Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สืบ นาคะเสถียร

สืบ นาคะเสถียร

Description: ๑ กันยายน

Search

Read the Text Version

วนั สบื นาคะเสถียร 1 กนั ยายน ของทกุ ปเปนวันรําลกึ การจากไป ของ สืบ นาคะเสถยี ร นักอนุรักษท รัพยากรปา ไม หากเอยถึงชายคนหน่งึ ทรี่ กั ปา ยิ่งกวา ชวี ติ ชอ่ื ของ สบื นาคะเสถียร คง ยงั ติดตรึงอยใู นใจใครหลายคน เพราะเขาไมใ ชเพียงคนทร่ี ักและอทุ ศิ ตวั ของ เขาเพื่ออนุรักษผ นื ปา เอาไวเทานั้น แต. .เขาอทุ ศิ ทงั้ ชวี ิต และจติ วิญญาณ ของเขาไวท ่ีนนั่ ดวยเสยี งปนที่ล่ันขน้ึ กลางปา หวยขาแขง ในวนั ท่ี 1 กนั ยายน 2533 เขาหวังวา จะมสี วนทําใหผ คู นเหลยี วมามองปามากกวาเดมิ ดวยการเสียสละชีวิต

สืบ นาคะเสถียร คือใคร ? สืบ นาคะเสถยี ร สบื นาคะเสถยี ร เกิดวันท่ี 31 ธนั วาคม 2482 ที่จงั หวัดปราจีนบรุ ี มีพ่ีนอ งสามคน เปน บุตรชาย คนโต พอของเขาเปนผูวาราชการจังหวดั ปราจนี บุรี สบื จบการศึกษาจากคณะวนศาสตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร แตก ลบั ไมยอมเขารบั พระราชทานปริญญาบัตรเพราะคิดวา ยงั ไมม คี วาม รูมากพอท่ีจะรบั ปรญิ ญาไดท้ังๆ ที่พ่นี องและเพอื่ นรว มรนุ หลายคนใหความเห็นเปน เสยี งเดยี วกันวา ‘น่ีคอื เด็กเนิรด ’ ในวัยเด็ก สืบ นาคะเสถยี ร ไดชว ยงานในนาของมารดาดวยความอดทน เรยี นหนังสอื เกง เปน คนตัวสูงกวาเพ่อื น แตเวลานง่ั ฟง เลก็ เชอรมกั ไปนง่ั ขางหนา หอง เขาจดงานลงสมดุ อยา งละเอียดเปน ระเบยี บเรยี บรอ ย บางทกี ็วาดรปู ประกอบดวย สืบจะอา นหนังสือทกุ วัน หามมุ และเอาหนังสือมาวาง เรยี งเปน ระเบียบเรียบรอยวาวันนจ้ี ะอา นเลมไหน หนังสอื น้ีหามใครมาหยบิ บุคลิกประจาํ ตัวคอื เม่ือ เขาสนใจ หรือตงั้ ใจทําอะไรแลวก็จะมคี วามมุงม่ัน ตง้ั ใจทําอยา งจรงิ จังจนประสบความสําเรจ็ เม่ือเรยี นจบชั้นประถมศึกษาปท่ี 4 สบื นาคะเสถยี ร ตอ งจากครอบครวั ไปเรียนท่ีโรงเรยี น เซนตหลยุ ส จังหวัดฉะเชงิ เทรา จนกระท่ังเรยี นจบช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ่ี 5 จงึ เขาศกึ ษาในคณะวนศาสตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร กอนจะเขา ศกึ ษาในระดบั ปริญญาโท สาขาวชิ าวนวฒั นวทิ ยา ที่คณะ วนศาสตร มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร เชน เดยี วกัน จนสาํ เร็จการศกึ ษาในป พ.ศ. 2518

สบื นาคะเสถยี ร ไดเรมิ่ ชวี ิตขาราชการ โดยบรรจเุ ขา รบั ราชการตาํ แหนง พนกั งานปาไมต รี กอง อนรุ ักษสตั วปา กรมปา ไม ตอ มาในป พ.ศ. 2522 สบื ไดรบั ทุนการศึกษาจากบริติช เคานซลิ เรยี นตอ ใน ระดับปรญิ ญาโทอกี ครง้ั สาขาอนุรกั ษวิทยา ทม่ี หาวิทยาลัยลอนดอนในอังกฤษ และจบการศกึ ษาในป พ.ศ. 2524 สรปุ ประวตั สิ บื นาคะเสถยี ร แบบคราว ๆ ดังน้ี - พ.ศ. 2502 สบื นาคะเสถียร มนี สิ ยั ทาํ อะไรมกั จะทําใหไ ดดตี ัง้ แตเดก็ และเม่ือจบชัน้ ประถมศกึ ษา ปท่ี 4 สบื ไดย ายไปเรียนโรงเรียนเซนตหลยุ ส จงั หวดั ฉะเชิงเทรา เปน นกั เปา ทรัมเปตมอื หน่งึ และนักวาดภาพ ฝม อื ดขี องโรงเรยี น - พ.ศ. 2510-2514 สืบ นาคะเสถียร อยากเรียนสถาปต ยกรรมเพราะชอบดานศลิ ปะ แตมาสอบติด คณะวนศาสตร มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร รนุ ที่ 35 - พ.ศ. 2516-2517 เมอื่ สําเรจ็ การศึกษา สบื นาคะเสถยี ร ไดเ ขา ทาํ งานที่สวนสาธารณะการเคหะ แหง ชาติ และไปศกึ ษาตอระดบั ปริญญาโท สาขาวนวฒั นวทิ ยา คณะวนศาสตร - พ.ศ. 2518 สบื นาคะเสถยี ร สอบเขากรมปาไมไ ด แตเ ลอื กท่จี ะมาทาํ งานทีก่ องอนรุ ักษส ัตวป า โดย ไปประจาํ ทีเ่ ขตรักษาพันธสุ ัตวปา เขาเขยี ว-เขาชมภู จังหวดั ชลบุรี - พ.ศ. 2522 ไดร บั ทุนจาก British Council ไปเรยี นปริญญาโททีม่ หาวทิ ยาลัยลอนดอน ประเทศ องั กฤษ ในสาขาอนรุ กั ษวทิ ยา - พ.ศ. 2524 ดาํ รงตําแหนงหวั หนา เขตหามลาสัตวปาบางพระ และเรมิ่ งานวจิ ัยชนิ้ แรก คือการ ศกึ ษาการทาํ รงั วางไขของนกบางชนดิ ท่อี า งเกบ็ นา้ํ บางพระ จังหวดั ชลบรุ ี - พ.ศ. 2528 เดินทางไปทําวจิ ัยเร่ืองกวางผา กบั ดร.แซนโดร โรวาลี ทีด่ อยมอนจองในบริเวณเขต รกั ษาพนั ธุสัตวป า อมกอ ย จงั หวัดเชียงใหม และเกดิ เหตกุ ารณไ ฟไหมป า จนเจา หนาทพ่ี ทิ ักษปา เสยี ชวี ิต สรางความสะเทือนใจใหแ ก สบื นาคะเสถยี ร มาก - พ.ศ. 2529 หัวหนา โครงการอพยพสัตวปา ในเขื่อนเชี่ยวหลาน จังหวดั สรุ าษฎรธ านี มีสตั วนบั พนั ตัวไดร ับความชวยเหลอื แต สบื นาคะเสถยี ร รดู วี ามสี ตั วอกี จํานวนมหาศาลทตี่ ายจากการสรา งเขอื่ น และ ในระหวา งนั้น สืบไดคน พบรังนกกระสาคอขาวปากแดงครั้งแรกในประเทศไทย - พ.ศ. 2530 สบื นาคะเสถียร ไดเ ปลีย่ นบทบาทจากนักวิชาการไปสนู ักอนรุ กั ษ โดยเขา รวมตอ สู คดั คา นการสรา งเขอ่ื นนาํ้ โจน จังหวดั กาญจนบรุ ี สบื ชีใ้ หเ ห็นถงึ บทเรียนจากการที่มีสัตวจํานวนมาก ลม ตาย หลงั จากการสรา งเขือ่ นเชยี่ วหลาน สบื เริ่มตนอภปิ รายทกุ คร้ังวา \"ผมขอพดู ในนามของสัตวป า \"

- พ.ศ. 2531 สบื นาคะเสถยี ร และเพอ่ื นนักอนรุ กั ษ ออกโรงคดั คานการทบี่ ริษัทไมอ ดั ไทยจะขอ สัมปทานทาํ ไม ทปี่ าหวยขาแขง สบื นาคะเสถยี ร ไดอภิปรายวา \"คนทีอ่ ยากอนญุ าตใหทําไมก็เปนกรมปาไม คนท่จี ะรักษาก็เปนกรมปา ไมเหมือนกนั \" - พ.ศ. 2532 สบื นาคะเสถยี ร ไดร ับทุนเรียนตอ ปรญิ ญาเอกท่ีประเทศอังกฤษ แตตดั สินใจเขา รบั ตาํ แหนงหัวหนา เขตรักษาพนั ธุสตั วปา หว ยขาแขง สบื พบปญหาตา ง ๆ มากมายในหว ยขาแขง อาทิ ปญหา การตัดไมทาํ ลายปา การลาสตั วข องบุคคลทม่ี อี ทิ ธิพล เจา หนา ท่ีพิทกั ษปา ถูกยิงเสียชีวิต ปญ หาความ ยากจนของชาวบา นรอบปา และท่สี ําคัญคอื ปญหาเหลา น้ีไมเ คยไดร ับความสนใจจากผูใหญเ ลย สืบจงึ ทุมเท เขียนรายงานนําเสนอยเู นสโก เพอ่ื พจิ ารณาใหป า ทงุ ใหญน เรศวรและหว ยขาแขงเปนมรดกโลก อันเปนส่งิ คํ้าประกันใหพ ้ืนทแี่ หง น้ีไดรบั การคมุ ครองเต็มที่ - 1 กันยายน พ.ศ. 2533 สบื นาคะเสถียร สะสางงาน และเขียนพนิ ัยกรรมไวเรียบรอ ย กอนกระทํา อัตวินิบาตกรรม เพือ่ เรยี กรองใหสงั คมและราชการหนั มาสนใจปญหาการทําลายทรัพยากรธรรมชาตอิ ยา ง จรงิ จัง - 18 กันยายน พ.ศ. 2533 ผูใ หญแ ละพอ งเพอ่ื นนักอนรุ ักษ ไดร วมกนั กอตง้ั มลู นิธิสืบนาคะเสถยี ร เพ่อื สืบทอดเจตนารมณของสบื นาคะเสถียร - 26 เมษายน พ.ศ. 2536 สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสด็จพระราชดําเนิน มาทเ่ี ขตรักษาพนั ธสุ ตั วป า หว ยขาแขง เพือ่ ทรงเปด อนสุ รณสถานสบื นาคะเสถียร - พ.ศ. 2542 มกี ารสาํ รวจความคิดเห็นของประชาชนทั่วประเทศวา ในรอบ 50 ป ทานเสยี ดายการ จากไปของสามญั ชนผใู ดมากท่สี ุด ปรากฏวา สืบ นาคะเสถยี ร ติดอนั ดับที่ 2

ผลงานของ สืบ นาคะเสถยี ร หลงั สําเรจ็ การศึกษาจากประเทศอังกฤษ สืบ นาคะเสถียร กลับมารบั ตําแหนงหวั หนา เขตหามลาสตั วปา บางพระ มสี วนรวมในการจดั การและประสานงาน รวมทัง้ เปนวิทยากร ฝก อบรมพนกั งานพิทกั ษป าอกี หลายรุน จนกระทง่ั พ.ศ. 2526 สบื นาคะเสถียร ไดข อยา ยตวั เองเขามาเปน นกั วชิ าการ กองอนุรักษส ัตวปา ทําหนา ท่วี ิจยั สตั วป า เพียงอยา งเดยี ว \"ผมหันมาสนใจงานวจิ ยั มากกวา ทจี่ ะวงิ่ ไปจบั คน เพราะรวู าจับไดแต คนตัวเลก็ ๆ ตัวใหญ ๆ จบั ไมไ ด ก็เลยอดึ อัดวากฎหมายบานเมืองนนั้ มันใชไมไดก บั ทกุ คน มนั เหมือนกับวา เราไมย ุตธิ รรม เรารงั แกชาวบา น\" ในระยะน้ี เปนจังหวะท่สี บื ไดแสดงความเปนนกั วชิ าการออกมาอยา งเตม็ ท่ี งานวจิ ยั ศึกษาสตั วป า เปน งานที่ สบื นาคะเสถียร ทําไดดี และมีความสขุ ในการทาํ งานวิชาการมาก สืบ นาคะเสถยี ร รกั งานดานน้ี เปนชวี ติ จิตใจ อนั เปนจดุ เริ่มตนท่ีเขาไดผ กู พันกบั สัตวปา อยา งจรงิ จงั งานวิจยั ในชว งแรกของสบื เปน การ วิจยั นก สืบไดเ ร่ิมใชเ ครอ่ื งมือในการบนั ทึกงานวิจยั ซึ่งขอ มูลเหลานไี้ ดกลายเปนผลงานการวจิ ยั สตั วปา ชิน้ สําคญั ของเมืองไทยในเวลาตอ มา ไดแก ภาพถา ยสไลดสตั วปาหายากนับพนั รปู มว นเทปวิดีโอภาพชวี ติ ความเปน อยูของสตั วป า

และปญ หาการทาํ ลายปา ในเมืองไทยหลายสบิ มวน โดยผลงานท้ังหมด สืบเปนคนถา ยและตัดตอ เอง นอกจากน้ี สืบ นาคะเสถียร ยงั มีผลงานทางวิชาการที่เดน ๆ อีก เชน - ทาํ รงั วางไขข องนกบางชนิดท่ี อา งเกบ็ นํา้ บางพระ จ.ชลบุรี สมั มนาสัตวป าเมอื งไทย พ.ศ. 2524 - รายงานการสํารวจนก บรเิ วณอา งเกบ็ นํา้ บางพระ จ.ชลบรุ ี สัมมนาสตั วป าเมอื งไทย พ.ศ. 2526 - การศกึ ษานิเวศวิทยาของสัตวปา ในบรเิ วณโครงการศูนยศ ึกษาเพอ่ื การพฒั นาภูพาน ตาม พระราชดาํ ริ 2528 - นเิ วศวิทยาปาไมและสัตวป า ในเขตรกั ษาพันธุส ัตวป า ทุงใหญน เรศวร และเขตรักษาพนั ธุสัตว ปาหว ยขาแขง 2529 - รายงานผลการจบั เนื้อทราย ทเ่ี กาะกระดาด 2529 - เลียงผาทีพ่ บในประเทศไทย การกระจายถิน่ ที่อยอู าศยั และพฤติกรรมบางประการ 2529 - นเิ วศวทิ ยา ปาไมแ ละสัตวป า ในเขตรกั ษาพันธุสตั วปาทงุ ใหญนเรศวร จ.กาญจนบรุ ี และ จ. ตาก และเขตรกั ษาพันธสุ ัตวป าหวยขาแขง จ.อุทัยธานี และ จ.ตาก เดือนกมุ ภาพันธ 2530 โดย สืบ นาคะเสถียร, นริศ ภมู ภิ าคพนั ธ, ศักดิส์ ิทธ์ิ ซม้ิ เจรญิ - การอพยพสัตวป า ในอา งเกบ็ น้าํ รัชชประภา สมั มนาสตั วป า 2532 - โครงการโรงไฟฟาพลงั นา้ํ แควใหญตอนบน (Assessment on Report and Impact Assessment Plan on Forestry and Wildlife of Upper Quae Yai Project)

ความพยายามรกั ษาผนื ปาของ สบื นาคะเสถียร ในป พ.ศ. 2529 สืบ นาคะเสถียร ไดรบั มอบหมายใหป ฏิบตั งิ านในหนา ทห่ี วั หนาโครงการอพยพสตั ว ปาตกคาง ในพืน้ ท่อี า งเก็บนาํ้ เขื่อนรชั ชประภา (เข่ือนเช่ียวหลาน) บริเวณแกงนา้ํ เชีย่ วหลาน จงั หวัด สุราษฎรธานี มสี ตั วน ับพันตัวไดรับความชว ยเหลอื แตสบื กร็ ูดวี า มสี ตั วอ ีกจาํ นวนไมนอ ยท่ตี อ งตายจากการ สรา งเขือ่ น ทําใหเ ขาเรม่ิ เขาใจปญ หา และตระหนักวา งานวชิ าการเพยี งอยา งเดียวไมสามารถชวยเหลือปา และสตั วปา จากการถกู ทาํ ลายได สืบ นาคะเสถียร จึงเปลย่ี นบทบาทจากนกั วิชาการมาเปนนักอนรุ กั ษ ไดเขารวมตอ สคู ัดคานการ สรางเข่ือนนํ้าโจน ในบริเวณทุงใหญนเรศวร จังหวดั กาญจนบรุ ี โดยสืบยนื ยนั วา การสรางเข่ือนเปนการ ทําลายลา งเผาพันธุแหลง อาหาร ตลอดจนท่ีอยอู าศยั ของสตั วป าอยา งรนุ แรง กระทง่ั ความชวยเหลือจาก มนษุ ยไมสามารถชดเชยได โดยการรวมพลังของกลมุ นักอนุรักษ ซง่ึ ในที่สดุ โครงการสรา งเขือ่ นน้าํ โจนไดถูก ระงับไป ในป พ.ศ. 2532 สบื นาคะเสถียร เขามารับตาํ แหนง หวั หนาเขตรกั ษาพนั ธุส ตั วป าหวยขาแขงพรอม ๆ กบั ปญ หามากมายที่เขาตองแกไ ขใหได อาทิ ปญหาการตดั ไมท ําลายปา การลาสัตวข องกลุมผูมอี ทิ ธพิ ล เจา หนาทพี่ ิทกั ษปาถกู ยิงเสียชวี ิต ปญหาความยากจนของชาวบา นรอบปา ดวยความท่ปี า หว ยขาแขงเปน ผนื ปา ทอ่ี ุดมดว ยพรรณไมและสัตวป า มากมาย ทาํ ใหหลายฝายตาง จองบุกรุก เพอ่ื หาประโยชนจ ากผืนปา สืบ นาคะเสถยี ร ไดพยายามนําเสนอขอมูลตอยูเนสโก เพ่ือพิจารณา ใหป า ทงุ ใหญนเรศวร และหว ยขาแขง เปน มรดกโลก อันจะเปนเกราะปอ งกันผืนปาแหง น้ไี วใหไดเ พราะจะ ทาํ ใหคนหนั มาหวงแหนผืนปาน้ีมากขน้ึ สบื ไดแ สดงเจตนารมณอันแนวแนท จ่ี ะรกั ษาปา ผืนน้ไี วอยางชัดแจง ได ประกาศใหรทู ั่วกันวา \"ผมมารบั งานท่นี ่ี โดยเอาชีวิตเปนเดมิ พนั \"

การเสยี สละชีวิตเพื่อสว นรวมของ สืบ นาคะเสถียร ขอความที่ สบื นาคะเสถียร ทง้ิ ไว

ขอ ความท่ี สบื นาคะเสถยี ร ท้งิ ไว

ขอ ความท่ี สบื นาคะเสถยี ร ท้งิ ไว

ขอ ความท่ี สบื นาคะเสถยี ร ท้งิ ไว

แมว า สบื นาคะเสถยี ร จะตงั้ เจตนารมณที่จะรักษาผนื ปาหว ยขาแขง ไว ตงั้ แตว ันแรกท่ีเรม่ิ ทาํ งาน แตกระน้นั สบื ก็ยังไมส ามารถปกปองปา ได เนอ่ื งจากการดแู ลผืนปา ขนาดมากกวาหนึ่ง ลานไร ดว ยงบประมาณ และกําลังคนทีจ่ าํ กัด รวมถงึ การทุจรติ ของเจาหนาที่ซ่งึ เปนปญหาใหญ อีกทงั้ ปญหาความยากจนของชาวบานทอ่ี ยอู าศัยโดยรอบเขตรกั ษาพันธสุ ตั วปา ทําใหกลมุ ผูม ี อิทธพิ ลท่ีหวังผลประโยชน วา จา งชาวบานในเขตปา สงวนเขา มาตัดไม และลกั ลอบลา สัตวในเขต ปาอนรุ ักษ ในความคิดของ สืบ นาคะเสถยี ร แนวทางหนึ่งทจี่ ะชว ยแกป ญหาการทําลายปาได คอื การ สรา งแนวปา กนั ชนขน้ึ มา ใหชาวบานอพยพออกนอกแนวกันชน และพัฒนาแนวกันชนใหเปน ปา ชมุ ชนที่ชาวบานสามารถเขาไปใชป ระโยชนได แตปรากฏวาไมไดรับความสนใจและความรวมมอื จากเจาหนา ท่ีแตอยางใด จนกระท่ังเชา มดื ของวนั ท่ี 1 กนั ยายน พ.ศ. 2533 สืบ นาคะเสถียร ตดั สนิ ใจจบชวี ิตตวั เองลงดว ยปนหนึ่งนดั ในปาลกึ ทห่ี ว ยขาแขง การเสยี ชีวติ ของ สบื นาคะเสถียร เปนจุดเรม่ิ ตน ของ \"ตํานานนกั อนรุ ักษไ ทย สืบ นาคะเสถียร ผูท ี่รักปาไม สัตวปา และธรรมชาติ ดวยกายและใจ\" หลงั จากการเสียชวี ติ ของสืบ บรรดาเจา หนา ท่รี ะดบั สงู ของกรมปาไมและผูเกีย่ วขอ ง ไดเ ปด ประชมุ เพือ่ หามาตรการปองกนั การบุกรกุ ปา ในเขตรักษาพนั ธสุ ัตวป าหว ยขาแขง โดย สบื นาคะ เสถยี ร ไดพยายามจัดต้ังการประชุมหลายสิบคร้ัง แตไ มมกี ารตอบรบั จากเจา หนาที่สักคร้งั จนกระทง่ั การเสียชวี ิตของสืบ ทําใหม ีขอกลาวหาวา หากไมม เี สยี งปนนัดน้ัน การประชุมดังกลาว กค็ งไมเกิดข้ึนเชนกัน ความพยายามของสบื ก็เปนผลสาํ เรจ็ เมอื่ ป พ.ศ. 2534 เมื่อองคการยูเนสโกประกาศให เขตรักษาพันธสุ ัตวปา ทุงใหญนเรศวร-หว ยขาแขง เปนแหลงมรดกโลกในท่ีสดุ การอุทศิ ตนของ สบื นาคะเสถยี ร นั้น เปน การปลุกคนใหตื่นตวั และลุกขึน้ มาสนใจผืนปา อยางจริงจัง วันที่ 1 กนั ยายน ของทุกป จงึ เปน วันระลึกถึงความเสยี สละของทา น เพื่อใหท กุ คน จดจํา หวงแหนธรรมชาติ และสานตอ เจตนารมณของ สบื นาคะเสถยี ร ...สบื ไป

มลู นิธิสบื นาคะเสถยี ร หลังจากการจากไปของ สบื นาคะเสถียร นักอนุรกั ษธ รรมชาติตางนับวา เปนความสญู เสียอนั ย่ิงใหญ และ ไมอาจปลอ ยผานไปไดโ ดยปราศจากความทรงจาํ ดงั น้นั พวกเขาจงึ รวมตวั กนั และสบื สานเจตนารมณด ี ๆ ของชายผแู ลกชวี ิตของเขากับผนื ปา มลู นธิ สิ บื นาคะเสถยี ร จงึ ถอื กาํ เนดิ ขึ้น การกอตัง้ มูลนิธิสืบนาคะเสถียรน้นั เรม่ิ ตนขนึ้ หลงั จากงานพระราชทานเพลงิ ศพของเขา 10 วัน และ มสี มเดจ็ พระนางเจาฯ พระบรมราชนิ นี าถ พระราชทานทนุ ทรัพยส วนพระองคจํานวน 2,448,540 บาท เพ่ือกอ ตัง้ มลู นิธิ และพระเจาวรวงศเ ธอ พระองคเจา โสมสวลี พระวรราชาทนิ ัดดามาตุ ไดป ระทานพระราช ทรัพยส วนพระองคใหอีก 100,000 บาท รวมถงึ การบรจิ าคจากผูทร่ี วมราํ ลึกถึงอีกหลายราย จนกระทง่ั ได เปนทนุ กอ ต้ังมลู นธิ ิรวม 16,500,000 บาท สญั ลักษณของมูลนธิ ิสบื นาคะเสถยี ร เปน รปู กวางผากระโจนเขาสูเ ปลวเพลิง โดยมีใบไมส ที บึ ประกอบขึน้ เปน ฉากราตรปี ระดบั ดาว ซ่งึ ออกแบบโดย คณุ ปณยา เพื่อนสนทิ คนหนง่ึ ของสบื นาคะเสถยี ร เพราะกวางผา คืองานวิชาการช้นิ แรก ๆ ของ สืบ นาคะเสถยี ร และความหมายโดยรวมของสญั ลักษณก็ คอื ความกลา หาญเด็ดเดยี่ วของ สืบ นาคะเสถยี ร น่ันเอง โดยขณะน้ี มลู นธิ ิสบื นาคะเสถียร ก็ยังคงสานตอเจตนารมณของบุรษุ ผูลวงลับตอไป แมว าการ อนุรกั ษไวซง่ึ ธรรมชาติจะมีอปุ สรรคอยา งยากลําบาก และมนี อ ยคนนักท่ีจะเขา ใจถงึ เจตนารมณน ้ี แตค นรุน หลงั ในมลู นิธกิ ็ยงั คงเจรญิ รอยตามผเู สียสละอยา งตง้ั ใจ ..

อา นบทความเกยี รติประวัติและผลงานของ สบื นาคะเสถยี ร ไดท ่ี http://bit.ly/2MMEks8 ติดตามกจิ กรรม มลู นธิ ิสบื นาคะเสถยี ร ไดท ่ี https://www.facebook.com/SeubNakhasathienFD/posts/409249775789799/ ภาพจาก มลู นิธสิ ืบนาคะเสถยี ร, วิกิพเี ดยี ขอขอบคณุ ขอ มูลจาก - seub.or.th - wikipedia.org - tlcthai.com หองสมุดประชาชนอําเภอหาดใหญ : กศน.อาํ เภอหาดใหญ จดั ทําข้นึ เพื่อรําลึกถึง สบื นาคะเสถียร: นักอนรุ กั ษผ ูมงุ มัน่ ตามปณธิ านของตวั เองจนวินาทีสุดทายของลมหายใจ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook