งมอื แพทย์ เช่น ปรอทวัดไข้ หฟู ังของแพทย์ เปน็ ตน้ 5 วัตถุอนั ตรายทีใ่ ชใ้ นบา้ นเรอื น เชน่ ยากนั ยงุ ผงซักฟอก เป็นตน้ 6 วัตถุเสพติด เชน่ บหุ ร่ี สุรา เปน็ ตน้ สุขศกึ ษาและพลศึกษา > ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 21

หลกั ในการอา่ นข้อมลู ฉลากผลติ ภณั ฑ์สุขภาพ ฉลาก เป็นสง่ิ ทตี่ ดิ บนภาชนะบรรจอุ าหารหรอื ผลิตภัณฑ์สขุ ภาพเพ่ือแสดงข้อมูล แกผ่ ู้บรโิ ภค และใช้เป็นการเลอื กซื้ออาหารและผลติ ภัณฑส์ ขุ ภาพ ข้อมูลบนฉลากอาหาร จะแสดงรายละเอยี ดทีส่ ำ� คญั ดงั นี้ 1 ช่ืออาหาร เพ่อื ให้ซือ้ อาหารได้ตรงตามตอ้ งการ 2 ขอ้ มลู โภชนาการ ช่วยใหเ้ ลอื กซื้ออาหารและเลอื กบรโิ ภคใหเ้ หมาะสม กับความต้องการ และช่วยเปรยี บเทียบใหเ้ ลอื กซอ้ื ผลิตภัณฑอ์ าหารชนดิ เดยี วกันทีม่ คี ุณคา่ ทางโภชนาการสูงกวา่ 3 ปรมิ าณสทุ ธิ ช่วยใหท้ ราบนำ�้ หนกั ของอาหารที่ต้องการ 4 ส่วนประกอบทส่ี ำ� คญั ช่วยในการเปรียบเทยี บกบั สินค้าชนิดเดียวกนั เพ่ือ เป็นขอ้ มลู ในการตดั สินใจเลือกซอื้ และชว่ ยให้หลีกเลี่ยงอาหารท่มี อี าการแพไ้ ด้ 5 วนั เดือน ปี ทผ่ี ลติ และหมดอายุ เพ่ือปอ้ งกันอันตรายท่ีอาจเกิดจากการ บริโภคสินค้าที่หมดอายุ 6 วธิ ีใช้ ช่วยให้ใช้สินคา้ ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและปลอดภยั 7 ชอื่ และทีต่ ้งั ของผู้ผลติ ช่วยให้ทราบวา่ ผู้ผลติ เป็นใคร ถ้าเกิดปญั หาเก่ียวกบั ผลติ ภัณฑจ์ ะได้ร้องเรียน หรือสามารถเรยี กรอ้ งคา่ ชดเชยได้ 8 ข้อความระบุ ไมใ่ ชว้ ตั ถุกนั เสีย, ไม่ใช้สีสังเคราะห์ 9 เครอื่ งหมาย อย. และเลขทะเบยี น ช่วยรับรองคณุ ภาพของสนิ ค้าว่า ปลอดภยั และได้มาตรฐาน ข้อมลู บนฉลากยา 1 ประเภทของยา บ่งบอกใหท้ ราบวา่ เป็นยาประเภทใด เช่น ยาอันตราย ยาใชเ้ ฉพาะท่ี 2 สรรพคณุ ช่วยให้ผู้ใช้เลอื กใช้ในการรกั ษาไดต้ รงตามอาการที่เกดิ ขึน้22 สุขศกึ ษาและพลศึกษา < ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 4

3 วิธใี ชแ้ ละคำ� เตอื น ชว่ ยใหผ้ ้ใู ช้ ใช้ยาไดถ้ กู ต้องและปลอดภัย4 วนั หมดอายุ ป้องกนั อันตรายจากการใช้ยาทหี่ มดอายุ อ่านฉลากสักนดิ ก่อนซ้ือ “ชีวติ ดี มคี ุณภาพ ได้ประโยชน์คุ้มค่า”เคร่อื งหมายบนฉลากผลติ ภณั ฑ์สขุ ภาพเคร่อื งหมายเตือนอนั ตราย บนฉลากของผลติ ภณั ฑ์สุขภาพบางชนิด จะมกี ารระบเุ ครื่องหมายเตือนอันตรายไวเ้ พ่ือให้ใช้ผลติ ภัณฑน์ ้ันๆ อยา่ งปลอดภยั เครื่องหมายเตือนอนั ตรายทพี่ บได้บอ่ ยในชวี ิตประจ�ำวนั มีดังน้ี 1 คำ� เตอื น เชน่ ควรบริโภคก่อนวนั ท่…ี ………… ควรเก็บไว้ในทแ่ี หง้ และเยน็ ยาใชภ้ ายนอก ห้ามรบั ประทาน เปน็ ต้น ค�ำเตอื น ยาใช้ภายนอก หา้ มรับประทาน เพราะอาจท�ำให้เกดิ อนั ตราย2 เคร่อื งหมายหวั กะโหลกไขว้ ส่วนใหญจ่ ะอยบู่ น เครื่องหมายกะโหลกไขว้ ฉลากผลติ ภัณฑ์ประเภทยาฆ่าแมลง ซ่ึงหมายถึง แสดงวา่ เป็นผลิตภณั ฑอ์ ันตราย หา้ มรบั ประทานโดยเด็ดขาด หรอื ไม่ควรสมั ผสั โดยตรงเพราะอาจไดร้ ับอนั ตรายถงึ ชีวติ ควรใช้ ดว้ ยความระมัดระวังสขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา > ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 23

3. เครอ่ื งหมายวตั ถุไวไฟ ส่วนใหญ่จะอยู่บนฉลาก เคร่ืองหมายวตั ถุไวไฟ ผลิตภณั ฑท์ เ่ี ป็นสารเคมตี ดิ ไฟไดง้ ่าย มเี ขียนค�ำเตือน แสดงว่าสามารถตดิ ไฟไดง้ า่ ย ก�ำกบั ไวท้ เ่ี คร่อื งหมาย เช่น หา้ มนำ� ไปไวใ้ กลก้ บั ไฟ เพราะอาจทำ� ใหเ้ กดิ อัคคีภัยได้ ถา้ พบเคร่อื งหมายนใี้ น ผลิตภัณฑส์ ขุ ภาพชนดิ ใด ควรเพิ่มความระมัดระวงั ใน การใช้ใหม้ าก โดยเฉพาะไม่ใชใ้ กลก้ ับเปลวไฟ 4. เคร่อื งหมายชนิดนอ้ี ยู่ในผลิตภัณฑป์ ระเภท นำ้� ยาซักผา้ ขาว แสดงว่าผลติ ภัณฑท์ ี่ใช้ มี ส่วนผสมที่เปน็ อันตรายต่อผิวหนังหรือเสอ้ื ผา้เครื่องหมายแสดงว่าผลิตภัณฑม์ ีความ ควรท�ำใหเ้ จือจางก่อนนำ� ไปใช้ เชน่ ผสมนำ�้เข้มขน้ สูงต้องผสมน้ำ� ให้เจอื จางก่อนใช้ ก่อนใช้ เครอื่ งหมายเตือนอันตรายเหลา่ น้ี ชว่ ยเตือนให้ผ้บู รโิ ภคใช้ผลิตภณั ฑ์นั้นๆ ได้อยา่ งปลอดภัย ก่อให้เกดิ ผลดีต่อสขุ ภาพเคร่อื งหมายมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์คุณภาพ เครือ่ งหมายมาตรฐานผลติ ภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือ มอก. เป็นเคร่ืองหมายที่ส�ำนกั งานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) ไดอ้ นุญาตใหแ้ สดงเครอ่ื งหมายเพือ่ บ่งชว้ี ่า ผลิตภณั ฑม์ ีมาตรฐานตามทีก่ ำ� หนด ซึ่งมเี ครือ่ งหมายดังน้ี1 เครือ่ งหมายมาตรฐานท่ัวไป คอื เครอื่ งหมายทแ่ี สดงการรบั รองคุณภาพ ผลิตภณั ฑม์ าตรฐานท่ไี ม่ได้มีการบังคับว่าไดเ้ ปน็ ไปตามเกณฑ์ท่ี สมอ. ก�ำหนดแล้ว ซึง่ผผู้ ลติ สามารถย่นื ขอใบอนญุ าตแสดงเคร่ืองหมายดังกลา่ วไดด้ ้วยความสมคั รใจ เครื่องหมายมาตรฐานทัว่ ไป24 สุขศกึ ษาและพลศึกษา < ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4

2 เคร่ืองหมายมาตรฐานบังคับ คือ เครื่องหมายบน เคร่ืองหมายมาตรฐานบงั คบั ผลิตภัณฑ์ ทก่ี ฎหมายได้ก�ำหนดให้ผลติ ภัณฑ์ดงั กล่าวตอ้ งมมี าตรฐาน เป็นไปตามที่ก�ำหนด หากไม่ กระท�ำตามจะผิดกฎหมาย เพ่อื เปน็ การคมุ้ ครอง ความปลอดภัยแก่ผู้บริโภคเมื่อน�ำไปใช้งาน เช่น เครื่องหมายมาตรฐานบังคบั ผงซักฟอก ยาจุดกัน ยงุ ไม้ขดี ไฟ เปน็ ต้น 3 เครอื่ งหมายมาตรฐานเฉพาะด้านความปลอดภัย คือ เครอื่ งหมายที่แสดงบนผลติ ภัณฑ์ทีเ่ น้นเรื่อง ความปลอดภัยในการใชง้ าน เพื่อแสดงวา่ ผลิตภณั ฑ์ น้นั ไดผ้ า่ นการตรวจสอบดา้ นความปลอดภยั แลว้เครอื่ งหมายมาตรฐานเฉพาะ เพื่อเป็นการค้มุ ครองผูบ้ ริโภคใหม้ คี วามปลอดภยั ใน ด้านความปลอดภัย การใช้ เช่น เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า เป็นต้นเครื่องหมายมาตรฐานผลติ ภัณฑค์ ณุ ภาพ เปน็ สิง่ ทีช่ ่วย สรา้ งความมัน่ ใจในการเลือกซ้ือ เลือกใชผ้ ลติ ภัณฑ์ วา่ ได้การรบั รองคุณภาพจากหนว่ ยงานที่เชือ่ ถือได้ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา > ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 25

บทที่ ๔ กำรใชย้ ำ ยำ หมายถงึ สงิ่ ที่ใช้แกไ้ ขและป้องกนั โรคหรอื บา� รงุ ร่างกาย เปน็ สารเคมีหรือวัตถุ ทร่ี บั รองไว้ในตา� รายา มีจุดมุ่งหมายสา� หรบั ใช้ในการวินิจฉัย บ�าบัด บรรเทา รกั ษาหรอื ปอ้ งกันโรค หรือความเจ็บป่วยของมนษุ ย์และสัตว์ ควำมสำ� คญั ของกำรใชย้ ำ ยาเป็นหน่งึ ในปัจจัยสี่ของมนุษย์ ใช้ในการบา� บัด รักษาอาการ หรอื ปอ้ งกนั โรคที่เกดิ ขึ้นกบั รา่ งกาย หาก ใชย้ าไมต่ รงกับโรคหรอื ใชย้ าไมถ่ ูกวิธีอาจท�าให้รา่ งกาย ได้รับอันตรายจาการใช้ยานนั้ ได้ ดงั น้นั การใชย้ าใหถ้ ูก วธิ จี ะใหผ้ ลในการบ�าบดั รกั ษาไดด้ ี ชว่ ยใหร้ ่างกาย แขง็ แรงและป้องกันโรคทเี่ กิดขน้ึ กับรา่ งกายได้ หลักกำรใช้ยำ เม่ือเกดิ อาการเจ็บปว่ ย การรับประทานยาจะช่วย บรรเทาอาการและรกั ษาโรค ดงั นนั้ จงึ ควรมคี วามรู้ความเขา้ ใจในการใช้ยาใหถ้ กู ตอ้ ง ดังนี้ 1 ควรอา่ นฉลากยาใหล้ ะเอยี ดกอ่ นใชท้ ุกครัง้ 2 ไม่ควรใช้ยาทีม่ ฉี ลากไม่ชดั เจน หรือใชย้ าที่ เสื่อมคณุ ภาพ และยาทีห่ มดอายุ 3 ปฏิบตั ิตามคา� แนะนา� ยา ตามเวลาและ ขนาดท่ฉี ลากก�าหนด 4 ควรรบั ประทานยาใหค้ รบตามที่แพทย์ส่ัง อ่านฉลากยากอ่ นใช้ทุกคร้ัง26 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา < ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4

5 หลงั จากรบั ประทานยา ควรดืม่ น�า้ มากๆเพราะจะช่วยลดการระคายเคอื งตอ่กระเพาะอาหาร6 ไมค่ วรหยบิ ยามารบั ประทานเอง และไม่ควรนา� ยาของผูอ้ ่นื มาใชเ้ พราะอาจเกดิอันตรายถึงชวี ติ ได้ ด่ืมน�้ามากๆ หลงั จากรบั ประทานยา7 ก่อนใชย้ าควรศึกษารายละเอียดและสอบถามขอ้ สงสัยหรือปรึกษาเภสชั กร การใชย้ าอย่างถกู วิธี จะทา� ใหอ้ าการเจ็บปว่ ยทีเ่ กิดขน้ึ บรรเทาหรือหายไปได้ท�าให้รา่ งกายและจิตใจสมบูรณ์แข็งแรง เพื่อนæ อย่าลมื นะวา่ ยามที ง้ั คุณและโทษหากใชไ้ มถ่ ูกตอ้ ง อาจท�าใหเ้ กิดอันตรายถงึ ชีวิตได้ ดังนัน้ ตอ้ งระมดั ระวงั และเลอื กใชใ้ ห้ถูกต้องวธิ กี ำรรบั ประทำนยำ มดี งั น้ี• ยาก่อนอาหารควรรบั ประทานกอ่ นอาหาร 30–60 นาที• ยาหลงั อาหารควรรบั ประทานหลังจากรบั ประทานอาหารเสรจ็ แลว้ 15–30 นาที• ยาก่อนนอนควรรับประทานกอ่ นเข้านอนประมาณ 15–30 นาทีขอ้ ควรระวังในกำรรับประทำนยำ• ถา้ ลมื รับประทานยาในครง้ั ใดใหร้ บั ประทานยานนั้ ทันทที น่ี กึ ได้ แตถ่ า้ ใกลถ้ ึงเวลา ม้ือตอ่ ไปแล้วให้ขา้ มมือ้ ที่ลืมไป แต่ หำ้ มเพิ่ม ขนาดของยาเปน็ 2 เท่าของยาเดมิ สุขศึกษาและพลศึกษา > ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 27

บทท่ี ๕สารเสพติดใหโ้ ทษสารเสพติด หมายถงึ สารเคมหี รอื วัตถุชนิดใดๆ ซ่งึ เมือ่ เสพเข้าสูร่ า่ งกายไม่ว่าจะโดยการรับประทาน สดู ดม สบู หรอื ฉีด แลว้ ตอ้ งเพ่มิ ขนาดการเสพข้นึ มคี วามตอ้ งการเสพท้งั ทางร่างกายและจติ ใจอยา่ งรนุ แรงตลอดเวลา ท�ำใหส้ ุขภาพรา่ งกายทรดุ โทรมลงประเภทของสารเสพตดิสารเสพตดิ แบง่ ออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ตามข้อกำ� หนดของกฎหมาย ดงั น้ีสารเสพติดทเ่ี สพไดโ้ ดยไม่ผดิ กฎหมาย สารเสพตดิ ทีผ่ ดิ กฎหมายได้แก่ บหุ ร่ี และเครื่องด่ืมทผี่ สมแอลกอฮอล์ เป็นสารเสพติดให้โทษร้ายแรง เช่นในรูปแบบตา่ งๆ เช่น สรุ า เบียร์ เปน็ ตน้ ยาบ้า เฮโรอนี ยาอี กัญชา เปน็ ต้น สารเสพตดิ อนั ตราย สารเสพติดท่ีไมผ่ ดิ กฎหมายทแ่ี พร่หลายในสงั คมไทย คอื บุหรี่ และเหลา้ บุหร่ี เป็นสารเสพติดทีท่ �ำมาจากใบยาสบู ถงึ แมว้ ่าจะเสพ ได้ตามขอบเขตของกฎหมายก�ำหนด แตพ่ ิษภัยของ บหุ ร่กี ็รา้ ยแรง เพราะควันบุหรี่มสี ารพษิ อย่มู ากมาย ท่ีเปน็ อนั ตรายตอ่ รา่ งกายทง้ั ตวั ผเู้ สพและผใู้ กลช้ ดิ สารพษิ ที่อยูใ่ นบหุ ร่ี คือ28 สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา < ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 4

• นโิ คตนิ มีลกั ษณะเป็นนา้� มันไมม่ สี ี ออกฤทธิ์กระตนุ้ ประสาทส่วนกลางท�าให้ หัวใจเต้นเรว็ ความดันโลหิตสูง• ทำร์ เป็นน�้ามันเหนียวขน้ สีนา้� ตาล จะเข้าไปจบั อยูท่ ป่ี อด เกิดการระคาย เคอื งท�าให้ถุงลมในปอดขยายข้ึน• คำร์บอนมอนอกไซด์ ท�าใหร้ า่ งกายได้รับออกซิเจนน้อยลง• ไนโตรเจนไดออกไซด์ ทา� ลายเยอ่ื บุหลอดลม ท�าใหถ้ งุ ลมโปง่ พอง• ไฮโดรเจนไซยำไนด์ ท�าลายเยอื่ บุหลอดลมสำเหตุของกำรสบู บหุ ร่ีการสูบบุหรีเ่ กิดขนึ้ ไดจ้ ากหลายสาเหตุ ดังน้ี1 อทิ ธิพลของกลมุ่ เพอ่ื น การเลยี นแบบเพอ่ื นเพราะต้องการเปน็ ท่ียอมรับของกลุ่มหรือการถูกเพอ่ื นชกั ชวนใหส้ ูบ2 ความอยากรู้อยากลอง อยากรู้วา่ รสชาตเิ ป็น ควรปฏิเสธเม่อื ถูกเพอื่ น อย่างไร เหตใุ ดจงึ มคี นชอบสูบ ชักชวนให้สบู บหุ รี่3 ความเครยี ด มปี ญั หากลุ้มใจ จงึ หนั มาสูบบุหรี่เพราะคดิ ว่าเป็นการแก้ปญั หา4 การเลยี นแบบศิลปินทตี่ นเองชอบหรือสือ่ เช่น ภาพยนตร์ ละคร5 เช่อื ในคา่ นิยมทีผ่ ดิ เพราะวา่ การสบู บหุ รจ่ี ะท�าใหเ้ ปน็ คนทันสมยั และดูโก้เก๋6 สภาพแวดล้อม เช่น ภายในครอบครวั มีผู้ท่สี บู บหุ ร่ี ท�าใหค้ ิดวา่ การสบู บุหร่ีเปน็ เร่อื งธรรมดา จงึ หันมาทดลองสบูผลเสียของกำรสูบบุหร่ี บุหรเ่ี ปน็ สารเสพติดที่ประกอบดว้ ยสารพิษ คอื นิโคติน ทารห์ รอื น�า้ มันดนิ และก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ ซง่ึ ท�าใหเ้ กิดโทษและพิษภัยต่อร่างกาย ดังน้ี 1 ประสทิ ธิภาพในการทา� งานลดลง 2 ท�าให้หลอดเลือดหัวใจตีบ เกดิ โรคความดันโลหติ สงู สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา > ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 29

3 สุขภาพปากและฟันไม่ดี มีกล่ินปาก และกลน่ิ ตวั ท�ำให้ผอู้ ื่นรงั เกยี จ 4 มีบคุ ลกิ ภาพไมด่ ี เพราะผทู้ ี่สูบบหุ รีจ่ ะมีปากดำ� เหงือกด�ำ ฟันดำ� ใบหน้าไม่สดใส 5 ทำ� ใหเ้ กิดโรคทีร่ ้ายแรง เช่น มะเร็งปอด ถุงลมโป่งพอง โรคหลอดลมอักเสบ โรค หวั ใจ ระคายเคอื งกระเพาะอาหารซง่ึ โรคต่างๆ เปน็ อนั ตรายอาจทำ� ใหเ้ สียชีวติ ได้ การสบู บหุ รี่ นอกจากจะส่งผลเสยี ตอ่ ผ้สู ูบแล้ว ยังสง่ ผลต่อสุขภาพของผทู้ อ่ี ยู่ ใกล้ชดิ อกี ด้วย จึงได้มีการออกกฎหมายหา้ มสบู บหุ รใี่ นที่สาธารณะ หรอื เขตปลอดบหุ รี่ เชน่ บนรถโดยสารประจ�ำทาง สถานที่ราชการ สวนสาธารณะ สถานบนั เทงิ ต่างๆ ตลาด หา้ งสรรพสินค้า บรเิ วณโถงพกั ของ โรงแรม หอพกั ฯลฯ ซึ่งผฝู้ า่ ฝนื จะมบี ทลงโทษ โดยผดู้ ูแล สถานท่ีมโี ทษปรบั 10,000–20,000 บาท ส่วนผู้ที่สบู บหุ ร่ีใน เขตหา้ มสบู มีโทษปรบั ไมเ่ กิน 2,000 บาท ความรู้เพิ่มเติม องคก์ ารอนามัยโลก ได้ประกาศให้ วันที่ 31 พฤษภาคม ของทุกปีเปน็ วันงดสูบบหุ ร่โี ลก “World No Tobacco Day” เพ่ือกระตนุ้ และ รณรงคใ์ ห้เลกิ สูบบหุ รี่และตระหนกั ถงึ อันตรายของ บหุ รีท่ ี่มีตอ่ สุขภาพของตนเองและผูอ้ ยู่ใกล้ชิด สุรา เปน็ เครือ่ งดื่มท่มี แี อลกอฮอลผ์ สมอยู่ เมอ่ื ดืม่ สรุ า แอลกอฮอลจ์ ะถกู ดดู ซึมเข้าสู่ กระแสเลือดไปยงั ประสาทส่วนกลาง ซึ่งถ้าดื่มตดิ ต่อกันเปน็ ประจำ� จะท�ำใหม้ ีอาการตดิ และต้องดมื่ เวลาท่ีเคยดม่ื เสมอ ผู้ทีด่ มื่ สุราเป็นประจ�ำจนตดิ สุรา จะมีนยั นต์ าแดง ใบหน้าบวมฉุ มือสนั่ เน้ือตัว สกปรก การแตง่ กายไมเ่ รียบรอ้ ย และถ้าไม่ไดด้ ืม่ ก็จะมอี าการคลน่ื ไส้ อาเจียน ฝันร้าย และประสาทหลอน30 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา < ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 4

โทษของสุรา• เป็นสาเหตุของโรคตา่ งๆ เช่น ตบั แขง็ โรคพิษสรุ าเรอ้ื รงั โรคกระเพาะอาหาร ฯลฯ• ท�ำให้สติปัญญาและความสามารถในการทำ� งานลดลง เกิดอุบตั ิเหตุไดง้ า่ ยๆ เพราะ การดืม่ สรุ าท�ำให้สมรรถภาพในการท�ำงานลดลง• พฤติกรรมกา้ วรา้ ว พูดจาไม่สภุ าพ ท�ำใหเ้ กดิ ปญั หาในครอบครวั สนิ้ เปลอื งเงินทอง ในการซ้ือสุรา บทลงโทษผู้ที่เมาแล้วขบั ทมบง้ักกี ทจ�ำา�ำลหรทคงนัง้โุมดทปคปษรวรบัาผมิ มู้ฝาปกา่ณใรรฝนณแะืนรพอทีะฤลย�ำคตผกะือเิปอิดวฮรคจละอร�ำามคั้งลทแุกา์ใก่ี ณไนร�ำมกเห่เล1กนอืศินดปดาีลข32โอณด4าเะยจดชขศจือว่ัับาะนโลขใมหจไี่งปมะร้ รเ่สอหกับัง่ลรนิ ใงือห2อ5,้ทา700�ำญ20ง0ามาชไ–ลิน่ัวว1ล0สโ้ ม,ิก1า0–งรธ20ัมา0รเปปณบี อปแารทรลเ์ ะซะโหสน็ยรั่งชตือใน์ห์้การป้องกนั ตนเองจากสารเสพตดิ 1 ไมท่ ดลองเสพสารเสพติดทกุ ชนิดโดยเด็ดขาด 2 รูจ้ กั เลอื กคบเพ่ือน ไม่อยู่ใกลช้ ดิ กับเพ่ือนหรอื ผู้ทเ่ี สพสารเสพตดิ 3 เม่อื มปี ัญหาควรปรึกษาพอ่ แม่ ผู้ปกครอง ไมค่ ิดพึง่ พาสารเสพตดิ 4 รูจ้ ักใช้เวลาว่างให้เปน็ ประโยชน์ เชน่ เลน่ กฬี า เลน่ ดนตรี เป็นตน้ 5 ไม่หลงเชือ่ ค�ำชักชวนและรจู้ กั ปฏเิ สธเม่อื มีผู้ชักชวนให้เสพสารเสพตดิ 6 ศึกษาหาความรเู้ กย่ี วกบั สารเสพตดิ ชนดิ ตา่ ง ๆ เพื่อใหร้ ูจ้ กั โทษและไมต่ ก เป็นเหยอ่ื ของสารเสพติด 7 ร่วมมอื กนั เผยแพรถ่ งึ อนั ตรายของบุหรแ่ี ละสุรา เพื่อช่วยกนั ตอ่ ต้านการสบู บุหร่แี ละดืม่ สุรา บหุ รแ่ี ละสรุ า เป็นสารเสพตดิ ทีก่ ่อให้เกดิ โทษ และพิษภัยทั้งตอ่ ตนเอง ครอบครัวและสังคม จึงไม่ควรเขา้ ไปเกย่ี วข้อง ไม่ควรทดลองหรือเลียนแบบผูท้ ส่ี บู บหุ รีห่ รอื ด่มืสุราโดยเด็ดขาด สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา > ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 31

ขอขอบคุณ • สมาคมผ้ปู กครองและครู โรงเรยี นสาธติ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั • คณุ ฉนั ทนา ชลสายพนั ธ์ • คุณศริ ิพร ยอดวานิช • คุณพนั ธ์ุธชั นพรดาวราศักด์ิ • คณุ เณร เก่ียวศรีกลุ • คุณพัชรนิ ทร์ มาศวริ ุฬห์ ผูใ้ ห้การสนับสนุนและด�ำเนินการจัดท�ำเอกสารประกอบการเรยี นกลุม่ สาระการเรียนร้สู ขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๔บรรณานกุ รมเอกรนิ ทร์ สมี่ หาศาล และ คณะ. (มปพ.). สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษาป.4 (เลม่ ท่ี 2).กรงุ เทพมหานคร: อกั ษรเจริญทัศน์.ชชู าติ รอดถาวร และ ภาสกร บญุ นยิ ม, ผ้เู รียบเรียง. (2551). สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ป.4.กรุงเทพมหานคร: อกั ษรเจิญทัศน์.สถาบันพฒั นาคณุ ภาพวิชาการ. (2550). สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ป.4. กรุงเทพมหานคร:บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ.อักษรเจรญิ ทัศน.์ (2553). สุขศึกษาและพลศึกษาป.4 ฉบบั ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิฯ.กรงุ เทพมหานคร: อักษรเจรญิ ทัศน์.ฉบับทดลองใช้ราคาเล่มละ 69 บาทสงวนลิขสิทธ์ิ © 2010 โดย โรงเรยี นสาธติ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ฝา่ ยประถม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook