Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore health assessment Dr. Kultida

health assessment Dr. Kultida

Published by kitsanaporn.t, 2018-07-05 03:52:40

Description: ดร.กุลธิดา พานิชกุล

Search

Read the Text Version

การประเมนิ สุขภาพเพ่ือ การวนิ ิจฉัยโรควิชา พย.๑๔๒๕ เวชบริบาลเบ้ืองตน้ ภาคการศกึ ษาท่ี ๑สาหรับนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ ช้ันปี ที่ ๔

หัวข้อการสอน1. การซักประวตั กิ ารเจบ็ ป่ วยและแนวทางในการวนิ ิจฉัยแยกโรค2. การตรวจร่างกายเพื่อประกอบการวินิจฉัย3. การใช้ผลการตรวจทางห้องปฏบิ ัตกิ ารเพื่อประกอบการวนิ ิจฉัย4. แบบฝึ กหัดการวนิ ิจฉัยแยกโรค case กรณศี ึกษา

การประเมนิ สุขภาพ (Health Assessments)วตั ถุประสงค์:1. บอกวธิ ีการประเมนิ ปัญหาสุขภาพเพื่อการวนิ ิจฉัยโรคได้2. อธิบายข้นั ตอนการซักประวตั แิ ละระบุอาการสาคญั ได้ถูกต้อง3. ระบุวธิ ีการตรวจร่างกายแต่ละระบบได้อย่างถูกต้อง4. อธิบายผลการตรวจทางห้องปฏบิ ัตกิ ารเพ่ือการวนิ ิจฉัยโรคได้

บทบาทพยาบาลในการรักษาโรคเบื้องต้นการวนิ ิจฉัยแยกโรค ว่าอยู่ในกล่มุ ใดใน 3 กล่มุ1. กล่มุ อาการฉุกเฉินทต่ี ้องช่วยเหลือเบื้องต้นและส่งต่อทนั ที2. กลุ่มอาการทต่ี ้องได้รับการวนิ ิจฉัยเพมิ่ เตมิ3. กลุ่มอาการทต่ี ้องวนิ ิจฉัยแยกโรคและให้การรักษาโรคเบื้องต้นการรักษาโรคเบื้องต้นและการพยาบาล ให้การดูแลช่วยเหลือที่เหมาะสมตามข้อกาหนดในการรักษาโรคเบื้องต้น การให้ภูมคิ ุ้มกนั โรค การวางแผนครอบครัว พ.ศ. 2545 และให้การพยาบาลทเี่ น้นการดูแลแบบองค์รวม

ข้นั ตอนการรักษาโรคเบื้องต้น ซักประวตั ิ 1. กล่มุ อาการฉุกเฉิน ตรวจร่างกาย ปฐมพยาบาลเบื้องต้น กล่มุ อาการไม่ฉุกเฉิน และส่งพบแพทย์ทนั ที ต้องวนิ ิจฉัยแยกกล่มุ ประเมินอาการ D/C หรือ3. สามารถวนิ ิจฉัยแยกโรค 2. ต้องการวนิ ิจฉัย refer กลบั เพม่ิ เตมิ และรักษาเบื้องต้น•ให้ยาบรรเทา/ Rx เฉพาะโรค ให้ ยาบรรเทาและส่ งปรึกษา•แนะนาการดูแลสุขภาพตนเอง แพทย์เพื่อ Dx เพมิ่ เติมภายใน ติดตามผลโดยนัดมาทค่ี ลนิ ิก 1-7 วนั เยยี่ มบ้าน/ โทรศัพท์ ไม่ดขี ึน้ ดขี นึ้ รักษาต่อจนหาย

กรอบแนวคดิ ในการประเมนิ สุขภาพเพื่อการวนิ ิจฉัยโรคใช้ Medical Model โดยรวบรวมข้อมูลอาการและอาการแสดง ร่วมกบั ใช้Nursing Model/ Nursing Framework เช่น แบบแผนสุขภาพของกอร์ดอน/ ทฤษฎกี ารส่งเสริมสุขภาพของเพน็ เดอร์/ การดูแลแบบเอือ้ อาทรของวตั สัน/ การปรับตวั ของรอย/ การดูแลตวั เองของโอเร็ม

เปรียบเทยี บกรอบแนวคดิ การประเมนิ สุขภาพ Medical Model Nursing Model/ Nursing FrameworkHistory Taking History Taking- Chief Complaint (CC), PresentIllness (PI), Past History (PH), - Bio-Psycho-Social-SpiritualFamily History (FH)Physical Examination (PE) - CC, PI, PH, FHMedical Diagnosis (Dx)/ MedicalProblem Physical Examination (PE)Medical Treatment (Rx) Nursing Diagnosis (Dx)/ Nursing Problem Nursing care (บทบาทไม่อสิ ระ& บทบาทอสิ ระ

หลกั การและแนวคดิ การประเมนิ สุขภาพ

แหล่งข้อมูล (Sources of Data) แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ Primary Source (Direct):คือ ข้อมูลทร่ี วบรวมจากผู้รับบริการโดยตรง

Sources of Data แหล่งข้อมูลทุตยิ ภูมิ (Secondary Sources) (Indirect): ▪ Client’s family or friends ▪ significant other ▪ other health personnel ▪ medical records and literature

ชนิดของข้อมูล (Types of Data) 1. ข้อมูลทไ่ี ด้จากการบอกเล่า (Subjective Data): เรียกว่า อาการ (Symptom)- อาการ เป็ นความรู้สึกทผี่ ู้รับบริการบอกเล่าให้ฟัง เช่น เจบ็ หน้าอก ปวดศีรษะ คล่ืนไส้- อาการ เป็ นความรู้สึกอาจมจี ริงหรือไม่กไ็ ด้ ไม่มใี ครสามารถสังเกต และตรวจพบ ได้นอกจากตวั ผู้รับบริการ เช่น อาการอ่อนเพลยี ใจส่ัน เวยี นหัว- อาการ อาจได้จากคาบอกเล่าของบุคลากรทางการแพทย์ บุคคลในครอบครัว เพ่ือน และ/ หรือบุคคลใกล้ชิด ทผ่ี ู้รับบริการเล่าให้ฟัง

ชนิดของข้อมูล (ต่อ) อาการ (Symptom) • ในผู้รับบริการทไ่ี ม่สามารถสื่อสารได้ เช่น ทารก เดก็ ผู้ป่ วยหนัก ข้อมูลทไ่ี ด้จากบุคคลใกล้ชิดจะมี ประโยชน์มาก• ข้อมูลทผ่ี ู้รับบริการรู้สึกและบอกเล่าให้ฟัง (อาการ) เป็ นข้อมูลท่ีต้องคานึงถงึ ความถูกต้อง โดยมกี ารตรวจสอบกบั ข้อมูลทไี่ ด้จากแหล่งอ่ืนๆร่วมด้วย

ชนิดของข้อมูล (ต่อ)2. ข้อมูลทไี่ ด้จากการสังเกตและตรวจพบ (Objective Data) เรียกว่า อาการแสดง (signs) หมายถึง อาการแสดงของโรคทเี่ ห็นจริง และตรวจพบได้ทางร่างกาย เช่น ผื่นบวม ตาเหลือง ตบั โต ความดนั สูง ก้อนในช่องท้อง ท้องโต หน้าบวม การเต้นผดิ ปกติของหัวใจ ซีด เป็ นต้น ตรวจพบความผดิ ปกตไิ ด้จากผลการตรวจทางห้องทดลอง/ การ ตรวจพเิ ศษเรียกว่า “ อาการทต่ี รวจพบ ”

ชนิดของข้อมูล (ต่อ) อาการแสดง (signs)ผลการตรวจร่างกาย- BP = 140/100 mmHg- คลาพบตับ ม้ามโต- ตา ตัวเหลืองผลการตรวจทางห้องทดลอง (Laboratory testing)- ตรวจพบไข่ขาวในปัสสาวะ ผลตรวจปัสสาวะมีค่าความถ่วงจาเพาะตา่ผลการตรวจพเิ ศษ (Special Investigation) เช่น ผล pap smear= negative

การทาให้ข้อมูลมคี วามน่าเช่ือถือ (Accuracy of data)Subjective data: ขนึ้ อยู่กบั ความสามารถของผู้ซักประวตั ิ ทจี่ ะทาให้ได้ข้อมูลทม่ี คี วามถูกต้องชัดเจนร่วมกบั ได้รับข้อมูลสนับสนุนจากแหล่งอ่ืนๆทสี่ อดคล้องกบั การซักประวตั ิObjective data: ขนึ้ อยู่กบั ความรู้ความสามารถของผู้รวบรวมข้อมูลในการทจี่ ะแยกความปกต/ิ ผดิ ปกติออกจากกนั ได้ และหลกี เลย่ี งทีจ่ ะสรุปข้อมูลโดยไม่มหี ลกั ฐานจากการตรวจเพยี งพอข้อมูลจะน่าเช่ือถือเพมิ่ ขนึ้ ถ้าพยาบาลสนใจตรวจร่างกายอย่างละเอยี ด และมกี ารตรวจสอบข้อมูลทต่ี รวจพบซ้า เช่น การวดั ความดนั โลหิต = 140/ 100 mmHg เพยี งคร้ังเดยี วอาจสรุปไม่ได้ว่ามีภาวะความดนั โลหิตสูง ต้องมกี ารวดั ซ้า

การตรวจทาง การซักประวตั ิห้องทดลอง การประเมนิ ภาวะสุขภาพการตรวจพเิ ศษ การตรวจร่างกาย

หลกั การซักประวตั สิ ุขภาพองค์ประกอบของความสาเร็จในการซักประวตั สิ ุขภาพผู้ซักประวตั ิ ต้องใช้ท้งั ศาสตร์ ศิลป และไหวพริบ ประกอบด้วย: 1) มคี วามรู้และทกั ษะ สามารถทาความรู้จักและเข้ากบั ผู้คนได้ ง่าย มีท่าทียอมรับและเป็ นกนั เอง 2) มบี ุคลกิ ภาพทนี่ ่าเชื่อถือและศรัทธา ไม่ขรึมหรือร่าเริง จนเกนิ ไป พร้อมทจี่ ะให้การช่วยเหลือ มคี วามสุภาพอ่อนโยน แสดงออกซึ่งความเห็นอกเห็นใจ

หลกั การซักประวตั สิ ุขภาพ3) มีความม่นั คงในอารมณ์ ผู้ป่ วยแต่ละรายมคี วามรู้สึกนึกคดิ อารมณ์ และความฉลาดตลอดจนปัญหาการเจบ็ ป่ วยแตกต่างกนั ทาให้มีการแสดงออกทางอารมณ์แตกต่างกนั ดงั น้ันต้องอดทน ใจเยน็ การเป็ นผู้ฟังทด่ี ี การโต้ตอบด้วยถ้อยคาและนา้ เสียง ท่มี ี เมตตา เข้าใจ เห็นใจ4) มที กั ษะในการพดู และการกระทา ภาษาเป็ นส่ือกลางทสี่ าคญั อย่างยง่ิ ทผี่ ู้ซักประวตั คิ วรใช้ดุลยพนิ ิจให้มคี วามเหมาะสมกบั ผู้ป่ วย ไม่ควรตาหนิ หรือแก้ไขคาพูดต่อหน้าผู้ป่ วย อาจทาให้เกดิ ความกระดากอาย ส่งผลให้ไม่ได้ประวตั ทิ แี่ ท้จริงและถูกต้อง

การประเมนิ สุขภาพการซักประวตั ิ (History Taking) โดยใช้ Medical modelและ Nursing modelการตรวจร่างกาย (Physical Examination)การตรวจทางห้องปฏบิ ตั ิ/ การตรวจพเิ ศษ

ข้อมูลทตี่ ้องการจากการซักประวตั ิรายละเอยี ดทว่ั ไป (Introductory data)อาการสาคญั (Chief complaint)ประวตั ปิ ัจจุบนั (Present illness)ประวตั ิการเจ็บป่ วยในอดตี (Past history)ประวตั ิการเจ็บป่ วยในครอบครัว (Family history)ประวตั สิ ่วนตวั (Personal history)การทบทวนอาการตามระบบอวยั วะ (Review of systems)

หลกั การและแนวคดิ การซักประวตั สิ ุขภาพ การซักประวตั ิ (History Taking) โดยใช้ Medical Model รวบรวม ข้อมูลทเ่ี กยี่ วข้องกบั อาการและอาการแสดงของโรค- ข้อมูลส่วนบุคคล เช่น เพศ อายุ สถานภาพสมรส อาชีพ เชื้อชาติ ท่ี อยู่ ภูมลิ าเนา- อาการสาคญั (Chief Complaint: CC) เป็ นประโยคส้ันๆ กะทัดรัด บอกเล่าอาการหลกั ๆ 1-2 อาการ พร้อมระยะเวลา- ประวตั กิ ารเจบ็ ป่ วยปัจจุบัน (Present Illness: PI) ต้งั แต่เร่ิม - --> ปัจจุบนั Onset/ ลกั ษณะการเกดิ อาการหรือโรค/ การดาเนินโรค ต้งั แต่เริ่มมอี าการ

หลกั การและแนวคดิ การซักประวตั สิ ุขภาพ (ต่อ)- ประวตั ิการเจบ็ ป่ วยในอดตี (Past History: PH) ได้แก่ประวตั กิ ารเจ็บป่ วยทั่วไปทย่ี งั ไม่มใี นประวตั ปิ ัจจุบัน และรวมถึงประวตั ิการเจบ็ ป่ วยคร้ังก่อน ๆ ซ่ึงอาจเกย่ี วหรือไม่เก่ียวข้องกบั การเจ็บป่ วยคร้ังนีก้ ไ็ ด้ 1. ประวตั ิการเจ็บป่ วยท่วั ๆ ไปทีส่ าคญั ในอดตี เช่น วณั โรค บิดหอบหืด ปอดบวม ไข้รูห์มาตกิ มาลาเรีย และโรคอื่น ๆ 2. ประวัตเิ กยี่ วกบั การแพ้ ซ่ึงควรระมดั ระวงั หรือหลกี เลย่ี ง เช่นยาทแี่ พ้ ลกั ษณะยา แพ้อาหารแพ้ฝ่ ุนละออง เกสรดอกไม้ อากาศหนาวเยน็

หลกั การและแนวคดิ การซักประวตั สิ ุขภาพ (ต่อ) 3. ประวตั กิ ารเป็ นโรคตดิ เชื้อและการได้รับภูมคิ ุ้มกนั เช่น หัด คอ ตีบ ไอกรน บาดทะยกั โปลโิ อ โรคบางอย่างเป็ นแล้วไม่เป็ นอกี เช่น อสี ุกอใี ส4. ประวตั ิการผ่าตดั เช่น เคยผ่าตดั ช่องท้อง ต่อมามปี ัญหาปวด ท้อง ท้องอืด กค็ วรนึกถงึ ภาวะ Gut obstruction หรือ adhesion5. ประวตั อิ บุ ตั เิ หตุ

หลกั การและแนวคดิ การซักประวตั สิ ุขภาพ (ต่อ)- ประวตั ิการเจ็บป่ วยในครอบครัว (Family History: FH) เป็ นความ ผดิ ปกตทิ างด้านสุขภาพในหมู่ญาติ พนี่ ้องหรือบุคคลทอี่ ยู่บ้าน เดยี วกนั ว่ามีประวตั ิการเจ็บป่ วยร้ายแรงใดๆ หรือไม่ทอี่ าจมีส่วน เกยี่ วข้องกบั การเจบ็ ป่ วยของผู้ป่ วยโดยเฉพาะอย่างยง่ิ กล่มุ โรคติดเชื้อ โรคทางกรรมพนั ธ์ุ และโรคเลือด- ประวตั ิส่วนตวั (Personal History) ประวตั ขิ องผู้ป่ วยทช่ี ่วยให้ทราบ ถงึ การดารงชีวติ ของผู้ป่ วย คาถามทคี่ วรถามคือ......

หลกั การและแนวคดิ การซักประวตั สิ ุขภาพ (ต่อ) ประวตั ิส่วนตัว (Personal History) ต่อ......- อาชีพ สถานภาพการสมรส เป็ นโสด หรือ แต่งงานหรือหย่าร้าง ชีวติ สมรส ราบรื่นดหี รือไม่ บุตรกคี่ น สุขภาพของบุคคลในครอบครัวเป็ นอย่างไร- การศึกษา สถานะความเป็ นอยู่ เศรษฐกจิ เป็ นอย่างไร มปี ัญหาหรือไม่ โดยเฉพาะทางด้านการเงนิ- ในผู้ป่ วยหญงิ ต้องถามประวตั กิ ารมปี ระจาเดือนด้วยว่าปกตหิ รือไม่อย่างไร เคยตรวจทางนรีเวชหรือไม่- ประวตั ิทางเพศ มีปัญหาทางเพศหรือไม่อย่างไร เพราะอาจสัมพนั ธ์กับอาการ ทผี่ ู้ป่ วยมาหาในปัจจุบันได้

หลกั การและแนวคดิ การซักประวตั สิ ุขภาพ (ต่อ)ทบทวนประวตั ิอาการต่าง ๆ ตามระบบอวยั วะ (Review of systems) – เป็ นการถามถงึ อาการต่าง ๆ ซึ่งอาจเกยี่ วข้องกบั ระบบอ่ืน ๆ ของ ร่างกาย เพ่ือค้นหาอาการผดิ ปกติที่อาจเกยี่ วข้องกบั การเจ็บป่ วยคร้ัง นี้ หรืออาจช่วยให้ค้นพบอาการหรือความผดิ ปกตทิ อ่ี าจถูกมองข้าม ไป หรือผู้ป่ วยคดิ ว่าไม่มคี วามสาคญั – การถามควรเร่ิมต้นถามถงึ ภาวะสุขภาพโดยทวั่ ไปก่อน แล้วเร่ิม ต้งั แต่ศีรษะเร่ือยไปจนถึงเท้า วธิ ีการถามอาจจะใช้คาถาม “เคยมี อาการผดิ ปกติเกยี่ วกบั หัวใจหรือไม่” “มีอาการเหนื่อยง่ายไหม?” เป็ นต้น

การซักประวตั สิ ุขภาพในเดก็ควรคานึงถงึ อายุ และวุฒิภาวะของเดก็ และควรซักถามประวตั เิ พมิ่ เตมิ ใน ข้อมูลต่อไปนี้ 1. ประวตั กิ ารต้งั ครรภ์ และการคลอด เพราะสุขภาพของมารดาขณะ ต้งั ครรภ์ สัมพนั ธ์กบั การเจริญเตบิ โตและสุขภาพเดก็ มาก เช่น มารดาเป็ น หัดเยอรมนั ในระยะแรกของการต้ังครรภ์ การได้รับยาบางชนิด อาจมีผลให้ เดก็ มคี วามพกิ ารหรือร่างกายไม่สมบูรณ์ได้ คอพอกเป็ นพษิ การติดเชื้อ การ ได้รับยา 2. ประวตั กิ ารคลอดและระยะเวลาการคลอด เช่น ใช้คมี ช่วยในการคลอด อาจเกดิ Birth injury หรือการคลอดยากอาจทาให้ขาดออกซิเจนและสมอง อาจพกิ ารได้

การซักประวตั สิ ุขภาพในเดก็ (ต่อ)3. ประวัติการให้อาหาร (Feeding and nutrition) เช่น การให้นมมารดา ชนิดของนมผสม อาหารเสริม ความถูกต้อง สะอาด ในการเตรียมอาหารและภาชนะ4. ประวตั ิการเจริญเตบิ โตของเดก็ (Growth and development) เช่นพฤตกิ รรมของเดก็ สอดคล้องเหมาะสมกบั วยั นา้ หนักและส่วนสูงเป็ นไปตามเกณฑ์5. ประวตั กิ ารได้รับภูมคิ ุ้มกนั (Immunization)6. ความประพฤตแิ ละอุปนิสัย สาคญั มากในรายมปี ัญหาสุขภาพจติเช่น การรับประทานอาหาร การพกั ผ่อน

ตวั อย่างกรณีศึกษา หญงิ ไทยคู่ อายุ 48 ปี อาชีพรับราชการในระดบั หัวหน้าCC : มนึ ท้ายทอย 4 เดือนก่อนPI : เป็ นท้งั วนั ท้งั คืน ต่ืนขนึ้ มาสักพกั กเ็ ริ่มเป็ น ปฏิเสธความเครียดใดๆ 4 เดือนก่อน ปวดกล้ามเนื้อบริเวณต้นคอ 3 เดือนก่อน ปวดท้องน้อยเป็ นพกั ๆ 1 เดือนก่อน เจบ็ เสียวหน้าอกซ้ายเป็ นพกั ๆ 2 wks แสบลนิ้ ปี่ ร้อนในท้องPH : ปฏเิ สธการใช้ยา อาหารเสริม เคร่ืองดื่มแอลกอฮอลล์ผลการตรวจร่างกาย : สีหน้าวติ กกงั วล เล่าประวตั ไิ ม่ติดขดั และถามแพทย์ตลอดเวลาว่าอาการต่างๆจะเกดิ จากสาเหตุใดบ้าง ตรวจร่างกายไม่พบความผดิ ปกติ

กรณศี ึกษา: NAD (No Abnormality Detection)NAD หมายถึง ตรวจไม่พบโรคทแี่ พทย์/ หรือผู้ป่ วยนึกถงึ เหตุผลทอี่ าจเป็ นไปได้ คือ มีโรค แต่มาตรวจในระยะเริ่มแรกทอี่ าการแสดงยงั ไม่ชัด ไม่ใช่โรคทมี่ สี าเหตุทางกายแต่เป็ นผลจากความเจบ็ ป่ วยทางใจส่งผลให้เกดิ อาการป่ วย/ หรือปัญหาทางกาย -----------------------------------------------------------------------------------------------ควรสอบถามข้อมูลเพม่ิ เตมิ โดยใช้การประเมนิ ภาวะสุขภาพแบบองค์รวม

แบบแผนการประเมนิ ภาวะสุขภาพ (Functional Health Pattern) ให้ศึกษาจากเอกสารเพม่ิ เติม

องค์ประกอบแบบแผนสุขภาพในองค์รวมของบุคคลมดี งั นี้แบบแผนที่ 1. การรับรู้สุขภาพและการดูแลสุขภาพแบบแผนที่ 2. อาหารและการเผาผลาญสารอาหารแบบแผนที่ 3. การขับถ่ายแบบแผนท่ี 4. กจิ กรรมและการออกกาลงั กายแบบแผนท่ี 5. การพกั ผ่อนนอนหลบัแบบแผนที่ 6. สตปิ ัญญาและการรับรู้แบบแผนท่ี 7. การรับรู้ตนเอง และอตั มโนทศั น์แบบแผนที่ 8. บทบาทและสัมพนั ธภาพแบบแผนที่ 9. เพศและการเจริญพนั ธ์ุแบบแผนท่ี 10. ความเครียดและความทนทานต่อความเครียดแบบแผนที่ 11. คุณค่าและความเชื่อ



แนวคดิ การตรวจร่างกาย (Physical Examination)ตรวจตามระบบต้งั แต่ ศีรษะจรดเท้า

การตรวจร่างกาย (Physical Examination)- การประเมนิ โครงสร้างและหน้าที่ของร่างกาย- ข้อมูลทตี่ รวจพบ เรียก อาการแสดง- ใช้ประเมนิ ตดิ ตามผู้ป่ วยตลอดระยะเวลาทใ่ี ห้การดูแล- ใช้ผลการตรวจไปร่วมวเิ คราะห์เพื่อหาสาเหตุของปญหา- เป็ นศาสตร์และศิลปในการตรวจ

การตรวจร่างกาย (Physical Examination)หลกั และข้อควรคานึงในการตรวจ ร่างกาย อธิบายให้ผู้ป่ วยเข้าใจจุดประสงค์ และขออนุญาตผิ ู้ป่ วยก่อน ทาในท่มี ดิ ชิด/ แสงเพยี งพอ ไม่เปิ ดเผยร่างกายในส่วนทม่ี ดิ ชิดโดยไม่ จาเป็ น ควรมบี ุคคลทส่ี ามในห้องถ้าตรวจเพศตรง ข้าม

การเตรียมผู้ป่ วยอธิบายวตั ถุประสงค์ในการตรวจและขออนุญาตผู้ป่ วยจดั ท่าให้เหมาะกบั เทคนิคที่ใช้ตรวจปลดเสื้อผ้าเฉพาะบริเวณทตี่ ้องการตรวจเท่าน้ัน

อปุ กรณ์ในการตรวจร่างกายเทปวดั ความยาว เครื่องชั่งนา้ หนัก วดั ส่วนสูงไฟฉาย ปรอท (Thermometer)ไม้กดลนิ้ (Tongue depresser) หูฟัง (Stethoscope)ส้ อมเสียง ไม้เคาะเข่า (Hammer percussion)Ophthalmoscope เขม็ ปลายทู่Otoscope แผ่นทดสอบสายตาNasal speculum อ่ืนๆเครื่องวดั ความดนั โลหิต(Sphymomanometer)

การตรวจร่างกาย (Physical Examination) การตรวจร่างกาย➢ประเมินสภาพร่างกายทัว่ ไป ใช้เทคนิคการดู คลา เคาะ ฟังใช้เทคนิคการดู ต้งั แต่ศีรษะจรด ในการตรวจร่างกายแต่ละระบบทมี่ ีอาการปลายเท้า ต่อไปนี้ • ผวิ หนัง ศีรษะ หน้า➢การตรวจสัญญาณชีพ • ตา หู จมูก ปาก ช่องคอ ลาคอ• อณุ หภูมิ • ระบบทางเดนิ หายใจ• ชีพจร • ระบบหวั ใจและการไหลเวยี น• การหายใจ • ระบบช่องท้อง• ความดนั โลหิต • ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ • ระบบประสาท

การประเมินสภาพร่างกายทวั่ ไป (General Appearance)การประเมนิ สภาพร่างกายทว่ั ไป (General Appearance) จะเร่ิมต้งั แต่ผู้ป่ วยเข้ามาในห้องตรวจ ใช้เทคนิคการดูต้งั แต่ศีรษะจรดเท้าเป็ นการประเมนิ สภาพทวั่ ๆไปของผู้ป่ วยในขณะทพ่ี บโดยการสังเกตได้แก่ ระดบั ความรู้ สติ บุคลกิ ลกั ษณะ รูปร่าง หน้าตา การเจริญเตบิ โต การให้ความร่วมมือ การหายใจ สีผวิ เป็ นต้นประเมิน vital signsการตรวจร่างกายตามระบบ โดยใช้หลกั การดู คลา เคาะ ฟัง

การวดั สัญญาณชีพ (Vital Signs)ประกอบด้วย:- อุณหภูมิ - ชีพจร- การหายใจ - ความดันโลหิตตวั อย่างความผดิ ปกติของอตั ราการหายใจ Tachypnea เป็ นการหายใจเร็วและตื้น Hyperpnea or Hyperventilation การหายใจท่ีเพม่ิ ท้งั อตั ราและความลกึ

เทคนิคการตรวจร่างกาย ประกอบด้วยการดู (Inspection) การคลา (Palpation) การฟัง (Auscultation)การเคาะ (Percussion)

การดู (Inspection)

การดู (Inspection) • สังเกตอาการแสดง ผดิ ปกตทิ ่เี ห็นได้ด้วยตา เปล่า เช่น บวม แดง โป่ ง นูน • การดูใช้ร่วมกบั เทคนิค การคลา เคาะ และ ฟัง

การตรวจตาด้วย Ophthalmoscope

การคลา (Palpation)

การคลา (Palpation) • คลาหาก้อน/ การอกั เสบ • การขยายตวั ของปอด

การคลาหาตาแหน่งของ Apex เพ่ือใช้ฟังอตั ราการเต้นของหัวใจ

การเคาะ (Percussion) แสดงวธิ ีเคาะด้วยสองนิว้

การเคาะ (Percussion) ต่อ..... ใช้มือหรือเครื่องมือ เช่น ฆ้อน การเคาะมี 2 วธิ ี ยาง 1. การเคาะทางตรง ใช้หลกั การเคาะผ่านตัวกลางที่มี 2. การเคาะทางอ้อมซ่ึง เป็ นความหนาแน่นแตกต่างกนั ทาให้ การเคาะผ่านนิว้ มือของ ผู้ตรวจเสียงทไี่ ด้ยนิ โปร่ง/ ทบึ แตกต่างกนั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook