Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการปฏิบัติงาน เรื่อง จัดทำโครงการตามแผนปฏิบัติการ

คู่มือการปฏิบัติงาน เรื่อง จัดทำโครงการตามแผนปฏิบัติการ

Published by kolanya taya, 2021-09-14 02:44:51

Description: คู่มือการปฏิบัติงาน เรื่อง จัดทำโครงการตามแผนปฏิบัติการ
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มหาวิทยาลัยพะเยา

Search

Read the Text Version

ข้นั ตอนการปฏิบัติงาน รายละเอียดการปฏิบัติงาน ระยะเวลา ผรู้ บั ผิดชอบ (Work Flow) การเงินคณะฯ จัดส่งการยืมเงินทดรองจ่ายให้กบั กองคลงั 1 วนั การเงินคณะฯ จัดส่งกองคลงั ไม่ผ่าน การเงินกองคลัง ดาเนินการตรวจสอบ เสนอลงนามอนุมัติ 7 วนั การเงินกองคลงั ตรวจสอบ และโอนเงินให้กบั ผู้ยืมเงิน ผ่าน กรณี ผ่าน เสนอต่ออธิการบดี ลงนามอนุมตั ิ และโอนเงิน ดาเนินโครงการ กรณี มีการแก้ไข สง่ กลบั การเงินคณะฯ ดาเนินการแก้ไข ตามขั้นตอน ผู้รับผดิ ชอบโครงการดาเนินงานโครงการตามกาหนดการ ตาม ผู้รบั ผดิ ชอบ กาหนดการ โครงการ รวม 23 วนั สิ้นสุด ขั้นตอนจัดทาเอกสาร 17 วนั 45

การขออนุมตั ิดาเนินงานโครงการประกอบไปดว้ ย 1. เปิดใบขออนุมัตดิ าเนนิ โครงการ ผ่านระบบ Budget 2. เปิดใบขออนุมัตจิ ัดกิจกรรม.............และค่าใช้จ่ายในการจดั กิจกรรม ผ่านระบบ Budget 3. เปิดใบขออนุมตั ยิ ืมเงนิ ทดรองจ่าย (กรณียมื เงนิ ) 4. ดาเนนิ โครงการ พรอ้ มจดั เตรยี มเอกสารทีเ่ กี่ยวข้อง 5. ขออนุมัตเิ บิกค่าใช้จา่ ยในการดาเนินโครงการ ผา่ นระบบ Budget การให้คาปรกึ ษาและขอ้ เสนอแนะ การให้คาปรึกษาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับงบประมาณ การให้คาปรึกษา เป็นกระบวนการทีอ่ าศัยสัมพันธภาพทีด่ ีระหว่างผู้ให้การปรึกษาและผู้รับการปรึกษา ซึ่งผู้ปฏิบัติงาน ให้คาปรึกษาโดยใช้ทักษะต่าง ๆ เพื่อช่วยเหลือและเอื้ออานวยให้แก่ผู้รับการปรึกษา สารวจ และทาความเข้าใจปัญหา สาเหตุ ของปัญหา และความต้องการ ตลอดจนสามารถหาวิธีแก้ไข ปัญหาเหล่านันด้วยตนเอง โดยยึดหลักความโปร่งใส การปฏิบัติงานให้เป็นไปตามข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ และแนวปฏิบัติ ตามที่มหาวิทยาลัยพะเยากาหนด และที่นอกเหนือจากการตัดสินใจ นาปัญหา ร่วมหารือกับผู้บริหาร เพื่อให้การเบิกจ่ายงบประมาณและการบริหารจัดการโครงการ ตามแผนปฏิบัติการบรรลุตามวัตถุประสงค์ และเป็นไปด้วยความมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ยกตัวอย่างเชน่ • ด้านการคานวณงบประมาณ • ด้านการเบิกจ่าย • ด้านการโอนงบประมาณ • ด้านการเปลีย่ นแปลงงบประมาณ • ด้านการเปลีย่ นแปลงรายละเอียดโครงการ/กิจกรรม 46

คมู่ ือการเขา้ ใชง้ านระบบ BUDGET บนั ทึกโครงการ ให้ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการกรอกข้อมลู โครงการเข้าระบบ BUDGET ดาเนินการตามข้ันตอน ดงั นี้ ภาพที่ 6 แสดงการบนั ทึกข้อมลู โครงการเข้าระบบ BUDGET ภาพที่ 6 แสดงการบนั ทึกข้อมลู โครงการเข้าระบบ BUDGET (ต่อ) 47

การลบขอ้ มลู โครงการ หลงั จากบันทกึ โครงการ ถ้าผู้รับผดิ ชอบโครงการได้ดาเนินการบันทึกโครงการเรียบร้อยแล้ว และมีขอ้ มูผิดพลาด หรอื ต้องการลบข้อมูลโครงการออกจากระบบ ดาเนินการตามขั้นตอนดังน้ี ภาพที่ 7 แสดงการลบข้อมูลโครงการเข้าระบบ BUDGET 48

ขอเปิดดาเนนิ โครงการ ผรู้ ับผิดชอบโครงการ ดาเนินการขอเปิดดาเนินโครงการ พรอ้ มเสนอผบู้ ริหารคณะ ลงนามอนมุ ตั ิ ดงั นี้ ภาพที่ 8 แสดงการการขอเปิดดาเนนิ โครงการผ่านระบบ BUDGET ภาพที่ 8 แสดงการการขอเปิดดาเนนิ โครงการผ่านระบบ BUDGET (ต่อ) 49

ตัวอย่าง ภาพที่ 9 แสดงตวั อย่างการขออนมุ ตั ดิ าเนินโครงการ 50

ขอใช้งบประมาณ ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ ดาเนินการขอเปิดดาเนินโครงการ และขอใช้งบประมาณ พร้อมเสนอผู้บริหารคณะลงนามอนมุ ัติ ภาพที่ 10 แสดงการขออนุมัตใิ ช้งบประมาณโครงการ ภาพที่ 10 แสดงการขออนุมตั ใิ ช้งบประมาณโครงการ (ต่อ) 51

ภาพที่ 10 แสดงการขออนุมัตใิ ช้งบประมาณโครงการ (ต่อ) ภาพที่ 11 แสดงการพิมพใ์ บขออนุมตั ใิ ช้งบประมาณโครงการ 52

ตวั อยา่ ง ภาพที่ 12 แสดงตวั อย่างการขออนุมัตคิ ่าใช้จ่ายในการดาเนินโครงการ 53

การกรอกตัวชีว้ ัด ภาพที่ 13 แสดงการกรอกตวั ช้วี ดั ในการดาเนินโครงการ 54

การกรอกสรปุ ผลการดาเนินงาน เมื่อดาเนินงานโครงการเสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้ผรู้ ับผิดชอบโครงการ ดาเนินการ กรอกสรุปผลการดาเนินงาน ดังนี้ ภาพที่ 14 แสดงการกรอกสรุปผลในการดาเนินโครงการ 55

การพิมพผ์ ลการดาเนินโครงการ เม่ือผู้รับผิดชอบดาเนินงานโครงการกรอกข้อมูลกสรุปผลการดาเนินงานเรียบร้อยแล้ว ให้ดาเนินการการแจ้งให้กับเจ้าหน้าที่นโยบายและแผน เพื่อนาเสนอเข้าที่ประชุมคณะกรรมการ ประจาคณะฯ ดังน้ี ภาพที่ 15 แสดงการพิมพผ์ ลในการดาเนินโครงการ 56

แผนภูมิท่ี 3 แสดงผลการเบิกจ่ายรายเดือน แผนภูมิท่ี 4 แสดงผลการดาเนินงานรายเดือน 57

สรุปผลการวิเคราะห์ผลการเบิกจ่ายงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ 2564 จานวนงบประมาณที่ได้รับจัดสรรท้ังสิ้น 8,356,459 บาท และมีการผูกพันและงบใช้จ่ายจริง ต้ังแต่เดือน ตุลาคม 2563 ถึง 31 กรกฎาคม 2564 เบิกจ่ายท้ังสิ้น 4,083,453.61 บาท คิดเปน็ รอ้ ยละ 48.87 การเบิกจ่ายงบประมาณปีน้ีมีสดั ส่วนน้อยเน่ืองจากสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 ทาให้กิจกรรม/โครงการ มีการปรบั เปลี่ยนรูปแบบในการดาเนินงาน ทาให้มีการประหยัดงบประมาณในบางส่วนลดลง แต่ผลในการดาเนินกิจกรรม/โครงการ ยังคงดาเนินการต่อไปได้ในรปู แบบ Online และในบางกิจกรรม/โครงการ มีการยกเลิกเน่ืองจากจดั ใน รูปแบบ Online ไม่ได้ จึงทาให้การเบิกจ่ายไม่สอดคล้องกับแผนที่ได้ต้ังไว้ และสรุปผลการวิเคราะห์ ผลการดาเนนิ งานรายเดือน จากเหตุผลดงั กล่าว จงึ สง่ ผลใหก้ ารดาเนินงานไม่สอดคล้องกับเป้าหมาย แต่ด้วยการดาเนินโครงการ/กิจกรรม มีเหตุผลและความจาเป็นจะต้องมีการจัดเพื่อสนับสนุนการ ดาเนินงานในด้านต่างๆ ของคณะฯ ผู้รับผิดชอบโครงการจึงมีการปรับ/เปลี่ยนแปลง โครงการ/ กิจกรรม เพื่อให้บรรลวุ ตั ถุประสงค์ที่ตง้ั ไว้ 58

4.3 วิธีการติดตาม และประเมินผลการปฏิบตั ิงาน วิธีการติดตาม และประเมินผลแผนปฏิบตั ิการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบถึง ความก้าวหน้าของการดาเนินงาน ปัญหา และอุปสรรค และเพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงพัฒนา มหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งเพือ่ นาประสบการณ์จากการทางานไปกาหนดนโยบายการบริหาร ง า น เ พื่ อ พั ฒ น า ม ห า วิ ท ย า ลั ย ใ ห้ เ จ ริ ญ ก้ า ว ห น้ า แ ล ะ บ ร ร ลุ วิ สั ย ทั ศ น์ ข อ ง อ ธิ ก า ร บ ดี ต่ อ ไ ป โดยมีกระบวนการประเมินด้วยการรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลผลการดาเนินงานทั้งใน เชิงปริมาณและคุณภาพ โดยเปรียบเทียบค่าเป้าหมายและแผนการดาเนินงานกับผลการดาเนินงาน และการเบิกจ่ายงบ ประมาณของทุกหน่วยงานในมหาวิทยาลัยพะเยา เพื่อเสนอต่อ คณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย และคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยตามลาดับ ดังรูปแสดงผัง การประเมนิ ต่อไปนี้ ภาพท่ี 16 ผังการประเมินความสาเร็จของแผนยทุ ธศาสตร์ 59

กองแผนงาน พัฒนาระบบการจัดการด้านงบประมาณและแผนงาน (ระบบ e-BUDGET) เพื่อนามาใช้ในการเพิ่มขีดความสามารถในการติดตามประเมินผลการดาเนินงานตามแผน ยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ รวมทั้งติดตามการใช้จ่ายเงินงบประมาณที่ถูกต้องแม่นยา เชื่อถือได้ และมีความโปร่งใส ตรวจสอบผลการดาเนินงานได้ตลอดเวลา ซึ่งจะสามารถนาผลลัพธ์จากระบบ E-BUDGET ไปวิเคราะห์และรายงานผลการวิเคราะห์ในเชิงสารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจของ ผู้บริหารได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ โดยขณะนี้อยู่ในระหว่างการเปิดใช้งานระบบในระยะที่ 3 ด้านการจัดการ วางแผนด้านงบประมาณประจาปี การวางแผนโครงการตามแผนปฏิบัติการประจาปี ด้านการรายงานการเบิกจ่ายงบประมาณตามแผนปฏิบัติการประจาปี และผลการดาเนินงานตาม ตวั ช้วี ดั ของหน่วยงาน ในรอบ 6 เดือน และรอบ 12 เดือน ระบบและกลไกการติดตามประเมินผลการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อให้ทราบความสาเร็จของการบรรลุตาม เป้าหมายและตัวชีว้ ดั ของแผนยทุ ธศาสตร์ มีระบบและกลไกดังน้ี 1) วางระบบการประเมินผลแผนยุทธศาสตร์ฯ เชิงบูรณาการที่มุ่งนาเสนอผลผลิต (Output) ผลลัพธ์ (Outcome) และผลกระทบ (Impact) โดยให้มีการประเมินตนเองเพื่อสร้าง กระบวนการเรียนรู้ และให้มกี ารตดิ ตามประเมินผลจากคณะกรรมการที่เปน็ กลาง กาหนดเกณฑ์การ ประเมินที่ชดั เจน โปร่งใส มมี าตรฐานและถูกต้องตามหลกั วิชาการ 2) ส ร้างค ว ามส อ ด ค ล้อ งข อ งก าร ป ร ะเ มิน ผล ก าร ดาเ นิน งาน ต ามแผน ยุทธศาสตร์ กับการประเมินการปฏิบัติงานตามระดับของตัวชวี้ ัดการดาเนินงาน ต้ังแตร่ ะดับหัวหน้า ส่วนงาน ผอู้ านวยการ หัวหนา้ งาน และบคุ ลากรรายบุคคล 3) ดาเนินการติดตามประเมินผลการดาเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ฯ ตามตัวบ่งชี้ และตามกรอบเวลาที่กาหนดอย่างต่อเน่ือง พร้อมท้ังการนาผลการประเมินมาปรับปรุงพัฒนาให้ บรรลุเป้าหมายท้ังในเชิงปริมาณและเชงิ คุณภาพ 4) รายงานผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการต่อคณบดี ต่ออธิการบดี คณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย และสภามหาวิทยาลยั ตามลาดบั 60

กรอบเวลาการติดตามประเมินผล สานักประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส สานักงานคณะกรรมการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ได้กาหนดให้มีการติดตามประเมินผลแผนปฏิบัติการประจาปี งบประมาณ ปีงบประมาณละ 2 ครั้ง ผ่านทางการรายงานแผนปฏิบัติการ พ.ศ. 2565 รอบ 6 เดือน (ตุลาคม 2564 – มีนาคม 2565 ) และรอบ 12 เดือน (เมษายน 2565 – กันยายน 2565) องคป์ ระกอบของรายงานผลการดาเนินงาน การรายงานผลประเมินความสาเร็จของแผนปฏิบตั ิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ได้มีการติดตามประเมินผลและรายงานผลการดาเนินงานรอบ 6 เดือน และรอบ 12 เดือน เสนอต่อ คณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยพะเยา และเผยแพร่ตามข้อกาหนด ITA โดยมีองค์ประกอบของ การรายงาน ดงั น้ี 1) การรายงานผลการประเมินความสาเร็จของแผนปฏิบัติการคณะ ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2565 รอบ 6 เดือน และรอบ 12 เดือน 2) การรายงานผลการประเมินความสาเรจ็ ของยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาคณะ พ.ศ. 2565 ซึ่ ง ก ร ะ บ ว น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ท้ั ง ห ม ด จ ะ ป ฏิ บั ติ ก า ร ผ่ า น ร ะ บ บ ก า ร จั ด ก า ร ด้านงบประมาณและแผนงาน (e-Budget) และใช้ข้อมูลจากระบบการจัดการด้านงบประมาณ และแผนงาน (e-Budget) ในการรายงานผลการปฏิบัติงานประจาปีงบประมาณน้ันๆ 61

4.4 จรรยาบรรณ/คณุ ธรรม/จริยธรรมในการปฏิบตั ิงาน ในการปฏิบัติงานผู้ปฏิบัติงานยึดม่ันในจรรยาบ รรณ คุณธรรม จริยธรรม ในการปฏิบัติงาน สร้างคุณงานมความดี และความถูกตองในการปฏิบัติงาน แสดงออกทั้งกาย วาจา ใ จ ข อ ง แ ต ล ะ บุ ค ค ล ซึ่ ง ยึ ด ม่ั น ไ ว เ ป น ห ลั ก ใ น ก า ร ป ร ะ พ ฤ ติ ป ฏิ บั ติ จ น เ กิ ด เ ป น นิ สั ย และยึดมั่นในกฎ ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ แนวปฏิบัติ เพื่อใช้เปนแนวทางในการปฏิบัติงาน อีกท้ังยังประพฤติปฏิบัติตนในสิ่งที่ดีงาม เหมาะสม และเปนที่นิยมชมชอบหรือยอมรับจากสังคม ชวยสรางความมีระเบียบ ควบคุมการปฏิบัติงานไม่ให้ผิดพลาด ทั้งนี้ยังนาความรูและประสบการณ์ มาประยกุ ต์ใชใ้ นการปฏิบตั ิงานได้อย่างต่อเน่อื ง 4.5 การวเิ คราะหง์ บประมาณ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีนโยบายในการบริหารจดั การงบประมาณที่ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ แ ผ น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ค ณ ะ ฯ ท้ั ง 5 ด้ า น ไ ด้ แ ก่ 1) การผลิตและพัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะด้านดิจิทัลและเท่าทันการเปลี่ยนแปลง 2 ) การพัฒนาง า น วิจั ยแ ล ะ นวั ตก รร มดิ จิทั ล เพื่อขับ เคลื่อนชุ ม ช นแ ล ะป ร ะเ ท ศ ช า ติ 3) การบริการวิชาการ พัฒนาชุมชนด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล 4) การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรมด้วย เทคโนโลยีดิจิทัล และ 5) การบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพโดยยึดหลักธรรมาภิบาล ซึ่งเป็นส่วนงานหนึ่งในได้รับการจัดสรรงบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยสนับสนุนการดาเนินงาน ตามประเด็นยุทธศาสตร์และพันธกิจของส่วนงาน การบริหารงบประมาณรายได้ดังกล่าวจะต้อง คานึงถึงข้อจากัดของงบประมาณที่ได้รับจัดสรร และการบริหารงบประมาณให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยใช้เคร่ืองมือและกลไกด้านงบประมาณที่เกี่ยวข้อง เพื่อกากับการใช้จ่ายงบประมาณ ให้เป็นไปแผนงาน มีความคุ้มค่าคุ้มทุน ป้องกันมิให้เกิดการทุจริตในทุกกระบวนการหรือข้ันตอนของ ก า ร ง บ ป ร ะ ม า ณ บ ริ ห า ร ง บ ป ร ะ ม า ณ ใ ห้ เ ป็ น ไ ป แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ และเบิกจ่ายอย่างถกู ต้องตามระเบียบ ข้อบงั คบั และกฎหมายที่ เกี่ยวข้อง รวมท้ังสอดคล้องกบั แผน 62

ยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการประจาปีของส่วนงาน การบริหารงบประมาณให้มีประสิทธิภาพ แ ล ะ ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล ไ ด้ ค า นึ ง ถึ ง ก า ร ว า ง แ ผ น ง บ ป ร ะ ม า ณ ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ การกากับติดตาม ตรวจสอบ และรายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณอย่างต่อเน่ือง แต่ยังขาดการ วิเคราะห์/สังเคราะห์งบประมาณรายได้ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหารในการบริหาร และตัดสินใจ และเปน็ ประโยชน์ตอ่ ผใู้ ช้ในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง ผู้ปฏิบัติงานจึงทาการวิเคราะห์ การใช้จ่ายงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ 2564 ที่ผ่านมา เพื่อเป็นข้อมูลประกอบในการตัดสินใจสาหรับผู้บริหาร ในการพิจารณาเสนองบประมาณ ให้เหมาะสมและเกิดผลสมั ฤทธิ์ในปีงบประมาณถดั ไป งบประมาณจดั สรร 7,000,000.00 6,000,000.00 5,000,000.00 4,000,000.00 3,000,000.00 2,000,000.00 1,000,000.00 - รวมงบประมาณ 5,867,501.00 เงนิ รายได้ 2,488,958.00 เงนิ สะสม/งบแผน่ ดนิ แผนภูมิท่ี 5 แสดงงบประมาณทีไ่ ด้รับการจดั สรร ประจาปีงบประมาณ 2564 63

แผนภูมิที่ 6 แสดงงบประมาณทีไ่ ด้รบั การจดั สรร ประจาปีงบประมาณ 2564 (แยกตามกองทนุ ) 64

สรปุ งบประมาณปี พ.ศ. 2564 ในระบบ AX2019 ณ วนั ท่ี 31 กรกฎาคม 2564 ท่ี งบรายจา่ ย งบประมาณ งบผูกพนั งบใชจ้ า่ ย คงเหลอื งบใช้ คงเหลอื จา่ ยจรงิ (รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ) 1 งบดาเนนิ งาน (กองทนุ เพอื่ การศกึ ษา) 194,400.00 - 162,000.00 32,400.00 9.87 1.97 1.1 คา่ จา้ งชวั่ คราวรายเดอื น 988,300.00 101,625.00 455,050.00 533,250.00 27.73 32.50 1,294,301.00 215,200.00 593,119.20 701,181.80 36.14 42.73 1.2 คา่ ตอบแทน 504,000.00 168,130.00 133,187.00 370,813.00 22.60 1.3 คา่ ใชส้ อย 8.12 18,000.00 - 14,692.00 3,308.00 0.90 0.20 1.4 คา่ วสั ดุ 2,999,001.00 484,955.00 1,358,048.20 1,640,952.80 82.76 100.00 1.5 คา่ สาธารณูปโภค รวมงบประมาณ 2 งบเงนิ อดุ หนนุ (โครงการ) 1,851,998.00 120,480.00 401,739.41 1,450,258.59 19.06 68.79 2.1 กองทนุ เพอ่ื การศกึ ษา 410,000.00 6,420.00 87,154.00 322,846.00 4.13 15.31 2.2 กองทนุ กจิ การนสิ ติ 65,000.00 - 64,952.00 48.00 3.08 2.3 กองทนุ ทานุบารุงศลิ ปและวฒั นธรรม 500,000.00 - 290,400.00 9.94 0.00 90,000.00 209,600.00 44,625.00 2.15 13.77 2.4 กองทนุ วจิ ยั 40,000.00 45,375.00 2,916,998.00 166,900.00 2,108,177.59 38.37 2.12 2.5 กองทนุ บรกิ ารวชิ าการ 808,820.41 100.00 รวมงบประมาณ 3 งบลงทนุ 2,440,460.00 765,730.00 499,000.00 1,941,460.00 - 100.00 3.1 กองทนุ สนิ ทรัพยถ์ าวร 2,440,460.00 765,730.00 499,000.00 1,941,460.00 - 100.00 รวมงบประมาณ รวมงบประมาณทง้ั สนิ้ 8,356,459.00 1,417,585.00 2,665,868.61 5,690,590.39 งบประมาณจดั สรร จานวนเงนิ (บาท) รอ้ ยละ งบผกู พนั และงบใชจ้ า่ ยจรงิ 8,356,459.00 100.00 4,083,453.61 งบประมาณคงเหลอื 48.87 4,273,005.39 51.13 ภาพท่ี 17 แสดงสรปุ ผลการเบิกจ่ายงบประมาณทีไ่ ด้รับการจัดสรร ประจาปีงบประมาณ 2564 แผนภมู ิที่ 7 แสดงสรุปผลการเบิกจ่ายงบประมาณที่ได้รบั การจดั สรร ประจาปีงบประมาณ 2564 งบดาเนินงาน (กองทนุ เพื่อการศกึ ษา) 65

แผนภมู ิที่ 8 แสดงสรปุ ผลการเบิกจ่ายงบประมาณทีไ่ ด้รบั การจดั สรร ประจาปีงบประมาณ 2564 งบเงินอุดหนุน (โครงการ) สรุปผลการวิเคราะห์งบประมาณ ประจาปีงบประมาณ 2564 จานวนงบประมาณ ที่ได้รับจัดสรรทั้งสิ้น 8,356,459 บาท และมีการผูกพันและงบใช้จ่ายจริง ตั้งแต่เดือน ตุลาคม 2563 ถึง 31 กรกฎาคม 2564 เบิกจ่ายทั้งสิ้น 4,083,453.61 บาท คิดเป็นร้อยละ 48.87 การเบิกจ่าย งบประมาณปีนี้มีสัดส่วนน้อยเน่ืองจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ทาให้กิจกรรม/โครงการ มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบในการดาเนินงาน ทาให้มีการประหยัดงบประมาณ ในบางส่วนลดลง แต่ผลในการดาเนินกิจกรรม/โครงการยังคงดาเนินการต่อไปได้ในรูปแบบ Online และในบางกิจกรรม/โครงการ มีการยกเลิกเนื่องจากจัดในรปู แบบ Online ไม่ได้ 66

บทที่ 5 ปัญหา อุปสรรค แนวทางแกไ้ ข พัฒนางาน และข้อเสนอแนะ 5.1 ปัญหาและอปุ สรรค การจัดทาโครงการตามแผนปฏิบัติการประจาปี ต้องคานึงถึงแผนปฏิบัติการประจาปี (Annual Action Plan) ต้องมีกระบวนการวางแผน การดาเนินการตามแผน การกากับติดตามผลอย่าง เป็นระบบ เพื่อให้เกิดความสะดวกต่อการปฏิบัติงาน มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ของงานตามนโยบาย และทิศทางการบริหารของมหาวิทยาลัยพะเยา ในการปฏิบตั ิงานยังพบว่าประสบปญั หาและอุปสรรค ในการปฏิบตั ิงาน ดงั น้ี - ระยะเวลาในการดาเนินงานโครงการมเี ปลีย่ นแปลงตามสถานะการณ์ - ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานโครงการคานวณไว้ไม่เพียงพอต่อการใช้งาน - เจ้าหน้าที่ไม่สามารถปฏิบัติงานแทนกันได้จรงิ ในเชิงของการปฏิบัติงาน - การดาเนินงานโครงการไม่มีขน้ั ตอนที่ชัดเจน - มีการโอนงบประมาณบ่อยคร้ัง 5.2 แนวทางการแกไ้ ขและพัฒนา การจัดทาโครงการตามแผนปฏิบัติการประจาปี ผู้รับผิดชอบโครงการจะต้องดาเนินการ จัดประชุมเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนดาเนินงานโครงการ การทบทวนก่อนปฏิบัติงาน (Before Action Review : BAR) หมายถึง เทคนิควิธีการ/ข้ันตอนหนึ่งในการทางานที่ใช้ในการทบทวนก่อนการ/ ปฏิบัติงานให้ชัดเจน มีเป้าหมายร่วมกัน รู้บทบาทหน้าที่ของตนเอง และส่งผลให้การปฏิบัติสาเร็จ ด้วยดี ซึง่ บางครงั้ อาจมกี ารปรับเปลีย่ นแนวทางปฏิบัติจากทีเ่ ตรยี มไว้เพื่อความเหมาะสม โดยอาจเร่ิม จากการบรรยายภาพรวมและการนาผลจากการ AAR ในครั้งที่ผ่านมาชี้แจงเพื่อการปฏิบัติในครั้งนี้ดี ขึ้น ป้องกันการผิดซ้าและปัญหาเฉพาะหน้าที่อาจเกิดขึ้น และการทบทวนหลังปฏิบัติงาน (After Action Review : AAR) หมายถึง เคร่ืองมือที่นามาใช้ในกระบวนการทางานเพื่อทบทวนวิธีการ ทางานทั้งด้านความสาเร็จและปัญหาที่เกิดขึ้น ทั้งนี้ไม่ใช่การค้นหาคนที่ทาผิดพลาดไม่ใช่การ กล่าวโทษ แต่เป็นการทบทวนเพื่อร่วมกันสะท้อน และทบทวนกระบวนการต่าง ๆ นาบทเรียนที่ได้ จากความสาเรจ็ และปัญหาที่เกิดขึน้ มาจัดทาและพัฒนากระบวนการทางานให้มปี ระสิทธิภาพ 67

5.3 ข้อเสนอแนะ การจัดทาโครงการตามแผนปฏิบัติการประจาปี ประเด็นสาคัญอยู่ที่การได้มา ซึ่งความจาเป็นในการจัดทาแผน และการวิเคราะห์โอกาสผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการดาเนินโครงการ ตามแผนปฏิบัติการ ที่มีต่อเป้าหมายที่กาหนดไว้ ดังนั้น ในปีต่อไปท้ังผู้บริหาร และผู้ปฏิบัติงาน ควรจะมานั่งพูดคุยกันก่อนว่าแนวทางในการจัดทาโครงการตามแผนปฏิบัติการควรจะเป็นอย่างไร จะได้ออกมาในแนวทางเดียวกัน รวมถึงทั้งสองฝ่ายต้องมาหาข้อสรุปร่วมกันว่าสิ่งที่คาดหวังจากการ ดาเนินโครงการนั้นคืออะไร ต้องมีส่วนที่วิเคราะห์ผลกระทบที่มีต่อเป้าหมายที่เกี่ยวข้อง ถ้าสามารถทาได้ครบถ้วนกระบวน รับรองได้ว่าโอกาสที่โครงการตามแผนปฏิบัติการกลายเป็น เครือ่ งมือในการดาเนินงานที่มีประสทิ ธิภาพใหท้ ้ังกบั ผบู้ ริหาร และผปู้ ฏิบัติงาน 68

บรรณานกุ รม กลุมงานแผนและพัฒนา สานักอธิการบดี. (2550). คูมือการเขียนแผนปฏิบัติการเชิงกลยุทธ มหาวิทยาลัยคริสเตียน. นครปฐม : มหาวิทยาลัยคริสเตียน. ก วิ น ป ล า อ่ อ น . (2560). ศึ ก ษ า ผ ล ข อ ง ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น ก า ร จั ด ท า แ ผ น ป ฏ ิบั ติ ก า ร เชิงกลยุทธ์ต่อการรับูร้และการนาแผนปฏิบัติการเชิงกลยุทธ์ไปปฏิบัติของพนักงานสาย สนับสนุน วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล. วารสาร Mahidol R2R e-Journal ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ประจาเดือนมกราคม – มิถุนายน 2560 เกียรตพิ งษ์ อุดมธนะธีระ. (2561). วงจรการบริหารงานคุณภาพ. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2564. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : https://www.iok2u.com/index.php/article/innovation/240-pdca- cycle-deming-cycle. งานจัดการความรู้ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. (2562). สืบค้นเม่ือวนั ที่ 20 กรกฎาคม 2564. (ออนไลน์). เขา้ ถึงได้จาก : https://www2.si.mahidol.ac.th/km/knowledgeassets/definition/10641/. ชานาญ บูรณโอสถ. (2547). กระบวนการวางแผนพัฒนามหาวิทยาลัยเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล. วิทยานิพนธหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑติ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั . นงลักษณ์ สุทธิวัฒนพันธ์. (2544). การงบประมาณ หลักทฤษฎีและแนววิเคราะห์เชิงปฏิบัติ. (พิมพค์ ูร้งที5่ ). กรุงเทพมหานคร : สุขภาพใจ. พรชัย ลิขติ ธรรมโรจน.์ (2550). การคลงรั ฐั บาลและการคลงัทอ้งถิ่น. (พิมพคู์รง้ ที1่ ). กรุงเทพมหานคร: โอนเดียนสโตร.์ 83 ไพรัช ตระการศริ ินนท์. (2548). การคลงั ภาครัฐ. (พิมพ์คูรง้ ที่2). เชยี งใหม่ :คนึงนิจการพิมพ.์ วงจรการบริหารงานคุณภาพ (PDCA: Deming Cycle). (2555). สืบค้นเม่ือวันที่ 20 กรกฎาคม 2564. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : http://colacooper.blogspot.com/2012/09/pdca.html. 69

ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์. (2546). แนวคิดและกระบวนการบริหารงานคลังและงบประมาณ. (พิมพ์ครงั้ ที่ 1). กรุงเทพมหานคร : สถาบนั ราชภฎั สวนดสุ ิต. สุภาพร ศรีษะเนตร. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตาม ยุทธศาสตร์ของสถานศึกษาระดับประถมศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสหกรรม มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี Frank P. Sherwood. (1964). The Management Approach to Budgeting. International Institute of Administrative Science. 70

ประวัติผ้เู ขยี น ชือ่ -สกุล (ภาษาไทย) นางโกลญั ญา ตายะ (ภาษาองั กฤษ) Mrs.Kolanya Taya เลขหมายบัตรประจาตวั ประชาชน 2 78 00007 6501 3 ตาแหน่งปัจจุบัน นกั วิเคราะห์นโยบายและแผน คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร หวั หนา้ สานกั งาน คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร หน่วยงานและทอ่ี ยูต่ ิดต่อสะดวก คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร มหาวิทยาลยั พะเยา โทรศัพท์ (054)466666 ต่อ 2322 โทรสาร (054)466666 ต่อ 2329 E-mail : [email protected] ประวตั ิการศึกษา ปริญญาตรี แขนงการบริหารทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏพบิ ูลสงคราม ประสบการณ์ท่เี กีย่ วข้องกบั งานวิจยั ผลงานวิจยั ที่ตพี ิมพ์ในวารสารระดับชาติและนานาชาติ โกลัญญา ตายะ, วรกฤต แสนโภชน์ และนางกมลทิพย์ รักเป็นไทย. รายงานสืบเนื่องจากการ ประชุมวิชาการระดับชาติ พะเยาวิจัย ครั้งที่ 3, 29-30 มกราคม 2558 : การศึกษา เปรียบเทียบผลสมั ฤทธิก์ ารจดั การเรียนการสอน และติดตามประเมินผลโครงการบ่มเพาะ และพัฒนาอาชีพเชิงบูรณาการ ภายใต้โครงการปฏิรูปหลักสูตรการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2555 โกลัญญา ตายะ และรังสรรค์ เกตุอ๊อต. รายงานสืบเน่ืองจากการประชุมวิชาการระดับชาติ พะเยาวิจัย ครั้งที่ 8, 24-25 มกราคม 2562: การศึกษาและวิเคราะห์กระบวนการ ดาเนินงานเพือ่ จดั ทาแผนพัฒนาบุคลากร กรณีศกึ ษาสานักงานคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่อื สาร 71

โกลัญญา ตายะ และมยุเรศ แสงสว่าง. รายงานสืบเน่ืองจากการประชุมวิชาการระดับชาติ สงั คมความรู้และดจิ ทิ ัจ The 5th National Conference in Knowledge & Digital Society วนั ที่ 12-13 มีนาคม 2563 โรงแรมแอมบาสซาเดอร์ ซิตี้ จอมเทียน : ทัศนคติของพนักงานสาย บริการ ในการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ตาแหน่งทางวิชาการ กรณีศึกษาสานักงานคณะ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร ผลงานวิจัยร่วมที่ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติและนานาชาติ ฐิติรัตน์ เชี่ยวสุวรรณ, ธุวนันท์ บวรวิทย์โชติกานต์, โกลัญญา ตายะ และวรกฤต แสนโภชน์. รายงานสืบเน่ืองจากการประชุมวิชาการระดับชาติ พะเยาวิจัย คร้ังที่ 3, 29-30 มกราคม 2558 : การประยุกต์ใช้ระบบจัดการกลยุทธ์เชิงดุลยภาพเพื่อสนับสนุนการ ตัดสินใจของผู้บริหาร. พลรบ สวัสดี ธิตินนท์ มณีธรรม ณัฐกร วงศ์ใหญ่ นิลุบล ปิงเมืองเหล็ก และนางโกลัญญา ตายะ. รายงานสืบเน่ืองจากการประชุมวิชาการระดับชาติ พะเยาวิจัย คร้ังที่ 9, 23-24 มกราคม 2563 : การพฒั นาระบบบริหารงานเพื่อบรู ณาการพันธกิจด้วยระบบฐานข้อมูล และระบบประกันคุณภาพการศกึ ษา กรณีศกึ ษา มหาวิทยาลัยพะเยา สัณห์ชัย หยีวิยม และโกลัญญา ตายะ. (2564). รายงานสืบเน่ืองจากการประชุมวิชาการ ร ะ ดั บ ช า ติ พ ะ เ ย า วิ จั ย ค รั้ ง ที่ 10 ปี 2564. วั น ที่ 2 5- 28 ม ก ร า ค ม 2 5 64. ระบบสารสนเทศการเพาะพันธ์ุเห็ด เพื่อการบริโภคและการส่งเสริมอาชีพ กรณีศึกษา พื้นที่โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริสมเด็จพระเทพ รัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยพะเยา. พลรบ สวัสดี โกลัญญา ตายะ และมยุเรศ แสงสว่าง. (2564). รายงานสืบเนื่องจากการประชุม วิชาการระดับชาติ พะเยาวิจัยคร้ังที่ 10 ปี 2564. วันที่ 25-28 มกราคม 2564. โครงการโมบายล์แอพพลิเคชั่นเพื่อจาลองและวางแผนการจัดส่งสินค้าทางการเกษตร สาหรับผลผลติ จากพืชเศรษฐกิจ จังหวัดพะเยา. 72

v