Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ศูนย์ ศรร.รปค.31 ด้านการศึกษา

ศูนย์ ศรร.รปค.31 ด้านการศึกษา

Published by Siriporn Na, 2019-03-21 04:57:29

Description: ศูนย์ ศรร.รปค.31 ด้านการศึกษา

Search

Read the Text Version

ห น้ า | ก คำนำ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ อาเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดสานักบริหารงานการศึกษา พิเศษ มีการบริหารจดั การสถานศกึ ษาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2554 จนได้รับ คัดเลือกให้เป็นสถานศึกษาแบบอย่างการจัดกระบวนการเรียนการสอนและการบริหารจัดการตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หรือ สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๕ และได้ดาเนินการขับเคลื่อนพัฒนา คุณภาพการศึกษามาอย่างต่อเน่ืองโดยผ่านการประเมินเป็นสถานศึกษาพอเพียงต้นแบบของระดั บเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต ๖ อีกท้ังได้รับผู้บริหาร ครู และนักเรียน ได้รับรางวัล สถานศึกษาพอพี ยงที่มีผลการการปฏิบัติงานที่ดีและเป็นเลิศ(Best Practice : BP) ระดับชาติ ประจาปี 2559 เพื่อเข้ารับการ ประเมินศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาต่อไป ทางโรงเรียนได้จัดทา ข้อมลู ประกอบการคดั กรองเพื่อเสนอให้ท่านผู้ทรงคุณวุฒิและคณะกรรมการพิจารณา ในการจัดทาเอกสารนี้ เพื่อแสดงให้เห็นถึงเหตุผลที่สถานศึกษาขอรับการประเมินเป็นศูนย์การเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา แนวทางในการดาเนินการในด้านต่างๆ คือ ด้านการ บริหารจัดการบุคลากร ผลการดาเนินงานและวิธีการพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นความร่วมมือ ร่วมแรงร่วมใจ ในการขับเคลื่อนและน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการบริหารจัดการสถานศึกษา การ จัดการเรียนการสอนและนาไปใช้ในการดาเนินชีวิต สามารถสร้างครูและนักเรียนแกนนาเพื่อขยายผลสู่ เครือขา่ ยท้ังในและนอกสถานศกึ ษา ตลอดจนพฒั นาสู่การเปน็ ศูนย์การเรียนรใู้ ห้กับชุมชนได้ต่อไป ในการจัดทาข้อมูลประกอบการคัดกรองนี้ทางโรงเรียนได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่าย ท้ังคณะครู นักเรียน คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพื้นฐาน ผู้ปกครองนักเรียน ชุมชนและทุกฝ่ายที่มีส่วนเกี่ยวข้องที่มีส่วน ร่วมในการดาเนินกิจกรรมต่างๆ ตลอดจนให้การสนับสนุนและเป็นกาลังใจในการดาเนินการและจัดทาการ รายงาน ในครั้งนี้เป็นอย่างยิ่ง จึงขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเกิด ประโยชน์ต่อท่านผู้สนใจบ้างไม่มาก็น้อย โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ จะมุ่งมั่น พัฒนา และขับเคลื่อน หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสสู่ ถานศกึ ษาและชมุ ชนให้เกิดความยง่ั ยืนสืบต่อไป (ลงชือ่ ) ( นางวิลาวัลย์ ปาลี ) ผอู้ านวยการโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ วนั ที่ ๒๑ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๐ ข้อมลู ประกอบการคัดกรองศูนยก์ ารเรยี นรูต้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ดา้ นการศกึ ษา) โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

ห น้ า | ข สารบญั เรอ่ื ง........................................................................................................................................................................หนา้ คำนำ ...........................................................................................................................................................................ก สำรบญั ........................................................................................................................................................................ข แบบประเมินตนเองเพ่ือเป็นศูนยก์ ำรเรียนร้ตู ำมหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพยี ง ดำ้ นกำรศึกษำ..............................ค ข้อมลู ประกอบกำรคัดกรองศูนย์กำรเรียนรู้ตำมหลักปรชั ญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ดำ้ นกำรศึกษำ ............................. 1 ๑. เหตุผลทสี่ ถำนศึกษำขอรบั กำรประเมินเปน็ ศูนยก์ ำรเรยี นรู้ตำมหลกั ปรชั ญำ ของเศรษฐกิจพอเพียงด้ำนกำรศึกษำ ............................................................................................................ 2 ๒. ขอ้ มลู ทั่วไป.................................................................................................................................................... ๓ ๓. แนวทำงในกำรดำเนินกำรในดำ้ นต่ำงๆ ซงึ่ สมควรได้รับกำรประเมนิ ผ่ำนเป็นศูนย์กำรเรียนรู้ ตำมหลักปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียงด้ำนกำรศึกษำ .................................................................................. ๙ ๔. ข้อมูลดำ้ นบุคลำกร..................................................................................................................................... ๑๑ ๕. ข้อมูลด้ำนสถำนที/่ แหล่งเรียนรู/้ ส่งิ แวดลอ้ ม............................................................................................... ๑๘ ๖. ข้อมลู ดำ้ นควำมสัมพนั ธก์ บั ชุมชนและหนว่ ยงำนภำยนอก........................................................................... ๑๙ ภำคผนวก 7. จดั ทำ CD พร้อมคำบรรยำย ควำมยำวไมเ่ กนิ 15 นำที 7.1 วธิ กี ำรพัฒนำสถำนศึกษำพอเพยี งให้เป็นศนู ย์กำรเรียนรตู้ ำมหลักปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพียง ดำ้ นกำรศึกษำ.................................................................................................................................. ๒4 7.2 เรื่องเลำ่ ของครเู กี่ยวกับ เรื่องกำรออกแบบกำรเรยี นรู้เพื่อเสรมิ สร้ำงอปุ นิสยั พอเพยี ง 26 7.3 เรอื่ งเล่ำของนักเรยี นแกนนำ 39 ภำคผนวก ก เอกสำรหลกั ฐำน ผ้บู ริหำรสถำนศึกษำ 60 ภำคผนวก ข เอกสำรหลักฐำน ครแู ละบุคลำกรทำงกำรศึกษำ 67 ภำคผนวก ค เอกสำรหลกั ฐำน นกั เรียน 72 ภำคผนวก ง เอกสำรหลกั ฐำน คณะกรรมกำรสถำนศึกษำ 75 ภำคผนวก จ เอกสำรหลกั ฐำน สถำนท่ี / แหล่งเรยี นร/ู้ ส่งิ แวดล้อม 78 ภำพถ่ำย ฐำนกำรเรยี นรู้ 80 ข้อมูลประกอบการคดั กรองศูนยก์ ารเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ดา้ นการศกึ ษา) โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

ห น้ า | ค แบบประเมินตนเองเพอ่ื เป็นศูนย์กำรเรียนรู้ ตำมหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง ด้ำนกำรศึกษำ ชื่อสถานศกึ ษา โรงเรยี นรำชประชำนุเครำะห์ ๓๑ สังกัด สำนักบริหำรงำนกำรศึกษำพิเศษ ตวั ชีว้ ดั คะแนนประเมิน คะแนนเต็ม คะแนนทไ่ี ด้ ๑. บคุ ลำกร คะแนนรวม (คะแนนเฉลีย่ รายด้าน) ๓๕ (๕) ๓๓ ๑.๑ ผบู้ ริหาร ๑๐ ๑๐ ๑.๒ ครู ๑๐ 10 ๑.๓ นักเรียน ๑๐ 9 ๑.๔ คณะกรรมการสถานศึกษา ๕4 ๒. กำรจดั กำรสภำพแวดลอ้ มทำงกำยภำพ คะแนนรวม ๑๐ (๕) ๑๐ (คะแนนเฉลี่ยรายด้าน) ๒.๑ อาคาร สถานที่ และสิ่งแวดล้อม ๕๕ ๒.๒ ฐานการเรียนรู้ ปศพพ.และ/หรอื กิจกรรมการเรียนรู้ ปศพพ. ๕ ๕ ๓. ควำมสัมพันธก์ บั หน่วยงำนภำยนอก คะแนนรวม ๑๐ (๕) ๑๐ (คะแนนเฉลีย่ รายด้าน) ๓.๑ ความสมั พันธ์กับสถานศกึ ษาอื่นการขยายผลการขับเคลือ่ น ๕ ๕ ปศพพ. ๓.๒ ความสันพันธ์กบั หนว่ ยงานที่สงั กัด และ/หรือหนว่ ยงาน ๕ ๕ ภายนอก (ภาครัฐ ภาคเอกชนและชมุ ชน) รวม ๕๕ ๕๓ (ลงชื่อ) ผปู้ ระเมินตนเอง ( นางวิลาวัลย์ ปาลี ) ผอู้ านวยการโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ วันที่ ๒๑ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๐ ขอ้ มลู ประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรยี นร้ตู ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ด้านการศึกษา) โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

ห น้ า | ๑ ขอ๎ มูลประกอบการคดั กรองศนู ย์การเรียนรู๎ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด๎านการศึกษา คาชี้แจง ให๎สถานศึกษาพอเพียง ท่ีมีความประสงค๑ ขอรับการประเมินเป็นศูนย๑การเรียนร๎ูตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งดา๎ นการศกึ ษา จัดทํารายงานขอ๎ มูลตามหวั ขอ๎ ดา๎ นลําง ประกอบการคัดกรอง ความยาวไมํเกิน ๒๐ หน๎ากระดาษเอ ๔ (ไมรํ วมภาคผนวก) โดยขอใหม๎ ขี ๎อมลู ทเี่ ก่ยี วข๎องใหค๎ รบทุกขอ๎ กรณปี ีการศึกษาให๎ปรบั ตามปที สี่ งํ ประเมนิ และปรับกลุํมสาระการเรยี นร๎ู ระดบั ช้ัน ตามบรบิ ทของระดบั การศกึ ษา เชนํ อาชีวศึกษา/กศน. ช่อื สถานศึกษา โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห๑ 31 สังกัด สํานักบรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ สถานที่ต้ัง เลขท่ี 99 หมูทํ ี่ ๑0 ตําบลชาํ งเคิง่ อาํ เภอแมแํ จํม จงั หวดั เชยี งใหมํ โทรศัพท์ ๐๕๓ – 268642 Website www.rpk31school.ac.th ชอ่ื -สกลุ ผูอ๎ านวยการสถานศกึ ษา นางวลิ าวัลย๑ ปาลี โทรศพั ท์ ๐๘๙-1805595 ช่อื -สกุล รองผูอ๎ านวยการสถานศกึ ษา นายวิเศษ ฟองตา โทรศัพท์ ๐๘8-5905162 รายช่อื ครูแกนนา โรงเรียนราชประชานุเคราะห๑ 31 อาํ เภอแมแํ จํม กลมํุ สาระการเรียนรู๎วิทยาศาสตร๑ นางสาวณัฐธนญั า บุญถงึ โทรศพั ท๑ ๐๘7-1852112 โทรศพั ท๑ ๐๙7-9964100 กลมํุ สาระการเรียนรู๎วทิ ยาศาสตร๑ นายเสรี แซจํ าง โทรศพั ท๑ ๐89-8514590 กลํุมสาระการเรียนรค๎ู ณิตศาสตร๑ นางสาวรักชนก วงษซ๑ อื่ โทรศัพท๑ ๐๘7-1751450 โทรศัพท๑ ๐๘9-8509030 กลุํมสาระการเรียนรค๎ู ณิตศาสตร๑ นางสาวปวรศิ า ก๐าวงศว๑ ิน โทรศัพท๑ 084-4837318 กลมํุ สาระการเรยี นร๎ูภาษาไทย นางสาววรรณภรณ๑ ทิพยส๑ อน โทรศพั ท๑ ๐81-0343154 กลํมุ สาระการเรยี นรภ๎ู าษาไทย นางปิยาภัทร ศรีเทยี่ ง โทรศพั ท๑ ๐๙7-9756124 โทรศพั ท๑ ๐๘4-8063137 กลุํมสาระการเรยี นรูภ๎ าษาตาํ งประเทศ นางพิกุล เหมอื งคาํ โทรศพั ท๑ ๐87-3484723 กลุํมสาระการเรยี นร๎ูภาษาตาํ งประเทศ นางสาวรุํงนภา กาพยไ๑ ชย โทรศพั ท๑ ๐๘1-0100240 โทรศพั ท๑ ๐94-8309327 กลุํมสาระการเรียนรสู๎ งั คมศึกษาฯ นายนิกร ไชยบตุ ร โทรศัพท๑ ๐๘1-7248955 กลมํุ สาระการเรียนร๎สู ังคมศึกษาฯ นางสาวศริ ิมา เมฆปัจฉาพชิ ติ โทรศพั ท๑ ๐๘8-5789108 โทรศพั ท๑ ๐๘6-1158156 กลมํุ สาระการเรียนร๎ูศิลปศกึ ษา นายลปิ ปกร เหมืองคํา โทรศัพท๑ 092-4504749 กลมํุ สาระการเรียนรู๎ศิลปศึกษา นายอศั นยั กนั งาม กลมุํ สาระการเรยี นรู๎สุขศึกษาและพลศกึ ษา นางสาวเชาวนี บุญรัง กลํุมสาระการเรยี นรส๎ู ุขศกึ ษาและพลศกึ ษา นางสาวจติ ตานาถ เทพวงศ๑ กลุํมสาระการเรียนร๎ูการงานอาชพี ฯ นายพนม บุญตอม กลมํุ สาระการเรยี นรก๎ู ารงานอาชพี ฯ นางสาวปัณชดา ไชยมงคล ขอ้ มลู ประกอบการคดั กรองศูนย์การเรยี นร้ตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ดา้ นการศึกษา) โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

ห น้ า | ๒ ๑. เหตุผลทีส่ ถานศกึ ษาขอรบั การประเมนิ เป็นศนู ยก์ ารเรยี นรูต๎ ามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงด๎านการศกึ ษา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีพระราชดํารัสช้ีแนะแนวทางการดําเนินชีวิตโดยให๎ ยดึ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง แกํพสกนิกรชาวไทยมานานกวํา 4๐ ปี เป็นหลักปรัชญาที่ชี้ถึงแนวทางสําหรับ การดํารงชวี ิตและการปฏบิ ัติตนของประชาชนในทุกระดบั เรมิ่ ต้ังแตํระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับประเทศ โดยให๎เน๎นทกุ คนประพฤติปฏบิ ตั ิตามทางสายกลาง มีความพอเพยี งและมีความพรอ๎ มที่จะจดั การตํอผลกระทบจากการ เปลีย่ นแปลงตํางๆ ซงึ่ จะต๎องอาศัยความรอบรู๎ รอบคอบและระมัดระวัง ในการวางแผนและดําเนินการของกิจกรรม โครงการตํางๆ ทุกขั้นตอน ท้ังน้ีหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นหลักในการดําเนินชีวิตอยํางสมดุล ม่ันคงและ ยัง่ ยนื เพ่ือให๎สามารถอยูํไดใ๎ นโลกโลกาภวิ ฒั น๑ท่ีมกี ารเปล่ยี นแปลงและแขํงขนั สงู โรงเรียนราชประชานเุ คราะห๑ 31 จังหวดั เชยี งใหมํ ไดน๎ อ๎ มนาํ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาขับเคล่ือน ในด๎านการจัดการเรยี นรู๎และการบรหิ ารจดั การ จนผาํ นการประเมินเป็นสถานศึกษาพอเพียง ประจําปี ๒๕๕5 และได๎ ดําเนินการขบั เคลื่อนอยาํ งตํอเนื่อง โดยการกําหนดเป็นนโยบายของสถานศึกษา บูรณาการในแผนปฏิบัติงานประจําปี ดาํ เนินการตามนโยบายและแผนทวี่ างไว๎ มีการนิเทศ กํากบั ตดิ ตามผลการดําเนินการและรายงานผลการปฏิบัติงานให๎ ผ๎ูท่ีเกี่ยวข๎องทราบ พร๎อมท้ังนําผลการปฏิบัติงานมาพัฒนา แก๎ไข ปรับปรุงเพ่ือให๎การขับเคล่ือนหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียนอยาํ งเหมาะสมและตอํ เนอ่ื ง เพ่อื ใหโ๎ รงเรียนเกดิ การพัฒนาอยํางสมดลุ และยั่งยืนตอํ ไป ผู๎บริหาร คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา มีความรู๎ ความเข๎าใจหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงอยํางถูกต๎อง สามารถนําไปประยุกต๑ใช๎ในการบริหารจัดการศึกษา การจัดกิจกรรมการเรียนร๎ู และเปน็ แนวทางในการดาํ เนนิ ชวี ิตอยํางเป็นรูปธรรม มีความมงํุ มัน่ ทจี่ ะพฒั นาการขับเคล่อื นหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพียงสํูสถานศึกษา เพ่ือพัฒนานักเรียนให๎มีคุณลักษณะ“อยํูอยํางพอเพียง”เป็นแบบอยํางที่ดีแกํผู๎ปกครองและ ชมุ ชนได๎ โรงเรียนราชประชานุเคราะห๑ 31 จงั หวดั เชียงใหมํ ได๎พฒั นาครูและนักเรียนให๎เป็นแกนนําการขับเคล่ือนปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งสูํสถานศึกษา ให๎มีความรู๎ความเข๎าใจตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งอยํางถูกต๎อง สามารถเป็นวิทยากรอธิบาย หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถถอดบทเรยี นความสําเรจ็ ทเี่ กดิ จากการนาํ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปเป็นแนวทางใน การดาํ เนนิ งาน ให๎แกํครูและนกั เรียน หรือผู๎ที่สนใจที่มาศึกษาดูงานในโรงเรียนได๎อยํางถูกต๎อง โรงเรียนได๎พัฒนาแหลํงเรียนร๎ู อาคาร สถานทแ่ี ละสงิ่ แวดลอ๎ มให๎เพียงพอกบั จํานวนนกั เรียน สอดคล๎องกบั บริบทของโรงเรียนมีความสะอาด รํมรื่น สวยงาม ปลอดภัย เอ้ือตํอ การจัดการเรียนร๎ูและกิจกรรมพัฒนาผ๎ูเรียนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือเสริมสร๎างคุณลักษณะ “อยูํอยํางพอเพียง” โรงเรยี นผป๎ู กครองชมุ ชนและหนวํ ยงานอืน่ ๆมคี วามสัมพันธ๑ที่ดีตํอกัน สนับสนุน สํงเสริมซ่ึงกันและกัน ท้ังด๎านงบประมาณ แรงกาย วสั ดุ-อุปกรณ๑ ในการขับเคลือ่ นหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ทง้ั ภายในและภายนอกสถานศกึ ษาจนประสบความสาํ เรจ็ เป็นทยี่ อมรบั จากความพร๎อมในการดําเนินงาน และความมุํงมั่นในการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสํูสถานศึกษา โรงเรียนราชประชานุเคราะห๑ 31 จังหวัดเชียงใหมํ จึงขอรับการประเมินเป็นศูนย๑การเรียนร๎ูตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง ด๎านการศกึ ษา เพ่ือเป็นแหลํงเรยี นรใ๎ู นการเสรมิ สร๎างคณุ ลักษณะ“อยํูอยํางพอเพียง”ให๎แกํนักเรียน รวมท้ังเป็นแหลํงเรียนร๎ู แหลํงศึกษาดูงาน ด๎านการขับเคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสํูสถานศึกษา ให๎แกํผู๎ที่ สนใจทว่ั ไป สถานศึกษาและหนํวยงานอืน่ ๆ ท่ีเป็นเครือขาํ ย สงั กัดสาํ นักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษา เชียงใหมํ เขต 6 และสํานักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษตอํ ไป ข้อมูลประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ด้านการศึกษา) โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

ห น้ า | ๓ ๒. ขอ๎ มลู ท่วั ไปประกอบด๎วย ๒.๑ จานวนครูและบคุ ลาการทางการศกึ ษา (รวมครูอตั ราจา๎ ง) ปกี ารศึกษา ๒๕๕๙ กลุํมสาระการเรียนรู๎ จานวนจาแนกตามระดับการศึกษา/กลุํมสาระการเรียนรู๎ ภาษาไทย ต่ากวาํ ปรญิ ญาตรี ปริญญาตรี ปรญิ ญาโท สงู กวําปริญญาโท รวม วทิ ยาศาสตร๑ 4 คณิตศาสตร๑ - 4- - 6 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๕ สุขศึกษาและพลศึกษา - 42 - 5 ศลิ ปศึกษา 4 การงานอาชพี และเทคโนโลยี - 5- - 5 ภาษาตํางประเทศ 18 ประถมศกึ ษา - 41 - ๗ กจิ กรรมพฒั นานกั เรียน 4 บคุ ลากรทางการศกึ ษา - 31 - 2 4 รวมทั้งสิ้น - 5- - 63 - 18 - - - ๗- - - 31 - - 11 - - 31 - - 56 7 - ๒.๒ จานวนนักเรยี นจาแนกตามชั้น ปกี ารศึกษา ๒๕๕๙ ระดบั ช้ัน ท้งั หมด จานวนนกั เรยี น(คน) นักเรียนแกนนาขบั เคล่อื น นกั เรียนท่มี ีคุณลักษณะอยํูอยํางพอเพยี ง (จานวนคน/ร๎อยละ) ระดบั ประถมศึกษา 12 ระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑ 12 (จานวนคน/ร๎อยละ) - ระดับชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๒ 22 - ระดับชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๓ 29 10 /83.33 - ระดับช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๔ 28 9/75.00 8/32.00 ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๕ 27 19/86.36 8/30.77 ระดบั ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๖ 130 24/82.76 8/28.57 25/89.29 24/21.๐5 รวม 124 23/85.19 ระดบั มัธยมศึกษา 115 110/84.62 10/๒๙.๐๙ ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ 120 2๐/๓๕.๓๙ ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๒ 132 98/79.03 20/๔๒.๕๕ ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ 122 99/86.09 ๒8/๒๗.๐๒ ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๔ 120 104/86.67 19/๓๗.๐๔ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ 733 117/88.64 15/๕๐.๐๐ ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ ๖ 863 107/87.70 112/๓๔.๓๕ 99/82.50 136/๓๓.๔๘ รวม 624/85.13 รวมทัง้ สน้ิ 734/85.05 ขอ้ มลู ประกอบการคัดกรองศูนยก์ ารเรียนรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ด้านการศกึ ษา) โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

ห น้ า | ๔ ๒.๓ บริบทของสถานศึกษา/ ลกั ษณะชมุ ชน/ภมู ิสงั คม บริบทของสถานศกึ ษา โรงเรยี นราชประชานุเคราะห๑ 31 จังหวัดเชียงใหมํ เป็นโรงเรียนขนาดกลาง ประเภทโรงเรียนประจํา ในความอปุ ถัมภข๑ องมูลนิธิราชประชานุเคราะห๑ นักเรียนสํวนใหญํมีฐานะยากจนเป็นคนพ้ืนเมืองร๎อยละ 10และเป็น ชนเผาํ ประมาณร๎อยละ 90 ได๎แกํ เผํากะเหรี่ยง เผําม๎งและเผําลัวะ ผ๎ูปกครองประกอบอาชีพเกษตรกรรม ภูมิลําเนา เป็นปุาเขาและถิ่นทุรกันดารอยูํหํางจากสถานศึกษา โดยโรงเรียนมีพื้นท่ีทั้งหมด 226 ไรํ โดยมีเขตพ้ืนที่บริการ 7 อาํ เภอ ไดแ๎ กํ อาํ เภอแมํแจํม อําเภอจอมทอง อําเภอดอยหลํอ อําเภอดอยเตํา อําเภอฮอด อําเภออมก๐อยและอําเภอ กัลยาณิวัฒนา ปัจจุบันมีการเปิดการเรียนการสอนต้ังแตํระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑ ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๖ จํานวน ๒9 ห๎องเรียน และโรงเรียนมีการจัดการศึกษาสอดคล๎องกับนโยบายของการศึกษาสงเคราะห๑ และวิสัยทัศน๑ ของโรงเรียนจัดให๎นักเรียนมีทักษะอาชีพ ให๎นักเรียนรักตัวเอง รักการทํางาน พึ่งพาตนเองตามวิถีชีวิตของความ พอเพียง และดํารงชวี ติ อยใํู นสงั คมทม่ี กี ารเปล่ยี นแปลงตลอดเวลาไดอ๎ ยาํ งมีความสุข ลกั ษณะชมุ ชน/ภมู สิ งั คม สภาพชมุ ชนรอบบริเวณโรงเรยี นมลี ักษณะเปน็ พ้นื ที่ราบสงู ภเู ขาสลับซับซ๎อน เป็นชมุ ชนชนบท บริเวณ ใกลเ๎ คยี งกับโรงเรยี น ได๎แกํ หมูํบา๎ นแมปํ าน หมูํบา๎ นสันเกี๋ยง ศูนย๑พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนบ๎านแมํปาน วัดแมํปาน วัด เหลําปาุ ตาล และโรงพยาบาลเทพรัตนเวชชานุกลู เฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา ผู๎ปกครองสํวนใหญํไมํได๎รับการศึกษา เน่ืองจากอยูํในชุมขนที่หํางไกลไมํมีสถานศึกษา อาชีพหลักของผู๎ปกครอง คือ เกษตรกรรม สํวนใหญํนับถือศาสนา คริสต๑ ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายได๎เฉล่ียตํอครอบครัว ตํอปี 3๐,๐๐๐ บาท จํานวนคนเฉลี่ยตํอครอบครัว 4 คน ประเพณี/ศลิ ปวัฒนธรรมท๎องถ่ินมีความหลากหลายตามชนเผําตํางๆ เชํน ชนพื้นเมืองที่เป็นท่ีรู๎จักโดยท่ัวไป คือ งาน ปอยหลวง งานสลากภัต งานประเพณีย่เี ปง็ งานป๋ใี หมเํ มือง บวชนาคและตานข๎าวใหมํ ชนเผําม๎ง เชํน ประเพณีกินวอ (ปใี หมํม๎ง) ชนเผํากะเหรยี่ ง เชํน งานวันคริสต๑มาส และชนเผําลัวะ เชํน บูชาเสาอินทขิล เรียกขวัญมัดมือ กินข๎าวใหมํ เลี้ยงผีปูุยําและเล้ียงผีบ๎านผีเมือง โรงเรียนราชประชานุเคราะห๑ ๓๑ อยูํใกล๎แหลํงเรียนร๎ูหลายแหํง สามารถใช๎เป็น แหลงํ เรยี นรใู๎ นด๎านงานศลิ ปะ สถาปัตยกรรมท่สี วยงาม รวมท้ังการอนรุ ักษศ๑ ิลปวัฒนธรรม/ภูมิปัญญาประเพณีท๎องถิ่น สืบไป โรงเรียนตั้งอยํูหํางไกลจากหนํวยงานต๎นสังกัด ทําให๎การรับข๎อมูลขําวสารลําช๎า อีกทั้งระบบการรับข๎อมูล ขําวสารตํางๆ ยังไมดํ ีพอ เชนํ โทรศพั ท๑ เครือขาํ ยอินเทอรเ๑ นต็ เป็นต๎น ๒.๔ เอกลักษณข์ องสถานศกึ ษา : “ อุทยานการเรียนรู๎ ” อตั ลกั ษณ์ : “ สุขภาพดี คณุ ธรรมเดํน เปน็ จิตอาสา ” วิสัยทัศน์ : ภายในปี พ.ศ.2562 โรงเรียนราชประชานุเคราะห๑ 31 มีระบบการจัดการศึกษาที่มี คุณภาพ มีครูมืออาชีพ นักเรียนมีคุณลักษณะตามหลักสูตรและเป็นศูนย๑การเรียนรู๎ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง ข้อมลู ประกอบการคดั กรองศูนยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ดา้ นการศกึ ษา) โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

ห น้ า | ๕ ๒.๕.๑ แหลํงเรียนรจู๎ ากโครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาริ แหลงํ เรยี นรู๎ การใช๎ประโยชน์ - ธนาคารอาหาร Food Bank ใช๎เป็นแหลํงเรียนร๎ู สํงเสริมกิจกรรมการเรียนรู๎ตาม - สวนเกษตรทฤษฎใี หมํ พระราชดํารพิ ระบาทสมเด็จพระเจ๎าอยูํหัวและสมเด็จ - โรงสีขา๎ วอนามัย พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี นักเรียน - สหกรณ๑ร๎านค๎าโรงเรยี น ไดฝ๎ ึกปฏบิ ัติจริง ทําให๎มีทักษะในการทํางาน สามารถ - หอ๎ งคอมพวิ เตอร๑โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศสําหรบั ทํางานรํวมกบั ผอู๎ ื่นไดเ๎ ปน็ อยํางดี และเป็นการสํงเสริม โรงเรียนในชนบทตามพระราชดาํ ริ สมเด็จพระเทรัตนราชสุดาฯ ให๎นักเรียนมีรายได๎ระหวํางเรียน ตลอดจนนักเรียนมี สยามบรมราชกมุ ารี ความคิดสร๎างสรรค๑ สามารถใช๎เทคโนโลยีในการ - อาคารสวนพฤกษศาสตรโ๑ รงเรยี น สบื ค๎นขอ๎ มูลไดอ๎ ยํางถูกตอ๎ ง ๒.๕.๒ แหลงํ เรยี นร๎จู าแนกตามกลุํมสาระการเรยี นร๎ู กลมํุ สาระการเรยี นรู๎ / การใชป๎ ระโยชน์ แหลงํ เรยี นรู๎ จัดกิจกรรมการเรียนรู๎กลุมํ สาระการเรียนรภู๎ าษาไทย นกั เรยี นค๎นพบความร๎ูด๎วยตนเอง ภาษาไทย จากการ สืบคน๎ ข๎อมูลทางอินเตอร๑เนต็ หนงั สือ คูมํ ือและการเรยี นผาํ นสอ่ื การเรียนการ หอ๎ งภาษาไทย สอน CAI จํานวน 3 ห๎อง ใชจ๎ ดั กิจกรรมการเรียนรู๎กลมุํ สาระการเรียนรู๎วิทยาศาสตร๑ นักเรียนจะได๎ฝกึ ทกั ษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร๑ และคน๎ พบความรดู๎ ๎วยตนเองจากการปฏบิ ัติกิจกรรมการ วิทยาศาสตร์ ทดลอง หอ๎ งปฏิบัติการวิทยาศาสตร๑ สงํ เสรมิ ให๎ผ๎ูที่ใชบ๎ รกิ ารมีความร๎ูและทกั ษะทางคณิตศาสตร๑ เชํน การคิดคํานวณ 3 ห๎อง ชวี วิทยา ฟสิ ิกส๑ เคมี การจินตนาการ การรู๎จักการแกป๎ ัญหา การคดิ อยํางเป็นกระบวนการ การวางแผน การคาดคะเน ซึ่งความรแ๎ู ละทกั ษะตํางๆ ไดบ๎ ริการผํานเกมทางคณิตศาสตร๑ อนื่ ๆ คณิตศาสตร์ เป็นแหลงํ ทใ่ี หน๎ กั เรยี นไดศ๎ กึ ษาหาความรเ๎ู ก่ยี วกบั ประวัตศิ าสตร๑ ศาสนา และฝึกฝน ห๎องคณติ ศาสตร๑ เรอ่ื งกิริยามารยาท การประพฤติปฏิบัตติ นให๎เป็นคนดี มีคณุ ธรรมจรยิ ธรรม การเป็น จํานวน 3 ห๎อง สมาชกิ ของสังคมในดา๎ นตํางๆ เพ่อื ให๎นกั เรียนมีศักยภาพในการจดั กิจกรรมสร๎างความ ตระหนกั และพัฒนาเยาวชนไทย ให๎มสี มรรถนะทสี่ ําคญั สาํ หรับการดาํ เนินชวี ิตในสังคม สังคมศกึ ษา ศาสนาและ ปจั จุบันเปน็ อยํางดี วัฒนธรรม สงํ เสริมให๎นักเรียนมีความร๎ูและทักษะทางด๎านกีฬา กรฑี า เชนํ กตกิ าการเลํนกฬี า กรฑี าประเภทตํางๆ เกณฑ๑การตดั สนิ ท่ถี กู ตอ๎ ง พัฒนาดา๎ นราํ งกาย จติ ใจ สติปัญญา ห๎องสังคมจํานวน 3 หอ๎ ง อารมณ๑ สงั คม รแ๎ู พร๎ ู๎ชนะรู๎อภัย ห๎องจริยธรรม สวนพุทธวนารมณ๑ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา สนามฟตุ บอล ,สนาม บาสเกตบอล, สนามฟลุ ซอล โรงยมิ ,เรือนพยาบาล ลานอเนกประสงค๑ ข้อมลู ประกอบการคดั กรองศนู ย์การเรียนร้ตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ดา้ นการศึกษา) โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

ห น้ า | ๖ กลมํุ สาระการเรียนร๎ู / การใชป๎ ระโยชน์ แหลงํ เรียนร๎ู ศลิ ปศกึ ษา เป็นแหลํงเรียนรู๎ให๎นักเรียนได๎พัฒนาตนเอง ได๎ฝึกฝนความคิดริเริ่มสร๎างสรรค๑ มี ศนู ย๑ศลิ ปศกึ ษา จินตนาการทางศิลปะ มีสุนทรียภาพ พัฒนาด๎านรํางกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ๑ ห๎องนาฏศิลป์ สงั คม นกั เรียนได๎ฝึกการรอ๎ งเพลงเลํนดนตรีและการแสดงในรูปแบบตํางๆ สํงเสริมให๎ หอ๎ งดนตรีสากลและดนตรไี ทย นกั เรียนมคี วามเชอื่ ม่ันในตนเอง อนั เปน็ พื้นฐานในการศึกษาตอํ หรือประกอบอาชพี ได๎ การงานอาชพี และเทคโนโลยี เป็นแหลงํ เรยี นรูใ๎ ห๎นกั เรียนไดพ๎ ฒั นาทักษะ กระบวนการทาํ งานทจี่ ําเป็นตํออาชีพ เห็น อาคารฝกึ งานอตุ สาหกรรม คหกรรม คุณคําของอาชีพสุจริต และเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคต สามารถ ศูนย๑จาํ หนาํ ยผลติ ภัณฑ๑ สอร,ห๎อง ดาํ รงชวี ิตอยูํในสังคมได๎อยาํ งพอเพียงและมีความสุข นวดฝุาเท๎าห๎องเสรมิ สวย, หอ๎ งตดั ผมชาย ภาษาตาํ งประเทศ ใช๎ในการฝึกทักษะภาษาอังกฤษและภาษาจนี ทั้ง ๔ ทักษะ ได๎แกํ ทกั ษะการพดู หอ๎ งปฏิบัตกิ ารภาษาอังกฤษและ การฟงั การอําน และการเขียน โปรแกรมฝึกพัฒนานักเรยี นสามารถเรียนรดู๎ ๎วยตนเอง ภาษาจนี จํานวน 8 ห๎อง ตามระดบั และศกั ยภาพของนักเรียนและนําไปใชใ๎ นชวี ติ ประจาํ วันได๎ ๒.๕.๓ แหลงํ เรยี นร๎เู พอ่ื เสริมสร๎างคุณลักษณะ “อยอํู ยํางพอเพยี ง ชือ่ การใชป๎ ระโยชน์ คร/ู นักเรยี นแกนนา ฐานการเรียนร๎ู ใต๎รํมพระบารมี เป็นแหลํงเรียนรสู๎ ําหรับนักเรียน คณะครูและชุมชน หรอื หนํวยงานฝึกให๎ ครูรตั ตกิ าล ยศสขุ สดดุ มี หาราชา นกั เรียนมที ักษะดา๎ นเกษตรกรรม สามารถนําไปประกอบอาชีพเลี้ยงตนเองและ ครวู รรณภรณ๑ ทพิ ย๑สอน ฐานการเรยี นร๎ู ครอบครวั สรา๎ งรายไดร๎ ะหวาํ งเรยี น ขยายผลสํูชมุ ชนได๎ ครศู ิรมิ า เมฆปจั ฉาพชิ ิต วิถชี นเผํา ครสู ุชาภสั ร๑ จาํ ปาคาํ ฐานการเรียนรู๎ นักเรยี นแกนนาํ (แนบท๎าย เขยี วตลอด ปลอดสาร ภาคผนวก) เป็นแหลํงเรยี นรส๎ู าํ หรบั นกั เรยี น ครูและชมุ ชน เก่ียวกับวิถีชนเผํา ในเรื่องของ ครนู กิ ร ไชยบุตร ครูนราวฒุ ิ ริยะนา ถิ่นท่ีอยํูอาศัย การประกอบอาชีพ การแตํงกาย ภาษาท่ีใช๎ในการสื่อสาร ครูอมลสริ ิ คาํ ฟู เกยี่ วกับชนเผําทมี่ ใี นโรงเรยี น ฝกึ ใหน๎ กั เรยี นมีทักษะกระบวนการในการทํางาน ครเู สรี แซจํ าง เปน็ ทมี การเคารพซ่ึงกันและกัน ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณีของแตํละ นักเรยี นแกนนํา (แนบทา๎ ย ภาคผนวก) ชนเผาํ เปน็ แหลงํ เรียนร๎ูสําหรับนกั เรยี น ครแู ละชุมชน เกย่ี วกับการบรหิ ารจัดการพ้ืนที่ ครูพนม บุญตอม ครรู ักชนก วงษซ๑ ือ่ ทางการเกษตร ให๎เกิดประโยชน๑ สูงสุด โดยไมํใช๎สารเคมีมาชํวยในการดําเนิน ครูลักษณ๑นารา โยระภตั ร เน๎นธรรมชาตชิ วํ ยธรรมชาติ ฝึกให๎นักเรียนมีทักษะกระบวนการในการทํางาน ครูอาภาภรณ๑ สอนประเสรฐิ การทําบญั ชรี ายรับรายจาํ ย การคาํ นวณต๎นทนุ กาํ ไรและเป็นสงํ เสริมให๎นักเรียน ครอู รวรรณ เมอื งแก๎ว นักเรียนแกนนาํ (แนบท๎าย มีรายไดร๎ ะหวํางเรียน ภาคผนวก) ขอ้ มูลประกอบการคัดกรองศนู ย์การเรยี นรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ด้านการศกึ ษา) โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

ห น้ า | ๗ ชอ่ื การใชป๎ ระโยชน์ ครู/นักเรยี นแกนนา ฐานการเรียนร๎ู กือเลอะบือ เปน็ แหลํงเรยี นรูส๎ าํ หรับนกั เรียน ครแู ละชมุ ชน เกี่ยวกับการบริหาร ครูณฐั ธนัญา บญุ ถงึ เคสําอะเบะ ครูเชาวนี (เพาะเหด็ จาก จัดการเศษวัสดุเหลือท้ิงทางการเกษตร นํามาใช๎ให๎เกิดประโยชน๑ ครูวรารัตน๑ บุญรัง เปลือกข๎าวโพด) โดยทําเปลือกข๎าวโพดมาทํามาทําเป็นก๎อนเชื้อสําหรับเพาะเห็ด ธิลา ครวู ปวริศา กา๐ วงศ๑วิน ฐานการเรียนรู๎ หมคู อนโด นางฟูา ฝึกให๎นักเรียนมีทักษะกระบวนการในการทํางาน การทํา ครณู ภิ าทพิ ย๑ มลู แกว๎ บัญชีรายรับรายจําย การคํานวณต๎นทุนกําไรและเป็นสํงเสริมให๎ นกั เรียนแกนนํา (แนบทา๎ ยภาคผนวก) ฐานการเรียนรู๎ ขา๎ วดอยแปลงโฉม นกั เรียนมีรายได๎ระหวํางเรยี น ฐานการเรยี นร๎ู เป็นแหลํงเรียนร๎ูสําหรับนักเรียน ครูและชุมชน เกี่ยวกับการเล้ียง ครชู าญยุทธ สุทธธิ รานนท๑ พวงหรดี พอเพียง ครูธนญั ภรณ๑ ธรรมใจ เคียงสวรรค๑ หมู โดยใช๎องค๑ความรู๎เก่ียวกับการเล้ียงหมูหลุม ภูมิปัญญาท๎องถ่ิน ครอู รณัชชา เจริญสขุ เพื่อให๎การเล้ียงหมูเกิดประโยชน๑สูงสุด ฝึกให๎นักเรียนมีทักษะ ครปู ิยาภัทร อาทรเกตุ กระบวนการในการทาํ งาน การทาํ บัญชีรายรับรายจําย การคาํ นวณ นักเรียนแกนนํา (แนบทา๎ ยภาคผนวก) ต๎นทุนกําไรและเปน็ สํงเสรมิ ให๎นกั เรียนมีรายไดร๎ ะหวาํ งเรียน เป็นแหลงํ เรียนรู๎สําหรับนกั เรียน ครูและชมุ ชน เก่ียวกับการบริหาร ครูรตั นวัชร๑ เลศิ นันทรตั น๑ ครลู ิปปกร เหมืองคํา จัดการภายใน โรงสีข๎าวอนามันโรงเรียน ฝึกให๎นักเรียนมีทักษะ ครศู ภุ ากร ทาอวน กระบวนการในการทาํ งาน การทาํ บัญชีรายรบั รายจําย การคาํ นวณ ครศู ิริวมิ ล วรรณภิละ ต๎นทุนกาํ ไรและเป็นสงํ เสรมิ ใหน๎ ักเรยี นมีรายไดร๎ ะหวํางเรียน ครจู รี าวรรณ คาํ ปัน นกั เรียนแกนนํา (แนบท๎ายภาคผนวก) เป็นแหลํงเรียนรส๎ู าํ หรับนักเรียน ครูและชุมชน เกี่ยวกับการบริหาร ครูปณั ชดา ไชยมงคล ครูวรี ๑รศั มิ์ สิทธิพพิ ัฒนานันท๑ จัดการเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร นํามาใช๎ให๎เกิดประโยชน๑ ครูฐิตารัตน๑ คาํ ภรี ะ โดยทําเปลือกข๎าวโพดมาทําดอกไม๎จันทน๑ นําฟางข๎าวมาทําหวง ครูลภัสนันท๑ คาํ ลือเกยี รติ์ หรดี ฝึกให๎นกั เรียนมีทกั ษะกระบวนการในการทํางาน การทําบัญชี ครูสริ ิธรณ๑ ดวงสิริ รายรบั รายจําย การคํานวณตน๎ ทุนกําไรและเป็นสํงเสริมให๎นักเรียน นกั เรียนแกนนาํ (แนบท๎ายภาคผนวก) มรี ายได๎ระหวาํ งเรยี น ขอ้ มูลประกอบการคัดกรองศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ด้านการศึกษา) โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

ห น้ า | ๘ แหลงํ เรยี นรภู๎ ายนอก ประโยชน์ ผ๎ูรับผิดชอบ ชือ่ ใชเ๎ ปน็ แหลํงประกอบกิจกรรมทางศาสนา จัดงานประเพณีที่สําคัญ ผน๎ู าํ ชุมชน วดั แมํปาน ของท๎องถ่ิน เปน็ ทปี่ ฏบิ ัตธิ รรมของพุทธศาสนิกชน วดั เหลาํ ปุาตาล ใช๎เปน็ แหลงํ ประกอบกิจกรรมทางศาสนา จัดงานประเพณีที่สําคัญ ผน๎ู ําชมุ ชน วัดบา๎ นเจียง ของทอ๎ งถิน่ เป็นท่ปี ฏิบตั ธิ รรมของพุทธศาสนกิ ชน วัดปุาแดด ใชเ๎ ป็นแหลงํ ประกอบกิจกรรมทางศาสนา จัดงานประเพณีที่สําคัญ ผน๎ู าํ ชุมชน วดั พทุ ธเอน๎ ของทอ๎ งถิ่น แหลงํ ศกึ ษาเก่ียวกบั ยาสมนุ ไพรพื้นบา๎ นของอาํ เภอ น้ําออกรู แมแํ จํม เปน็ ทีป่ ฏิบตั ธิ รรมของพุทธศาสนกิ ชน โรงพยาบาล เทพรัตนเวชชานกุ ลู ใช๎เป็นแหลํงประกอบกิจกรรมทางศาสนา ที่มีประติมากรรมท่ี ผนู๎ ําชุมชน เฉลมิ พระเกียรติ ๖๐ พรรษา สวยงามบนฝาผนัง จัดงานประเพณีท่ีสําคัญของท๎องถิ่น เป็นท่ี หมูํบา๎ นท๎องฝาย ทับ ไรํ ปฏบิ ัตธิ รรมของพทุ ธศาสนิกชน น้ําตกแมํปาน ใช๎เปน็ แหลงํ ประกอบกจิ กรรมทางศาสนา จัดงานประเพณีที่สําคัญ ผู๎นาํ ชุมชน น้าํ ตกหว๎ ยทรายเหลือง ของท๎องถ่ิน เป็นแหลํงน้ําศักด์ิสิทธ์ิคํูเมืองแมํแจํม เป็นที่ปฏิบัติ อุทยานแหํงชาติ ธรรมของพุทธศาสนิกชน ดอยอินทนนท๑ เป็นแหลํงเรียนร๎ูทางวิทยาศาสตร๑ เกี่ยวกับนํ้าใต๎ดิน/นํ้าใต๎ดิน ผ๎นู าํ ชุมชน เสน๎ ทางธรรมชาติ ก่วิ แมํปาน สถานทีท่ อํ งเทียว พกั ผํอนหยอํ นใจ เส๎นทางธรรมชาติ ดอยอํางกา เป็นสถานท่ฝี ึกปฏบิ ตั ิการเก่ยี วกบั การรกั ษาพยาบาล โรงพยาบาล เป็นแหลํงเรียนรู๎ เกี่ยวกับการทอผ๎าซิ่นตีนจกโดยใช๎กี่ธรรมดา ผนู๎ าํ ชมุ ชน มรดกทางวฒั นธรรม เปน็ แหลงํ เรยี นร๎ูทางวทิ ยาศาสตร๑ เกี่ยวกบั น้ําตก สถานที่ทํองเทียว อทุ ยานแหํงชาติ พักผอํ นหยอํ นใจ ดอยอนิ ทนนท๑ เป็นแหลงํ เรียนร๎ูทางวิทยาศาสตร๑ เกยี่ วกบั น้าํ ตก สถานที่ทํองเทียว อุทยานแหงํ ชาติ พกั ผํอนหยอํ นใจ ดอยอินทนนท๑ เป็นแหลํงเรียนร๎ูเก่ียวกับยอดเขท่ีสูงที่สุดในประเทศไทย เป็นที่ อทุ ยานแหงํ ชาติ ประดษิ ฐานของพระมหาธาตุนภเมทนีดล และพระมหาธาตุนภพล ดอยอินทนนท๑ ภูมสิ ิริ สถานท่ีทํองเทยี ว พักผอํ นหยํอนใจ เป็นแหลํงเรียนรู๎เก่ียวกับ ปุาไม๎ สัตว๑ปุา พืชตํางๆ เป็นสถานีวิจัย อทุ ยานแหํงชาติ สถานที่ทํองเท่ยี ว ดอยอินทนนท๑ เป็นแหลํงเรียนร๎ูเกี่ยวกับ ปุาไม๎ สัตว๑ปุา พืชตํางๆ เป็นสถานีวิจัย อุทยานแหงํ ชาติ สถานที่ทํองเที่ยว ดอยอนิ ทนนท๑ ขอ้ มูลประกอบการคัดกรองศนู ยก์ ารเรียนรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ด้านการศกึ ษา) โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

ห น้ า | ๙ ๓. แนวทางในการดาเนนิ การในดา๎ นตาํ งๆ ซ่ึงสมควรได๎รบั การประเมินผํานเป็นศูนยก์ ารเรยี นร๎ู ตามหลักปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพียงด๎านการศกึ ษา ๓.๑ การบรหิ ารจัดการ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห๑ 31 จงั หวัดเชยี งใหมํ กาํ หนดโครงสรา๎ งการบริหารงานออกเป็น 10 กลํุม งาน ประกอบด๎วย กลุํมงานอํานวยการ กลํุมงานอาคารสถานที่ กลุํมงานนโยบายและแผน กลํุมบริหารงานวิชาการ กลํุมสงํ เสรมิ วชิ าการ กลมุํ งานตามนโยบาย กลุํมงานการเงินและสินทรัพย๑ กลุํมงานกิจการนักเรียน กลุํมงานสํงเสริม กิจการนักเรยี น และกลํมุ งานบริหารงานบุคคล โดยน๎อมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางในการ บรหิ ารจดั การทุกกลํุม จัดบุคลากรที่มีความรู๎ ความสามารถ เป็นคณะดูแลรับผิดชอบในแตํละกลุํม จัดทําแผนปฏิบัติ การประจําปีโดยการมีสวํ นรํวมของกลุมํ ฝุายบรหิ ารและคณะกรรมการสถานศกึ ษา สงํ เสริมให๎มีการดําเนินงานและจัด กิจกรรม โครงการตํางๆตามแผนปฏิบัติการ มีคณะกรรมการรับผิดชอบติดตามและประเมินผลการดําเนินงาน โครงการและกจิ กรรมอยํางตํอเนือ่ ง ดว๎ ยวิธกี ารและเคร่ืองมือที่หลากหลายตั้งแตํข้ันเตรียมการ ขั้นดําเนินการและขั้น สรุปผลการดําเนินงาน เพ่อื นาํ ผลการประเมินไปเปน็ ข๎อมูลในการปรับปรุง แก๎ไขและพฒั นาตํอไป กลุมํ งานอํานวยการ มํุงเน๎นใหอ๎ ํานวยความสะดวก สนับสนุน การดําเนินงานของฝุายตํางๆ การบริการ ชุมชน กลํุมงานอาคารสถานท่ี ดูแลอาคารสถานที่ภายในโรงเรียนให๎สะอาด ปลอดภัย พร๎อมใช๎งานอยูํเสมอและ ให๎บริการอาคารสถานที่ตามระเบียบทางราชการอยํางกัลยาณมิตร กลํุมงานนโยบายและแผน กํากบ ติดตามการใช๎ งบประมาณและการดําเนินงานตามโครงการ/กิจกรรมให๎ดําเนินการตามแผนปฏิบัติการประจําปี กลํุมบริหารงาน วิชาการ กลุํมสํงเสริมวิชาการ และกลุํมงานตามนโยบาย มุํงสนับสนุน สํงเสริมให๎ครูและบุคลากรทางการศึกษามี ความร๎ู ความเข๎าใจตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให๎สามารถออกแบบและจัดการเรียนรู๎ เพ่ือเสริมสร๎าง คุณลักษณะ“อยํูอยํางพอเพียง”ให๎แกํนักเรียนได๎อยํางมีคุณภาพ วางแผนและดําเนินงานโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดําริพระบาทสมเด็จพระเจ๎าอยํูหัว สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เชํน โครงการสวน พฤกษศาสตร๑โรงเรียนในพระราชดําริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ โครงการโรงสีข๎าวอนามัย กลํุมงานการเงินและ สินทรัพย๑ มํุงเน๎นให๎บริหารงานงบประมาณตามระเบียบของทางราชการโดยเครํงครัด โปรํงใส ตรวจสอบได๎รวดเร็ว และเป็นปจั จบุ ัน กลุํมงานกิจการนักเรียนและกลํุมงานสํงเสริมกิจการนักเรียน มุํงเน๎นการบริหารการจัดการหอนอน ดูแลความประพฤติ สุขภาพ ความเป็นอยูํของนกั เรยี น และประสานงานผู๎ปกครอง และกลํุมบริหารงานบุคคล มุํงเน๎น ในคุณธรรม สามัคคี และการสงํ เสรมิ ความเจรญิ ในหน๎าทกี่ ารงาน ๓.๒ บคุ ลากร โรงเรียนราชประชานุเคราะห๑ 31 จังหวัดเชียงใหมํ ตระหนักเห็นคุณคําและความสําคัญในการพัฒนา ผบู๎ ริหาร ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาและคณะกรรมการสถานศึกษาในการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สูํสถานศึกษา จึงกําหนด แผนงาน/โครงการเพื่อพัฒนาบุคลากรของสถานศึกษาดังกลําว ให๎มีความร๎ูความเข๎าใจใน หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอยํางถูกต๎อง โดยการจัดประชุม สัมมนาความร๎ู ความเข๎าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง สําหรับการขับเคล่ือน สูํสถานศึกษาและ การขยายผลสูํภายนอกสถานศึกษาอยํ างตํอเน่ือง สํงเสริม สนับสนุนให๎มีการศึกษาดูงาน ศูนย๑ศึกษาการพัฒนาอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ ศูนย๑การเรียนรู๎ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด๎านการศึกษา โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติพระศรีนครินทร๑พะเยา ระหวํางวันที่ 2 - 3 ข้อมลู ประกอบการคัดกรองศนู ย์การเรยี นร้ตู ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ด้านการศกึ ษา) โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

ห น้ า | ๑๐ มนี าคม 2558 และศกึ ษาดงู านพพิ ธิ ภัณฑเ๑ กษตรเฉลมิ พระเกียรตพิ ระบาทสมเด็จพระเจ๎าอยํูหัว ระหวํางวันท่ี 9 -10 มิถนุ ายน 2560 เปน็ ต๎น โรงเรยี นสํงเสริมให๎ผบู๎ ริหารเขา๎ รวํ มประชุม สัมมนาเกีย่ วกับ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นโยบาย การขับเคลอ่ื นสสํู ถานศึกษาและการขยายผลสภํู ายนอกสถานศกึ ษา พฒั นาครูให๎มีความรู๎ ความเข๎าใจหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง สามารถออกแบบและจัดการเรียนร๎ูเพื่อเสริมสร๎างคุณลักษณะ “อยูํอยํางพอเพียง” ได๎อยํางมี คุณภาพทุกระดับช้นั สามารถเผยแพรเํ ปน็ แบบอยาํ งแกํเพื่อนครทู งั้ ในและนอกโรงเรียนได๎ โรงเรียน จดั ให๎มีระบบการนิเทศ กํากบั ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานของผ๎ูบริหาร ครู บุคลากร ทางการศกึ ษา และคณะกรรมการสถานศกึ ษา อยํางตอํ เนือ่ งและนําผลการนิเทศ กาํ กับ ติดตามและประเมินผลไปเป็น ขอ๎ มูลในการพฒั นาปรบั ปรงุ การปฏิบัติงานตํอไป ๓.๓ งบประมาณ โรงเรียนราชประชานุเคราะห๑ 31 จังหวัดเชียงใหมํ บริหารจัดการงบประมาณตามระเบียบของทาง ราชการโดยเครํงครัด มีคณะบุคลากรที่มีความรู๎ ความสามารถด๎านงบประมาณ รับผิดชอบดําเนินการวางแผนและ จดั สรรงบประมาณทม่ี ีอยํอู ยํางจาํ กดั อยํางสมเหตสุ มผลและค๎ุมคําตามลําดับความสําคัญ จําเป็น โปรํงใส ตรวจสอบได๎ เหมาะสมและสอดคล๎องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีการประชุมคณะครูและผู๎มีสํวนเก่ียวข๎อง คณะกรรมการสถานศึกษาไดร๎ บั ทราบและให๎ความเห็นชอบตามแผนงบประมาณ การเบิกจํายงบประมาณโดยใช๎จําย ตามแผนงาน โครงการและกจิ กรรมตามข้ันตอนและระบบของทางราชการอยํางเครํงครัด โปรํงใส สามารถตรวจสอบ ได๎ มีคณะกรรมการในการตรวจรบั การเบิก-จําย และตรวจสอบความสําเร็จของแผนงานกิจกรรมและโครงการ และผล ท่ีเกิดขึ้นจากการดําเนินงานตามแผน โครงการและกิจกรรมทุกข้ันตอน ๓.๔ แหลํงเรยี นรู๎ โรงเรียนราชประชานุเคราะห๑ 31 จังหวัดเชียงใหมํ ได๎พัฒนาแหลํงเรียนร๎ูที่มีความหลากหลายครอบคลุม สอดคล๎องและเพียงพอเพียงกับจํานวนนักเรียน จัดบรรยากาศและสภาพแวดล๎อมภายในโรงเรียนให๎มีความสะอาด รมํ ร่ืน สวยงาม ปลอดภัยเอ้ือตํอการจัดการเรียนรู๎ เพ่ือเสริมสร๎างคุณลักษณะ“อยํูอยํางพอเพียง”ให๎แกํนักเรียน โดย อาศัยการมีสํวนรํวมของผู๎บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาและคณะกรรมการสถานศึกษา มีงบประมาณ สนบั สนุนอยํางเพียงพอ มีครูและนักเรียนแกนนําผู๎รับผิดชอบชัดเจน เชํน การพัฒนาและใช๎แหลํงเรียนร๎ู การพัฒนา และใชอ๎ าคารสถานที่ เป็นต๎น อาคาร สถานที่ แหลํงเรียนรู๎ได๎จัดทําปูายการเรียนรู๎ ผังแสดงท่ีต้ังแหลํงเรียนรู๎ อาคาร สถานทอ่ี ยาํ งชัดเจน โรงเรียนแตํงตั้งให๎คณะกรรมการรับผิดชอบดําเนินการประเมินอาคาร สถานท่ี แหลํงเรียนร๎ูและ ส่ิงแวดล๎อมอยาํ งตอํ เน่อื ง รวมถึงการประเมินความพึงพอใจของผ๎ูใช๎บริการ การใช๎บริการแหลํงเรียนรู๎ อาคารสถานท่ี โรงเรียนกําหนดให๎มีการบันทึกการขอและใช๎ เปิดโอกาสให๎ผู๎ปกครอง ชุมชนและหนํวยงานอื่น ๆ มีสํวนรํวมในการ พัฒนา ปรับปรุงอาคาร สถานท่ี แหลํงเรียนร๎ูและสิ่งแวดล๎อม ที่ทุกคนมีสํวนรํวมในการใช๎ประโยชน๑และอนุรักษ๑ ทรพั ยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดล๎อม ศลิ ปวฒั นธรรมของทอ๎ งถ่นิ และภมู ปิ ัญญาของไทย ให๎เหมาะสมกับสภาพภูมิสังคมของ โรงเรียน เพ่ือใหเ๎ กิดประโยชน๑ใช๎สอยไดน๎ านและคม๎ุ คํา ขอ้ มลู ประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรียนรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ดา้ นการศึกษา) โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

ห น้ า | ๑๑ ๓.๕ วิธกี ารพฒั นาสถานศึกษาพอเพยี งให๎เป็นศูนย์การเรียนรตู๎ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ด๎านการศึกษา (จัดทาํ เปน็ เอกสารแนบในภาคผนวกหนา๎ ท่ี ๒๔ ) ๔. ข๎อมูลดา๎ นบุคลากร ๔.๑ ผบ๎ู ริหาร (อธบิ ายรายละเอียดการดาเนินงานและผลลพั ธ์ท่ีเกดิ ข้ึน) ๔.๑.๑ ความรู๎ ความเขา๎ ใจหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ผู๎บริหารมีความร๎ูความเข๎าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและนโยบายการขับเคลื่อน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูํสถานศึกษาอยํางถูกต๎อง ได๎ศึกษาข๎อมูลด๎วยตนเองจาก อินเทอร๑เน็ต หนังสือ ส่ือ สิ่งพมิ พ๑ เอกสารทเี่ กี่ยวข๎อง เข๎ารํวมประชุม อบรม สัมมนาเกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอยํางตํอเน่ือง จาก มูลนธิ ริ าชประชานเุ คราะหส๑ าํ นักงานทรัพย๑สนิ สวํ นพระมหากษัตริย๑ สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน และ อื่นๆอยํางตํอเน่ือง ทําให๎ผู๎บริหารมีความรู๎ ความเข๎าใจและได๎รับประสบการณ๑เป็นอยํางดี สามารถถํายทอดสํูครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนได๎อยํางถูกต๎อง ครูและนักเรียนจึงมีความร๎ูความเข๎าใจและเห็นประโยชน๑และ ความสาํ คัญของหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๔.๑.๒ การปฏบิ ัตติ นตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งทเ่ี ปน็ แบบอยํางที่ดี ผู๎บริหารมีความรู๎ ความเข๎าใจตระหนักถึงประโยชน๑และความสําคัญของหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง จึงน๎อมนํามาเป็นแนวทางในการดาํ เนนิ ชวี ิต เชนํ การเป็นผนู๎ าํ ในการประหยัดพลงั งาน การแยกขยะ ที่สามารถนํากลับมาใช๎ได๎ การออมโดยมีการแบํงเงินฝากเพ่ืออนาคต เป็นแบบอยํางแกํครูและนักเรียนในการปลูก พืชผักสวนครัวรั้วกินได๎ เป็นผ๎ูนําในการแตํงกายท่ีเหมาะสมกับกาลเทศะด๎วยผ๎าพ้ืนเมือง ให๎คําแนะนํา เสนอแนะแกํ นกั เรยี นในการดาํ เนินชีวติ อยาํ งพอเพียงและการปลูกผักภายในหอนอนเพื่อสร๎างรายได๎ให๎กับหอนอนและเป็นผู๎นําใน การใชม๎ าตรการประหยัดพลังงานในโรงเรียน โดยเฉพาะใช๎กระดาษและวัสดุตํางๆ ให๎ค๎ุมคํา จนเป็นท่ียอมรับของครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาและนักเรยี น โดยได๎รางวัลผ๎ูบริหารท่มี ีผลการปฏบิ ัติงานทเี่ ป็นเลิศ ระดับประเทศ ปี ๒๕๕๙ ด๎านพัฒนาการเรียนรูต๎ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๔.๑.๓ ความสามารถในการบริหารจดั การการศกึ ษาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ผู๎บริหารเป็นผ๎ูมีความร๎ูความสามารถและเป็นนักบริหารการจัดการสถานศึกษา โดยบริหาร จดั การตามระเบียบของทางราชการโดยเครงํ ครัดและมคี วามยดื หยํนุ ตามสถานการณ๑ ให๎เกียรติแกํผู๎อื่นและยอมรับฟัง ความคิดเหน็ การตดั สนิ ใจของครูและบุคลากรทางการศึกษา มอบหมายให๎บุคลากรรับผิดชอบงานตามความสามารถ เป็นผนู๎ าํ ทางวชิ าการ มสี วํ นรํวมและเป็นผ๎ูนําในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา สนับสนุนให๎ครูและบุคลากรทางการ ศกึ ษาสามารถออกแบบหนวํ ยการเรยี นร๎ูและจัดกจิ กรรมการเรียนร๎ูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โปรํงใสใน การบริหารการเงินและงบประมาณ มีคุณธรรมในการบริหารงานบุคคล ประสานความรํวมมือและรับผิดชอบในการ อํานวยการและบริหารงานท่ัวไปจนเป็นท่ียอมรับ ได๎รับเชิญให๎รํวมเป็นคณะกรรมการประเมินสถานศึกษาพอเพียง ต๎นแบบ ระดับเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา ปี 2559 ของสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา เชียงใหมํ เขต ๖ และยัง เป็นวิทยากรให๎ความรู๎และถอดประสบการณ๑แกํผ๎ูเข๎ารบการอบรมปฏิบัติการพัฒนาผ๎ูบริหาร สถานศึกษาและครูตาม โครงการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูํสถานศึกษา วันท่ี 10 ตุลาคม 2559 ณ โรงเรียนแมํนาจร อําเภอแมํแจํม เป็นวิทยากรเข๎าคํายครูและนักเรียนแกนนําในการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นสถานศึกษาพอพียงต๎นแบบของโรงเรียนบ๎านโมํงหลวง โรงเรียนบ๎านแมํศึกและโรงเรียนแมํนาจร เป็นวิทยากร ข้อมลู ประกอบการคดั กรองศนู ย์การเรยี นร้ตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ด้านการศึกษา) โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

ห น้ า | ๑๒ ให๎กับเครือขํายสํงเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาสงเคราะห๑ ภาคเหนือ จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาครู และผบู๎ ริหารสถานศึกษาพอพยี งที่มีผลการการปฏบิ ัตงิ านทดี่ แี ละเป็นเลิศ(Best Practice : BP) เพ่ือก๎าวสูํการคัดเลือก รางวัลสูงสดุ ระดับชาติ ประจาํ ปี 2560” ในวันท่ี 1-2 เมษายน 2560 ณ โรงแรมวินเพลส จังหวัดเชียงใหมํ สํงผล ทําให๎โรงเรียนในเครือขํายฯ สามารถผํานการคัดกรองรางวัลสูงสุดระดับชาติสถานศึกษาพอเพียงท่ีมีผลการปฏิบัติท่ี เปน็ เลศิ ปี 2560 ระดับภูมิภาค รอบที่ 1 จาํ นวน 5 โรงเรียน ของศนู ยส๑ ถานศกึ ษาพอเพยี ง มลู นธิ ยิ ุวสถริ คณุ ๔.๑.๔ วสิ ัยทัศน์ในการบรหิ ารจัดการการศกึ ษาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ภายในปี พ.ศ. 2562 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห๑ 31 มีระบบการจดั การศึกษาที่มีคุณภาพ มี ครูมืออาชีพ นักเรียนมีคุณลกั ษณะตามหลักสตู ร และเปน็ ศนู ย๑การเรยี นรู๎ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๔.๑.๕ การสรา๎ งความสัมพนั ธ์กบั ครู บุคลากรทางการศกึ ษา นกั เรียน ผูป๎ กครองและชุมชน ผูบ๎ ริหารเป็นผ๎ูมีมนุษยสัมพันธ๑ ยิ้มแย๎มแจํมใส พูดจาไพเราะ โอบอ๎อมอารี เฟ้ือเอ้ือเผ่ือแผํและ ชอบชํวยเหลือผู๎อ่ืน มีความเป็นกันเองและมีสัมพันธภาพที่ดีกับครูและบุคลากรทางการศึกษา เชํน ในการประชุมครู และบคุ ลากรทางการศึกษา มีความตรงตํอเวลา ผู๎บริหารให๎เกียรติและความสําคัญกับนักเรียน ผ๎ูปกครองและชุมชน ซ่งึ เปาู หมายการจดั การศึกษา พูดคุยด๎วยวาจาสุภาพอํอนโยน ให๎ความรํวมมือ สนับสนุน สํงเสริมกับชุมชนผู๎ปกครอง ในการจดั กิจกรรมตาํ งๆ เชนํ กิจกรรมลดปัญหาหมอกควันไฟปาุ กจิ กรรมสงํ เสริมด๎านสงิ่ แวดล๎อม การจัดงานมหกรรม ผ๎าตีนจกของดีอําเภอแมํแจํม การเข๎ารํวมกิจกรรมประเพณีประจําอําเภอ และเป็นตัวแทนของอําเภอไปรํวมจัดงาน ระดับจังหวดั โดยได๎นาํ เอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงถํายทอดสํูชมชน เป็นต๎น ผู๎บริหารอํานวยความสะดวก แกํผู๎ที่ติดตํอราชการ สํงผลให๎ผู๎ปกครองและชุมชน ยอมรับและศรัทธาในการบริหารงานของผ๎ูบริหารทุกคร้ังท่ีมีการ ประชุมหรอื โรงเรียนจดั กิจกรรมตาํ งๆ ผูป๎ กครองและชุมชนจะให๎ความรํวมมือในการทํากิจกรรมเป็นอยํางดีและได๎รับ ความไวว๎ างใจจากสวํ นราชการ ท๎องถิ่น ชุมชนใหเ๎ ป็นตัวแทนการจัดกิจกรรมตํางๆ อยูํอยํางสม่าํ เสมอ ( เอกสารแนบ ภาคผนวก ก) ๔.๒ ครูและบุคลากรทางการศึกษา (อธบิ ายรายละเอยี ดการดาเนินงานและผลลพั ธท์ ่ีเกดิ ขึ้น) ๔.๒.๑ ความรู๎ ความเข๎าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง โรงเรียนราชประชานุเคราะห๑ 31 จังหวัดเชียงใหมํ สํงเสริมให๎ครูและบุคลากรทางการศึกษามี ความรู๎ ความเขา๎ ใจหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงอยํางถูกต๎อง โดยสนับสนุนให๎ครูและบุคลากรทางการศึกษาให๎ เข๎ารับการประชุม อบรม สัมมนา โครงการขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูํสถานศึกษา และครูแกน นําเข๎ารํวมอบรมกิจกรรม “คํายนักเรียนและครูแกนนําพอเพียงเรียนรู๎หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ระหวําง วนั ท่ี 6 - 8 ธนั วาคม พ.ศ. 2559 ณ โรงเรียนราชประชานุเคราะห๑ 31 อําเภอแมํแจํม จํานวน 40 คน คิดเป็น ร๎อย ละ 63.49 และสํงเสริมให๎ครูไปศึกษาดูงาน เชํน ศูนย๑ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ศูนย๑การเรียนรู๎ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด๎านการศึกษา ดังได๎กลําวมาข๎างต๎น ได๎นําความรู๎และประสบการณ๑มาจัด กจิ กรรมการเรียนรเ๎ู ก่ียวกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และการขยายผลสภูํ ายนอกสถานศกึ ษาอยาํ งตอํ เน่อื ง ๔.๒.๒ การพัฒนาและปฏิบตั ติ นตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งทเ่ี ปน็ แบบอยํางที่ดี ครูและบุคลากรทางการศึกษา ได๎พัฒนาตนเองจากการอบรม ประชุม สัมมนาและศึกษาดูงาน ได๎มีการน๎อมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช๎ในการบูรณาการกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู๎ และนําไป ประยุกต๑ใชใ๎ นการดําเนนิ ชวี ิตประจาํ วัน และเปน็ แบบอยํางท่ีดีแกํนักเรียน ผู๎ปกครอง ชุมชนและบุคคลทั่วไปจนเป็นที่ ข้อมูลประกอบการคดั กรองศูนย์การเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ด้านการศกึ ษา) โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

ห น้ า | ๑๓ ยอมรับและศรัทธา โดยครูได๎รับรางวัลครูแกนนําที่มีผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศระดับประเทศ ปี 2559 ด๎าน พัฒนาการเรียนร๎ูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทั้งนี้ครูและบุคลากรทางการศึกษา ยังเป็นแบบอยํางท่ีดีใน เรอื่ งตอํ ไปนี้ ๔.๒.๒.๑ การแตํงกาย สภุ าพ สะอาด เรียบร๎อย มีภูมิฐานและถูกกาลเทศะ แตํงกายถูกต๎องตาม นโยบายของโรงเรยี น คอื วนั จนั ทร๑ใสชํ ดุ สีกากี วันอังคารใสํเสื้อสีดํา(ชุดสุภาพสีดํา) วันพุธใสํชุดกิจกรรมพัฒนาผ๎ูเรียน (ลกู เสอื –เนตรนารี) วนั พฤหัสบดีใสํชุดสุภาพสีดาํ วันศกุ ร๑ใสํชดุ พื้นเมอื งหรือชดุ ประจําเผาํ ๔.๒.๒.๒ การพดู จา ไพเราะ สภุ าพ ออํ นหวาน ให๎เกียรตแิ ละเคารพทักทายกันตามระบบอาวุโส ๔.๒.๒.๓ การมรี ะเบียบวินยั มาปฏบิ ัติงานแตเํ ชา๎ และเขา๎ สอนตรงตามเวลา ๔.๒.๒.๔ การชํวยเหลือสังคมและชุมชน ให๎ความรํวมมือในการเข๎ารํวมงานของชุมชนและ หนํวยราชการในอาํ เภออยํางสมา่ํ เสมอ เชํน รํวมงานมหกรรมผ๎าซ่ินตีนจกแมํแจํมเป็นประจําทุกปี ให๎ความรํวมมือกับ โรงพยาบาลและสาธารณสุขชํวยกันรณรงค๑ปูองกันไข๎เลือดออก และนํานักเรียนและบุคลากรเข๎ารํวมบริจาคโลหิตใน ทกุ ครัง้ ทีม่ กี ารรบั บริจาคของอาํ เภอ เป็นต๎น ๔.๒.๒.๕ เป็นตัวอยํางท่ีดีในการใช๎ชีวิตอยํางพอเพียง โดยครูและบุคลากรทางการศึกษา ได๎นํา นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมในโรงเรียน เชํน การปลูกผักปลอดสารพิษ ผักไฮโดรโปรนิกส๑ การเล้ียงปลาดุก การเล้ียงหมู การเพาะเห็ดนางฟูาจากเปลือกข๎าวโพด ฯลฯ ตลอดจนนํามาปฏิบัติท่ีบ๎านพร๎อมกับครอบครัว ทําให๎ลดคําใช๎จํายและ เพ่ิมรายได๎ของตนเอง จนทาํ ให๎ นางสาวณฐั ธนญั า บญุ ถงึ ครชู ํานาญการ ไดร๎ ับรางวัลครูแกนนําที่มีผลการปฏิบัติงานท่ี เปน็ เลศิ ระดับประเทศ ปี 2559 ดา๎ นพัฒนาการเรียนรู๎ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และนางสาวรัตติกาล ยศสขุ ครชู าํ นาญการ ได๎รบั รางวัลครดู ีแผนํ ดนิ และครดู ีของมลู นิธิราประชานุเคราะห๑ เป็นตน๎ ๔.๒.๓ ความสามารถในการพัฒนาหลักสตู ร หนวํ ยการเรียนรูแ๎ ละแผนการจัดการเรียนร๎ู ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง โรงเรียนราชประชานุเคราะห๑ 31 จังหวัดเชียงใหมํ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให๎ สามารถออกแบบและจัดการเรยี นร๎ตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได๎อยํางมีคุณภาพ ครูเข๎ามีสํวนรํวมในการ พัฒนาแผนการจดั การเรยี นรฯู๎ ตัง้ แตชํ ัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ของสํานักบริหารงานการศึกษา พิเศษ ครูแกนนําสามารถอธิบายและถํายทอดความรู๎อันเกิดจากการนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปเป็น แนวทางในการปฏิบัติให๎แกํเพื่อนครู นักเรียน ผู๎ปกครองและชุมชนได๎ โดยครูแกนนําเป็นวิทยากรให๎กับเครือขําย สํงเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาสงเคราะห๑ ภาคเหนือ จัดอบรมเชิงปฏิบัติการฯ โดยการแลกเปล่ียนเรียนรู๎ เกีย่ วกบั พฒั นาหลักสูตรและออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนร๎ูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ได๎จัดทําใน โรงเรยี น ๔.๒.๔ พฤตกิ รรมการจดั กิจกรรมการเรยี นรู๎ สื่อ การวดั และประเมินผลการเรียนร๎ตู ามหลักปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี งที่หลากหลายเปน็ แบบอยํางที่ดี ในการจดั กิจกรรมการเรยี นร๎ูของโรงเรียนราชประชานเุ คราะห๑ 31 จังหวัดเชียงใหมํ ครูได๎จัดทํา แผนการจัดการเรียนรู๎และกิจกรรมพัฒนาผู๎เรียนที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง วางแผนและ เตรียมการสอนทุกครั้งโดยการวิเคราะห๑ความสอดคล๎องของตัวชี้วัด ผลการเรียนรู๎กับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ผลิตสื่อประกอบการเรียนรู๎ด๎วยตนเอง โดยการรํวมมือกับเพื่อนครูและนักเรียนให๎มีความสอดคล๎องและ ขอ้ มูลประกอบการคัดกรองศนู ย์การเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ด้านการศกึ ษา) โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

ห น้ า | ๑๔ เหมาะสมกบั เน้ือหา เชนํ การจดั การเรียนร๎ูฐานการเพาะเห็ดนางฟูา มีแผนการจัดการเรียนรู๎ สื่อ กิจกรรม และการวัด และประเมินผลด๎วยเคร่ืองมือและวิธกี ารท่ีหลากหลาย และในทุกๆ กิจกรรมท่ีโรงเรียนจัดขึ้นครูจะบูรณาการการถอด บทเรียนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2:3:4:3 เชํน กิจกรรมวันไหว๎ครู กิจกรรมวันรณรงค๑การตํอต๎านยา เสพตดิ ไขเ๎ ลอื ดออก เปน็ ต๎น ทั้งนี้เพ่ือกระตุ๎นใหน๎ ักเรียนเกิดการเรียนรู๎ สอดแทรกหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และทักษะชวี ิต เกิดทกั ษะกระบวนการคิดและการปฏิบัติตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๔.๒.๕ การสร๎างความสัมพันธ์กับเพ่ือนครู นักเรยี น ผ๎ปู กครองและชุมชน การสรา๎ งความสัมพนั ธก๑ ับเพอ่ื นครู : ครูและบุคลากรทางการศึกษาจะมีความแตกตําง เร่ือง วัย อายุและเพศ สังคมในโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห๑ 31 จงั หวดั เชียงใหมํ จะให๎ความเคารพซ่ึงกันและกัน ตามสายงาน และลาํ ดับความอาวโุ ส ผ๎นู อ๎ ยเคารพผ๎ูใหญํ ทกุ วันตอนเชา๎ จะไหว๎ทกั ทายกันด๎วยความยมิ้ แยม๎ แจํมใส เป็นกันเอง ทําให๎ เป็นภาพและเป็นตัวอยํางที่ดีแกํนักเรียน ผ๎ูปกครองและผ๎ูท่ีพบเห็น เพื่อนครูมีปฏิสัมพันธ๑ รักใครํกลมเกลียวกัน มีความรักและสามัคคี ชํวยเหลือเก้ือกูลซ่ึงกันและกัน ให๎คําแนะนําเมื่อเกิดปัญหา ทํางานเป็นทีม รํวมกัน อยํางสร๎างสรรค๑ และเลี้ยงพบปะกันบ๎างในบางโอกาส เพื่อให๎เกิดขวัญและกําลังใจในการปฏิบัติงานรํวมกัน การวางแผนการสร๎างความสัมพันธ๑กับนักเรียน : นักเรียนเปรียบเสมือนลูก เมื่อผู๎ปกครอง นกั เรยี นให๎ความไวว๎ างใจสงํ บตุ รหลานมาเรียน โดยการจัดโครงการอบรมคุณธรรมจริยธรรมแกํนักเรียนใหมํกํอนเปิด ภาคเรียนเพ่ือให๎นกั เรยี นปฏิบัตติ นทถ่ี กู ต๎องของการเปน็ นกั เรียนประจํา ไดร๎ ูจ๎ ักครูและเพอ่ื นๆ ครูให๎ความดูแลเอาใสํใจ นักเรียนอยํางใกล๎ชิด ให๎ความรัก ความอบอุํนและเป็นกันเอง ทําให๎นักเรียนร๎ูสึกรัก ไว๎วางใจ เกรงใจและให๎ความ เคารพ นอกจากน้ีโรงเรียนมกี จิ กรรมอยํางหลากหลาย จึงทําให๎ครูและนักเรียนได๎ทํากิจกรรมรํวมกันอยํางใกล๎ชิดและ สร๎างสรรค๑ โดยเฉพาะครูท่ีปรึกษาและครูหอนอนจะรู๎จักนักเรียนเป็นอยํางดี ครูหอนอนอยูํดูแลนักเรียนชํวงเวลา ๑๘.๐๐ น. จนถึงเวลา ๐๗.๐๐ น.ของวันรํุงขึ้น ครูที่ปรึกษาและนักเรียนทํากิจกรรมรํวมกันหน๎าเสาธง มีกิจกรรม ประกวดมารยาทไทย ไหว๎คุณครู และน๎องไหว๎พ่ีพี่รับไหว๎น๎อง หลังจากนั้นแยกเข๎าห๎องเรียนมีกิจกรรมการเดินแถว อยํางเป็นระเบียบ เพ่ือเรียนตามตารางเรียน กิจกรรมโฮมรูมโดยครูที่ปรึกษาทุกเย็นหลังเลิกเรียนมีการสอบถาม เก่ียวกับการเรียน ความเป็นอยํูความประพฤติของนักเรียนให๎ถูกต๎องตามระเบียบของโรงเรียน ในงานระบบดูแล ชํวยเหลอื นกั เรยี น ครไู ด๎วิเคราะห๑นักเรยี นเปน็ รายบุคคลและไดอ๎ อกเย่ียมบา๎ นนักเรยี น โดยแบงํ กลํุมสายครูในการเย่ียม บ๎าน ทําให๎การเยี่ยมบ๎านนักเรียนครบทุกคน คิดเป็นร๎อยละ ๑๐๐ ได๎ร๎ูปัญหาของนักเรียมแตํละคน เพ่ือหาทาง ชวํ ยเหลือแก๎ไขนักเรยี นทปี่ ัญหารวํ มกับผู๎ปกครอง ครทู ่ปี รกึ ษาและครูหอนอนตํอไป การสร๎างความสัมพันธก๑ ับผู๎ปกครอง : โรงเรียนได๎ร๎ูจักผ๎ูปกครองวันสมัคร วันรายงายตัวและวัน ปฐมนเิ ทศ วันประชุมผ๎ูปกครองประจาํ ทุกปี หลังจากนั้น การประชุมผ๎ูปกครองช้ันเรียน (Classroom meeting) และ การออกเยี่ยมบา๎ นนกั เรียน ในชํวงกิจกรรมประชมุ ผูป๎ กครองชั้นเรยี น จะมีการเลือกคณะกรรมการห๎องเรียนโดยมีฝุาย ตํางๆ ไดแ๎ กํ ประธานหอ๎ งเรียน รองประธาน เลขานกุ าร ฝุายเหรญั ญกิ ฝุายประชาสมั พนั ธ๑และกรรมการอ่ืนๆ หลังจาก แตํละห๎องเรียนมีคณะกรรมการ นักเรียนท้ังโรงเรียนหมดเลือกประธานนักเรียน ประธานนักเรียนจะคัดเลือก คณะทํางาน มาเปน็ คณะกรรมการนักเรียน คณะกรรมการนักเรียนจะทําหน๎าที่ประสานงานรํวมกันระหวํางโรงเรียน ครู และผู๎ปกครองนักเรียน ครูท่ีปรึกษาจะมีหมายเลขโทรศัพท๑หรือที่อยูํของผู๎ปกครองที่สามารถติดตํอได๎งําย เม่ือ โรงเรียนมีกิจกรรมตํางๆ ผ๎ูปกครองได๎ให๎ความรํวมมือกับทางโรงเรียนเป็นอยํางดี หรือมีการพบเห็นนักเรียนท่ีจะมี ความประพฤตไิ ปในทางท่ีไมดํ จี ะแจง๎ ใหโ๎ รงเรียนทราบอยํูเสมอ ตลอดจนครูได๎ไปเยี่ยมบ๎านผ๎ูปกครอง ทําให๎เกิดความ ขอ้ มูลประกอบการคดั กรองศนู ย์การเรยี นรูต้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ด้านการศึกษา) โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

ห น้ า | ๑๕ ใกล๎ชิดสนิทสนมกันมากขึ้น เม่ือผ๎ูปกครองมาเยี่ยมหรือทํากิจกรรมท่ีโรงเรียน ครูให๎การต๎อนรับด๎วยใบหน๎าที่ยิ้มแย๎ม แจํมใส พูดจาไพเราะเป็นกนั เองและใหบ๎ ริการด๎วยความจริงใจ จึงทําให๎ความสัมพันธ๑ระหวํางครูและผู๎ปกครองเหนียว แนนํ รวํ มกนั ท่จี ะพฒั นาโรงเรียนและชํวยกันดูแลบุตรหลานให๎เป็นคนดใี นสังคมตํอไป การสร๎างความสัมพันธ๑กับชุมชน : ครูให๎ความชํวยเหลือกิจกรรมของชุมชน ในวันสําคัญทาง ศาสนา และทําบุญงานประเพณีตํางๆ เชํน ทอดผ๎าปุา ทอดกฐิน รํวมงานศพ รํวมจัดนิทรรศการทางวิชาการในงาน ตาํ งๆ ท่ที างชุมชนและหนํวยงานตํางๆจัดขนึ้ สํงผลให๎โรงเรียนและชุมชนมีความใกล๎ชิดกัน มีการชํวยเหลือกันในด๎าน การพัฒนาโรงเรียนและพัฒนาชมุ ชนมากขึ้น ๔.๒.๖ ครูแกนนาทุกกลุมํ สาระการเรยี นร๎ู เขยี นเร่อื งเลาํ ของครูในการนาํ หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาใช๎ในการจดั กจิ กรรมการเรียนร/๎ู ตวั อยาํ งการออกแบบการเรียนรู๎ เพอื่ เสรมิ สร๎างหลกั คิดหลักความพอเพียง ใหแ๎ กํนักเรยี น โดยจัดทาํ เป็นเอกสารแนบในภาคผนวก ๔.๒.๖.๑ มีวิธีการอยาํ งไรในการสอดแทรกในเนอื้ หา/บรู ณาการ ในรูปแบบกระบวนการในขั้นนํา ขั้นสอน ข้นั สรุป การถอดองค๑ความร๎ู 2 : เงื่อนไข 3 : หวํ ง 4 : มติ ิ และ 3 : ศาสตร๑ หรอื การทาํ โครงการ/โครงงาน หรือในวถิ ชี วี ิต ๔.๒.๖.๒ มีเคร่อื งมอื ชวํ ยสร๎างการเรียนรข๎ู องนักเรียนอะไรบา๎ ง เชนํ ใบงาน ชดุ คาํ ถาม การทบทวน ใบความร๎ู ผงั มโนทศั น๑ หรืออืน่ ๆ ๔.๒.๖.๓ มีวธิ ีตรวจสอบวัดผล/ประเมินผลอยํางไร จึงทําให๎ครูม่ันใจวํานักเรยี นไดเ๎ รยี นรูแ๎ ล๎วเข๎าใจ และนําไปใช๎จรงิ ได๎ ( เอกสารแนบ ภาคผนวก ข) 4.3 นักเรยี น 4.3.1 มีความร๎ู ความเขา๎ ใจ ในหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงอยาํ งถูกตอ๎ ง ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาทุกคนออกแบบและจัดการเรียนรู๎ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง สํงเสริมให๎นักเรียนศึกษาค๎นคว๎าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด๎วยตนเอง จากสื่อตํางๆ ท่ีหลากหลาย การจัดกิจกรรมบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อฝึกถอดบทเรียนจากเร่ืองที่ครูสอนและแหลํงการ เรียนรู๎ตํางๆ เสริมสร๎างคุณลักษณะอันพึงประสงค๑ โดยเฉพาะ“อยํูอยํางพอเพียง”และให๎นักเรียนสามารถถํายทอด ความร๎ูความเข๎าใจให๎กับผู๎อื่นได๎ และผลที่เกิดจากการเรียนร๎ูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สนับสนุนและ สํงเสริมให๎นักเรียนเกิดการเรียนร๎ูจากการจัดปูายนิเทศ “หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ทุกห๎องเรียน ทําให๎ นักเรยี นเกิดความรู๎ ความเข๎าใจหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงอยาํ งถูกต๎อง ๔.๓.๒ เกดิ การเรียนรูแ๎ ละปฏบิ ัตติ นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจนเหน็ ผล เหน็ คณุ คํา และเกดิ ศรัทธา นอกจากการศกึ ษาเรียนรตู๎ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง จากการฟังบรรยาย ปูายนิเทศ กิจกรรมการแลกเปลย่ี นเรยี นรูร๎ ะหวาํ งชนเผํา กจิ กรรมการปลกู ผกั กจิ กรรมการเลีย้ งหมู กจิ กรรมการเพาะเห็ดนางฟูา กิจกรรมโรงสีข๎าวและกิจกรรมประดิษฐ๑พวงหรีด/ดอกไม๎จันทน๑ นักเรียนยังสามารถเรียนรู๎ตามกลํุมสาระการเรียนร๎ู ตํางๆ และนําหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช๎ในชีวิตประจําวัน เชํน การเรียนหนังสือ การรับประทานอาหาร การเลนํ กีฬา การทําความสะอาดเรือนนอนและหอ๎ งเรยี นฯลฯ ทกุ สิง่ ทน่ี ักเรยี นดาํ เนินชีวิตประจําวัน สามารถถอดองค๑ ขอ้ มูลประกอบการคัดกรองศูนย์การเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ด้านการศึกษา) โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

ห น้ า | ๑๖ ความร๎ู แบํงออกเปน็ ความพอประมาณ มีเหตมุ ผี ล มภี ูมิคุ๎มกนั ทด่ี ี อาศยั เงือ่ นไขความรู๎คํูคุณธรรม และ 3 ศาสตร๑การ เรียนร๎ู ได๎แกํ ศาสตร๑ภูมิปัญญา ศาสตร๑สากลและศาสตร๑พระราชา สํงผลให๎เกิดการเปล่ียนแปลงด๎านเศรษฐกิจ ส่งิ แวดลอ๎ ม สังคมและวัฒนธรรมไทย ๔.๓.๓ มีสวํ นรวํ มในการขับเคลอ่ื นหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา จากการทคี่ รูไดถ๎ าํ ยทอดความรู๎และเปน็ แบบอยําง ในการนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาเปน็ แนวทางในการดําเนนิ ชวี ติ จากการสังเกตและสอบถาม พบวาํ นักเรยี นนําความรไ๎ู ปสูกํ ารปฏิบัติโดยดําเนินชีวิต อยาํ งเพยี งพอตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงได๎ เชนํ การแตํงกายเรยี บร๎อย การคัดแยะขยะกํอนท้ิง ชํวยเหลือ โรงเรียนประหยัดนํ้าประหยัดไฟ มีความเข๎าใจ ร๎ูจักคิด วางแผน คํานึงถึงผลดีผลเสียอยํางรอบคอบ รอบด๎าน เหมาะสมและสอดคล๎องในการทาํ กจิ กรรมตํางๆ เชนํ การรู๎จักวางแผนการใช๎จําย การออม การเข๎าสังคมกับหมูํคณะ การเรียนหนงั สอื การปฏิบตั ิกจิ กรรมในระหวํางเรียนและนอกเวลาเรยี น การชํวยเหลือสงั คม ตัวอยาํ ง - การใช๎วสั ดใุ นการปฏิบัติงานอยํางรู๎คุณคํา การจัดเก็บวัสดุอุปกรณ๑หลังการปฏิบัติงาน การแตงํ กายเหมาะสมตามกาลเทศะ การร๎จู กั ยับยั้งชัง่ ใจในการซ้อื ของ การจดั สรรเวลาในการเรียนและการทํากิจกรรม อยาํ งเหมาะสม เปน็ ตน๎ จนไดร๎ ับการยอมรบั จากเพือ่ นและครใู ห๎เปน็ นักเรียนดตี ัวอยําง ดังน้ี 1. นางสาวพิกุล กูเ๎ กียรติกญุ ชร นกั เรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6/4 ปกี ารศึกษา 2559 - ได๎รับรางวัลดา๎ นพัฒนาการเรียนรต๎ู ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีผลการปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ ระดับประเทศ ปี 2559 - รางวัลคนดีศรเี ชียงใหมํ ปี 2559 - รบั รางวัลเยาวชนดเี ดํนเยย่ี มคารวะนายกรัฐมนตรี เนอ่ื งในโอกาสวนั เด็กแหํงชาติ ประจําปี 2560 2. นางสาวปริชาติ สุขใจ นักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6/1 ปีการศกึ ษา 2559 - ได๎รบั รางวัลผาํ นการคดั เลอื กเป็นสถานศึกษาพอเพียงท่ีมีผลงานการปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ ระดับภูมิภาค ภาคเหนอื ปี 2559 และนักเรียนโรงเรียนราชประชานุเคราะห๑ 31 อําเภอแมํแจํม จังหวัดเชียงใหมํ ได๎รับการอบรม ส่ังสอน และปลูกฝังในการเสริมสร๎างนิสัยให๎พอเพียง สามารถดําเนินชีวิตประจําวันและปรับตัวเองให๎เข๎ากับการ เปล่ยี นแปลงในดา๎ นตํางๆ ได๎ ๔.๓.๓.๑ ด๎านวัตถุ นักเรียนรู๎จักการใช๎วัตถุ ส่ิงของและทรัพยากรอยํางพอเพียง เชํน ไมํฉีกสมุด หนงั สอื เมือ่ ทําความสะอาดเสร็จแลว๎ กร็ ู๎จกั เก็บอปุ กรณเ๑ ข๎าท่เี ดมิ รู๎จักการใช๎อุปกรณ๑ทําความสะอาดให๎เหมาะกับพ้ืนที่ ชวํ ยดูแลทรัพย๑สมบัติสิ่งของท่เี ปน็ ของโรงเรียน เชนํ โต๏ะ เก๎าอ้ี กระดาน เป็นตน๎ ๔.๓.๓.๒ ด๎านสงั คม นกั เรยี นอยรูํ วํ มกนั ในหอ๎ งเรียน ในหอนอน และในโรงเรยี นอยาํ งมคี วามสขุ ไมํทะเลาะเบาะแว๎งกัน มีน้ําใจ เอ้ือเฟื้อเผื่อแผํ รู๎จักแบํงบัน ชํวยเหลือกัน ไมํเบียดเบียนกัน ให๎อภัยซึ่งกันและกัน มี สัมมาคารวะ ใหเ๎ กียรติและเคารพซง่ึ กันและกัน ระหวํางเพ่อื นกบั เพื่อน พกี่ บั นอ๎ ง ครูกบั นกั เรียน ๔.๓.๓.๓ ด๎านสิ่งแวดลอ๎ ม นักเรยี นได๎รบั การปลูกฝังให๎มีจิตสํานึกรักธรรมชาติ และส่ิงแวดล๎อมมีจิต สาธารณะ โดยมีการแบํงพนื้ ที่ให๎รบั ผดิ ชอบทาํ ความสะอาดแตํละเรอื นนอน เชนํ เรือนนอนเฟ่ืองฟูา รับผิดชอบบริเวณ รวั้ โรงเรียนและศาลาพบผปู๎ กครอง เรือนนอนชอํ เออ้ื ง รบั ผิดชอบบริเวณอาคารเรียน 1 เรือนนอนพอเพียง รับผิดชอบ บริเวณศาลาพระพุทธ เป็นต๎น โดยทุกๆ เช๎าแลเย็น นักเรียนจะปฏิบัติหน๎าท่ีของตนเอง โดยครูไมํต๎องคอยกํากับ นักเรียนจะคอยทําความสะอาดและดูแลพนื้ ที่ของตนเองให๎สะอาดอยเูํ สมอ และรูจ๎ กั การท้งิ ขยะใสถํ งั ขยะและเศษใบไม๎ ขอ้ มูลประกอบการคดั กรองศูนย์การเรยี นรูต้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ดา้ นการศึกษา) โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

ห น้ า | ๑๗ ก็นําไปเป็นปุ๋ยต๎นไม๎โดยใสํในเสวียนอีกด๎วย ผลงานในด๎านนี้เป็นท่ีประจักษ๑ คือ โรงเรียนสํงเสริมสุข ภาพ ระดับทอง จากกระทรวงสาธารณสุข จังหวัดเชยี งใหมํ ปี พ.ศ. 2559 ๔.๓.๓.๔ ดา๎ นวัฒนธรรม นักเรยี นรกั และภมู ิใจในความเป็นไทยและความเป็นชนเผาํ ของตนเอง เชํน การเขา๎ รวํ มกิจกรรมไตรรงค๑ การเขา๎ รวํ มกจิ กรรมในวันสําคญั ทางศาสนา ซ่ึงถือปฏิบัติกันมาแตํรุํนกํอน ๆ รวมทั้งการ ปฏิบัติตนตามกฎระเบียบของห๎องเรียนหรือโรงเรียน เชํน การถอดรองเท๎ากํอนขึ้นอาคารเรียน การไมํนําอาหารมา รับประทานในห๎องเรียน การไมํสํงเสียงดังรบกวนห๎องข๎างเคียงขณะทําการเรียนการสอน การแตํงกายด๎วยชุด ศลิ ปหตั ถกรรม (สีดาํ ) ในวนั อังคาร การแตํงกายด๎วยชุดประจาํ เผําในวันศุกร๑ เปน็ ตน๎ ๔.๓.๔ มคี วามสาเร็จท่ีเกิดจากการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปปฏบิ ตั ิ และขับเคลอ่ื น หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งภายนอกสถานศกึ ษา นักเรียนทุกคนเกิดความภาคภูมิใจในตนเองท่ีเป็นลูกท่ีดีของพํอแมํ และลูกศิษย๑ท่ีดีของครู นักเรียนสามารถนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช๎ในการดําเนินชีวิตประจําวัน เชํน การเลือกซื้อสิ่งของ ทีจ่ ําเป็นตอํ การดาํ รงชวี ิตประจําวนั นักเรียน รู๎จักคดิ ไตรตํ รองอยาํ งมเี หตุมผี ล นักเรียนมีชีวิตที่ได๎รับการยอมรับจากคน รอบขา๎ งวําดี อยอูํ ยาํ งเปน็ สุขทาํ มกลางสังคมท่ีโรงเรียน ท่ีบ๎านและในชุมชน นักเรียนประสบความสําเร็จทุกคนแม๎จะ ไมํได๎รับรางวัลที่เป็นสิ่งของ แตํก็ได๎รับคํายกยํองชื่นชมยินดีจากพํอ แมํ ผ๎ูปกครองและคณะครู สํวนกิจกรรมท่ีได๎รับ รางวัลตํางๆ การเปน็ ตวั แทนเข๎ารํวมกิจกรรมนกั เรียนประสบความสาํ เรจ็ ในการแขํงขันทักษะทางวิชาการ การแขํงขัน กีฬาทั้งในระดับเขตพ้ืนที่ ระดับภาคและระดับประเทศ ได๎รับรางวัลคนดีศรีเชียงใหมํ ปี 2559 และได๎รับรางวัล เยาวชนดีเดํนเยี่ยมคารวะนายกรัฐมนตรี เน่ืองในโอกาสวันเด็กแหํงชาติ ประจําปี 2560 เป็นการพัฒนานักเรียนให๎ ร๎ูสึกภูมิใจในคุณคําของตนเองและเป็นที่ยอมรับจากคนทั่วไป ซ่ึงเป็นส่ิงท่ีมีเกียรติยศ มีความสําคัญตํอการดํารงชีวิต ของตนให๎มีคําสงาํ งามตํอวงศ๑ตระกูล ๔.๓.๕ มีสวํ นรวํ มในการพฒั นาสถานศกึ ษาและชุมชนตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง นักเรยี นทุกคนมีสํวนรํวมในการพัฒนาโรงเรียนราชประชานุเคราะห๑ 31 จังหวัดเชียงใหมํ โดย ประพฤติปฏิบัติตนเป็นคนดี นําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช๎ในการดําเนินชีวิต เร่ิมตั้งแตํรู๎จักหน๎าท่ี รบั ผดิ ชอบของตนเอง มีระเบียบวินัย ซ่ือสัตย๑ ไมํคดโกง ไมํเบียดเบียนผู๎อื่น มีจิตสาธารณะ อาสาชํวยเหลือผ๎ูอ่ืน โอบ ออ๎ มอารี พดู จาไพเราะและรํวมกจิ กรรมตํางๆ ของโรงเรียน นกั เรยี นมีสํวนรวํ มในการพฒั นาดา๎ นตาํ งๆ ในโรงเรียน เชนํ เป็นที่ปรึกษาเพื่อชํวยเหลือเพ่ือนท่ีประสบกับปัญหาคับข๎องใจ การมีจิตอาสาชํวยงานท้ังที่หอนอนและท่ีโรงเรียน รวมถึงการประกวดและการประเมนิ โรงเรียน เชนํ ประเมนิ สถานศกึ ษาต๎นแบบพอเพยี ง ประจําปี 2555 ให๎คาํ แนะนํา สนบั สนุนและพัฒนาโรงเรียนเครือขาํ ยใหส๎ ามารถผาํ นการประเมินเป็นสถานศึกษาพอเพียง ได๎แกํ โรงเรียนบ๎านโหมํง หลวง โรงเรียนบ๎านแมซํ า โรงเรียนบา๎ นแมศํ ึก โรงเรียนองคก๑ ารอตุ สาหกรรมปุาไม๎ 13 รํวมกจิ กรรมงานมหกรรมผ๎าซิ่น ตนี จกและผลติ ภัณฑ๑ชนเผํา อาํ เภอแมํแจํม จังหวัดเชยี งใหมํ นักเรยี นสามารถปฏิบตั ิตนและให๎ความรํวมมือด๎วยดีจนได๎ รับคาํ ชื่นชมจากครู อาจารย๑ พอํ แมํ ผ๎ูปกครองและประชาชนทวั่ ไป ( เอกสารแนบ ภาคผนวก ค) ข้อมลู ประกอบการคัดกรองศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ด้านการศกึ ษา) โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

ห น้ า | ๑๘ ๔.๔ คณะกรรมการสถานศกึ ษา (อธิบายรายละเอียดการดาเนนิ งานและผลลัพธ์ท่ีเกิดข้นึ ) ๔.๔.๑ ความรู๎ ความเข๎าใจในหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง คณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรยี นราชประชานุเคราะห๑ 31 จังหวดั เชียงใหมํ ซึ่งมีสํวนเป็นผู๎นํา ชมุ ชน มคี วามรู๎ ความเขา๎ ใจปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ดา๎ นการดํารงชีวิตและการเกษตร ผ๎ูอํานวยการโรงเรียนครู แกนนําและนกั เรียนแกนนําของโรงเรยี นไดท๎ ําการแลกเปลยี่ นเรียนร๎ู เพอ่ื ให๎คณะกรรมการสถานศึกษามีความร๎ู ความ เข๎าใจในหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งดา๎ นการจัดการศึกษา และการขับเคลื่อนการดําเนินงานของสถานศึกษาสูํ การเปน็ ศูนยก๑ ารเรียนรูต๎ ามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ได๎ดําเนินการขยายผลสํูภายนอก โดยการกําหนดวาระการ ประชุม เกย่ี วกบั การขับเคล่ือนหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา ภาคเรียน ละ 2 คร้ัง การจัดกิจกรรมศึกษาดูงานแหลํงเรียนรู๎ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด๎านการทํองเที่ยวเชิง อนุรกั ษ๑ ณ หมูบํ ๎านสันตชิ ล อาํ เภอปาย จังหวัดแมฮํ ํองสอน หมูบํ า๎ นแมกํ ําปอง อําเภอดอยสะเกด็ จงั หวัดเชยี งใหมํ เป็น ต๎น สํงผลให๎คณะกรรมการสถานศึกษามีความร๎ู ความเข๎าใจ เห็นประโยชน๑และคุณคําในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงเพ่ือดา๎ นขับเคลื่อนการจัดการศกึ ษาในสถานศกึ ษาได๎เปน็ อยํางดี ๔.๔.๒ บทบาทในการให๎การสนบั สนุน สงํ เสรมิ สถานศกึ ษาในการขับเคลือ่ นปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง คณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนราชประชานุเคราะห๑ 31 จังหวัดเชียงใหมํ ประกอบไป คณะกรรมการซง่ึ เปน็ ผแ๎ู ทนผู๎ปกครอง ผ๎ูแทนครู ผู๎แทนองค๑กรชุมชน ผ๎ูแทนองค๑กรปกครองสํวนท๎องถิ่น ตัวแทนของ ศิษยเ๑ กาํ ทีจ่ ะทาํ หนา๎ ทีป่ ระสานงานระหวาํ งโรงเรยี นและชุมชน เปน็ ผ๎ูมีสํวนรํวมในการบริหารโรงเรียน ได๎รํวมกําหนด แนวคิด วิสัยทศั น๑ เพ่ือท่จี ะพัฒนาโรงเรยี นใหม๎ คี ุณภาพเป็นที่พงึ่ ของสังคมได๎ คณะกรรมการสถานศกึ ษาจึงได๎สนับสนุน สงํ เสริมและมสี วํ นรํวมในการขบั เคลือ่ นปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสูสํ ถานศกึ ษาของโรงเรียนจนประสบความสําเร็จ อยํางตํอเน่ือง เชนํ การเขา๎ รํวมกิจกรรมตํางๆ ของโรงเรียน การวางแผนกําหนดแผนงานโครงการตามแผนปฏิบัติงาน ประจาํ ปีของโรงเรียน รํวมกําหนดหลักสตู รการเรียนร๎ูทวศิ ึกษาสาขาวิชาการโรงแรมกับวิทยาลัยการอาชีพจอมทอง มี สํวนชวํ ยในการประชาสัมพนั ธก๑ ารดําเนนิ งานตาํ งๆของโรงเรยี น ประสานงานกับผู๎ปกครองนักเรียนและชุมชน ในการ พฒั นาขบั เคลอื่ นปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสสํู ถานศกึ ษาของโรงเรียนอยํางตํอเน่อื งและยั่งยืน ( เอกสารแนบ ภาคผนวก ค) ๕. ขอ๎ มูลดา๎ นสถานท/่ี แหลํงเรียนร๎ู/ส่งิ แวดล๎อม ๕.๑ ความพร๎อมของอาคารสถานทท่ี ัง้ ดา๎ นความสะอาด รมํ รืน่ สวยงาม ปลอดภยั มีจานวนเพยี งพอ ทเี่ อ้ืออานวยตอํ การจดั การเรียนรแ๎ู ละกจิ กรรมพัฒนานกั เรยี นตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง โรงเรียนราชประชานุเคราะห๑ ๓๑ จังหวัดเชียงใหมํ มีการวางแผนการดําเนินงานโดยจัดทําแผนงาน โครงการ และแตํงต้ังผ๎ูรับผิดชอบท้ังด๎านอาคาร สถานท่ี ให๎เพียงพอกับจํานวนนักเรียน ผ๎ูบริหาร ครูและบุคลากร ทางการศึกษา มีการจัดทําตารางเวรประจําวัน/เวรพัฒนา เพ่ือให๎ครูและนักเรียนมีสํวนรํวมในการดูแลรักษาอาคาร สถานที่ แหลํงเรียนร๎ูตํางๆ ให๎มีความสะอาด รํมรื่น สวยงาม ปลอดภัยเอ้ือตํอการจัดการเรียนร๎ูตํอการทํากิจกรรม พฒั นานักเรียน และเสริมสรา๎ งคุณลักษณะ“อยูํอยํางพอเพียงตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”อยํางชัดเจน ข้อมูลประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ดา้ นการศกึ ษา) โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

ห น้ า | ๑๙ โรงเรียนมีศนู ยร๑ วมข๎อมลู การขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของสถานศึกษา เพ่ือให๎ชุมชน และหนวํ ยงานตํางๆ ได๎เข๎ามาศึกษาเรียนรู๎ ใช๎ประโยชน๑ อาทิ ชาวบ๎านและหนํวยงานตํางๆ เข๎ามาศึกษาเรียนร๎ู เรื่อง การเพาะเหด็ นางฟาู จากเปลือกข๎าวโพด การทําพวงหรีดจากเปลือกข๎าวโพด เป็นต๎น อีกทั้งยังได๎รับความรํวมมือจาก ผป๎ู กครอง/ชุมชนเขา๎ มาชวํ ยในการพัฒนาอาคาร สถานท่ี แหลํงเรียนรู๎และส่ิงแวดลอ๎ มในโรงเรียนอยํางสม่าํ เสมอ ๕.๒ มแี หลํงเรียนร๎หู ลากหลายเพื่อสรา๎ งเสริมอุปนสิ ัยอยํูอยาํ งพอเพยี งอยํางเหมาะสมและเพยี งพอ กับจานวนนกั เรยี น โรงเรียนราชประชานุเคราะห๑ ๓๑ จังหวัดเชียงใหมํ มีแหลํงเรียนรู๎ที่หลากหลาย ครอบคลุมและ สอดคล๎องกับบริบทของโรงเรียน สะอาด รํมรื่น สวยงาม ปลอดภัยเอื้อตํอการจัดกิจกรรมการเรียนร๎ูและกิจกรรม พัฒนาผู๎เรียน มีเอกสารประกอบการเรียนรู๎ทุกแหลํงเรียนรู๎ มีครูและนักเรียนแกนนําที่สามารถเป็นวิทยากรอธิบาย หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและผลสาํ เร็จที่เกิดจากการนาํ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช๎เป็นแนวทาง ในการดําเนินงานของโรงเรียนราชประชานเุ คราะห๑ ๓๑ จงั หวัดเชยี งใหมํ โรงเรยี นมีฐานกจิ กรรมการเรียนร๎ู จาํ นวน ๗ ฐาน ดงั นี้ ฐานการเรยี นรท๎ู ่ี ๑ ใตร๎ มํ พระบารมีสดดุ ีมหาราชา ฐานการเรียนรู๎ท่ี ๒ วิถชี นเผํา ฐานการเรยี นรู๎ที่ ๓ เขียวตลอดปลอดสาร ฐานการเรียนร๎ทู ่ี ๔ กอื เลอะบือเคสําอะเบะ (เพาะเหด็ จากเปลอื กข๎าวโพด) ฐานการเรียนรูท๎ ่ี ๕ หมคู อนโด ฐานการเรยี นร๎ูท่ี ๖ ข๎าวดอยแปลงโฉม ฐานการเรียนรท๎ู ่ี ๗ พวงหรีดพอเพียงเคียงสวรรค๑ แตํละฐานการเรียนรู๎มีส่ือประกอบการเรียนร๎ู แผนการจัดการเรียนรู๎และมีกิจกรรมการเรียนร๎ู ที่ชํวย เสริมสร๎างอุปนิสัยอยูํอยํางพอเพียงได๎อยํางถูกต๎องและชัดเจน โดยมีครูและนักเรียนแกนนําเป็นวิทยากรในการให๎ ความร๎ู ใช๎ประโยชน๑จากฐานการเรียนร๎ู และการประเมนิ ใช๎ฐานการเรยี นรูอ๎ ยํางเปน็ รูปธรรม ๕.๓ สงิ่ แวดลอ๎ มทเ่ี อ้ืออานวยตอํ การจดั การเรยี นรต๎ู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง โรงเรียนราชประชานุเคราะห๑ ๓๑ จังหวัดเชียงใหมํ มีแหลํงเรียนร๎ูที่มีผู๎สนใจมาศึกษา ดูงาน อยําง ตํอเน่ือง จึงจัดบรรยากาศและสภาพแวดลอ๎ มภายในโรงเรยี นให๎มีความสะอาด รมํ รน่ื สวยงาม ปลอดภัย เปิดโอกาสให๎ ผู๎ปกครองและชมุ ชนมีสํวนรวํ มในการพฒั นาใหม๎ ีความยงั่ ยืน มีการตดิ ตาม ประเมนิ สง่ิ แวดล๎อม เพอ่ื พฒั นาให๎คงสภาพ และยัง่ ยืน ( เอกสารแนบ ภาคผนวก ค) ๖. ด๎านความสัมพันธก์ บั ชมุ ชนและหนวํ ยงานภายนอก ๖.๑ การวางแผนและดาเนินการสร๎างเครือขํายการขับเคล่ือนปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งของสถานศกึ ษา โรงเรียนราชประชานุเคราะห๑ ๓๑ จังหวัดเชียงใหมํ ตระหนักถึงความสําคัญของชุมชนและหนํวยงาน ภายนอกในการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูํสถานศึกษา จึงมีความจําเป็นท่ีต๎องสร๎างความรํวมมือและ ความสัมพันธ๑อันดีตํอกัน โดยประสานความรํวมมือกับสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา เชียงใหมํ เขต ๖ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๔ คณะกรรมการสถานศึกษา ผ๎ูนําชุมชน หนํวยงานภายนอกที่ ขอ้ มลู ประกอบการคัดกรองศนู ย์การเรยี นรูต้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ด้านการศกึ ษา) โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

ห น้ า | ๒๐ เก่ียวข๎องประชุมวางแผนการสร๎างเครือขํายความรํวมมือ เพื่อสนับสนุนการขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งสสํู ถานศกึ ษาและภายนอกสถานศึกษา โดยโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห๑ ๓๑ จงั หวัดเชียงใหมํเป็นแกนนํา ให๎ มาศกึ ษา ดูงานการขับเคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ให๎คําแนะนํา สนับสนุนและพัฒนาโรงเรียนเครือขํายให๎ สามารถผํานการประเมินเป็นสถานศึกษาพอเพียง และสถานศึกษาพอเพียงต๎นแบบ ได๎แกํ โรงเรียนบ๎านโหมํงหลวง โรงเรียนบา๎ นแมํซา โรงเรียนบ๎านแมศํ กึ โรงเรยี นองค๑การอตุ สาหกรรมปาุ ไม๎ 13 โรงเรียนบ๎านแมํนาจร ในปี 2558 – 2559 และเกษตรกรของจังหวดั ลําพูนเข๎าศกึ ษาดูงาน ๖.๒ ชุมชนใหค๎ วามไวว๎ างใจ ใหก๎ ารสนับสนุน สงํ เสรมิ และมสี วํ นรวํ มในการขบั เคลอื่ นปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงสูํสถานศึกษา ชุมชนให๎การยอมรับและรํวมมือในการพัฒนาโรงเรียน โดยการเข๎ารํวมงาน กิจกรรมและประชุม ผ๎ปู กครองทกุ ครัง้ เพอ่ื ทาํ ความเขา๎ ใจและรับทราบนโยบายของโรงเรียน ทําให๎ทราบความเคล่ือนไหวของโรงเรียนและ แนวปฏบิ ตั ทิ ่ีถกู ต๎อง เขา๎ รวํ มโครงการ กิจกรรมตํางๆที่โรงเรียนจดั ข้ึน เชนํ จดั กรรมกรรมเปดิ บา๎ นวชิ าการเปิดดอยกอย บ๎าน เพ่ือให๎บคุ ลากร ศิษย๑เกาํ ผปู๎ กครอง ชมุ ชน ได๎พบปะแลกเปลีย่ นเรียนรูซ๎ ่ึงกนั และกันเพือ่ ทกุ ภาคสํวนมสี วํ นรํวม ในการพัฒนาสถานศึกษาและเป็นการประชาสัมพันธ๑การดําเนินงานของสถานศึกษาของระยะเวลาที่ผํานมา คอยให๎ ขวัญและกาํ ลงั ใจบุตรหลานดว๎ ยการมอบสิ่งของ ขนมหรือของรางวัล และทํางานเป็นทีมรํวมกับคณะทํางานของครูที่ โรงเรียน เชํน เป็นคณะกรรมการฝุายสถานที่ ฝุายประชาสัมพันธ๑ ฝุายปฏิคม ต๎อนรับแขก ฝุายเหรัญญิกการเงิน ตลอดจนสามารถเป็นวิทยากรท๎องถิ่น ถํายทอดภูมิปัญญาท๎องถ่ินให๎แกํบุตรหลาน เชํน งานปักผ๎า การทอผ๎าตีนจก งานจักสานจากไมไ๎ ผํ การบูรณาการประเพณตี านกว๐ ยสลากภตั การทาํ ขนมไทย ตลอดจนการละเลนํ และการแสดงออก ซึ่งเอกลักษณใ๑ นความเป็นวิถชี นเผํา เปน็ ต๎น ๖.๓ สถานศกึ ษามีสวํ นรวํ มและใหก๎ ารสนับสนุนชุมชน และหนํวยงานอื่นในการขับเคล่อื นปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง โรงเรียนราชประชานเุ คราะห๑ ๓๑ จงั หวดั เชียงใหมํ เป็นโรงเรยี นต๎นแบบหลายกจิ กรรมด๎วยกัน เชนํ เป็นสถานศึกษาแบบอยํางการจัดกิจกรรมการเรียนร๎ูและบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง “สถานศึกษาพอเพียง” ประจําปีการศกึ ษา ๒๕๕5 เปน็ สถานศกึ ษาตน๎ แบบพอเพยี ง ของสํานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษาเชียงใหมํ เขต ๖ ปี 2559 รางวัลสูงสุดระดับชาติสถานศึกษาพอเพียงท่ีมีผลการปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ ปี ๒๕๕๙ ทําให๎เป็นแหลํงเรยี นร๎ูพรอ๎ มทีจ่ ะมสี วํ นรวํ มและสนบั สนนุ ชมุ ชนและหนํวยงานอ่ืนในการขับเคล่ือนปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งในการใช๎สถานทจ่ี ัดการอบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน ๖.๔ สถานศกึ ษาบรหิ ารจดั การการศึกษา และจัดการเรียนการสอนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงจนสามารถเป็นแบบอยาํ งแกํสถานศกึ ษาและหนวํ ยงานอน่ื โรงเรียนได๎นําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกําหนดนโยบายของโรงเรียน พัฒนาความร๎ูความ เข๎าใจใหแ๎ กํผู๎บริหาร ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา แตํงต้ังผู๎รับผิดชอบในการดําเนินงาน ตามโครงการ/กิจกรรม ของแผนสํงเสริมงานวิชาการทุกข้ันตอนแผนปฏิบัติการและทุกกิจกรรมตามความเหมาะสม กจิ กรรมตาํ งๆ ได๎สอดแทรกหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เพ่อื ใหน๎ กั เรียนได๎เขา๎ ใจและสามาถนําไปประยุกต๑ใช๎ใน ชวี ติ ไดจ๎ รงิ ข้อมูลประกอบการคัดกรองศนู ยก์ ารเรียนรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ดา้ นการศกึ ษา) โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

ห น้ า | ๒๑ การจัดกิจกรรมการเรียนรู๎ หลังจากท่ีครูได๎รับการอบรมการจัดทําหลักสูตรสถานศึกษา ทุกกลุํมสาระ การเรียนรู๎ ได๎ศึกษาและวิเคราะห๑ มาตรฐานการเรียนรู๎ตามตัวชี้วัด ผลการเรียนรู๎ จัดทําแผนการจัดการเรียนรู๎ที่ ประกอบดว๎ ยมาตรฐานการเรียนร๎ู ตวั ชี้วดั ผลการเรยี นร๎ู จุดประสงค๑การเรียนรู๎ สาระหรือเน้ือหา กิจกรรมการเรียนร๎ู ส่ือและแหลํงเรียนรู๎ การวัดผลประเมินผลและบันทึกหลังสอน โดยการจัดกิจกรรมการเรียนร๎ูบูรณาการหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนได๎พัฒนาและเผยแพรกํ ารจดั กจิ กรรมการเรียนรู๎และแหลํงเรยี นร๎ู เกี่ยวกบั หลกั ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงไปยงั ให๎ชุมชน และสถานศึกษาตําง ๆ เชํน ให๎ความรู๎เก่ียวกับการแก๎ปัญหามลพิษหมอกควันท่ีเกิด จากการเผาเปลือกข๎าวโพดโดยใช๎นวัตกรรมในการนําเปลือกข๎าวโพดมาทําเป็นวัตถุดิบในการเพาะเห็ดนางฟูา และ นาํ มาทําป๋ยุ หมกั แบบไมพํ ลกิ กอง การทําพวงหรีด โดยใชเ๎ ปลือกขา๎ วโพดมาทําดอกไม๎จันทน๑ และนําฟางข๎าวมาทําเป็น พวงหรีด ทั้งน้ีได๎ให๎ความอนุเคราะห๑แกํหนํวยงาน และโรงเรียนตํางๆ มาศึกษาดูงานจากฐานการเรียนรู๎เศรษฐกิจ พอเพียง จนเปน็ ทีย่ อมรบั และแบบอยาํ งทดี่ แี กสํ ถานศกึ ษาและหนวํ ยงานอน่ื ท่ีมาศกึ ษา ดงู านอยาํ งตํอเน่อื ง ๖.๕ ผลความสาเรจ็ ทเ่ี กิดจากความรวํ มมอื กนั ระหวาํ งสถานศกึ ษากบั ชุมชนหรือหนวํ ยงานอื่น ๑. โรงเรียนไดร๎ บั คดั เลือกใหเ๎ ป็นสถานศึกษาแบบอยาํ งการจดั กิจกรรมการเรียนร๎ูและบริหารจดั การ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง “สถานศึกษาพอเพียง” ปกี ารศึกษา 2555 2. โรงเรยี น ไดร๎ บั รางวัลเหรยี ญทอง ประเภท สถานศึกษา ดา๎ นบรหิ ารจัดการยอดเย่ยี ม ในการ ประกวดรางวลั ทรงคณุ คาํ สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน (OBEC AWARDS) ปพี ทุ ธศักราช ๒๕๕๙ จากสํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ 3. โรงเรยี นไดร๎ บั รางวลั รองชนะเลศิ อันดับ ๒ การประกวดโรงเรยี นสืบสานพระราชดํารสิ มเด็จ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ในระดับจงั หวัด โครงการแผํนดินธรรมแผนํ ดินทอง มณฑลทหารบกท่ี ๓๓ ปี 2558 4. โรงเรยี นผํานการรบั รองโรงเรยี นในฝนั รุํนที่ 3 “โรงเรยี นดรี ะดบั อําเภอ” ปีการศึกษา 2553 5. โรงเรียนผาํ นการประเมนิ สมศ. รอบที่ 2 เมอ่ื ปีการศกึ ษา 2551 6. โรงเรยี นสํงเสริมสุขภาพระดับเหรยี ญทอง 7. โรงเรยี น ไดร๎ บั พระราชทานปาู ยสนองพระราชดาํ รฯิ ตามโครงการอนุรกั ษพ๑ นั ธุกรรมพืช งานสวน พฤกษศาสตร๑โรงเรยี น จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เมือ่ 19 ตลุ าคม 2552 8. โรงเรียนได๎รางวัลชมเชย อันดับ 2 การประกวดภาพถํายระดับโรงเรียน “รักษ๑นํ้า ใสํใจ สง่ิ แวดลอ๎ ม” ปีการศึกษา 2558 รับถ๎วยพระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และ เกยี รติบตั รจากสถาบันวจิ ยั ทรัพยากรทางนาํ้ จุฬาลงกรณม๑ หาวิทยาลัย 9. โรงเรียนได๎รับรางวัลชนะเลิศการประกวดรถขบวนผ๎าตีนจก ในงานมหกรรมผ๎าตีนจกและ ผลติ ภณั ฑ๑ชนเผําอาํ เภอแมํแจมํ ครง้ั ท่ี ๒๒-24 ประจําปี 2559-2560 10. นางวิลาวัลย๑ ยอดผํานเมือง ผ๎ูอํานวยการสถานศึกษา ได๎รับเกียรติบัตร ผ๎ูที่มีผลการปฏิบัติที่ เป็นเลิศระดับประเทศ ปี 2559 ด๎านพัฒนาการเรียนร๎ูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ศูนย๑สถานศึกษา พอเพียง มลู นธิ ยิ ุวสถิรคุณ ข้อมูลประกอบการคดั กรองศูนย์การเรยี นรูต้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ด้านการศกึ ษา) โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

ห น้ า | ๒๒ 11. นางวลิ าวัลย๑ ยอดผํานเมอื ง ไดร๎ างวัลเหรียญเงิน ประเภท ผู๎อํานวยการสถานศึกษายอดเยี่ยม ด๎านนวัตกรรมการศึกษา ในการประกวดรางวัลทรงคุณคํา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (OBEC AWARDS) ปีพทุ ธศักราช ๒๕๕๙ จากสํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ 12. นายชยุต ขําขันมะลี รองผู๎อํานวยการสถานศึกษาได๎รับรางวัลเหรียญทอง ประเภทรอง ผ๎ูอํานวยการสถานศึกษายอดเยีย่ ม ด๎านบรหิ ารจัดการการ ในการประกวดรางวัลทรงคณุ คาํ สํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพื้นฐาน (OBEC AWARDS) ปีพุทธศักราช ๒๕๕7 จากสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ 13. นางสาวณัฐธนัญา บุญถึง ครูได๎รับเกียรติบัตร ผู๎ที่มีผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศระดับประเทศ ปี 2559 ดา๎ นพฒั นาการเรียนรตู๎ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ศนู ย๑สถานศกึ ษาพอเพียง มูลนิธิยวุ สถิรคณุ 14. ผู๎บริหาร คณะครูและนักเรียน จํานวน 6 คน ได๎รับรางวัลครูดีศรีเชียงใหมํ ประจําปี 2558 โครงการคนดีศรเี ชียงใหมํ 15. ผบ๎ู รหิ าร คณะครูและนักเรียน จํานวน 15 คน ได๎รับรางวัลครูดีศรีเชียงใหมํ ประจําปี 2559 โครงการคนดีศรเี ชียงใหมํ 16. นางสาวรัตติกาล ยศสุข ได๎รับรางวัลเหรียญเงิน ครูดีศรีราชประชานุเคราะห๑ จากมูลนิธิราช ประชานเุ คราะห๑ ปกี ารศกึ ษา 2559 17. นางสาวพิกุล กู๎เกียรติกุลชร นักเรียนได๎รับเกียรติบัตร ผู๎ท่ีมีผลการปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ ระดับประเทศ ปี 2559 ด๎านพัฒนาการเรียนรู๎ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ศูนย๑สถานศึกษาพอเพียง มูลนธิ ิยวุ สถริ คุณ 18. เด็กชายชัยณรงค๑ วงศ๑ดํารงวิวัฒน๑ ได๎รับรางวัลชนะเลิศอันดับ ๑ ประเภทว่ิง ๑,๕๐๐ เมตร อนุชนชาย ในการแขงํ ขันชงิ ชนะเลิศแหํงประเทศไทยและนานาชาติ ชิงถ๎วยพระราชทาน คร้ังที่ ๖๓ ประจําปี ๒๕๖๐ 19. เดก็ ชายชยั ณรงค๑ วงศด๑ ํารงวิวัฒน๑ ได๎รับรางวัลชนะเลิศอันดับ ๑ ประเภทวิ่ง ๓,๐๐๐ ม. ชาย ในการแขํงขัน กฬี าชาวไทยภเู ขาแหงํ ประเทศไทยครัง้ ที่ ๒๙ ณ จังหวัดเลย ประจาํ ปี ๒๕๕๙ 20. นักเรียนได๎รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 3 Beam:Protoboard (วิ่งจับเส๎นด๎วยบอร๑ดทดรอง) การแขงํ ขนั หํนุ ยนต๑ยุวชนชิงแชมป์ประเทศไทย คร้ังที่ 5 ชิงถ๎วยพระราชทาน \"สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยาม บรมราชกุมารี\" จากมลู นธิ เิ ทคโนโลยีสารสนเทศพระราชดาํ ริ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 21. นักเรยี นได๎รบั รางวัลเหรียญทองแดง สงิ่ ประดษิ ฐส๑ มองกลฝังตัว ภายใต๎โครงการพฒั นาทักษะ ด๎านอเิ ลก็ ทรอนิกสแ๑ ละการเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร๑ โครงงานเคร่อื งอบผลไม๎แห๎งอตั โนมตั ิ ควบการทํางานโดยการ เขยี นโปรแกรมผาํ นเว็บ Tinker เพอ่ื ควบคุมการทํางานของ sensor จากงาน Show & Share 2016 22. นกั เรียนได๎รับรางวลั 3 เหรียญทองแดง สงิ่ ประดษิ ฐ๑สมองกลฝังตวั ภายใตโ๎ ครงการพฒั นา ทกั ษะด๎านอเิ ลก็ ทรอนกิ ส๑และการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร๑โครงงานฯ จากงาน Show & Share 2017 ขอ้ มูลประกอบการคัดกรองศูนยก์ ารเรียนรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ดา้ นการศกึ ษา) โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

ห น้ า | ๒๓ ภาคผนวก ขอ้ มูลประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรียนรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ดา้ นการศึกษา) โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

ห น้ า | ๒๔ ๗. จัดทา CD พรอ๎ มคาบรรยาย ความยาวไมํเกิน ๑๕ นาที ๗.๑ (๓.๕) วิธกี ารพฒั นาสถานศกึ ษาพอเพยี งให๎เปน็ ศนู ยก์ ารเรียนรตู๎ ามหลกั ปรัชญาชองเศรษฐกจิ พอเพยี งดา๎ นการศึกษา โรงเรียนราชประชานุเคราะห๑ 31 จังหวัดเชียงใหมํ มีบทบาทหน๎าท่ีบริหารจัดการศึกษาเพ่ือสนอง พระราชดําริ จึงได๎น๎อมนําหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเปน็ แนวทางในการบริหารจัดการสถานศึกษา จัดการ การจัดกิจกรรมการเรียนรู๎และกิจกรรมพัฒนาผู๎เรียน เพื่อเสริมสร๎างนักเรียนทุกคนให๎มีคุณลักษณะ “อยํูอยําง พอเพยี ง” พัฒนาการขับเคลอ่ื นปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูํสถานศึกษาอยํางตํอเน่ือง จนเป็นแบบอยํางท่ีดีเป็นท่ี ยอมรับและมแี หลงํ เรียนรทู๎ ีห่ ลากหลาย ผ๎บู ริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โรงเรียนราชประชานุเคราะห๑ 31 และนักเรียนมีความมํุงมั่นท่ีจะพัฒนาให๎เป็นศูนย๑การเรียนร๎ูตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งดา๎ นการศึกษา ด๎านบุคลากร โรงเรียนราชประชานุเคราะห๑ 31 จังหวัดเชียงใหมํ มุํงมั่นพัฒนาผู๎บริหาร ครูและ บุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานและนักเรียน ให๎มีความรู๎ความเข๎าใจหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงอยํางถกู ตอ๎ ง สามารถน๎อมนาํ สํูการปฏิบัติอยํางเป็นรูปธรรม ในการปฏิบัติหน๎าที่และดําเนินชีวิตจน ประสบความสาํ เร็จเปน็ แบบอยาํ งที่ดี สามารถขยายผลสชํู ุมชนและหนวํ ยงานภายนอกจนเปน็ ท่ียอมรบั โดยการจัดการ ประชุมสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนร๎ู สํงเสริมให๎ไปศึกษา ดูงานแหลํงเรียนรู๎ท่ีประสบความสําเร็จเพื่อนํามาประยุกต๑ใช๎ อยํางเหมาะสมกับสภาพแวดล๎อมของโรงเรียน สํงผลให๎ผู๎ปกครอง ชุมชนและหนํวยงานอื่นให๎การสนับสนุนการ ขับเคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทงั้ ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา ด๎านหลักสูตรและการสอน โรงเรียนราชประชานุเคราะห๑ 31 จังหวัดเชียงใหมํ มํุงเน๎นให๎ครูและ บุคลากรทางการศกึ ษาปรบั วิธีเรียนเปลี่ยนวธิ ีสอน นาํ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางในการพัฒนา หลักสูตร การจัดการเรียนรู๎ และกิจกรรมพัฒนาผ๎ูเรียน โดยเชิญวิทยากรที่มีความร๎ู ความชํานาญมาจัดการอบรม พัฒนาหลกั สตู รและการจัดการเรยี นร๎ู กจิ กรรมพฒั นาผเู๎ รยี น จนครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถออกแบบและ จัดการเรียนรู๎บูรณาการแบบสหวิทยาการ เพื่อเสริมสร๎างคุณลักษณะ “อยูํอยํางพอเพียง” ได๎อยํางมีคุณภาพ มีการ พัฒนาและใช๎สอ่ื การจดั การเรียนร๎ูที่หลากหลายสอดคลอ๎ ง เหมาะสมกับเนอ้ื หา เวลาและความสามารถของนักเรียน มี การวัดและประเมินผลการเรียนร๎ูของนักเรียนด๎วยวิธีการและเคร่ืองมือที่หลากหลายเชํน แบบทดสอบ สัมภาษณ๑ สงั เกต เปน็ ตน๎ สามารถเปน็ วิทยากรอธบิ ายใหค๎ วามรูเ๎ กี่ยวปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการออกแบบการจัดการ เรยี นรูแ๎ กเํ พอื่ นครทู ง้ั ภายในและนอกโรงเรียนจนเปน็ ทีย่ อมรับ ดา๎ นอาคาร สถานที่ แหลํงเรยี นรูแ๎ ละสงิ่ แวดลอ๎ ม โรงเรยี นราชประชานุเคราะห๑ 31 จังหวัดเชียงใหมํ มีความภาคภูมิใจในการท่ีได๎น๎อมนําโครงการตามพระราชดําริพระบาทสมเด็จพระเจ๎าอยูํหัว และสมเด็จพระเทพ รตั นราชสดุ าฯสยามบรมราชกุมารี มาบริหารจัดการศึกษาเพื่อสํงเสริมให๎นักเรียนได๎มีความเสมอภาคในการศึกษา มี อาชีพ มีคุณธรรมสามารถอยํูในสังคมได๎อยํางมีความสุข พัฒนาแหลํงเรียนร๎ูเพ่ือเสริมสร๎างคุณลักษณะ “อยูํอยําง พอเพียง” อยํางหลากหลายเพียงพอกับจํานวนนกั เรยี น จัดสรรงบประมาณและมีผ๎ูรับผิดชอบอยํางชัดเจน ผ๎ูปกครอง ชุมชนและหนํวยงานอื่น มีสวํ นรวํ มในการพัฒนาและดแู ลรกั ษา สํงผลให๎อาคาร สถานท่ี แหลํงเรียนรู๎และส่ิงแวดล๎อม ของโรงเรยี นราชประชานุเคราะห๑ 31 จังหวัดเชียงใหมํ มีความสะอาด รํมร่ืน สวยงาม ปลอดภัย เอ้ือตํอการจัดการ เรยี นร๎แู ละกิจกรรมพัฒนาผเ๎ู รยี นตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ขอ้ มูลประกอบการคดั กรองศูนย์การเรียนรูต้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ด้านการศึกษา) โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

ห น้ า | ๒๕ ในการบริการอาคาร สถานที่ แหลํงเรียนรู๎และส่ิงแวดล๎อมของโรงเรียนราชประชานุเคราะห๑ 31 จงั หวดั เชียงใหมํ จดั ให๎มีการประเมินอาคาร สถานท่ี แหลงํ เรียนร๎ูและส่ิงแวดล๎อม รวมท้ังครูและนักเรียนแกนนําของ โรงเรียนราชประชานุเคราะห๑ 31 จังหวัดเชียงใหมํ อยํางเป็นรูปธรรม เพื่อนําผลการประเมินไปเป็นข๎อมูลในการ พัฒนาอาคาร สถานที่ แหลํงเรียนรู๎และสิ่งแวดล๎อม ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห๑ 31 จังหวัดเชียงใหมํ มีความ มั่นคง ยัง่ ยืนสามารถใชป๎ ระโยชนไ๑ ด๎จรงิ ด๎านการสร๎างความสัมพันธอ๑ ันดีกบั ชุมชนและหนํวยงานอ่ืน โรงเรยี นราชประชานุเคราะห๑ 31 จังหวัด เชียงใหมํ ตระหนักถึงความสําคัญของการมีเครือขํายในการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทั้งภายในและ ภายนอกสถานศกึ ษา จึงรวํ มกบั สํานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษา เชียงใหมํ เขต 6 ผู๎นําชุมชน หนํวยงานอื่น ประชุมสมั มนาแลกเปลี่ยนเรยี นร๎กู ารสร๎างเครือขํายรํวมพัฒนาการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียน ราชประชานุเคราะห๑ 31 กําหนดให๎การสร๎างความสัมพันธ๑อันดีเป็นนโยบายสําคัญอยํางหนึ่งของการบริการจัดการ สถานศึกษา มีผู๎รับผิดชอบ กระบวนการดําเนินงานท่ีชัดเจน ในการประสานความรํวมมือการให๎ความชํวยเหลือและ สนับสนุนซง่ึ กันและกนั โดยโรงเรยี นราชประชานุเคราะห๑ 31 จังหวัดเชียงใหมํ เป็นแกนนํา ซ่ึงตระหนักถึงภาระหน๎าที่ ในการท่จี ะตอ๎ งเป็นพี่เลย้ี งให๎ความชวํ ยเหลอื โรงเรยี นเครือขํายใหส๎ ามารถพัฒนาพร๎อมรับการประเมินเป็นสถานศึกษา พอเพียง สํงผลใหโ๎ รงเรียนราชประชานุเคราะห๑ 31 จงั หวดั เชยี งใหมํ สนับสนนุ สงํ เสรมิ และพัฒนาโรงเรียนบ๎านแมํศึก และ โรงเรียนบ๎านโมํงหลวง สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหมํ เขต 6 ผํานการประเมินเป็น สถานศึกษาพอเพยี งในปี ๒๕๕6 ด๎านการรับการศึกษา ดูงานการขับเคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจากสถานศึกษาและ หนวํ ยงานอ่ืน โรงเรียนราชประชานุเคราะห๑ 31 จังหวัดเชียงใหมํ บรหิ ารจัดการโดยมิให๎เกิดผลกระทบตํอการบริหาร จัดการและการจัดการเรียนการสอนของครูและนักเรียน จึงกําหนดระเบียบการศึกษา ดูงาน เชํน การกําหนดรับ การศึกษา ดูงาน ในวันพุธ เวลา 08.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. ต๎องมีการติดตํอประสานงานชัดเจนในเรื่องกําหนดการ ระยะเวลา เนอื้ หาสาระทีจ่ ะศึกษา ดูงาน จํานวนคน เป็นต๎น ข้อมูลประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ด้านการศึกษา) โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

ห น้ า | ๒๖ ๗.๒ เรอ่ื งเลาํ ของครเู ก่ียวกบั เรือ่ ง การออกแบบการเรียนรู๎เพอ่ื เสรมิ สรา๎ งอุปนสิ ยั พอเพียง เรือ่ งเลําของคร.ู ....กลุํมสาระการเรยี นรภู๎ าษาไทย การออกแบบการเรยี นรูเ๎ พอื่ เสริมคณุ ลักษณะอยอํู ยาํ งพอเพียง กลมุํ สาระภาษาไทย เศรษฐกิจพอเพียง คือปรัชญาท่ีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได๎ทรงมีพระราชดํารัส ชี้แนะแนวทางที่ควรดํารงอยูํและปฏิบัติตนแกํพสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกวํา 30 ปี ตั้งแตํกํอนเกิดวิกฤต เศรษฐกิจ 2540 ให๎ใช๎เป็นแนวทางการแก๎ไข เพื่อให๎รอดพ๎นวิกฤต และสามารถดํารงอยูํได๎อยํางม่ันคง และย่ังยืน ภายใต๎ความเปล่ียนแปลงตําง ๆ โดยหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นวิถีการดําเนินชีวิต ท่ีใช๎คุณธรรมกํากับ ความรู๎ เปน็ การพัฒนาตัวเอง ครอบครวั องคก๑ ร สังคม ประเทศชาติ ให๎ก๎าวหน๎าไปพร๎อมกบั ความสมดุล มั่นคง ยั่งยืน อีกท้ังยังเป็นหลักคิดและหลักปฏิบัติ เพื่อให๎คนสํวนใหญํพอมีพอกินพอใช๎ สามารถพึ่งตนเองได๎ ให๎คนในสังคม สามารถอยรูํ วํ มกันอยาํ งสนั ติสขุ และใหค๎ นกับธรรมชาติ อยํูรวํ มกันอยาํ งสมดุล ยั่งยืน และให๎แตํละคนดํารงตนอยํางมี ศักดิ์ศรี และรากเหงา๎ ทางวฒั นธรรม เศรษฐกิจพอเพยี ง ประกอบด๎วยคุณลักษณะ 3 ประการ ได๎แกํ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล ระบบภูมิ ค๎ุนกันในตัวที่ดีและเงื่อนไข 2 ประการ ได๎แกํ เง่ือนไขความรู๎ เง่ือนไขคุณธรรมหรือที่เรียกวํา 3 หํวง 2 เง่ือนไข เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่เป็นทั้งแนวคิด หลักการ และแนวทางปฏิบัติตนของแตํละบุคคล และองค๑กร โดย คํานึงถึงความพอประมาณกับศักยภาพของตนเอง และสภาวะแวดล๎อม ความมีเหตุมีผล และการมีภูมิคุ๎มกันที่ดีใน ตัวเอง โดยใชค๎ วามร๎ูอยาํ งถกู หลกั วิชาการดว๎ ยความรอบคอบและระมดั ระวงั ควบคํไู ปกบั การมีคณุ ธรรม ซอื่ สัตย๑สุจริต ไมํเบียดเบียนกัน แบํงปัน ชํวยเหลือซ่ึงกันและกันและรํวมมือปรองดองกันในสังคม ซ่ึงจะชํวยเสริมสร๎างสายใย เช่ือมโยงคนในภาคสํวนตํางๆ ของสังคมเข๎าด๎วยกัน สร๎างสรรค๑พลังในทางบวก นําไปสูํความสามัคคี การพัฒนาท่ี สมดุลและยงั่ ยนื พร๎อมรับตํอการเปลี่ยนแปลงภายใต๎กระแสโลกาภวิ ัตนไ๑ ด๎ ในการจัดการเรียนการสอนก็สามารถนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช๎ได๎เชํนเดียวกันในฐานะที่ ข๎าพเจา๎ เปน็ ครผู ๎ูสอนในรายวชิ าภาษาไทย ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒ ข๎าพเจ๎าไดน๎ ําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช๎ ในการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาภาษาไทย โดยในหนํวยการเรียนรู๎ เร่ืองการเขียนเรียงความ ในหัวข๎อ เรื่อง “เยาวชนไทยดาํ เนินชีวติ ตามวถิ เี ศรษฐกิจพอเพียง” ข๎าพเจ๎าฝึกให๎เด็กร๎ูจักประยุกต๑ใช๎หลักความพอเพียงในโรงเรียน และมีสวํ นรํวมในการสร๎างความพอเพียงระดับโรงเรียนและชุมชนใกล๎ตัว โดยเริ่มจากการสํารวจทรัพยากรตํางๆ ใน โรงเรียนและชุมชน มีสํวนรํวมในการดูแลบํารุงรักษาทรัพยากรตํางๆ ทั้งด๎านวัตถุ เศรษฐกิจ ส่ิงแวดล๎อม ภูมิปัญญา วัฒนธรรมและรวบรวมองค๑ความร๎ูมาเป็นข๎อมูลในการเรียนรู๎วิถีชีวิตของชุมชน และเห็นคุณคําของการใช๎ชีวิตอยําง พอเพียงดงั นี้ ความพอประมาณ มีความร๎แู ละเข๎าใจปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอยํางเพียงพอ เพ่ือใช๎เป็นข๎อมูลในการ เขียนเรียงความ จัดสรรเวลาในการเขียนเรียงความอยํางเหมาะสม มีความรู๎ความสามารถอยํางเพียงพอในการใช๎ ภาษา และเขยี นเรยี งความ ข้อมูลประกอบการคัดกรองศูนย์การเรียนรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ด้านการศกึ ษา) โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

ห น้ า | ๒๗ ความมีเหตุผล เห็นคุณคําของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการนําไปพัฒนาชีวิต เห็นความสําคัญของ ทักษะการเขียนในการเปน็ เคร่อื งมอื สอื่ สาร กาํ หนดโครงเรือ่ งและเนือ้ หาเรียงความท่ีมีเหตุผลและสามารถนําไปปฏิบัติ ไดจ๎ ริง การมีภูมิคุ๎มกันในตัวท่ีดี มีความตระหนักและรู๎จักประยุกต๑ใช๎ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการดําเนิน ชีวิตได๎อยํางถกู ตอ๎ ง รู๎ลักษณะเดํนและขอ๎ จาํ กัดของตนเองในการเขยี นเรียงความ เงื่อนไขความร๎ู มีความรู๎ในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีความรู๎ในการประยุกต๑ใช๎ ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงได๎ในการดําเนินชีวิตได๎อยํางย่ังยืนมีความร๎ูในหลักการเขียนเรียงความ ศึกษาหาความรู๎เพ่ือพัฒนา ตนเองอยํูเสมอ เงอื่ นไขคุณธรรม เขยี นเรียงความอยาํ งมีมารยาท และไมคํ ดั ลอกงานเขียนของผ๎ูอื่น ใช๎งานเขียนของตนเอง เพื่อจรรโลงตนเองและสังคม มีความขยันหม่ันเพียรในการศึกษาหาความร๎ู เพื่อพัฒนาตนเอง มีความอดทน ต้ังใจ ทาํ งานท่ไี ดร๎ ับมอบหมายและสามารถสรา๎ งงานได๎ อยาํ งสมบรู ณ๑ จากการท่ีได๎นาํ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช๎ในการจัดการเรียนการสอน ทําให๎ทั้งตัวข๎าพเจ๎าเอง และนักเรียนได๎รับประโยชน๑ในการเรียนร๎ู นักเรียนได๎ฝึกกระบวนการคิดอยํางเป็นระบบ เพ่ือให๎ได๎รับความร๎ู เกิด ทักษะสามารถลงมือปฏิบัติได๎ และเกิดจิตสํานึกตระหนักในคุณคําของสิ่งท่ีได๎เรียนร๎ู ต้ังคําถามให๎นักเรียนฝึก กระบวนการคดิ ฝกึ ให๎นักเรยี นคดิ อยํางมเี หตผุ ล มคี วามพอประมาณ มกี ารสรา๎ งภูมคิ ๎มุ กัน มคี วามร๎คู วบคํคู ณุ ธรรม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนาํ ไปใช๎ในการดาํ เนนิ การทุกอยาํ ง ทง้ั ในการดําเนินชีวิตของครูเองและการ ทาํ งานในอาชีพครู ด๎วยความหวังวําจะสามารถผลิตลูกหลานที่มีคุณภาพ สามารถใช๎ชีวิตในสังคมอยํางมีความสุข ไมํ เบียดเบยี นใคร ใช๎ชวี ติ อยํางพอเพยี ง เป็นบุคลากรทดี่ ขี องประเทศชาติสืบไป นางสาววรรณภรณ์ ทพิ ยส์ อน ครูชานาญการ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหมํ ข้อมลู ประกอบการคดั กรองศนู ย์การเรียนร้ตู ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ด้านการศกึ ษา) โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

ห น้ า | ๒๘ เรอ่ื งเลาํ ของคร.ู ....กลมุํ สาระการเรยี นรว๎ู ทิ ยาศาสตร์ “หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง”จากหลักคดิ สูกํ ารปฏบิ ัตดิ ว๎ ยกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การจัดการศกึ ษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นการจัดกิจกรรมการ เรียนร๎ู เพ่ือให๎นักเรียนมีความร๎ู ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนร๎ู ตัวชี้วัด สมรรถนะท่ีสําคัญของนักเรียนและ คุณลักษณะอันพึงประสงค๑ตามท่ีกําหนดไว๎ โดยยึดหลักวํานักเรียนมีความสําคัญที่สุด เช่ือวําทุกคนมีความสามารถ เรียนร๎ูและพฒั นาตนเองได๎ กระบวนการเรียนรท๎ู ีค่ รูจัดต๎องสํงเสริมให๎นักเรียนสามารถพัฒนาตนเองตามธรรมชาติและ เต็มตามศักยภาพ คํานึงถึงความแตกตํางบุคคลของนักเรียน เน๎นความสําคัญทั้งความร๎ูและคุณธรรม ครูผู๎สอนต๎อง พยายามคัดสรรกระบวนการเรยี นรู๎ การออกแบบการเรยี นรทู๎ ี่สอดคล๎องกบั ศักยภาพและบริบทของนักเรียน การใช๎สื่อ นวัตกรรมประกอบการเรียนร๎ูท่ีหลากหลายและการออกแบบการวัดผลประเมินผล เพื่อให๎นักเรียนมีคุณภาพตาม มาตรฐานการเรยี นร๎ู จากนโยบายของผบ๎ู รหิ ารให๎ครทู ุกคนนาํ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปใชใ๎ นการจดั กิจกรรมการเรียนร๎ู ใหก๎ ับนกั เรียนทุกรายวิชา ซึง่ จากการศกึ ษาหาความรู๎เพิม่ เติม พบวํา “เศรษฐกจิ พอเพยี ง” คือ การบริหารจัดการพื้นที่ อยํางคุ๎มคํามากท่ีสุดโดยปลูกพืชหมุนเวียนสลับกันในพื้นท่ี ปลูกผักสวนครัวทําร้ัวที่กินได๎ ขุดบํอเลี้ยงปลา ใต๎ถุนบ๎าน เลี้ยงไกํไขํ ทาํ ให๎มผี ลผลิตออกมาตลอดทั้งปี มีอาหารครบ ๕ หมํูในพ้ืนที่ทํากินของตนเองได๎ โดยไมํต๎องเสียคําใช๎จําย ซ่ึงใช๎ไดด๎ ียคุ ปัจจุบนั ทีม่ ปี ัญหาทางด๎านเศรษฐกิจและสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูํตลอดเวลา คนสํวนใหญํหันกลับมา ใช๎ชีวิตที่พ่ึงพาตนเองโดยน๎อมนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึงประกอบด๎วย 2 เง่ือนไขเงื่อนไขความรู๎(รอบรู๎ รอบคอบ ระมดั ระวัง) และเงื่อนไขคุณธรรม (ซ่ือสัตย๑ สุจริต ขยัน อดทน สติปัญญา แบํงปัน) 3 หํวง พอประมาณ มี เหตผุ ลและมีภูมิคมุ๎ กันในตวั ทด่ี ี 4 มิติ ด๎านวัตถุ ด๎านสังคม ดา๎ นส่ิงแวดลอ๎ ม ด๎านวัฒนธรรมและ 3 ศาสตร๑ คือ ศาสตร๑ ภมู ปิ ัญญา ศาสตร๑พระราชาและศาสตร๑สากล มาใช๎ในการดํารงชีวิตมากข้ึน ดังนั้นการท่ีจะนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพยี ง เขา๎ มาบูรณาการในการเรยี นร๎ทู ุกรายวิชา ทุกกิจกรรมหรอื โครงการที่จดั ทําในโรงเรียน ข๎าพเจ๎าในฐานะครูผ๎ูสอนในกลํุมสาระการเรียนร๎ูวิทยาศาสตร๑ คือ สํวนหน่ึงท่ีเราจะต๎องดําเนินการ เพ่ือลง ไปสูํการเรียนรู๎ โดยการใช๎กระบวนการทางวิทยาศาสตร๑ได๎ทุกเร่ือง เชํน การใช๎กระบวนการทางวิทยาศาสตร๑ใน การศึกษาปัญหาเรื่องใดเรื่องหน่ึงน้ัน ให๎เน๎นให๎นักเรียนศึกษาหาความรู๎ไปพร๎อมๆกับการสังเกตจนพบปัญหาที่อาจ เกิดขึ้นในชวี ติ ประจําวัน ปญั หาจากความเป็นอยูํ ปัญหาจากชุมชน ท๎องถิ่นและสังคมอ่ืนๆที่มากระทบตํอตนเอง แล๎ว นาํ มาเทียบเคียงวเิ คราะหก๑ บั สถานการณ๑ตาํ งๆทีส่ ามารถแก๎ปัญหาได๎ ครจู ะกระตน๎ุ ใหน๎ ักเรียนลองคิดหาคําตอบงํายๆที่ จะเปน็ แนวทางในการแก๎ปัญหา คือ การตง้ั สมมตุ ิฐานซง่ึ จะได๎คําตอบมาหลายแนวทาง ครจู ะแนะนําให๎นักเรียนลองหา แนวทางท่ีคิดวําเปน็ ไปไดม๎ ากท่ีสุดและมงุํ เน๎นสูแํ นวทางน้ัน นักเรยี นสวํ นใหญํจะไมํรู๎อะไรมากํอน จึงเป็นหน๎าท่ีของครู ต๎องแนะนําให๎ไปศึกษาเพ่ิมเติม จากแหลํงเรียนรู๎ตํางๆที่อยํูภายในและภายนอกโรงเรียน บางกลํุมก็สามารถทําการ ทดลองแบบโครงงานได๎ ซ่ึงสามารถเปรียบเทียบจนเห็นความแตกตํางของข๎อมูลและสามารถสรุปเป็นแนวทางการ แกป๎ ญั หาได๎ ขอ้ มูลประกอบการคดั กรองศูนยก์ ารเรียนรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ด้านการศกึ ษา) โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

ห น้ า | ๒๙ จากองค๑ประกอบตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทีมี ๕ สํวน ซึ่งสามารถนํากระบวนการทาง วิทยาศาสตรม๑ าประยุกต๑ใช๎ได๎อยํางเหมาะสมครบถ๎วน ดังน้ี ๑. กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาท่ีชี้แนวทางการดํารงชีวิตอยํูในสังคมปัจจุบัน โดยมีพื้นฐานจากวิถีชีวิตด้ังเดิม ของสังคมไทย นํามาประยุกต๑ใช๎และปรับตัวให๎เข๎ากับการเปลี่ยนแปลงให๎รอดพ๎นจากปัญหา การเปลี่ยนแปลง หรือ วิกฤตท่ีมอี ยํู ซง่ึ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห๑ 31 อยูํให๎มีชีวิตที่มั่นคง ยั่งยืน สามารถพึ่งพาตนเองได๎ ลดคําใช๎จํายได๎ นํามาบูรณาการกับมาตรฐานส่ิงมชี ีวติ และส่ิงแวดล๎อม ๒. คุณลักษณะท่ีสามารถนํามาประยุกต๑ใช๎กับการปฏิบัติตัวของนักเรียนได๎ในทุกระดับช้ัน การศึกษา หาความร๎ูเพิ่มเติมนอกเหนือจากหอ๎ งเรยี นหรือกจิ กรรมการเรยี นร๎ูท่ีครจู ดั ขนึ้ โดยเนน๎ ทางสายกลางและการพัฒนาเป็น ข้นั ๆ โดยใช๎กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร๑ เนน๎ ใหร๎ ป๎ู ัญหา พร๎อมแนวทางในการแกไ๎ ขปัญหานัน้ ๆ ๓ คาํ นยิ าม ทง้ั ๓ คุณลักษณะ มํงุ เน๎น ดงั นี้ ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไมํน๎อยเกินไปและไมํมากเกินไปโดยไมํเบียดเบียนตนเอง และ ผอู๎ ่ืน เชํน การผลิตการบริโภคให๎อยูํในระดับพอประมาณ การใช๎ทรัพยากรทางการเรียน แนะให๎ใช๎อยํางพอประมาณ ทงั้ ในการเรยี น การทํางาน การทดลอง การเก็บรักษาไมํให๎เสยี หาย ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจกับระดับของความพอเพียงจะต๎องเป็นไปแบบมีเหตุผล โดย พิจารณา จากเหตุปัจจัยตลอดจนคํานึงถึงผลท่ีจะเกิดอยํางรอบคอบ ครูจะให๎นักเรียนนําเสนอข๎อมูล ท่ีมาจากการ ทดลอง ทัง้ ทีไ่ ดผ๎ ลตรงตามวตั ถุประสงค๑และความคลาดเคล่ือนท่เี กดิ ขน้ึ เพือ่ หาเหตผุ ลของทม่ี าในข๎อมูลนั้นๆ การมีภมู คิ ม๎ุ กนั ท่ีดีในตัว หมายถงึ การเตรยี มตัวใหพ๎ รอ๎ มรบั ผลกระทบและการเปล่ียนแปลงในด๎านตํางๆ ท่ีจะเกิดข้ึนโดยคํานึงถึงความเป็นไปได๎ของสถานการณ๑ตํางๆ ที่คาดวําจะเกิดขึ้นในอนาคตท้ังใกล๎และไกล ครูจะ แนะนํา ให๎นักเรียนสรุปและสอดแทรกแนวคิดเพ่ือให๎นักเรียนได๎ตระหนักถึงผลกระทบตํางๆที่จะตามมาโดยอาศัย ตัวอยาํ งจากเหตุการณ๑ปจั จบุ นั ที่เป็นขาํ ว มาใช๎เป็นแนวทางในการจัดกจิ กรรมการเรียนรูต๎ ํอไป นอกจากน้ีข๎าพเจ๎ายังได๎ สอดแทรกแนวพระราชดําริหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เป็นแนวทางแหํง การดํารงชีพท่ีสมบูรณ๑ ศานติสุข โดยมีธรรมะเป็นเครื่องกํากับ ยึดเหนี่ยวจิตใจตนเป็นท่ีสําคัญ คือ วิถีชีวิตไทย ที่ยึด ทางสายกลางของความพอดีในหลักของการพึ่งพาตนเอง ดังนี้ ความพอดีด๎านจิตใจ ปลูกฝังให๎นักเรียนมีจิตสํานึกที่ดี เออื้ อาทร คาํ นงึ ถงึ ผลประโยชน๑สวํ นรวม ความพอดีด๎านสังคม คอยช้ีแนะให๎มีการชํวยเหลือเกื้อกูลกัน มีกระบวนการ เรยี นรู๎ท่เี กดิ จากการลงมือปฏบิ ตั ดิ ว๎ ยตนเองโดยจัดกิจกรรมการเรียนตามฐานการเรียนรู๎ ฐานที่รับผิดชอบ คือ การทํา กอ๎ นเช้อื เหด็ สําหรับเพาะเหด็ นางฟาู จากเปลอื กข๎าวโพด ซึ่งเปลือกข๎าวโพดคือเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรท่ีมีเป็น จํานวนมากหลักฤดูกาลเก็บเกี่ยวผลผลิตของเกษตรกร ความพอดีด๎านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล๎อม เน๎นให๎ นกั เรยี นรจ๎ู กั ใช๎และจัดการ เปลือกข๎าวโพดที่มีมากมายอยํางชาญฉลาดและรอบคอบ เพื่อให๎เกิดความย่ังยืนสูงสุด ใช๎ ทรพั ยากรธรรมชาติทีม่ ีอยํใู นชมุ ชนอยํางคุม๎ คาํ แทนการเผาทิ้งของเกษตรกรเพ่ือเตรียมพื้นทีเพาะปลูกในฤดูกาลตํอไป ทก่ี อํ ให๎เกิดปญั หาหมอกควนั ที่เป็นมลพิษ ปัญหาสําคัญของอําเภอแมํแจํม ในชํวงเดือนมีนาคม - เมษายนทุกๆปี และ ความพอดีด๎านเทคโนโลยี มุํงเน๎นให๎นักเรียนรู๎จักใช๎เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมให๎สอดคล๎องกับความต๎องการ และควร พัฒนาเทคโนโลยจี ากภมู ปิ ัญญาชาวบา๎ นของตนเอง และสอดคล๎องเป็นประโยชน๑ตํอสภาพแวดล๎อมของชุมชน โดยให๎ นักเรยี นได๎ใชเ๎ พ่อื ปลกู จติ สํานึกรักษ๑ส่ิงแวดล๎อม ฟนื้ ฟูและอนรุ กั ษท๑ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล๎อมในทอ๎ งถ่ินของตน ขอ้ มูลประกอบการคัดกรองศูนย์การเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ดา้ นการศกึ ษา) โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

ห น้ า | ๓๐ ผลจากการนาํ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปใช๎ในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู๎ ซึ่งเป็นเร่ืองนํามหัศจรรย๑ ยิง่ ที่ “หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” ได๎หยัง่ รากลกึ ถงึ กระบวนการจัดการเรียนร๎ูซึ่งไมํได๎ยุํงยากสลับซับซ๎อน แตํ อยํางใด ขอเพียงแตํครูผ๎ูสอนมีความรู๎ ความเข๎าใจและมุํงม่ันท่ีจะพัฒนาต๎นกล๎าแหํงการศึกษาไทยแล๎วน้ัน ต๎นกล๎า เหลํานยี้ อํ มจะเจริญงอกงาม มีจติ สํานึกแหงํ ความพอเพยี งจนหลํอหลอมใหเ๎ ด็กนกั เรียนเหลํานั้นเป็นมนุษย๑ที่สมบูรณ๑ได๎ ด๎วยการดํารงชีวิตตาม “หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ที่ตั้งอยูํบนพ้ืนฐานของทางสายกลาง และความไมํ ประมาทโดยคํานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร๎างภูมิค๎ุมกันที่ดีในตัวเอง ตลอดจนการใช๎ความรู๎ ความ รอบคอบและคุณธรรมประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทําหรือการลงมือปฏิบัติ ท้ังงานในหน๎าท่ีท่ี รับผิดชอบ การประพฤติปฏิบตั ติ น การคบเพ่ือนและการดํารงชีวิตของทุกคนท่ียึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยํอมกอํ ให๎เกิดความม่ันคง ย่ังยนื เกดิ ความสมดุลพร๎อมรับการเปลี่ยนแปลงท่ีจะเกิดข้ึน ทั้งภายในและภายนอกได๎เป็น อยํางดี นางสาวณัฐธนัญา บุญถงึ ครชู านาญการ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหมํ ขอ้ มูลประกอบการคัดกรองศนู ย์การเรยี นรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ดา้ นการศึกษา) โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

ห น้ า | ๓๑ เร่ืองเลาํ ของคร.ู ....กลุํมสาระการเรยี นรค๎ู ณติ ศาสตร์ การวางแผนการใช๎จําย การออมเงินตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง กลุํมสาระการร๎เู รียนรู๎คณติ ศาสตร์ จากกระแสพระราชดํารัส พระบาทสมเดจ็ พระเจา๎ อยูํหัวราชการท่ี ๙ ไดต๎ รัสไว๎วํา “ขอให๎ทุกคนในเมืองไทย พออยํู พอกิน มีความสงบเปรียบเทียบกับประเทศอื่น ถ๎าเรารักษาความพออยูํ พอกินน้ีได๎ เราก็จะย่ิงยอดได๎กวํา “ และตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจ๎าอยูํหัวราชการที่ ๙ พระองค๑ทรงต๎องการให๎ประชาชนชาวไทยมีความเป็นอยูํอยํางพอเพียง รู๎จักการประหยัด อดออม ไมํสุลํุย สุรําย ไมํ ฟมุ เฟือย รู๎จกั การออมเงินเพอื่ ใช๎จาํ ยในอนาคตหรือยามฉุกเฉนิ ดังเชํนตัวของข๎าพเจ๎าเองนั้นได๎นําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนี้ มาปรับใช๎กับนักเรียนท่ีปรึกษา นักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๒/๒ จํานวน ๓๓ คน เนื่องด๎วยทางโรงเรียนได๎มีกิจกรรมสํงเสริมรายได๎อิสระ ระหวํางเรียน (สอร.) เพื่อให๎นักเรียนเกิดทักษะการบริหารจัดการ วางแผนการใช๎จํายเงินในการค๎าขาย ใน ชวี ิตประจาํ วนั และการแบงํ เงินไว๎ออมเพอ่ื อนาคต ความมั่นคง ความจําเป็นที่จะเกดิ ขึ้น โดยใชห๎ ลักการที่สอดคล๎องกับ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดังน้ี การประมาณ การประมาณการใช๎จํายในการลงทุน ลงทุนให๎เหมาะสมกับ การขาย เชํน การใช๎จาํ ยซอื้ ของเทําทีจ่ ําเป็น ไมํซ้อื มาเกนิ เงินลงทุนท่ี ความมีเหตุผล มีเหตผุ ลท่เี ลือกลงทุนกับอาชีพนี้ เชํน ซ้ือสิ้นค๎ามาขาย ต๎องดูวําสินค๎าน้ี เป็นสินค๎าท่ีตอบสนองตํอความต๎องการของลูกค๎าหรือเปลํา(ซื้อมาขายได๎ มา ขาดทุน) เป็นสนิ ค๎าท่ดี ี ปลอดภยั คุม๎ คําแกกํ ารลงทุน ภมู ิคมุ๎ กัน เมอื่ ขายสนิ้ คา๎ ไดก๎ าํ ไรแล๎วแบงํ เงินการขายทไี่ ด๎กําไร มา ออมในโครงการโรงเรียนธนาคาร เพื่อให๎มีเงินเก็บไว๎ใช๎จํายในยามจําเป็น เป็นเงินฉุกเฉินโดยมีหลักการ การแบํงเงิน ออมเปน็ ๓ สํวนดงั นี้ ๔๐% เปน็ คาํ ใชจ๎ าํ ยประจํา ๔๐% เปน็ คําใชจ๎ ํายจําเปน็ และที่เหลืออีก ๒๐% ไว๎เป็นเงินออม จดั ทาํ บัญชรี ายรบั – รายจําย เพือ่ เปน็ การวางแผนการใช๎จํายให๎พอดกี ับรายรบั ของตนเองความร๎ูควบคํูคุณธรรม โดย ใช๎ความร๎ใู นทางท่ีถูกตอ๎ ง ไมํเอารัดเอาเปรียบผู๎อื่น เชํนผลิตสินค๎าให๎ได๎คุณภาพ สะอาด ปลอดภัย ไมํค๎ากําไรเกินควร สินค๎ามีประโยคตํอผบู๎ รโิ ภค ดงั นั้นการนาํ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาประยกุ ตใ๑ ชใ๎ นชีวิตประจําวันเก่ียวกับเรื่องการออม จะเป็น การสรา๎ งภูมคิ ุ๎มกนั ที่ดีใหก๎ บั ผ๎เู รยี น ในการดํารงชีวิตตํอไปในอนาคต ผู๎เรียนจะได๎ร๎ูจักการวางแผนการจัดการเกี่ยวกับ เรอื่ งการใช๎จํายในชวี ติ ประจําวัน (รายรบั – รายจาํ ย) ภายในครอบครัว ทาํ ใหค๎ รอบครวั มคี วามมน่ั คง มเี งนิ ออมไว๎ใช๎ใน ยามฉุกเฉิน มีคณุ ภาพชีวิตที่ดี และไมํลําบากในอนาคต นางสาวรกั ชนก วงษซ์ ื่อ ครูผชู๎ ํวย โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ ขอ้ มูลประกอบการคัดกรองศูนยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ดา้ นการศกึ ษา) โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

ห น้ า | ๓๒ เรือ่ งเลําของครู.....กลํุมสาระการเรยี นร๎ูสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม พอเพียงบนรากฐานชีวิต ยอ๎ นกลับไปในสมยั กอํ นตอนทผี่ มยังเป็นเด็ก ครอบครัวของผมมีลูก 5 คน มีฐานะยากจน จึงเรียนหนังสือที่ โรงเรยี นประจาํ หมูบํ ๎าน เหน็ เพ่อื นๆ ที่มฐี านะพอสมควรเห็นเขามเี สอ้ื ผ๎าใหมํๆ สวมใสํ มีรองเท๎าคูํใหมํแตํตัวเราเป็นเด็ก กไ็ มไํ ดค๎ ดิ อะไร วนั หยดุ ก็จะไปชวํ ยพํอแมํทาํ เกษตรกรรมทําได๎ตามประสาเดก็ พอเรยี นจบชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6 พํอได๎ บอกวําเราไมํมีเงินเหมือนลูกคนอนื่ เขาท่ีสงํ ให๎ได๎เรียนตํอ ด๎วยในตอนน้ันเห็นพํอแมํทํางานหนักเราจึงคิดสงสารพํอแมํ จึงตัดสนิ ใจที่จะไมํเรียนหนังสอื พอมาวันหนง่ึ ทห่ี มบูํ ๎านได๎มีการสรา๎ งวดั ใหมขํ ้ึน ผมจงึ ตัดสนิ ใจไปอยวูํ ดั หลังจบชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6 โดยการ บวชเรียนได๎ศึกษาทั้งทางธรรมและทางโลกจนจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และเดินทางไปศึกษาตํอที่ลําพูนจบชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 ด๎วยที่อยากพัฒนาตนเองจึงเดินทางเข๎ากรุงเทพฯ เพ่ือเรียนตํอช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย ตลอด ระยะเวลาทเ่ี รยี นระดับมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1–6 ผมไมไํ ดร๎ บกวนพอํ แมํเลย เนื่องจากรู๎วําพํอแมํคงไมํมีเงิน อีกอยํางพํอแมํ ต๎องสํงน๎องคนสุดท๎ายให๎เรียนหนังสือ จากน้ันจึงได๎ลาสิกขาและเข๎าศึกษาตํอท่ีมหาวิทยาลัยรามคําแหง โดยใช๎เวลา เรียน 4 ปี และทํางานหาเงินไปดว๎ ย เพราะตอ๎ งชวํ ยเหลือตนเองจนจบการศกึ ษา และก็ได๎ทาํ งานในบรษิ ทั แหํงหนึ่งเป็น เวลาระยะหน่ึง ประกอบกับชํวงน้ันเป็นชวํ งเศรษฐกิจตกตาํ่ จงึ มีการจ๎างพนกั งานออกผมจึงตัดสนิ ใจลาออก พอลาออกก็หางานในกรุงเทพฯ สมัครงานไว๎หลายๆ บริษัท จนสุดท๎ายมีโทรศัพท๑จากทางบ๎านบอกวํา โรงเรียนแมํแจํมปริยัติศึกษาอยากได๎ครูมาสอนท่ีโรงเรียน ผมจึงตัดสินใจรับปากวําจะมาชํวยสอนสา มเณร จึงได๎ เดินทางกลบั มาท่แี มํแจํม ในฐานะท่ีเรียนจบวิชาชีพครูมาและอยากตอบแทนบุญคุณของวัดที่ให๎โอกาสทางการศึกษา กบั ผม และมีความภูมิใจมากท่ีได๎ทาํ งานตามท่ตี นเองต๎องการไดพ๎ ัฒนาตนเอง จากนั้นไปสมคั รสอบหลายๆ ทท่ี ั้งประสบ ความสําเรจ็ และไมํประสบความสําเร็จบ๎าง สุดท๎ายจึงตัดสินใจมาสมัครงานในโรงเรียนราชประชานุเคราะห๑ และไมํรู๎ ด๎วยวําโรงเรียนดงั กลาํ วมีรูปแบบการจัดการเรยี นการสอนอยาํ งไร โดยโรงเรียนราชประชานุเคราะห๑ท่ีผมไปเป็นครูครั้ง แรก คือ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห๑ 21 อาํ เภอแมํลาน๎อย และท่ีโรงเรียนแหํงน้ีเอง ทําให๎ผมมีความร๎ูสึกภาคภูมิใจ วําถึงผมจะเป็นแคพํ นกั งานราชการ แตํผมก็เป็นสํวนหนึ่งท่ีได๎ทํางานรับใช๎พระเจ๎าอยํูหัวและได๎พัฒนาเด็กด๎อยโอกาส จนที่สุดผมก็ได๎มาสอบเป็นพนักงานราชการท่ีโรงเรียนราชประชานุเคราะห๑ 31 และสอบบรรจุเป็นข๎าราชการได๎ใน เวลาตํอมา ผมมีปณิธานแนํวแนํวําจะขอรับใช๎พระองค๑ทํานในฐานะท่ีได๎เกิดและอาศัยในแผํนดินไทย เราคงหาอะไร ตอบแทนไดย๎ ากนอกจากการพฒั นานกั เรียนเดก็ ดอ๎ ยโอกาสทพ่ี ระองคม๑ องเห็นวําเป็นสํวนสาํ คัญในการพัฒนาทัพยากร มนุษย๑ จากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ทําให๎ผมตระหนักได๎วําทุกคนสามารถน๎อมนําหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติเป็นหลักในการดําเนินชีวิตได๎ โดยจะต๎องเกิดจากจิตสํานึกท่ีอยูํข๎างใน มีความศรัทธา เชื่อม่ัน เห็นคณุ คําและนาํ ไปปฏิบัติด๎วยตนเอง ในรายวิชาสังคมศึกษาท่ีผมสอนเกิดคําถามกํอนการปฏิบัติการสอนวํา จะทําไดอ๎ ยํางไร แตเํ ม่ือปฏิบตั แิ ลว๎ ผมก็พบวําทกุ สงิ่ ทุกอยํางสามารถทําได๎ ถ๎าเรามีความศรัทธา เชื่อม่ันและเห็นคุณคํา อยํางแทจ๎ ริง ผมจึงเชอื่ มนั่ วําการนอ๎ มนาํ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช๎ในการเรียนการสอนนั้น จะทําให๎ครู สามารถพฒั นานกั เรยี นให๎มีคุณภาพอยํางยั่งยืน โดยจะเป็นการพัฒนา ท่ีมั่นคงอยํางเป็นข้ันตอน และเป็นการพัฒนา ขอ้ มลู ประกอบการคดั กรองศูนย์การเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ดา้ นการศกึ ษา) โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

ห น้ า | ๓๓ คุณภาพคนให๎มีคุณธรรมกํากับความรู๎ เศรษฐกิจพอเพียงจึงเป็นเสมือนรากแก๎วของชีวิต รากฐานความมั่นคงของ แผํนดิน หากนักเรียนยึดถือเป็นแนวทางปฏิบัติ ดําเนินชีวิตไปในทางสายกลางและประยุกต๑ใช๎ให๎เหมาะสม โดย คาํ นงึ ถงึ ความพอประมาณ ความมเี หตุผล การสรา๎ งภมู ิคมุ๎ กนั ในตัวท่ีดี ตลอดจนใช๎ความรู๎และคุณธรรมเป็นพื้นฐานใน การดํารงชีวิต นกั เรียนเหลํานั้นจะสามารถดําเนนิ ชวี ติ ได๎อยํางมน่ั คงภายใต๎ความเปล่ยี นแปลงทีเ่ กิดข้นึ ในโลกปจั จบุ ัน นายนกิ ร ไชยบุตร ครู คศ. 1 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ ข้อมลู ประกอบการคดั กรองศูนยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ดา้ นการศึกษา) โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

ห น้ า | ๓๔ เรอื่ งเลาํ ของคร.ู ....กลํุมสาระการเรยี นรู๎ศลิ ปศึกษา “หลกั คดิ ของพํอหลวงสหํู ๎องเรยี นนาฏศิลปไ์ ทย” “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นแนวพระราชดําริในพระบาทสมเด็จพระเจ๎าอยูํหัวที่พระราชทานให๎แกํประชาชน ชาวไทยมาตง้ั แตชํ ๎านาน ซงึ่ ตง้ั อยํบู นรากฐานของวฒั นธรรมไทย และเป็นแนวทางการพฒั นาที่ตั้งบนพ้ืนฐานของทาง สายกลาง ความไมํประมาท และคํานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร๎างภูมิค๎ุมกันในตัวเอง ตลอดจนใช๎ ความรู๎และคุณธรรม เป็นพื้นฐานในการดํารงชีวิตท่ีสําคัญจะต๎องมี “สติ ปัญญาและความเพียร” ซึ่งจะ นาํ ไปสูํ “ความสขุ ” ในการดาํ เนินชวี ิตอยํางแทจ๎ รงิ หรอื ทเี่ รียกวาํ “หลกั 3 หํวง 2 เงื่อนไข” “เพยี งพอ”เป็นแนวคิดเบ้ืองต๎นจากปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงน้ัน กระผมได๎นํามาประยุกต๑ใช๎ท้ังในการ ดาํ เนนิ ชวี ิตประจําวนั รวมไปถึงการปรับใช๎ในอาชีพครู โดยนํามาปรับใช๎ในการเตรียมบทเรียน เตรียมสื่อการสอนให๎ เพียงพอตํอจํานวนนักเรียน นําหลักการวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู๎อยํางเป็นระบบ เป็นลําดับข้ันตอน เหมาะสมกบั เวลามาใช๎และนอกจากจะทุมํ เทเวลากบั การสอนเพือ่ ให๎นกั เรยี นมีความรค๎ู วามสามารถ มีทักษะทางด๎าน นาฏศิลป์ไทยอยํางถูกต๎องแล๎ว กระผมยังสอดแทรก “หลัก 3 หํวง 2 เงื่อนไข” ตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงในห๎องเรียนนาฏศลิ ป์ไทย เพือ่ พัฒนานักเรียนให๎เติบโตไปอยํางมีคุณภาพ มีความพอเพียงในชีวิต มีเหตุมีผล มีภูมิคุ๎มกันท่ีดีในตัวเอง มีความร๎ูควบคํูกับคุณธรรม หนึ่งในตัวอยํางกิจกรรมท่ีกระผมภาคภูมิใจก็คือให๎นักเรียน ประดิษฐ๑เคร่ืองประดับจากวัสดุอุปกรณ๑ท่ีหาได๎จากธรรมชาติ ซึ่งนักเรียนหลายคนประดิษฐ๑เคร่ืองประดับออกมาได๎ สวยงามและนําประทบั ใจมาก อีกทง้ั ในการประดิษฐเ๑ คร่อื งประดบั ขึ้นมาเองถือเป็นการออมเงินอกี ดว๎ ย นอกจากนั้นกระผมยังฝึกให๎นักเรียนจัดหมวดหมํูส่ิงของท่ีจําเป็นและไมํจําเป็นในการดําเนินชีวิต เพื่อให๎ นักเรียนสามารถประเมินการใช๎จํายในส่ิงท่ีจําเป็นของตนเองได๎และฝึกให๎นักเรียนร๎ูจักคุณคําของเงินและใช๎อยํางร๎ู คณุ คาํ กระผมนําหลักคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาประยุกต๑ใช๎ในการเรียนรู๎ ฝึกระบวนการคิดอยํางเป็นระบบ เพอ่ื ให๎นกั เรียนได๎รบั ความรู๎ เกดิ ทักษะสามารถลงมือปฏิบัติได๎ และเกิดจิตสํานึกตระหนักในคุณคําของส่ิงที่ได๎เรียนร๎ู ตงั้ คาํ ถามให๎นักเรียนฝกึ กระบวนการคิด ฝึกใหน๎ ักเรียนคดิ อยํางมีเหตผุ ล มีความพอประมาณ มีการสร๎างภูมิค๎ุมกัน มี ความรู๎ควบคํคู ุณธรรม หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสามารถนาํ ไปใช๎ในการดาํ เนินการทุกอยําง ทั้งในการดาํ เนินชีวติ ของครูเอง และการทํางานในอาชีพครู ด๎วยความหวังวําจะสามารถผลิตลูกหลานที่มีคุณภาพ สามารถใช๎ชีวิตในสังคมอยํางมี ความสุข ไมํเบียดเบยี นใคร ใชช๎ วี ติ อยํางพอเพยี ง เปน็ บคุ ลากรที่ดขี องประเทศชาติสบื ไป นายอศั นยั กันงาม ครู โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหมํ ข้อมลู ประกอบการคัดกรองศูนย์การเรียนรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ด้านการศึกษา) โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

ห น้ า | ๓๕ เรือ่ งเลาํ ของครู.....กลมุํ สาระการเรยี นร๎ูสุขศกึ ษาและพลศกึ ษา การวางแผนดแู ลสขุ ภาพโดยใชป๎ รัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กลมุํ สาระสุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ปจั จบุ ันผ๎ูคนมคี วามกระตือรอื รน๎ ทจี่ ะหาวธิ กี ารทีจ่ ะทําให๎ตนเองและครอบครัวมีสุขภาพท่แี ขง็ แรง สมบรู ณ๑ จึงพยายามหาแนวทางตําง ๆ ในการดแู ลสุขภาพอยาํ งถูกวิธมี ากย่ิงข้นึ ซ่ึงแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหํงชาติ ฉบบั ท่ี ๙ มาเป็นหลักสําคัญในการวางแผนดูแลสุขภาพ โดยยดึ คนเป็นศูนย๑กลางในการพฒั นา ขา๎ พเจ๎าในฐานะครผู ๎ูสอนวชิ าสุขศกึ ษาระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ – ระดับช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๖ กลํุมสาระสุข ศึกษาและพลศึกษา จงึ ได๎มุํงเนน๎ ใหผ๎ เู๎ รยี นได๎เกิดทกั ษะปฏบิ ัติการวางแผนดูแลของตนเองและครอบครัว โดยสอดแทรกปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งพอประมาณ เชํนรักษาสุขภาพตามฐานะของตนเองท่ีเรียบงํายไมํเบียดเบียน หรอื ทาํ ความเดอื ดรอ๎ นผู๎อืน่ มเี หตผุ ลรว๎ู ําดูแลรักษาสุขภาพเพราะอะไร เชํน เพราะต๎องการให๎รํางกายแข็งแรงมีอายุยืน ยาวมีภูมิคุ๎มกันในตัวที่ดีอาทิการรับประทานอาหารที่ปลอดภัยออกกําลังกายอยํางเหมาะสมกับเพศและวัย ความร๎ู ควบคูํคุณธรรมโดยการใช๎ความรู๎ในทางท่ีถูกต๎อง และไมํเอาเปรียบผ๎ูอ่ืน เชํน ผลิตอาหารท่ีมีคุณภาพ สะอาด ปลอดภยั ให๎กบั ผูบ๎ ริโภค หลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งสามารถปรบั ใช๎ในชวี ิตประจําวันและประยกุ ตใ๑ ช๎ได๎ในทุกสาระการเรียนร๎ูไมํเว๎น แม๎แตํสาระการเรียนรู๎สุขศึกษาและพลศึกษา ซึ่งเป็นสาระการเรียนรู๎ที่ชํวยสํงเสริมการมีสุขภาพดีเป็นส่ิงท่ีทุกคน ปรารถนา เนอ่ื งจากจะทาํ ใหบ๎ ุคคลสามารถดาํ รงชวี ติ อยูํในสังคมได๎อยํางมีความสุขทั้งกายและใจ แตํการที่บุคคลจะมี สุขภาพดีได๎นั้น ยํอมมาจากครอบครัวท่ีมีสุขภาพดี เพราะสุขภาพของตนเองและครอบครัวสัมพันธ๑กัน การนําหลัก ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงเขา๎ มาสอดแทรกในการเรียนรู๎เร่ืองการวางแผนดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัวถือวํา เปน็ เร่ืองท่สี าํ คัญยิง่ รวมไปถงึ บุคคลในครอบครวั ให๎มสี ุขภาพสมบรู ณ๑แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข๎เจ็บ เพ่ือให๎มีคุณภาพ ชวี ติ ที่ดตี ํอไปอนาคต นางสาวจิตตานาถ เทพวงค์ ครู คศ.1 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหมํ ขอ้ มลู ประกอบการคดั กรองศนู ย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ด้านการศึกษา) โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

ห น้ า | ๓๖ เรื่องเลําของคร.ู ....กลํมุ สาระการเรยี นรู๎การงานอาชีพและเทคโนโลยี “ความพอเพียง” จากถนนเลียบยอดดอยสองขา๎ งทาง 143 กิโลเมตร จากอาํ เภอสนั ทรายมุงํ สูํอําเภอแมแํ จํม ในสถานที่ทํางาน ด๎านการศึกษาแหํงแรกในชีวิต โรงเรียนราชประชานุเคราะห๑ 31 ซึ่งในปี 2547 ตอนน้ันสภาพโรงเรียนคํอนข๎าง ลําบาก บนพน้ื ฐานการทาํ งานของคณะครเู พยี งสิบกวาํ คน ผาํ นร๎อนผํานหนาวผํานความลําบาก บนพ้ืนฐานความเข๎าใจ และความเหน็ อกเหน็ ใจ ทุกๆงานทุกๆกิจกรรมผํานพ๎นไปได๎โดยดี ตอนน้ันในความคิดเศรษฐกิจพอเพียงของข๎าพเจ๎า คอื การปลกู ผัก เล้ยี งสตั วน๑ าํ สงํ โรงครวั กระบวนการผลติ ก็งํายๆคือ นํานกั เรียนรํวมกิจกรรมเพ่ือให๎ได๎ผลผลิตในการสํง โรงครัวเทํานัน้ มาบดั นี้ ปี 2560 ผํานมาสิบสามปี ทกุ ๆกจิ กรรมขา๎ พเจา๎ ไดส๎ อดแทรกเรอื่ งของพํอ โดยน๎อมนําปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี งอยาํ งสร๎างสรรคโ๑ ดยไมํรู๎ตวั อยาํ งเชนํ กํอนท่ีข๎าพเจ๎าจะเลือกซื้อเมล็ดพันธ๑ ข๎าพเจ๎าจะต๎องทราบ วาํ ร๎านคา๎ ร๎านไหน ที่มคี วามนาํ เชอื่ ถือเป็นร๎านคา๎ ท่ชี าวไรชํ าวสวนสวํ นใหญํนยิ มชมชอบ และตอบโจทยใ๑ นเรือ่ งผลผลิตท่ี ดี คุณธรรมท่ขี า๎ พเจา๎ นํามาใช๎ คือ ความอดทนในการทํางานและเห็นอกเห็นใจในการทํางาน โดยการจัดสรรพ้ืนที่ปลูก ต๎องดูความต๎องการของตลาดอยํางพอประมาณ เลือกพืชผักที่เหมาะกับดินและพ้ืนท่ีบนเหตุและผล ดูโรคและแมลง และราคาของพืชผลในแตํละชํวงทั้งน้ีมีการสํารวจตลาดในท๎องถิ่นเพ่ือเป็นภูมิค๎ุมกันในการทํางาน จนเกิดรายได๎สํู นกั เรียนเปน็ วงจรเศรษฐกจิ หมุนเวียน นกั เรียนทํางานเป็นทมี ในมิติพช่ี ํวยนอ๎ งน๎องชํวยพ่ี ใชป๎ ยุ๋ หมักปุย๋ คอกลดมลภาวะ ที่เสอ่ื มโทรมสสูํ ิง่ แวดลอ๎ มแตทํ ้งั น้ีปลูกฝังใหน๎ ักเรียนไมํลืมวิธีความเป็นชนเผําเช้ือชาติพันธุ๑ในการเลือกปลูกพืชท่ีแตํละ ชนเผาํ มีเฉพาะเป็นจดุ เดํนเชํนเผําละวา๎ มกั ปลกู ถว่ั แดง เผํามง๎ มกั ปลกู แครอท เปน็ ตน๎ มาบัดน้ีข๎าพเจ๎าร๎ูสึกวําข๎าพเจ๎าโชคดีท่ีสุดในโลกที่ได๎เกิดบนแผํนดินของพํอและแมํ เม่ือพํอเป็นปุาแมํเป็นนํ้า ข๎าพเจ๎าขอเป็นข๎ารองพระบาทในการจะดูแลผืนปุาและผืนน้ําของพํอและแมํให๎ดีที่สุด ศาสตร๑พระราชาท่ีพํอทรง พระราชทานเพ่ือลูกๆในประเทศไทยทุกคน ถือเปน็ เพชรเม็ดงามแหํงองคค๑ วามรท๎ู ี่ข๎าพเจา๎ จะน๎อมนําในการพัฒนาลูกๆ นักเรียน ตํอไปนม้ี นั จะไมใํ ชํแคปํ ลูกผกั เลีย้ งสตั วแ๑ ตํทกุ ๆการดําเนนิ ชีวิตศาสตรพ๑ ระราชาสามารถบูรณการได๎ มีวันหนึ่ง ข๎าพเจา๎ เดินผํานนักเรียนชายคนหน่ึงชั้น ม.4 กําลงั จะไปทานขา๎ วขา๎ พเจ๎าถามวํา เราไปกินข๎าวน้ีเราต๎องมีความรู๎ไหม สี หน๎านักเรยี นดูงงกับความถามและกันหันมาย้ิมพร๎อมกับพูดวํามีครับครู เราต๎องร๎ูวําจะต๎องทานข๎าวให๎ตรงเวลา ทาน อาหารที่เป็นประโยชน๑ครบห๎าหมูํ ข๎าพเจ๎าถามตํอไปวํา จะต๎องมีคุณธรรมอะไรไหม นักเรียนก็ตอบวํามีครับครูผม จะตอ๎ งแบงํ ปนั ให๎น๎อง ๆผมจะให๎นอ๎ งเขา๎ แถวทานกํอนครับ จากนน้ั ข๎าพเจ๎าลองถามตํอไปเรื่อย จนทําให๎ข๎าพเจ๎าภูมิใจ วาํ ศาสตร๑ทพ่ี ํอสร๎างมาใชไ๎ ดใ๎ นทกุ ๆกจิ กรรมในชีวติ ประจําวนั และเกดิ ความสมดลุ ในความพอเพียงของชวี ติ อยํางแทจ๎ ริง ขา๎ พเจา๎ ขอขอตั้งปฏิญาณตนวาํ จะนําศาสตร๑ของพํอมาใช๎ในการดํารงชีวิตประจําวันรํวมกับลูกๆนักเรียนของ ขา๎ พเจา๎ สนองพระราชดาํ รสั ของพอํ สืบตํอไป นายพนม บุญตอม ครู คศ. 1 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ ข้อมลู ประกอบการคัดกรองศนู ย์การเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ด้านการศกึ ษา) โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

ห น้ า | ๓๗ เรือ่ งเลาํ ของครู.....กลมุํ สาระการเรียนรู๎สาระภาษาตํางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) การนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง สํกู ารเรียนรู๎ของกลุํมสาระภาษาตาํ งประเทศ (ภาษาองั กฤษ) เม่อื ไดร๎ ับมอบหมายให๎ครผู สู๎ อนใชห๎ ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเพื่อจัดการเรยี นรู๎ สิ่งแรกที่ข๎าพเจ๎าสัมผัส ไดค๎ ือความงุนงง สงสัย และเกิดคําถามขึ้นมากมายวํา ในฐานะครูผู๎สอนข๎าพเจ๎าจะต๎องทําอยํางไร ความพอเพียงคือ อะไร? ขา๎ พเจา๎ จะสอนลูกศษิ ย๑ไดอ๎ ยํางไร? ในเมือ่ ตัวข๎าพเจ๎าเองยงั ไมํคํอยเข๎าใจและยงั ไมํสามารถตคี วามหมายของหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได๎ถูกต๎อง แตํเมื่อข๎าพเจ๎าตระหนักถึงหน๎าที่สําคัญของความเป็นครู ท่ีจะต๎องสอน นักเรียนโดยใช๎ความร๎ูจากหนังสือ และสอนประสบการณ๑ชีวิตไปพร๎อมๆ กัน ทําให๎ข๎าพเจ๎าต๎องค๎นคว๎าหาความรู๎ เก่ียวกบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพ่มิ เติมอกี มากมาย จากการทข่ี า๎ พเจ๎าได๎เรม่ิ ศึกษา ทําให๎ขา๎ พเจา๎ ไดท๎ ราบวําการจดั กระบวนการเรยี นร๎ูอยาํ งหลากหลาย การฝึกให๎ นักเรยี นใช๎หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในการเรยี นรู๎ เปน็ การฝึกกระบวนการคดิ อยํางเป็นระบบ เพื่อให๎นักเรียน ได๎รับความรู๎ เกดิ ทักษะ และสามารถลงมอื ปฏิบัตไิ ด๎ อกี ท้ังนักเรียนยังเกิดจิตสํานกึ ตระหนักในคุณคําของส่ิงท่ีได๎เรียนร๎ู ซ่งึ สง่ิ เหลาํ นเ้ี ป็นการสรา๎ งให๎นกั เรียนมีภมู ิค๎มุ กนั ในตวั ทดี่ ี ขา๎ พเจ๎าได๎นําหลักหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงปรับใช๎ ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นร๎ู โดยมนี กั เรียนและครไู ด๎รวํ มกนั ออกแบบบทเรียนทต่ี ๎องการศกึ ษาเพ่อื ให๎เกดิ ผลดมี ากที่สุด ในการสอนวชิ าภาษาอังกฤษของข๎าพเจ๎านั้น ขา๎ พเจา๎ ไดร๎ ับมอบหมายใหท๎ ําหน๎าที่สอนในระดับชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลาย หลายคร้ังมกั ไดย๎ ินนักเรยี นบํนวาํ ภาษาอังกฤษเป็นวิชาท่ียากไมํอยากเรียน วิชาภาษาอังกฤษไมํได๎จําเป็นใน การดํารงชีวิต ไมํมีความสําคัญ บ๎างก็วําวิชาภาษาอังกฤษมีเนื้อหาท่ียาก ไปจนถึงมองวําคนที่พยายามจะพูด ภาษาอังกฤษเปน็ คนทะเยอทะยาน อยากได๎อยากมี ลืมกําพืดตนเองและอีกมากมายหลากหลายเหตุผลของผู๎เรียน ที่ ข๎าพเจ๎าเคยได๎รับฟัง ข๎าพเจ๎าคิดวําเด็กนักเรียนท่ีคิดแบบนี้คงจะมีอีกเป็นจํานวนมากและจากการได๎นั่งคุยกับเด็ก นักเรียนของข๎าพเจ๎าในชํวงเวลาวําง อยํางน๎อยวันละ 10-15 นาที หรือแล๎วแตํโอกาสท่ีเอื้อ ทําให๎ข๎าพเจ๎าได๎ทราบ ข๎อมูลมากมายทีม่ ากกวําการสอนเน้ือหาอยํางเดียวในห๎อง หลงั จากหมดชั่วโมงเรียนของแตํละช้ัน ข๎าพเจ๎ามักจะเห็นนักเรียนนั่งคุยกัน เร่ิมบทสนทนากันระหวํางเด็กๆ ด๎วยเรือ่ งทัว่ ไปเลําเรอ่ื งตลกบ๎าง นานาสาระบ๎าง จนมีนักเรียนคนหนง่ึ ในวงสนทนา บอกวาํ เรียนไมํเข๎าใจในบางวิชา ซึ่ง รวมทัง้ ภาษาอังกฤษด๎วย บา๎ งก็เอยํ ข้ึนมาวาํ อยากเกงํ ภาษาองั กฤษ อยากพดู ภาษาองั กฤษเพ่อื สื่อสารกับชาวตํางชาติ ไดบ๎ า๎ ง ขา๎ พเจา๎ เลยใหค๎ ําถามทีเ่ ป็นการกระตนุ๎ ใหเ๎ ดก็ นกั เรียนได๎รวํ มแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับวิชา ภาษาอังกฤษ เชํน นักเรยี นคดิ วํา“ภาษาองั กฤษสาํ คญั หรือไมํ สําคญั อยํางไรและเก่ียวกับชีวิตนักเรียนอยํางไร” (ซึ่งคําถามเหลําน้ีใช๎หลัก 3 หวํ ง 2 เงอื่ นไข) ให๎นกั เรียนถามและตอบแสดงความเห็น ในเวลาเดียวกนั ระหวํางวงสนทนาน้ัน ข๎าพเจ๎าสังเกตได๎วํา มีนักเรียนในวงสนทนาที่ได๎คุยไปย้ิมไปและมีแววตาอยากรู๎ มากกวําท่ีคาดไว๎คือคําตอบและคําถามในวงสนทนามี มากกวาํ ท่ีคิดเป็นอยํางมาก หลายประเด็นที่ทําให๎ข๎าพเจ๎าฉุกคิดและประทับใจ ประเด็นที่นําสนใจมากอันหนึ่งคือ มี นักเรียนท่ีคดิ จะตง้ั ใจเรียนใหจ๎ บชนั้ มัธยมศึกษาตอนปลาย และศึกษาตํอในวิชาเอกภาษาอังกฤษ และตั้งใจศึกษาเพ่ือ เปน็ ครสู อนภาษาอังกฤษ ซง่ึ ข๎าพเจ๎าเองก็ไดพ๎ ดู สนับสนนุ และชแ้ี จงแนวทางในการศกึ ษาตํอในระดบั อุดมศึกษาให๎ จาก วงสนทนาหลายๆคร้งั สะทอ๎ นให๎เหน็ วําประสบการณ๑ชีวิตท่ีข๎าพเจ๎าได๎นํามาสั่งสอนนักเรียน มันมากกวําการใช๎ทฤษฎี ข้อมูลประกอบการคัดกรองศนู ยก์ ารเรยี นร้ตู ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ดา้ นการศึกษา) โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

ห น้ า | ๓๘ การสอนแบบทว่ั ไปเสียอกี การสอนท่ีดีไมํได๎เป็นแคํใช๎เทคนิคและทฤษฎี แตํหมายถึงเราต๎องทราบถึงพื้นฐานชีวิต เรา เขา๎ ใจถึงปญั หาและความต๎องการของผูเ๎ รียน ซงึ่ ตอนนีข้ า๎ พเจ๎าไดเ๎ ลือกใช๎แนวทางการสอนนักเรียน โดยการเรียกความ สนใจด๎วยการเลําประสบการณข๑ องตวั ข๎าพเจ๎าเองหรอื บคุ คลท่ีร๎ูจัก บางคร้ังก็ใช๎ประเด็นขําวสอบถามนักเรียนเพื่อเรียก ความสนใจ บางครั้งก็ใช๎การเลําเรื่องทีน่ กั เรยี นมีพื้นฐานความรู๎เพอื่ กระตุ๎นนาํ เขา๎ สูํบทเรยี น เชํน ให๎นักเรยี นลองอาํ นช่ือ และวิธีการใช๎เครื่องใช๎ในชีวิตประจํา เชํน เครื่องใช๎ไฟฟูา , เคร่ืองครัว เพ่ือให๎นักเรียนได๎ศึกษาคําศัพท๑ภาษาอังกฤษ โดยกระต๎นุ ให๎นกั เรยี นเช่ือวําปัจจบุ ัน ภาษาอังกฤษเป็นอกี ภาษาหนึ่งทนี่ กั เรยี นได๎ใช๎ในชีวติ ประจําวัน แม๎แตํเมนูอาหาร หรือฉลากยา กอํ นทีจ่ ะนาํ เขา๎ สบํู ทเรียน เชนํ การสอนเร่ืองการอาํ น จับใจความ ข๎าพเจ๎ามักจะหยิบเร่ืองใกล๎ๆตัวมาให๎ นักเรียนอําน โดยบางเร่ืองเป็นเรื่องท่ีนักเรียนมีภูมิความรู๎เดิมอยูํแล๎ว เชํน หมูํบ๎านปุาบงเปียง สถานท่ีทํองเท่ียวที่มี ชอ่ื เสียง ในอําเภอแมแํ จํม จากบรรยากาศในห๎องเรียนท่เี ตม็ ไปด๎วยความสนกุ สนาน นักเรยี นอาํ นผิดบ๎าง ถูกบ๎าง ทําให๎ อดยิ้มไมํได๎ แตํในฐานะการเป็นครู ก็ไมํควรที่จะไปขัดเด็กนักเรียนท่ีกําลังอําน เพราะการอํานผิด หรือถูกคือ ประสบการณท๑ ่พี วกนักเรียนควรจะไดร๎ ับ แตดํ ๎วยบริบทของเน้ือหา พออํานไประยะหนึง่ นกั เรยี นจะหาคาํ ตอบได๎วํามัน คือ หมบํู า๎ นปุาบงเปียง ดว๎ ยบริบทของเนอ้ื หาทอ่ี าํ น ข๎าพเจ๎าเชอ่ื วํานีเ่ ป็นการเร่ิมเรียนร๎ู ทําผิดแล๎วแกไ๎ ข ทําให๎นักเรียน เกิดการเรียนรู๎แบบตํอเน่ือง และส่ิงสําคัญท่ีได๎มากกวําการอํานบทความภาษาอังกฤษคือ นักเรียนเห็นคุณคําของ ทรัพยากรส่ิงแวดล๎อมในหมํูบ๎าน ท๎องถิ่นของตนเอง สังเกตจากนักเรียนที่อยูํหมูํบ๎านน้ีจะมีความต่ืนตัว และภูมิใจใน หมูํบ๎านของตนเองมาก ตํอมาคือให๎นักเรียนนําของดีในหมํูบ๎านตนเองมานําเสนอเป็นภาษาอังกฤษโดยเริ่มจากการ นาํ เสนอประโยคงํายๆ ตามความสามารถของนกั เรียนเอง นอกจากนีข้ ๎าพเจา๎ ไดเ๎ พ่ิมเตมิ ถงึ การนําเสนอแหลงํ ทํองเท่ียว และของดีในหมํูบา๎ น มาพัฒนาให๎เปน็ แหลงํ ทํองเทยี่ วไดอ๎ กี ด๎วย ข๎าพเจ๎าเชอื่ วาํ การเรียนร๎ูสง่ิ ที่ใกล๎ตัว สงิ่ แวดล๎อมตัวเอง โดยเฉพาะส่ิงเกี่ยวข๎องกับรากเง๎าตัวตนของตนเอง จะปลูกฝังความร๎ูได๎ยั่งยืนกวํา ซ่ึงในระหวํางสอน ข๎าพเจ๎าได๎ใช๎ คําถามกระตน๎ุ นกั เรยี นใหแ๎ ลกเปลีย่ นเรียนร๎ูกบั เพ่ือน ซึ่งบางครงั้ ข๎าพเจ๎ากไ็ ดเ๎ รยี นรกู๎ ับนกั เรยี น และสุดท๎ายข๎าพเจ๎าได๎ สรุปเรื่องหลักการอํานการหาคําตอบให๎นักเรียน และสํงเสริมให๎นักเรียนได๎พยายามอํานเรื่องที่ยากมากขึ้นด๎วยส่ิงที่ ข๎าพเจ๎าเห็นถึงความเปล่ียนแปลงของนักเรียนในการเรียนภาษาอังกฤษคือ นักเรียนเกือบทุกคนมีความกล๎ามากข้ึน นักเรียนทักทายครูนอกห๎องเรียนด๎วยภาษาอังกฤษแบบงํายๆแตํอยูํในระดับที่ข๎าพเจ๎าพอใจมากข้ึนครับ มีการพูดคุย ทักทายกันอยํางสนุกสนาน และจากประสบการณ๑การสอน ถ ปีของข๎าพเจ๎า ณ เวลานี้มีนักเรียนที่ข๎าพเจ๎าได๎สอน ภาษาอังกฤษ ได๎เลือกเรยี นภาษาองั กฤษ (ครุศาสตร๑บณั ฑิต) , สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (มนุษย๑ศาสตร๑และสังคมศาสตร๑ ),อุตสาหกรรมการทอํ งเทย่ี ว และสาขาวิชาที่เก่ียวข๎องกับภาษาอังกฤษ ในมหาวิทยาลัยมากกวํา 10 คน และกลับมา ฝกึ ประสบการณ๑วชิ าชพี ครทู ีโ่ รงเรยี น ในสาขาวิชาภาษาองั กฤษอกี ดว๎ ย ข๎าพเจ๎าไดพ๎ ยายามน๎อมนาํ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช๎ให๎ครบ( 3 หํวง, 2เงื่อนไข, 4 มิติ และ 3 ศาสตร)๑ ซึ่งเป็นส่ิงท่เี ปล่ยี นความคดิ ท้ังตัวข๎าพเจ๎าเองและตัวนักเรียนของข๎าพเจ๎า สิ่งท่ีข๎าพเจ๎าได๎ถํายทอดให๎นักเรียน ได๎ทราบและเข๎าใจรวมถงึ นอ๎ มนาํ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาใช๎ในชีวิตประจําวัน ข๎าพเจ๎าได๎เห็นนักเรียนมี เปูาหมายในอนาคต ทําใหข๎ า๎ พเจา๎ มคี วามสุขกับวิชาชพี นี้ นางสาวรํงุ นภา กาพย์ไชย ครู คศ.1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ ข้อมลู ประกอบการคัดกรองศูนยก์ ารเรยี นรูต้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ดา้ นการศกึ ษา) โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

ห น้ า | ๓๙ ๗.๓ เร่อื งเลําของนกั เรียนแกนนา ข้อมูลประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรียนรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ด้านการศึกษา) โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

ห น้ า | ๔๐ ขอ้ มูลประกอบการคัดกรองศูนยก์ ารเรยี นร้ตู ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ดา้ นการศกึ ษา) โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

ห น้ า | ๔๑ ขอ้ มูลประกอบการคัดกรองศูนยก์ ารเรยี นร้ตู ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ดา้ นการศกึ ษา) โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

ห น้ า | ๔๒ ขอ้ มูลประกอบการคัดกรองศูนยก์ ารเรยี นร้ตู ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ดา้ นการศกึ ษา) โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

ห น้ า | ๔๓ ขอ้ มูลประกอบการคัดกรองศูนยก์ ารเรยี นร้ตู ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ดา้ นการศกึ ษา) โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

ห น้ า | ๔๔ รายช่อื ครูแกนนาและนกั เรยี นแกนนา ฐานการเรยี นรู๎ ครูแกนนา นักเรยี นแกนนา ใต๎รํมพระบารมีสดุดมี หาราชา นางสาวรัตตกิ าล ยศสุข นางสาวพิมพ๑วภิ า ดนัยกรประเสรฐิ ช้นั ม.๔/๑ นางสาวอรทัย พงศ๑ไพรสณฑ๑ ชน้ั ม.๔/๑ วิถีชนเผํา นางสาววรรณภรณ๑ ทิพยส๑ อน นางสาวกนุ มลี ทองคุณโชคชยั ชั้น ม.๔/๑ นางสาวศิริมา เมฆปจั ฉาพชิ ิต นางสาวสุชาภสั ร๑ จําปาคํา นายนกิ ร ไชยบุตร ขวํ งคนเมือง ช้ัน ม.๔/๑ นายนราวุฒิ ริยะนา นางสาวศริ ิพร สุขใส ชนั้ ม.๓/๒ นางอมลสิริ คาํ ฟู เด็กหญงิ จนั จิรา เทพปณะ ช้ัน ม.๒/๒ นายเสรี แซจํ าง เดก็ หญงิ จิรภัทร แกว๎ มูล ชั้น ม.๕/๑ ขํวงลัวะ ชน้ั ม.๕/๑ นางสาวเกณกิ า เลศิ วงศร๑ มํ เยน็ ชน้ั ม.๒/๑ นางสาวเดอื น สิทธิคงชู ชน้ั ม.๕/๑ เด็กหญิงจันคํา ภาพมโนทรัพย๑ ช้ัน ม.๕/๑ ขวํ งกะเหรีย่ ง ชน้ั ม.๖/๒ นางสาวขวัญนภา ไพรวลั ยว๑ ชิระ ชน้ั ม.๖/๓ นางสาวสพุ ิชญา วงค๑ใหมํ ช้นั ม.๑/๓ ขํวงม๎ง นางสาวชวิสา ยืนยงครี มี าศ นางสาวแวววรรณ แซํยาํ ง เด็กหญิงปริณดา แซํยําง เขียวตลอดปลอดสาร นายพนม บุญตอม นายเทห๑ สุวรรโณ ชน้ั ม.๖/๔ นางสาวรกั ชนก วงษซ๑ ื่อ ชั้น ม.๔/๑ กือเลอะบอื เคสาํ อะเบะ นางสาวลักษณน๑ ารา โยระภัตร นายสงกรานต๑ พงษพ๑ นากูล ชนั้ ม.๔/๑ (เพาะเหด็ จากเปลือกข๎าวโพด) นางสาวอาภาภรณ๑ สอนประเสริฐ นางสาวอรวรรณ เมอื งแกว๎ นายศราวธุ วงศ๑แสงวาํ ง นางสาวณัฐธนัญา บญุ ถึง นายสุทธนิ ันท๑ สุขใจรวํ มพฒั นา ช้ัน ม.๖/๑ นางสาวเชาวนี บญุ รงั นางสาวปรชิ าติ สุขใจ ชน้ั ม.๖/๑ นางสาววรารัตน๑ ธลิ า นางสาวอิสรยิ ะ ปฐมนพุ งศ๑ ช้นั ม.๔/๑ นางสาววปวริศา ก๐าวงศ๑วนิ นางณิภาทิพย๑ มูลแก๎ว เด็กหญิงประวณี า แซเํ ฮอ๎ ชน้ั ป. 5 ขอ้ มูลประกอบการคัดกรองศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ด้านการศกึ ษา) โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

ฐานการเรยี นรู๎ ครูแกนนา ห น้ า | ๔๕ หมูคอนโด นายชาญยุทธ สทุ ธิธรานนท๑ นกั เรียนแกนนา นางสาวธนัญภรณ๑ ธรรมใจ นางสาวทติ ยา เลิศดําเนนิ ชัน้ ม.๖/๑ นางสาวอทั ธนีย๑ พนาบรรพต ช้นั ม.๔/๑ นางสาวอรณชั ชา เจรญิ สุข นางสาวธิดาพร ชื่นสุขเลิศเกษม ชัน้ ม.๔/๑ นางปิยาภัทร ศรีเท่ยี ง ข๎าวดอยแปลงโฉม นายรตั นวชั ร๑ เลิศนนั ทรัตน๑ นายพงศพ๑ ันธ๑ สุขดํารงวนา ชน้ั ม.๖/๓ นายลปิ ปกร เหมอื งคาํ นายศุภากร ทาอวน นางสาวจาํ นนท๑ ธนรุ วทิ ยา ชั้น ม.๖/๒ นางสาวศิรวิ มิ ล วรรณภิละ นางสาวจีราวรรณ คาํ ปนั เดก็ หญงิ สุทธินันท๑ รกุ ขอ๑ นุรกั ษ๑ ชั้น ม.๓/๑ พวงหรดี พอเพียงเคียงสวรรค์ นางสาวปัณชดา ไชยมงคล นางสาวปวมิ ล เกียรติบดีสขุ ชั้น ม.๕/๑ นางสาววีร๑รัศมิ์ สิทธิพพิ ฒั นานันท๑ นางสาวจอมขวญั วิวติ ตา ชน้ั ม.๔/๑ นางสาวฐติ ารตั น๑ คําภีระ นางสาวเกศนิ ี เกษมสขุ เจรญิ กุล ชัน้ ม.๔/๑ นางสาวสิริธรณ๑ ดวงสริ ิ ข้อมลู ประกอบการคัดกรองศูนยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ด้านการศกึ ษา) โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

ห น้ า | ๔๖ โครงสรา๎ งเวลาเรยี น หนํวยการเรยี นรู๎ เห็ดจากเปลือกข๎าวโพด(กือเลอะบอื เคสาํ อะเบะ) ท่ี ช่อื หนวํ ย มาตรฐาน/ สาระสาคญั ชัว่ โมง คะแนน ตัวชี้วดั 60 1 เหด็ จากเปลือก ว 2.1 ม.4-6/2 อธบิ ายกระบวนการเปล่ยี นแปลงแทนทข่ี อง 14 ข๎าวโพด สิ่งมีชวี ิต 50 10 (กือเลอะ ว 2.1 ม.4-6/3 วิเคราะห๑สภาพปัญหา สาเหตุของปญั หา 10 10 บือเคสาํ อะเบะ) ว 2.1 ม.4-6/4 ส่ิงแวดล๎อมและทรัพยากรธรรมชาติในระดบั 30 10 ท๎องถน่ิ ระดบั ประเทศและระดบั โลก 20 ว 3.2 ม.4-6/1 อภิปรายแนวทางในการปอู งกนั แก๎ไข ปญั หา 200 สิ่งแวดล๎อมและทรัพยากรธรรมชาติ ว 8.1 ม.4-6/10 ปฏกิ ริ ิยาเคมี ผลของสารเคมที ่มี ีตํอส่ิงมชี ีวิตและ ส่ิงแวดลอ๎ ม ว 8.1 ม.4-6/11 การมีสวํ นรํวมรบั ผิดชอบ ว 8.1 ม.4-6/12 การอธิบาย การลงความเห็นและสรุปผลการ เรียนร๎ูวิทยาศาสตรท๑ ่นี ําเสนอตํอสาธารณชน แสดงผลงานเขียนรายงานและ/หรอื อธบิ าย เกีย่ วกบั แนวคดิ กระบวนการ และผลของ โครงงานหรอื ช้นิ งานใหผ๎ ๎อู ่นื เขา๎ ใจ ค 5.3 ม.4-6/1 ใช๎ขอ๎ มลู และคาํ สถติ ชิ ํวยในการตัดสินใจ 6 ค 5.3 ม.4-6/2 ใชค๎ วามรู๎ความนําจะเปน็ ในการตัดสินใจและ แกป๎ ญั หา ท 3.1 ม.4-6/3 ประเมนิ เรอื่ งท่ฟี งั และดแู ล๎วกาํ หนดแนวทาง 2 นําไประยกุ ต๑ใชใ๎ นการดาํ เนินชวี ติ ส 3.1 ม.4-6/1 อภิปรายการกําหนดราคาและคาํ จา๎ งในระบบ 2 เศรษฐกิจ ศ 1.1 ม.4-6/5 ออกแบบงานทศั นศิลป์ 2 ศ 1.1 ม.4-6/6 สร๎างสรรค๑งานทัศนศลิ ป์จากแนวคดิ และวธิ ีการ สร๎างงานของศิลปนิ ทต่ี นชน่ื ชอบ ง 4.1 ม.4-6/3 มปี ระสบการณในอาชพี ทถ่ี นัดและสนใจ 8 พ 4.1 ม.4-6/5 วางแผนและปฏบิ ตั ิตามแผนการพัฒนาสขุ ภาพ 2 ของตนเองและครอบครัว ต 1.3 ม.4-6/3 พดู และเขียนแสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกับกิจกรรม 4 พรอ๎ มทง้ั ให๎เหตุผลและยกตัวอยาํ งประกอบ รวมท้งั สิน้ 40 ขอ้ มลู ประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรียนรู้ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ด้านการศึกษา) โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook