Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เคมี ม.6 เล่ม1 หน่วย2_พอลิเมอร์

เคมี ม.6 เล่ม1 หน่วย2_พอลิเมอร์

Published by sarocha.joy.19, 2020-06-14 23:57:59

Description: เคมี ม.6 เล่ม1 หน่วย2_พอลิเมอร์

Search

Read the Text Version

เคมี เล่ม 1 ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 6 กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 2

2หน่วยการเรยี นรู้ที่ พอลิเมอร์ ผลการเรียนรู้ • ระบปุ ระเภทของปฏิกิริยาการเกดิ พอลเิ มอรจ์ ากโครงสร้างของมอนอเมอรห์ รือพอลิเมอร์ • วิเคราะห์ และอธบิ ายความสมั พนั ธ์ระหวา่ งโครงสรา้ งและสมบัตขิ องพอลิเมอร์ รวมทัง้ การนาไปใช้ประโยชน์ • ทดสอบ และระบปุ ระเภทของพลาสตกิ และผลิตภณั ฑ์ยาง รวมทง้ั การนาไปใช้ประโยชน์ • อธบิ ายผลของการปรบั เปลย่ี นโครงสรา้ ง และการสังเคราะหพ์ อลิเมอรท์ มี่ ีต่อสมบัติของพอลิเมอร์ • สบื คน้ ข้อมูล และนาเสนอตวั อยา่ งผลกระทบจากการใชแ้ ละการกาจัดผลิตภณั ฑพ์ อลิเมอรแ์ ละแนวทางแก้ไข

ขวดน้าพลาสติก ยางรถยนต์ และเสื้อผา้ ใช้วัสดใุ นการผลิตแตกตา่ งกนั หรือไม่ อยา่ งไร ?

ปฏกิ ริ ิยาการเกดิ พอลิเมอร์ พอลิเมอรเ์ กิดขึ้นไดอ้ ย่างไร ?

พอลิเมอร์ (polymer) เป็นสารท่ีมีโมเลกลุ ขนาดใหญ่ มีมวลโมเลกลุ ตง้ั แต่ 10,000 ข้ึนไป ซ่งึ เกิดจากการ รวมตวั ของสารโมเลกลุ ขนาดเล็กท่ีเรยี กว่า มอนอเมอร์ (monomer) โดยเชอื่ มต่อกันดว้ ยพันธะโคเวเลนต์ มอนอเมอร์ พอลิเมอร์

ประเภทของพอลเิ มอร์ พจิ ารณาตามชนิดของมอนอเมอร์ ฮอมอพอลเิ มอร์ หรอื พอลิเมอรเ์ อกพนั ธ์ุ (homopolymer) โคพอลิเมอร์ หรอื พอลิเมอร์รว่ ม (copolymer) คือ พอลิเมอร์ท่ีประกอบดว้ ยมอนอเมอรช์ นดิ เดียวกนั คือ พอลเิ มอร์ที่ประกอบด้วยมอนอเมอรต์ า่ งชนดิ กนั เช่น พอลไิ วนลิ คลอไรด์ เกดิ จากการเชอ่ื มตอ่ กนั เช่น ไนลอน-6,6 เกิดจากการเชือ่ มต่อกันระหว่าง ของไวนลิ คลอไรด์หลาย ๆ โมเลกุล เฮกซะเมทลิ นี ไดเอมีนกับกรดอะดิปิก

ประเภทของพอลเิ มอร์ พจิ ารณาตามลกั ษณะการเกิด พอลิเมอรธ์ รรมชาติ (natural polymer) พอลิเมอร์สงั เคราะห์ (synthetic polymer) คือ พอลเิ มอร์ทพ่ี บตามธรรมชาติ เชน่ ไหม เซลลูโลส แปง้ คือ พอลิเมอร์ทเี่ กิดจากการสงั เคราะห์โดยมนุษย์ ยางพารา เช่น พอลเิ อทลิ นี ไนลอน

ปฏกิ ริ ยิ าการเกดิ พอลิเมอร์ หรอื ปฏกิ ิรยิ าพอลิเมอไรเซชนั ปฏิกริ ิยาพอลเิ มอไรเซชนั แบบควบแน่น (condensation polymerization) เกิดจากมอนอเมอร์ที่มีหมู่ฟงั กช์ นั มากกวา่ 1 หมู่ ทา้ ปฏกิ ิริยากันไดพ้ อลิเมอร์และสารขนาดเล็ก ตัวอย่างเช่น OO nH2N (CH2)6 NH2 nHO C (CH2)4 C OH + เฮกซะเมทิลีนไดเอมนี กรดอะดิปิก OO C (CH2)4 C NH(CH2)6 NH + 2nH2O ไนลอน-6,6 n

ปฏิกิรยิ าการเกดิ พอลิเมอร์ หรอื ปฏิกริ ิยาพอลิเมอไรเซชัน ปฏิกิรยิ าพอลิเมอไรเซชนั แบบเตมิ (addition polymerization) เกดิ จากมอนอเมอร์ท่มี ีพนั ธะคู่ระหว่างอะตอมของคารบ์ อน เกิดปฏิกิริยาการเตมิ ที่ตา้ แหน่งพนั ธะคไู่ ด้พอลิเมอรเ์ ป็นผลิตภณั ฑ์ ตัวอย่างเช่น H HH HH H HHHHHH …+ C C + C C + C C +… …CCCCCC… HHHHHH H HH HH H พอลเิ อทลิ นี เอทิลีน + เอทิลนี + เอทิลีน

โครงสร้างและสมบตั ขิ องพอลเิ มอร์ โครงสรา้ งของพอลิเมอร์ มผี ลต่อสมบตั ขิ องพอลิเมอร์อย่างไร ?

โครงสรา้ งและสมบตั ิของพอลเิ มอร์ HHHHHHHHHH พอลิเมอร์แบบเสน้ (linear polymer) HHHHHHHHHH เกดิ จากมอนอเมอรส์ ร้างพนั ธะโคเวเลนตต์ ่อกนั เปน็ โซย่ าว สายโซ่ CCCCCCCCCC พอลเิ มอรเ์ รยี งชิดกนั มากกว่าแบบอนื่ จึงมแี รงยดึ เหน่ียวต่อกนั สูง สมบัตขิ องพอลิเมอร์แบบเสน้ • มีความหนาแน่นและมีจุดหลอมเหลวสงู ยดื หยุ่นได้มาก • มีความแข็ง เหนียวและขนุ่ มากกวา่ โครงสร้างแบบอน่ื ๆ • เม่อื ไดร้ ับความรอ้ นจะออ่ นตวั แตเ่ ม่ืออุณหภมู ลิ ดลง สามารถแข็งตัวได้อกี ครง้ั • เปลย่ี นรูปรา่ งกลบั ไปมาได้ โดยสมบัตขิ องพอลิเมอร์ ไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง

โครงสร้างและสมบตั ขิ องพอลเิ มอร์ CH3 CH3 พอลิเมอรแ์ บบก่ิง (branched polymer) CH2 CH2 CH3 CH2 C CH2 C CH2 CH3 เป็นพอลิเมอรท์ ม่ี กี ิ่งแยกออก1จ1ากสายโซ่หลัก ซ่งึ อาจจะเปน็ CH3 CH2 CCHH22 กง่ิ ส้นั หรอื ก่งิ ยาว ทาให้โซ่หลกั เรียงตัวอยหู่ ่างกนั สมบัตขิ องพอลิเมอร์แบบก่ิง • มคี วามหนาแน่นและมีจุดหลอมเหลวต่า ยดื หยนุ่ ไดน้ ้อย • เมือ่ ได้รบั ความรอ้ นจะอ่อนตัว แตเ่ มอื่ อณุ หภูมลิ ดลง สามารถแข็งตวั ได้อกี ครงั้ • เปล่ยี นรปู ร่างกลับไปมาได้ โดยสมบัตขิ องพอลเิ มอร์ ไม่เกดิ การเปลยี่ นแปลง CH3

โครงสร้างและสมบัตขิ องพอลเิ มอร์ CH3 CH3 พอลิเมอร์แบบร่างแห (network polymer) CH3 C CH2 C CH3 เกิดจากการเชอ่ื มโยงสาย1โ1ซข่ องพอลิเมอรแ์ บบเส้น กบั พอลเิ มอรแ์ บบกงิ่ สมบตั ิของพอลิเมอร์แบบรา่ งแห • มีจดุ หลอมเหลวสูง แขง็ เปราะ ไมย่ ดื หยุน่ แตกหักงา่ ย • เม่อื ขึ้นรปู แล้วไมส่ ามารถหลอมหรือเปล่ียนรปู รา่ งได้ CH2 CH2 CH3 C CH2 C CH3 CH2 CH3 CH3

ผลติ ภณั ฑจ์ ากพอลเิ มอร์ พอลิเมอร์สามารถน้าไปผลติ เปน็ ผลติ ภณั ฑใ์ ดได้บ้าง ?

ผลิตภณั ฑจ์ ากพอลเิ มอร์ พลาสตกิ หากพจิ ารณาลกั ษณะของพลาสตกิ เม่ือไดร้ ับความร้อน สามารถจา้ แนกพลาสติกออกไดเ้ ป็น 2 ประเภท เทอร์มอพลาสตกิ (thermoplastic) พลาสตกิ เทอรม์ อเซต (thermosetting plastic) - มีโครงสร้างแบบเสน้ หรอื แบบกิ่ง - มโี ครงสรา้ งแบบรา่ งแห - เปน็ พลาสตกิ ท่อี ่อนตัวเม่อื ได้รับความร้อน - ทนต่อความร้อนและความดันไดด้ ี และเมื่ออณุ หภูมลิ ดลงจะแข็งตัว หากมีอณุ หภมู ิสูงมากจะแตกและไหม้เป็นเถ้า - กลับมาเป็นรปู ร่างเดิมหรอื เปล่ียนรปู ร่างได้ - เมื่อขึ้นรูปดว้ ยความร้อนหรือแรงดนั แล้ว โดยสมบัตไิ ม่เปลีย่ นแปลง จะไม่สามารถนากลับมาขน้ึ รูปใหม่ไดอ้ กี - ตัวอยา่ งเชน่ พอลเิ อทิลีน พอลโิ พรพลิ นี - ตัวอย่างเช่น พอลิยรู เี ทน พอลเิ มลามนี - พอลสิ ไตรีน ฟอร์มาลดไี ฮด์ พอลิฟีนอลฟอร์มาลดไี ฮด์



ผลิตภัณฑจ์ ากพอลเิ มอร์ ยาง ยางแบ่งออกเปน็ 2 ประเภท คือ ยางธรรมชาตแิ ละยางสงั เคราะห์ ยางธรรมชาติ ยางสงั เคราะห์ ยางธรรมชาตเิ ปน็ พอลเิ มอรธ์ รรมชาติ ได้จากต้นยาง ยางสังเคราะหเ์ ปน็ พอลเิ มอร์ที่สงั เคราะห์ขน้ึ จากมอนอเมอร์ ทใ่ี ชส้ ารต้งั ต้นทไ่ี ด้จากการกล่นั ปโิ ตรเลียม ซงึ่ นา้ ยางสดมลี กั ษณะข้น สขี าวขนุ่ มอนอเมอร์ ตัวอย่างยางสงั เคราะห์ เช่น ของยางธรรมชาติ คือ ไอโซพรีน (isoprene) ซ่งึ มี พอลิบวิ ทาไดอนี หรอื ยางบีอาร์ มมี อนอเมอร์เป็นบิวทาไดอนี สูตรเคมี คือ C5H8 และมโี ครงสร้าง 2 แบบ พอลิคลอโรพรีน หรอื ยางนีโอพรีน มีมอนอเมอร์เปน็ คลอโรพรีน CH2 C C CH2 CH2 C H CH3 H CH3 C CH2 ซสิ -ไอโซพรีน ทรานส-์ ไอโซพรีน

ผลติ ภณั ฑจ์ ากพอลเิ มอร์ ยาง สมบัติของยาง ยางธรรมชาติ ยางสังเคราะห์ ยางธรรมชาติจะมีสมบัตติ า้ นทานตอ่ แรงดงึ สูง ยืดหยุน่ ยางสงั เคราะห์มีความทนทานต่อการขัดถแู ละสึกกรอ่ น ไดด้ ี ทนตอ่ การขัดถู ทนต่อนา้ และน้ามนั แต่ไมท่ นตอ่ ตวั มคี วามยืดหยนุ่ แมอ้ ุณหภมู ิทต่ี ่า ทนตอ่ นา้ มนั ทาละลายอินทรยี ์และนา้ มนั เบนซนิ เม่ืออยูใ่ นอุณหภูมิ และตวั ทาละลายอนิ ทรีย์ ที่ตา่ กว่าอณุ หภูมิหอ้ งจะมคี วามแข็งและเปราะ

ผลติ ภณั ฑ์จากพอลเิ มอร์ ยาง ปฏกิ ริ ยิ าวัลคาไนเซชนั เป็นกระบวนการท่ใี ชใ้ นการเพ่มิ คณุ ภาพของยาง โดยการเตมิ กามะถันลงไปในยาง ณ อุณหภูมิทีส่ ูงกว่าจดุ หลอมเหลวของกามะถัน โมเลกลุ ของยางกอ่ นเกิดปฏกิ ิรยิ าวลั คาไนเซชนั โมเลกลุ ของยางหลังเกดิ ปฏกิ ิรยิ าวลั คาไนเซชนั SX

ผลติ ภัณฑจ์ ากพอลเิ มอร์ ยาง ประโยชนข์ องยาง ยางธรรมชาติ ยางสังเคราะห์ นามาทาผลติ ภณั ฑต์ า่ ง ๆ เช่น ถงุ มอื แพทย์ ยางยดื เช่น พอลิบวิ ทาไดอนี หรือยางบอี าร์ นาไปใช้ทายางรถยนต์ หมอนยางพารา พอลสิ ไตรนี บิวทาไดอีนหรอื ยางเอสบอี าร์ นาไปใช้ทาพื้นรองเทา้

ผลิตภัณฑ์จากพอลเิ มอร์ เสน้ ใย เปน็ เส้นใยทีไ่ ดจ้ ากธรรมชาติ โดยเสน้ ใยจากพชื จะได้จากส่วนตา่ ง ๆ ของพืช เชน่ ฝ้าย นุ่น ลินิน ปา่ น ปอ สับปะรด เสน้ ใยจากสัตว์ เช่น ขนแกะ ขนแพะ รังไหม เสน้ ใย เส้นใย สงั เคราะห์ ธรรมชาติ เสน้ ใย กึ่งสังเคราะห์ เปน็ เส้นใยท่ีถกู สังเคราะห์ข้นึ ประเภท เปน็ เสน้ ใยทไี่ ด้จากการนาเสน้ ใยธรรมชาติ เชน่ ดาครอน ไนลอน-6,6 ของเสน้ ใย มาปรบั ปรุงโครงสร้างใหเ้ หมาะกบั การใช้งาน เช่น การนาเซลลโู ลสจากพชื มาทาปฏิกิรยิ า กับกรดแอซีตกิ เขม้ ขน้ จะไดเ้ ซลลโู ลสแอซเี ตต

ผลกระทบท่เี กิดจากการใช้และกา้ จัดผลิตภัณฑ์พอลเิ มอร์ การใช้ผลติ ภณั ฑ์จากพอลิเมอรท์ มี่ ากเกินไป ส่งผลกระทบตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มอยา่ งไร ?

ผลกระทบที่เกดิ จากการใช้และก้าจัดผลิตภัณฑพ์ อลเิ มอร์ ปจั จุบนั ผลิตภณั ฑ์จากพอลเิ มอร์เข้ามีบทบาทในชีวติ ประจาวนั อยา่ งมากมาย เชน่ ถุงพลาสตกิ บรรจุภณั ฑอ์ าหาร เปน็ ทนี่ ยิ ม และมปี รมิ าณการใช้งานเพ่มิ มากข้นึ อยา่ งตอ่ เน่ือง ผลติ ภณั ฑ์พอลเิ มอร์สว่ นใหญ่สลายตวั ยาก เมอื่ มีปรมิ าณการใชท้ ่เี พม่ิ มากขึน้ เรอื่ ย ๆ ทาใหม้ ปี รมิ าณขยะมากขนึ้ สง่ ผลกระทบต่อสง่ิ แวดล้อม

แนวทางในการแกไ้ ขปญั หาขยะพลาสติก การน้ากลับมาใชใ้ หม่ หรือการแปรรปู ใหม่ (recycle) เป็นการนาผลิตภัณฑพ์ อลเิ มอรส์ งั เคราะห์ที่ผา่ นการใชง้ านแลว้ มาแปรรปู เปน็ ผลิตภัณฑ์ใหม่ เชน่ การนาเอาขวดนา้ พลาสตกิ มาผา่ นกระบวนการยอ่ ยให้กลายเป็นเมด็ พลาสติกแล้วนามา หลอมขนึ้ ใหม่เปน็ เส้นใย นาไปทาเป็นเส้อื ผ้าได้ การลดการใช้ (reduce) การใช้ซ้า (reuse) เป็นการใชผ้ ลติ ภณั ฑพ์ อลิเมอรส์ ังเคราะหใ์ ห้นอ้ ยลง เป็นการนาผลติ ภัณฑพ์ อลิเมอรส์ งั เคราะห์ท่ีใช้แล้ว อาจจะใช้วัสดุหรือบรรจภุ ณั ฑ์จากธรรมชาตแิ ทน แตย่ งั มีคุณภาพกลบั มาใชง้ านอกี ครั้ง เชน่ การใชถ้ งุ พลาสตกิ ใส่ของที่ได้ ตวั อยา่ งเช่น นาถงุ ผา้ มาใชใ้ สข่ อง มาจากร้านสะดวกซือ้ ไปใช้ใสข่ ยะ เพื่อลดการใชพ้ ลาสติก

พลาสตกิ 7 ประเภททนี่ า้ ไปรีไซเคิลได้ พอลิเอทลิ นี เทเรฟทาเลต พอลิเอทลิ ีนชนดิ ความหนาแน่นสงู (HDPE) (PET หรือ PETE) ขวดนม บรรจุภัณฑ์น้ายาทาความสะอาด ขวดบรรจนุ า้ ด่มื ขวดนา้ มนั พืช ขวดน้ามันเคร่อื ง ทอ่ ลังพลาสตกิ ไมเ้ ทียม เสน้ ใยทาเสอื้ กันหนาว พรม ใยสงั เคราะห์ในหมอน พอลิเอทิลีนชนดิ ความหนาแน่นตา้่ (LDPE) ฟลิ ม์ หอ่ อาหาร และห่อสิง่ ของ พอลิไวนิลคลอไรด์ (PVC) ถงุ หหู ว้ิ ถุงดาสาหรบั ใส่ขยะ ถงั ขยะ ท่อน้าประปา สายยางใส กระเบือ้ งปูพนื้ แผ่นพลาสตกิ สาหรบั ทาประตู หน้าตา่ ง ทอ่ น้าประปา (อันใหม่) กรวยจราจร หมายถงึ ผลิตภณั ฑท์ ีร่ ไี ซเคลิ จากพลาสตกิ ชนดิ น้ี ม้านงั่ พลาสตกิ ตลับเทป หมายถงึ ผลิตภัณฑท์ ่ผี ลติ จากพลาสตกิ ชนิดนี้

พลาสตกิ 7 ประเภททีน่ า้ ไปรีไซเคิลได้ พอลโิ พรพิลนี (PP) พอลสิ ไตรนี (PS) ภาชนะบรรจุอาหาร ถงั ตะกร้า กระบอกนา้ ขวดบรรจุยา ภาชนะบรรจขุ องใช้ หรอื โฟมใส่ อาหาร กลอ่ งแบตเตอรี่ ชิน้ สว่ นในรถยนต์ ไมก้ วาดพลาสตกิ ไม้แขวนเสอ้ื ไมบ้ รรทัด แผงสวิตชไ์ ฟ ฉนวนความร้อน ถาดใส่ไข่ พลาสติกชนดิ อ่ืน ๆ (Other) ไม่มีช่อื จาเพาะแต่สามารถนามา หลอมใหม่ไดเ้ ชน่ กัน หมายถงึ ผลิตภัณฑท์ ผ่ี ลติ จากพลาสตกิ ชนดิ นี้ หมายถึง ผลิตภณั ฑ์ท่รี ีไซเคิลจากพลาสติกชนิดน้ี

สรุป พอลิเมอร์ (polymer) เปน็ สารท่ีมีโมเลกลุ ขนาดใหญ่ มีมวลโมเลกุลตงั้ แต่ 10,000 ข้ึนไป ซึง่ เกดิ จากการรวมตวั ของสารโมเลกุล ขนาดเล็กทเ่ี รยี กวา่ มอนอเมอร์ (monomer) โดยเชอ่ื มต่อกนั ด้วยพันธะโคเวเลนต์ ประเภทของพอลิเมอร์ พจิ ารณาตามชนดิ ของมอนอเมอร์ พจิ ารณาตามลักษณะการเกิด แบ่งได้ 2 ประเภท คอื แบ่งได้ 2 ประเภท คอื • ฮอมอพอลเิ มอร์ หรอื พอลิเมอรเ์ อกพันธุ์ • พอลิเมอร์ธรรมชาติ (natural polymer) (homopolymer) เกิดจากมอนอเมอรช์ นดิ เป็นพอลิเมอร์ที่พบตามธรรมชาติ เช่น เดยี วกัน โปรตีน เซลลูโลส • โคพอลิเมอร์ หรอื พอลิเมอรร์ ว่ ม • พอลิเมอร์สงั เคราะห์ (synthetic polymer) (copolymer) เกิดจากมอนอเมอร์ต่างชนิด กัน คอื พอลิเมอร์ที่มนุษยส์ งั เคราะห์ขนึ้ เชน่ พอลิเอทิลีน ไนลอน

สรุป ปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์ ปฏิกริ ยิ าการเกิดพอลิเมอร์ หรือปฏิกริ ิยาพอลิเมอไรเซชนั (polymerization reaction) แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดงั น้ี 1. ปฏิกริ ิยาพอลิเมอไรเซชันแบบควบแน่น 2. ปฏกิ ริ ยิ าพอลิเมอไรเซชนั แบบเตมิ (condensation polymerization (addition polymerization reaction) reaction) เกิดจากมอนอเมอร์ท่ีมีพนั ธะครู่ ะหว่าง เกิดจากมอนอเมอร์ทีม่ หี ม่ฟู ังก์ชนั อะตอมของคารบ์ อนทาปฏกิ ริ ยิ าการเตมิ มากกวา่ 1 หมู่ ทาปฏิกิริยากันไดพ้ อลิเมอร์ ท่ตี าแหน่งพันธะคไู่ ดพ้ อลิเมอร์เป็น และสารโมเลกุลขนาดเล็ก ผลิตภณั ฑ์ โดยไมม่ สี ารโมเลกุลเลก็ เกดิ ขึ้น

สรปุ โครงสรา้ งและสมบตั ิของพอลิเมอร์ พอลิเมอรแ์ บบเส้น สายโซ่พอลิเมอร์เรยี งชดิ กันมากกวา่ แบบอ่นื มแี รงยึดเหนยี่ วต่อกนั สูง มคี วามหนาแนน่ และมีจดุ หลอมเหลวสูง ยดื หยนุ่ ได้มาก มคี วามแขง็ และเหนยี ว พอลิเมอร์แบบกิง่ มีกง่ิ แยกออกจากสายโซ่หลกั ทาใหโ้ ซห่ ลกั เรียงตวั อยู่หา่ งกัน มคี วามหนาแนน่ และมจี ุดหลอมเหลวต่า ยดื หยนุ่ ได้นอ้ ย พอลิเมอรแ์ บบรา่ งแห เกดิ จากการเชอ่ื มโยงสายโซข่ องพอลิเมอร์ แบบเสน้ กับพอลเิ มอร์แบบกิ่ง มีจดุ หลอมเหลวสูง แข็ง เปราะ ไม่ยดื หยุน่ แตกหกั ง่าย

สรุป ผลิตภัณฑจ์ ากพอลิเมอร์ พลาสติก พจิ ารณาลักษณะของพลาสติกเม่อื ได้รบั ความรอ้ น สามารถจาแนกพลาสตกิ ได้ 2 ประเภท ดงั นี้ เทอรม์ อพลาสตกิ (thermoplastic) พลาสตกิ เทอรม์ อเซต (plastic thermoset) มีโครงสรา้ งแบบเส้นหรือแบบก่ิง เป็นพลาสติกที่ออ่ นตวั เมือ่ มโี ครงสร้างแบบร่างแห ทนต่อความรอ้ นและความดันไดด้ ี ไดร้ บั ความร้อน และเม่อื อุณหภมู ลิ ดลงจะแข็งตวั กลบั มาเป็น หากมีอณุ หภมู สิ งู มากจะแตกและไหม้เปน็ เถา้ เมื่อข้ึนรปู ดว้ ย รูปรา่ งเดมิ หรอื เปลย่ี นรปู รา่ งได้ โดยสมบตั ไิ มเ่ ปล่ยี นแปลง ความรอ้ นหรือแรงดันแลว้ จะไม่สามารถนากลับมาขึน้ รูปใหม่ ตัวอยา่ งเช่น พอลเิ อทิลนี พอลโิ พรพิลนี พอลิสไตรนี ได้อกี ตัวอยา่ งเช่น พอลยิ รู ีเทน พอลเิ มลามีนฟอรม์ าลดีไฮด์ พอลิฟีนอลฟอรม์ าลดีไฮด์

สรุป ผลิตภณั ฑจ์ ากพอลิเมอร์ ยาง • ยางแบ่งได้ 2 ประเภท คือ ยางธรรมชาตแิ ละยางสังเคราะห์ ยางธรรมชาติ มีมอนอเมอร์ คือ ไอโซพรีน นามาทาผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เชน่ ถงุ มือแพทย์ ยางยืด ฟองนา้ สาหรับทนี่ อน ยางสังเคราะห์ ไดจ้ ากการสงั เคราะห์สารประกอบไฮโดรคาร์บอน เช่น พอลิบวิ ทาไดอีน หรือยางบีอาร์ นาไปใชท้ ายางรถยนต์ ยางลอ้ เครื่องบนิ พอลคิ ลอโรพรีน หรือยางนีโอพรีน นาไปใช้ทายางซีล ยางสายพานลาเลียง • ปฏิกริ ยิ าวัลคาไนเซชัน เปน็ กระบวนการปรับปรงุ คุณภาพยาง ทาใหย้ างมีความยดื หยุ่น คงรูปดขี ้ึน ทนความร้อนและแสงได้ดขี ึ้น

สรุป ผลกระทบทีเ่ กดิ จากการใชแ้ ละก้าจดั ผลิตภณั ฑ์พอลิเมอร์ ปัจจบุ ันการใช้ผลิตภัณฑ์จากพอลิเมอรเ์ ข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวนั อย่างมากมาย เชน่ ถงุ พลาสตกิ บรรจุภัณฑ์อาหาร เปน็ ท่ีนยิ มและมปี รมิ าณการใชง้ านเพ่มิ มากขน้ึ อยา่ งต่อเนอ่ื ง เม่อื มปี ริมาณการใช้ทเ่ี พิ่มมากข้นึ เรอ่ื ย ๆ ทาใหม้ ีปรมิ าณขยะ มากข้นึ หากจะกาจดั โดยการให้ย่อยสลายต้องใชเ้ วลานานหลายสบิ ปี หลายรอ้ ยปี หากจะนาไปเผา จะก่อให้เกดิ แก๊ส คารบ์ อนไดออกไซดแ์ ละแกส๊ พษิ อน่ื ๆ ทสี่ ่งผลตอ่ บรรยากาศหรอื หากนาไปฝงั ดนิ อาจจะทาให้ดินบรเิ วณนั้นเสอ่ื มสภาพได้ ปจั จบุ นั จึงมีแนวทางในการแก้ปญั หา คือ การลดการใช้ (reduce) การใช้ซา้ (reuse) และการนากลับมาใชใ้ หม่หรอื การ แปรรูปใหม่ (recycle)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook