Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการปฏิบัติงาน เรื่อง จัดทำโครงการตามแผนปฏิบัติการ

คู่มือการปฏิบัติงาน เรื่อง จัดทำโครงการตามแผนปฏิบัติการ

Published by kolanya taya, 2021-09-14 02:44:51

Description: คู่มือการปฏิบัติงาน เรื่อง จัดทำโครงการตามแผนปฏิบัติการ
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มหาวิทยาลัยพะเยา

Search

Read the Text Version

คำนำ หน่วยแผนงาน มีหน้าที่สนับสนุนการดาเนินงานของหน่วยงาน และรับผิดชอบจัดทาคา ของบประมาณรายได้และแผ่นดิน ครอบคลุมตั้งแต่กระบวนการจัดทาของบประมาณ การขออนุมัติ ดาเนนิ โครงการ และการประสานงานเพื่อติดตามผล ซึ่งการปฏิบัติงานขึน้ อยู่กบั นโยบายและแนวทาง ของคณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร พร้อมกับประสานงานงบประมาณจากแหล่งทุน ภายนอก จึงเป็นการปฏิบัติหน้าที่สาคัญและเป็นประโยชน์ต่อ ผู้บริหาร ผู้บังคับบัญชา ตลอดจน บุคลากรของสานักงานคณะ ผู้จัดทาจึงมีแนวคิดในการจัดทาคู่มือการปฏิบัติงานฉบับนี้ขึ้น เพื่อให้เกิดความสะดวกต่อการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ผู้จัดทาคู่มือได้รวบรวมแบบฟอร์มต่างๆ ขั้นตอน ในการปฏิบัติงาน และตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อให้การจัดทาคู่มือนี้ เป็นเอกสารอ้างอิงในการปฏิบัติงาน สามารถปฏิบัติงานแทนกันได้ ลดข้ันตอนในการปฏิบัติงาน และลดการตอบคาถามของผใู้ ช้บริการ อีกทั้งยงั ใช้ระบบสารสนเทศควบคุมงบประมาณเข้ามาบริหาร จัดการ โดยเน้นความโปร่งใส ทนั สมยั เกิดประสทิ ธิภาพและประสิทธิผล ผู้จัดทาคู่มือการปฏิบัติงานนี้ หวังเป็นอvย่างยิ่งว่า คู่มือนี้จะเป็นประโยชน์ต่อคณะ เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร คณะตา่ งๆ และผสู้ นใจทว่ั ไป นางโกลัญญา ตายะ สิงหาคม 2564

สารบญั บทท่ี หน้า สารบญั สารบญั ภาพ 1 บทนํา 1 1.1 ความเปน็ มาและความสาคัญ 1 1.2 วัตถุประสงค์ 3 1.3 ขอบเขต 3 1.4 นิยามศพั ท์เฉพาะ 4 1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รบั v 4 2 บทบาทหน้าท่ีความรบั ผิดชอบ 5 2.1 โครงสร้าง/การบริหารจัดการ 5 2.2 ลักษณะงานที่ปฏิบตั ิ 15 2.3 บทบาทหนา้ ทีค่ วามรบั ผิดชอบของตาแหน่ง 16 3 หลักเกณฑ์ วิธีการปฏิบตั ิงาน และเงอ่ื นไข 24 3.1 หลกั เกณฑก์ ารปฏิบตั ิงาน 24 3.2 วธิ ีการปฏิบัติงาน 27 3.3 เง่อื นไข/ข้อสงั เกต/ข้อควรระวงั /สิ่งทีค่ วรคานึงในการปฏิบตั ิงาน 28 3.4 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกีย่ วข้อง 30

สารบัญ (ตอ่ ) หน้า บทท่ี 40 40 4 เทคนิคในการปฏิบตั ิงาน 42 4.1 กิจกรรม/แผนปฏิบตั ิงาน 59 4.2 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 62 4.3 วิธีการตดิ ตาม และประเมินผลการปฏิบัติงาน 62 4.4 จรรยาบรรณ/คุณธรรม/จริยธรรมในการปฏิบตั ิงาน 4.5 การวิเคราะหง์ บประมาณ 67 67 5 บทสรุป 67 5.1 ปญั หา อุปสรรคในการปvฏิบตั ิงาน 68 5.2 แนวทางแก้ไข และพัฒนางาน 5.3 ขอ้ เสนอแนะ บรรณานุกรม ประวตั ิผ้เู ขียน

สารบญั ภาพ หน้า ภาพที่ 11 12 1 แสดงโครงสร้างองค์กร 13 2 แสดงโครงสร้างการบริหารงาน 13 3 แสดงโครงสร้างการแบ่งสว่ นงาน (สานกั งานคณะ) 14 4 แสดงโครงสร้างการบริหารงาน (สานักงานคณะ) 47 5 แสดงโครงสร้างงานแผนงาน (ภายใต้สานกั งานคณะ) 48 6 แสดงการบันทึกข้อมลู โครงการเข้าระบบ BUDGET 49 7 แสดงการลบข้อมูลโครงการเข้าระบบ BUDGET 50 8 แสดงการการขอเปิดดาเนินโครงการผา่ นระบบ BUDGET 51 9 แสดงตวั อย่างการขออนุมัตดิ าเนินโครงการ 52 10 แสดงการขออนุมัติใชง้ บประมาณโครงการ 53 11 แสดงการพิมพใ์ บขออนุมัตใิ ช้งบปvระมาณโครงการ 54 12 แสดงตวั อย่างการขออนมุ ัตคิ ่าใช้จา่ ยในการดาเนินโครงการ 55 13 แสดงการกรอกตวั ชีว้ ัดในการดาเนินโครงการ 56 14 แสดงการกรอกสรุปผลในการดาเนินโครงการ 59 15 แสดงการพมิ พ์ผลในการดาเนินโครงการ 16 ผังการประเมินความสาเร็จของแผนยุทธศาสตร์ 65 17 แสดงสรุปผลการเบิกจ่ายงบประมาณทีไ่ ด้รบั การจัดสรร ประจาปีงบประมาณ 2564

สารบญั แผนภูมิ แผนภูมิที่ หนา้ 1 แสดงจานวนงบประมาณ ประจาปี พ.ศ. 2565 8 2 แสดงการวิเคราะหง์ บประมาณตามกองทุน ประจาปี พ.ศ. 2565 8 3 แสดงผลการเบิกจ่ายรายเดือน 57 4 แสดงผลการดาเนินงานรายเดือน 57 5 แสดงงบประมาณที่ได้รับการจดั สรร ประจาปีงบประมาณ 2564 63 6 แสดงงบประมาณทีไ่ ด้รับการจัดสรร ประจาปีงบประมาณ 2564 64 (แยกตามกองทุน) 7 แสดงสรุปผลการเบิกจ่ายงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร 65 ประจาปีงบประมาณ 2564 งบดาเนินงาน (กองทนุ เพื่อการศกึ ษา) 66 8 แสดงสรุปผลการเบิกจ่ายงบประมาณทีไ่ ด้รบั การจดั สรร ประจาปีงบประมาณ 2564 งบเงvินอดุ หนุน (โครงการ)

บทที่ 1 บทนา 1.1 ความเปน็ มาและความสาคัญ ตามนโยบายของประเทศไทยภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี “ประเทศไทยมีความมั่นคง ม่ังคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ประสานความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกสาชน และประชาชนเพื่อประโยชน์ส่วนรวม คือหัวใจสาคัญในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ที่มุ่งยกระดับรายได้ และคุณภาพชีวิต ของประชาชนอย่างต่อเนื่อง พร้อมสร้างความสุขอย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยึดหลักคุณธรรม จริยธรรมและธรรมภิบาล โดยมหาวิทยาลัยพะเยาได้จัดทาแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนามหาวิทยาลัยพะเยา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 – 2569 นี้ขึ้นเพื่อให้สอดคล้อง กับแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) (ร่าง) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ประกาศราชกิจจานุเษกษาเร่ือง คาแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2562 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 แผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ปี พ.ศ. 2561 - 2580 นโยบายและยุทธศาสตร์การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2563 – 2570 และแผนพัฒนาดิจิตอลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พ.ศ. 2561 – 2580 นโยบายไทยแลนด์ 4.0 มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่มมีการศึกษาแผนยุทธศาสตร์ชาติ และนโยบาย รัฐบาลที่เกี่ยวข้อง การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อการพัฒนามหาวิทยาลัย และการ เชื่อมโยงแผนยุทธศาสตร์ชาติกับแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย รวมทั้งการกาหนดแนวทางการ ติดตามประเมินผลแผนยุทธศาสตร์ไว้อย่างชัดเจน เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนามหาวิทยาลัยพะเยาให้ บรรลเุ ป้าหมายอย่างเปน็ รูปธรรม และแปลงไปสู่การปฏิบตั ิอย่างชัดเจน โครงการตามแผนปฏิบัติการ เป็นส่วนหนึ่งในการดาเนินงานของคณะเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร ที่ช่วยให้การดาเนินงานของคณะฯ บรรลุเป้าหมายตามแผนกลยุทธ์ เพื่อการพัฒนาคณะให้มีประสิทธิภาพ และการจัดทาโครงการที่ดีต้องมีองค์ประกอบที่สาคัญ เช่น การเตรียมข้อมูลโครงการ การวางแผน การดาเนินงาน การรายงานผล การสรุปผล และการ ประเมินผลโครงการ โดยทางคณะฯ ได้นาวงจรคุณภาพ (PDCA) เข้ามาร่วมในการดาเนินงานโครงการ เพื่อช่วยให้การดาเนินโครงการบรรลผุ ลมากยิ่งขึ้น ดังที่เดมมิ่ง (Deming In Mycoted, 2004) กล่าวว่า การจดั การอย่างมคี ุณภาพเป็นกระบวนการ ที่ดาเนินการตอ่ เนือ่ งเพือ่ ให้เกิดผลผลติ 1

และบริการที่มีคุณภาพขึ้น โดยหลักการที่เรียกว่า วงจรบริหารคุณภาพ (PDCA) หรือวงจรเดมมิ่ง ซึ่งประกอบด้วย 4 ดังน้ี Plan คือ กาหนดสาเหตุของปัญหา จากน้ันวางแผนเพือ่ การเปลี่ยนแปลงหรือ ทดสอบ เพื่อการปรับปรุงให้ดีขึ้น Do คือ การปฏิบัติตามแผนหรือทดลองปฏิบัติเป็นการนาร่องใน ส่วนย่อย Check คือ ตรวจสอบเพื่อทราบว่าบรรลุผลตามแผนหรือหากมีสิ่งใดที่ทาผิดพลาดหรือได้ เรียนรู้อะไร มาแล้วบ้าง Act คอื ยอมรบั การเปลี่ยนแปลง หากบรรลุผลเป็นที่น่าพอใจหรอื หากผลการ ปฏิบัติไม่เป็นไปตามแผน ให้ทาซ้าวงจรโดยใช้การเรียนรู้จากการกระทาในวงจรที่ได้ปฏิบัติไปแล้ว ท้ังนเี้ พือ่ เป็นมาตรฐานในการจดั ทาโครงการตามแผนปฏิบัติการ นั้น คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ได้รับการจัดสรรงบประมาณประจาปี จากมหาวิทยาลัยพะเยาเพื่อใช้ในการดาเนินงานภายในคณะฯ รวมถึง ค่าจ้าง ค่าตอบแทนใช้สอย และวัสดุ โครงการด้านพัฒนาคุณภาพนิสิต ด้านวิจัย ด้านบริการวิชาการ ด้านทานุบารุง ศลิ ปะวัฒนธรรม ด้านพัฒนาบคุ ลากรและการบริหารจัดการ รวมถึงโครงการพัฒนาศักยภาพผลการ เรียนรู้ที่คาดหวังของสาขาวิชา โครงการตามแผนปฏิบัติการเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนการ ดาเนินงานภายในของคณะฯ โดยการดาเนินการจัดทาโครงการตามแผนปฏิบัติการของคณะฯ ดาเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) คณะฯ ได้มอบหมายให้ผู้รับผิดชอบโครงการดาเนินงานให้ บรรลุตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ในแผนกลยุทธ์เพื่อการพัฒนาคณะของแต่ละปี เม่ือดาเนินงานเสร็จ แล้วต้องดาเนินการรายงานสรุปผลการดาเนินงานโครงการทั้งหมดให้กับทางคณะฯ เพื่อนาผลไป พัฒนา ปรบั ปรงุ หรอื แก้ไข ต่อไป ผู้จัดทาคู่มือจึงเล็งเห็นถึงความสาคัญในการจัดทาคู่มือการปฏิบัติงาน เร่ือง การจัดทา โครงการตามแผนปฏิบัติการ ของคณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อจดั ทาแนวทางที่เป็น มาตรฐานสาหรับการจัดทาโครงการตามแผนปฏิบัติการของคณะ และเพื่อให้ผู้รับผิดชอบโครงการ ทราบและเข้าใจกระบวนการจัดทาโครงการตามแผนปฏิบัติการ 2

1.2 วัตถุประสงค์ 1) เพือ่ จดั ทาแนวทางทีเ่ ปน็ มาตรฐานสาหรับการจัดทาโครงการตามแผนปฏิบตั ิการของคณะ 2) เพื่อให้ผู้รับผดิ ชอบโครงการทราบและเข้าใจกระบวนการจัดทาโครงการตาม แผนปฏิบัติการ 1.3 ขอบเขต คู่มือการปฏิบัติงานนี้ จัดทาขึ้นเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน เพื่อเป็นการ ยกระดับมาตรฐานการจัดทาโครงการอย่างเป็นระบบ และเพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน ให้แก่ผู้รับผิดชอบโครงการ ประธานหลักสูตร และผู้ที่เกี่ยวข้อง ครอบคลุมขั้นตอนการปฏิบัติงาน ตั้งแต่การจัดทาข้อเสนอโครงการ การวางแผน การดาเนินโครงการ การรายงานผลการดาเนิน โครงการ และประเมินผลโครงการ เพื่อวัดความสาเร็จในการดาเนินงาน และให้เกิดการปฏิบัติงาน ที่สามารถมั่นใจได้ว่าผลการดาเนินงานจะประสบความสาเร็จ บรรลุผลสัมฤทธิ์และบรรลุเป้าหมาย หลักของหน่วยงาน โดยกระบวนการหลักของการดาเนินงาน ได้ยึดหลักวงจรคุณภาพ (PDCA) ร อ บ ร ะ ย ะ เ ว ล า ใ น ก า ร จั ด ท า โ ค ร ง ก า ร ต า ม แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร จ ะ ด า เ นิ น ง า น ต า ม ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ ซึ่งในรอบปีงบประมาณจะเริ่มต้นในเดือน ตุลาคม ของแต่ละปี และสิ้นสุดในเดือนกันยายน ของแต่ละปี การดาเนินงานโครงการตามแผนปฏิบัติการต้องดาเนินการจัดทาข้อเสนอโครงการให้แล้วเสร็จก่อน ดาเนินงาน 15 วันทาการ เม่ือเสร็จสิ้นการดาเนินโครงการให้ดาเนินการจัดทารายงานผลการดาเนิน โครงการให้เสร็จสิ้นภายใน 15 วันทาการ และใช้ระเบียบการเบิกจ่ายงบประมาณ เร่ืองรายการ และอัตราเบิกจ่ายเงินรายได้มหาวิทยาลัยพะเยา พ.ศ.2563 และเร่ืองหลักเกณฑ์ วิธีการ เง่ือนไข และแนวปฏิบตั ิการจา่ ยเงนิ ยืม พ.ศ. 2561 3

1.4 นิยามศัพท์เฉพาะ 1) ปีงบประมาณ หมายถึง ระยะเวลาต้ังแต่วันที่ 1 ตุลาคม ของปีหนึ่ง ถึงวันที่ 30 กนั ยายน ของปีถดั ไป และใหใ้ ช้ปี พ.ศ. ที่ถัดไปนั้นเป็นช่อื ปีงบประมาณ 2) งบประมาณรายได้ หมายความว่า งบประมาณที่มาจากรายได้ของค่าธรรมเนียม และค่าหนว่ ยกิตที่นสิ ิตลงทะเบียนเรียน และหรอื รายได้อ่นื ๆ 3) โครงการตามแผนปฏิบัติการ หมายถึง โครงการหรือกิจกรรม ที่ได้รับการจัดสรร งบประมาณรายได้จากคณะฯ 4) ผู้รับผิดชอบโครงการ หมายถึง ผู้ที่ได้รับมอบหมายจากคณะฯ ให้รับผิดชอบ และดาเนนิ งานโครงการต้ังแตต่ ้นจนแลว้ เสร็จ 5) วงจรบริหารคุณภาพ PDCA หมายถึง การบริหารคุณภาพโดยมีองค์ประกอบ 4 ขั้นตอน Plan-Do-Check-Act เป็นกระบวนการที่ใช้ปรับปรุงการทางานอย่างเป็น ระบ บ Plan คือ กาหนดสาเหตุของปัญหา และวางแผนการดาเนินงาน Do คือ การปฏิบัติตามแผน Check คือ ตรวจสอบเพื่อทราบว่าบรรลุผลตามแผน Act คือยอมรับการเปลี่ยนแปลง หากบรรลุผล เป็นที่น่าพอใจหรือหากผลการปฏิบัติไม่เป็นไปตามแผน ให้ทาซ้าวงจรโดยใช้การเรียนรู้จากการกระทา ในวงจรทีไ่ ด้ปฏิบัติไปแล้ว ทั้งนีเ้ พื่อเปน็ มาตรฐานในการจัดทาโครงการตามแผนปฏิบัติการ 1.5 ประโยชน์ท่คี าดว่าจะไดร้ บั 1) คณะฯ มีแนวทางที่เปน็ มาตรฐานสาหรบั การจัดทาโครงการตามแผนปฏิบัติการ 2) ผรู้ บั ผิดชอบโครงการทราบและเข้าใจกระบวนการจัดทาโครงการตามแผนปฏิบัติการ 3) ผรู้ ับผิดชอบโครงการตามแผนสามารถปฏิบตั ิงานทดแทนกันได้ 4) การดาเนินงานโครงการตามแผนปฏิบตั ิการเปน็ มาตรฐานเดียวกัน 4

บทที่ 2 บทบาทหนา้ ทีค่ วามรบั ผดิ ชอบ 2.1 โครงสร้าง/การบริหารจดั การ (1) ประวตั ิความเป็นมาของคณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยพะเยา จัดต้ังขึ้น โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อผลิตบัณฑิตสาขาวิชาทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร สอดคล้อง ตามเป้าหมายการเป็นมหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบ (Comprehensive University) ของมหาวิทยาลัย พะเยา ที่มุ่งเน้นการผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ในกลุ่มวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มีปณิธานว่า “ปัญญาเพื่อความเข้มแข็งของชุมชน” และของคณะฯ มีปรัชญาว่า “ดารงชีวิตด้วยปัญญา ประเสริฐที่สุด” มีวิสัยทัศน์ว่า “ผลิตกาลังคนด้านดิจิทัลพร้อมใช้งาน พัฒนา งานวิจัยและนวัตกรรมสู่ชุมชน ด้วยมาตรฐานสากล” โดยมีพันธกิจและประเด็นยุทธศาสตร์ 5 ด้าน ได้แก่ 1) การผลิตและพัฒนาบคุ ลากรใหม้ ีสมรรถนะด้านดิจิทลั และเท่าทันการเปลี่ยนแปลง 2) การพัฒนางานวิจัยและนวตั กรรมดิจทิ ัล เพือ่ ขบั เคลือ่ นชุมชนและประเทศชาติ 3) การบริการวิชาการ พฒั นาชมุ ชนด้วยเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล 4) การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรมด้วยเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั 5) การบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพโดยยึดหลกั ธรรมาภิบาล ประวัติความเป็นมาของคณะ ก่อกาเนิดขึ้นเม่ือวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2544 โดยใช้ชื่อ ว่า กลุ่มวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สังกัดสานักวิชาการวิทยาเขตสารสนเทศพะเยา มหาวิทยาลัย นเรศวร ในระยะเริ่มแรกได้เปิดสอนเพียง 1 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ต่อมาในปี 2545 ได้เปลี่ยนชื่อเป็น สานักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และเปิดสอนเพิ่มอีก 2 สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ และสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ในปี พ.ศ. 2550 – 2551 สานักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ได้เปิดสอนเพิ่มอีก 2 สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และสาขาวิชาภูมสิ ารสนเทศศาสตร์ 5

ต่อมาเมือ่ วันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ภูมิพลอดุลยเดช ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยพะเยา และประกาศในราช กิจจานุเบกษาเม่ือวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 มีผลบังคับใช้เป็น \"มหาวิทยาลัยพะเยา\" โดยสมบูรณ์ ตั้งแต่วันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 เป็นต้นไป มหาวิทยาลัยพะเยาจึงได้ออกประกาศ มหาวิทยาลัยพะเยา เร่ืองการจัดต้ังส่วนงานวิชาการของมหาวิทยาลัยพะเยา พ.ศ.2 553 ข้อ 4 ให้จดั ตงั้ สว่ นงานวิชาการ ตามมาตรา 7(3) แหง่ พระราชบญั ญัติมหาวิทยาลัยพะเยา พ.ศ. 2553 ประกอบด้วย 13 คณะ 2 วิทยาลัย จึงมีผลให้สานักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร มีฐานะ เป็น “คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร” ต้ังแตว่ นั ที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2553 เป็นต้นมา ด้านการบริหารจัดการ มหาวิทยาลัยพะเยา ได้มี คาสั่งที่ 306/2553 ลงวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2553 เรื่อง แตง่ ตง้ั รองศาสตราจารย์ ดร.สภุ กร พงศบางโพธิ์ เป็นผู้รกั ษาการในตาแหน่งคณบดี คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ต่อมาได้มีคาสั่งที่ 107/2554 ลงวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 เร่ือง แต่งต้ังผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฐิติรัตน์ เชี่ยวสุวรรณ เป็นผู้รักษาการในตาแหน่ง คณบดีคณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และได้มีคาสั่งที่ 349/2554 ลงวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2554 แต่งตั้งผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฐิติรัตน์ เชี่ยวสุวรรณ เป็นคณบดีคณะเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร ต่อมาได้มีคาส่ังที่ 1220/2562 ลงวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 เรือ่ ง แตง่ ตง้ั ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พระเทพ โรจนวสุ เป็นคณบดีคณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร ดารงตาแหน่งตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2562 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน โดยมีโครงสร้างการ บริหารงานในคณะแบ่งเป็น 13 หลักสูตร 1 สานักงานคณะ 5 งาน และจัดการเรียนการสอนระดับ ปริญญาตรี 8 หลักสูตร ปริญญาตรีคู่ขนาน 2 หลักสูตร ระดับปริญญาโท 3 หลักสูตร และปริญญา เอก 1 หลักสตู ร ดังน้ี ปริญญาตรี 8 หลักสูตร 1. หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรม คอมพิวเตอร์ 2. หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ 3. หลักสูตรวิทยา ศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการข้อมูลและการประยุกต์ 4. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ 5.หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสารสนเทศศาสตร์ 7. หลักสูตรธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ 8. หลักสตู รศิลปะศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิกและมัลติมีเดีย 6

ปริญญาตรีคู่ขนาน 1 หลักสูตร 1. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ และหลกั สตู รศิลปศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาองั กฤษ ปริญญาโท 3 หลักสูตร 1. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ 2. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสารสนเทศ ประยุกต์ 3. หลกั สูตรวิทยาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ปริญญาเอก 1 หลักสตู ร คือ หลกั สตู รปรัชญาดษุ ฎีบัณฑติ สาขาวิชาภูมสิ ารสนเทศประยุกต์ ปัจจุบันมีจานวนนิสิตระดับปริญญาตรี จานวน 1,322 คน นิสิตระดับปริญญาโท จานวน 22 คนนิสิตปริญญาเอก จานวน 2 คน มีจานวนบุคลากรจานวนท้ังสิ้น จานวน 87 คน จานวนบคุ ลากรสายสนับสนนุ จานวน 23 คน และบุคลากรสายวิชาการ จานวน 64 คน มาปฏิบัติงาน จานวน 57 คน ลาศึกษาต่อ จานวน 7 คน ซึ่งบุคลากรสายวิชาการมีคุณวุฒิปริญญาเอก จานวน 29 คน ระดับปริญญาโท จานวน 35 คน โดยมีผู้ดารงตาแหน่งทางวิชาการระดับผู้ช่วย ศาสตราจารย์ จานวน 14 คน และรองศาสตราจารย์ จานวน 1 คน คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารได้รับการจดั สรรงบประมาณประจาปี ดังน้ี ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ได้รับจัดสรรงบประมาณทั้งสิ้น 6,496,687 บาท แบ่งเป็น 1) งบบริหารจดั การ จานวน 3,073,047 บาท คิดเปน็ ร้อยละ 47 2) กองทนุ เพื่อการศกึ ษา จานวน 1,883,640 บาท คิดเป็นร้อยละ 29 3) กองทุนกิจการนิสิต (พัฒนาคุณภาพนิสิต) จานวน 1,100,00 บาท คิดเป็น ร้อยละ 174) กองทุนวิจัย จานวน 340,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 5 และ 5) กองทุนทานุบารุงศิลปะ และวัฒนธรรม จานวน 100,000 บาท คิดเป็นรอ้ ยละ 2 7

แผนภูมิที่ 1 แสดงจานวนงบประมาณ ประจาปี พ.ศ. 2565 แผนภมู ิที่ 2 แสดงการวิเคราะหง์ บประมาณตามกองทุน ประจาปี พ.ศ. 2565 8

(2) เอกลักษณแ์ ละวฒั นธรรมของคณะ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ได้กาหนดเอกลกั ษณ์เหมือนกบั มหาวิทยาลัย คือ “ปัญญาเพือ่ ความเข้มแขง็ ของชมุ ชน” โดยมีแผนในการพัฒนาและส่งเสริมเอกลักษณ์ดังกล่าว ด้วยการบูรณาการการเรียน การสอน กับ การบริการวิชาการ การวิจัย และการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ที่สอดคล้องกับ นโยบายของมหาวิทยาลัยที่มุ่งเป็นมหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบ (Comprehensive University) พัฒนา องค์ความรสู้ ู่ชุมชนใหเ้ ข้มแข็งและสังคมเป็นสขุ (Community Engagement) คณาจารย์มีผลงานตีพิมพ์ ท้ังในระดับสากล (International Publication) และผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ และได้มาตรฐานสากล สู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community) เพื่อมุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยที่อยู่ ในระดับสากล (Partially World Class) (3) ปรัชญา “ดารงชีวติ ด้วยปญั ญา ประเสริฐทีส่ ดุ ” (4) วิสยั ทศั น์ “ปญญฺ าชีวี เสฏฐชวี ี นาม” “A Life of Wisdom is the Most Wondrous of All” “ผลิตกาลังคนด้านดิจิทัลพร้อมใช้งาน พัฒนางานวิจัยและนวัตกรรมสู่ชุมชน ด้วยมาตรฐานสากล” (5) อัตลักษณ์ของบณั ฑิต คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ได้กาหนดอัตลักษณ์ของบัณฑิต สอดคล้อง กบั มหาวิทยาลยั คือ “มีสนุ ทรียภาพ มสี ุขภาพดี มีบุคลิกภาพดี” 9

(6) ขอ้ กาหนดด้านคุณธรรมจริยธรรมของนิสิต คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ได้กาหนดคุณธรรมจริยธรรมของนิสิต สอดคล้องกับมหาวิทยาลัย คือ “ซื่อสัตย์ มีวินัย ใจอาสา และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างสรา้ งสรรค”์ (7) คา่ นยิ มร่วมองคก์ ร U - Unity - ทางานรวมกันเป็นหนง่ึ มุ่งสเู่ ป้าหมาย P - Professional - ทางานอย่างมอื อาชีพ เพือ่ คณุ ภาพ และมาตรฐาน I - Innovation - มุ่งมน่ั สร้างนวตั กรรม เพือ่ พัฒนางาน C - Customer - มุ่งเน้นผู้เรียน/รบั บริการ T - Trust - สร้างความเช่อื ม่นั และชอ่ื เสียงใหก้ ับองค์กร (8) ค่านยิ มการผลิตบณั ฑิต คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการ ได้กาหนดค่านิยมในการผลิตบัณฑิตของคณะ เพื่อให้บุคลากรทุกคนได้ยึดเป็นแนวปฏิบัติในการจัดการเรียนการสอนและการจัดกิจกรรมเสริม ทกั ษะต่าง ๆ ใหส้ อดคล้องกับแนวทางการดาเนินงาน ดงั น้ี Innovation - สง่ เสรมิ ให้นสิ ิตมีแนวคดิ การพฒั นานวตั กรรมและความเป็นผู้ประกอบการ Communication - ส่งเสรมิ ให้นสิ ิตมีทักษะในการสื่อสารและการนาเสนองาน Team collaboration - ส่งเสรมิ ใหน้ ิสิตทางานรว่ มกันเปน็ ทีมท้ังในศาสตรแ์ ละข้ามศาสตร์ New technology - ส่งเสรมิ ให้นสิ ิตได้เรียนรเู้ ทคโนโลยีใหม่ที่ใชใ้ นสถานประกอบการ Endeavor - สง่ เสรมิ ให้นสิ ิตมีความมงุ่ มัน่ ทุ่มเท และเสยี สละในการทางาน eXperimental - ส่งเสรมิ ให้นิสติ ได้รับประสบการณก์ ารทางานจรงิ โดยผู้ประกอบการมีส่วนร่วม Toward community - ส่งเสรมิ ใหน้ ิสิตไดม้ ีส่วนรว่ มในการพัฒนาชุมชน 10

(9) โครงสรา้ งองค์กร คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร แบ่งโครงสร้างภายในองค์กร ออกเป็น 4 ระดับ ได้แก่ ระดับมหาวิทยาลัย ระดับคณะ ระดับฝ่าย และระดับงาน โดยระดับฝ่าย ประกอบด้วย ฝ่ายบริหารและวางแผน ฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม ฝ่ายวิชาการและประกันคุณภาพ ฝ่าย คุณภาพนิสิต และสานักงานคณะโดยในสานักงานคณะจะแบ่งแยกย่อยออกเป็นงาน และภายใต้งาน จะประกอบไปด้วยงานย่อยๆ ตามภาระหนา้ ที่ความรับผดิ ชอบของแตล่ ะงาน ดงั แผนภาพต่อไปนี้ ภาพที่ 1 แสดงโครงสร้างองค์กร 11

(10) โครงสร้างการบริหาร คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีฐานะเป็นคณะวิชาสังกัดของมหาวิทยาลัย พะเยา ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยพะเยา พ.ศ. 2553 โดยมีสภามหาวิทยาลัยเป็นองค์กร กากับดูแลการดาเนินงานของมหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยพะเยามีอธิการบดีเป็นผู้บริหารสูงสุด สาหรับการบริหารงานในระดับคณะจะมีคณบดีเป็นผู้บริหารสูงสุด และมีผู้บริหารระดับลาดับถัดไป คือ รองคณบดี ผชู้ ่วยคณบดี ประธานหลักสตู ร หัวหนา้ สานักงาน และหัวหนา้ งาน ตามลาดบั ภาพที่ 2 แสดงโครงสร้างการบริหารงาน 12

(11) โครงสร้างการแบ่งสว่ นงาน (สานักงานคณะ) สานักงานคณะ ประกอบด้วยหน่วยงานย่อย 4 งาน ดงั นี้ 1. งานบริหารทั่วไป 2. งานวิชาการ 3. งานแผนงาน 4. งานปฏิบตั ิการ ดงั แผนภาพต่อไปนี้ ภาพที่ 3 แสดงโครงสรา้ งการแบ่งส่วนงาน (สานกั งานคณะ) (12) โครงสรา้ งการบริหารงาน (สานักงานคณะ) สานกั งานคณะ ประกอบด้วยหน่วยงานย่อย 4 งาน ดงั น้ี 1. งานบริหารท่ัวไป 2. งานวิชาการ 3. งานแผนงาน 4. งานปฏิบตั ิการ ดังแผนภาพต่อไปนี้ ภาพที่ 4 แสดงโครงสร้างการบริหารงาน (สานักงานคณะ) 13

(13) โครงสร้างงานแผนงาน (ภายใต้สานกั งานคณะ) งานแผนงาน ประกอบด้วย 5 หนว่ ยหลกั ดังน้ี 1. หนว่ ยแผนงาน 2. หนว่ ยบริการวิชาการ 3. หนว่ ยวิจยั และนวัตกรรม 4. หนว่ ยเทคโนโลยีสารสนเทศ 5. หนว่ ยเลขานกุ ารผู้บริหาร ดงั แผนภาพต่อไปนี้ ภาพที่ 5 แสดงโครงสรา้ งงานแผนงาน (ภายใต้สานักงานคณะ) 14

2.2 ลักษณะงานท่ปี ฏิบตั ิ หน่วย แผนงาน เป็นหน่วยงานย่อยที่อยู่ภายใต้การกับ ดูแลของสานักงาน คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตามประกาศมหาวิทยาลัยพะเยา เรือ่ ง การแบ่งหนว่ ยงาน ย่อย ระดบั งาน พ.ศ. ๒๕๖๒ และมีลักษณะงานทีป่ ฏิบัติ ดงั น้ี หนว่ ยแผนงาน มีลกั ษณะงาน ดงั น้ี จัดทาคาของบประมาณรายได้ จัดทาข้อมูลประกอบการของบประมาณรายจ่าย (แผ่นดิน) จัดทาแผนการใช้จ่ายงบประมาณรายได้ จัดทาระบบ Budget ของคณะ และประสานงาน ผู้รับผิดชอบโครงการกรอกข้อมูลลงระบบ Budget ดาเนินการปรับ/แก้ไข/ประสานงานกองแผน ในการใช้งานระบบ Budget เบื้องต้น จัดทาการปรับแผนการใช้งบประมาณ และโอนหมวดเงิน ควบคุมการใช้งบประมาณและการขออนุมัติเบิกจ่ายงบประมาณ เร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ ให้เป็นไปตามแผนที่กาหนด จัดทา ติดตาม ตรวจสอบ และรายงานแผน ยุทธศาสตร์ เพื่อการพัฒนาคณะ และแผนปฏิบตั ิการประจาปี รวบรวมเอกสารเพือ่ รับรองการประเมินที่เกีย่ วข้อง กบั แผนกลยทุ ธ์และแผนปฏิบัติการจากหน่วยงานภายนอก ตรวจการขออนุมัติโครงการในแผนปฏิบัติ การประจาปี สรุปจานวนความสาเร็จของ KPIs ของกลยุทธ์เพื่อการพัฒนาคณะ ของแผนปฏิบัติการ ประจาปี ตามนโยบายของอธิการบดี รวบรวมข้อมูลในการจัดทารายงานประจาปีของคณะ ให้ข้อมูลประกอบการจัดทารายงานประจาปีของมหาวิทยาลัย จัดทาเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ การประชุมคณะกรรมการประจาคณะ ติดตามงาน และดาเนินงาน ตามที่ได้รับมอบหมายในระบบ E-document การประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย เพื่อดาเนินการตามนโยบาย ของมหาวิทยาลัย การเป็นคณะกรรมการและคณะทางานโครงการตามแผนงานและโครงการนอก แผนปฏิบัติการของคณะ คณะกรรมการดาเนินงานและประสานงานสานักงานสีเขียว Green Office และงานอ่ืน ๆ ที่ได้รับมอบหมาย 15

2.3 บทบาทหน้าท่คี วามรับผิดชอบของตาแหนง่ บทบาทหน้าท่ีความรบั ผิดชอบของตาแหน่ง (ตามมาตรฐานกาหนดตาแหน่งของข้าราชการพลเรอื น ในสถาบนั อดุ มศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ ในตาแหน่งนกั วิเคราะหน์ โยบายและแผน ระดับชานาญการพเิ ศษ) ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ โดยใช้ความรู้ ความสามารถ ความชานาญงาน ทักษะ และประสบการณ์ทางด้านนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ปฏิบัติงานที่ต้อง ทาการศึกษา ค้นคว้า ทดลอง วิเคราะห์ สังเคราะห์ หรือการวิจัย เพื่อการปฏิบัติงานหรือพัฒนางาน ต้องตัดสิใจหรือแก้ไขปัญหาในงานที่มีความยุ่งยากมีขอบเขตเนื้อหากว้างขวางและปฏิบัติงาน ตามที่ได้รับมอบหมาย หรือ ปฏิบัติงานในฐานะหัวหน้างาน มีหน้าที่ความรับผิดชอบในการควบคุม การปฏิบัติงานที่มีขอบเขตเน้ือหาของงานหลายหลาย และมีขั้นตอนการทางานที่ยุ่งยากซับซ้อนมาก โดยใช้ความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ และความชานาญงานสูงมากในงานด้านวิเคราะห์นโยบาย และแผนปฏิบัติงานที่ต้องตัดสินใจหรือแก้ไขปัญหาในงานที่ยุ่งยากซับซ้อนมาก ตลอดจนกากับ และตรวจสอบการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติงาน เพื่อให้งานที่รับผิดชอบสาเร็จตามวัตถุประสงค์ และปฏิบัติหน้าที่อน่ื ตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลกั ษณะงานที่ปฏิบตั ิในด้านต่างๆ ดังน้ี 1. ดา้ นปฏิบัติการ (1) ปฏิบัติการด้านงานวิเคราะห์นโยบายและแผนขั้นสูงที่ยุ่งยากซับซ้อน ควบคุม ตรวจสอบการปฏิบัติงานวิเคราะหน์ โยบายและแผน เพือ่ ให้เปน็ ไปตามมาตรฐานทีก่ าหนด (2) ศึกษา ค้นคว้า ทดลอง วิเคราะห์ สังเคราะห์ หรือวิจัยที่ยุ่งยากซับซ้อน พัฒนาเอกสารวิชาการ คู่มือเกี่ยวกับงานในความรับผิดชอบ และเผยแพร่ผลงานทางด้านวิเคราะห์ นโยบายและแผนเพื่อก่อให้เกิดการพัฒนางานวิชาการ เทคนิควิธีการ กาหนดแนวทาง พัฒนาระบบ และมาตรฐานของงานให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพยิ่งขึ้น หรือเพื่อหาวิธีการในการแก้ไขปัญหา เกีย่ วกับงานด้านวิเคราะหน์ โยบายและแผน 16

(3)ให้บริการวิชาการด้านต่างๆ เช่น ฝึกอบรม และเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ หลักการและวิธีการของงานในด้านวิเคราะห์นโยบายและแผน ให้คาปรึกษา แนะนา ตอบปัญหาและ ชี้แจงเร่ืองต่างๆ เกี่ยวกับงานในหน้าที่ เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง มีประสิทธิภาพ เข้า ร่วมประชุมคณะกรรมการต่างๆ ตามที่ได้รับแต่งตั้งเพื่อให้ข้อมูลทางวิชาการประกอบการพิจารณา และตดั สินใจ และปฏิบัติหน้าที่อ่นื ที่เกี่ยวข้อง (4) ในฐานะหัวหน้างาน นอกจากอาจปฏิบัติตามข้อ (1)-(3) ดังกล่าวข้างต้นแล้วต้องทา หนา้ ทีก่ าหนดนโยบายการปฏิบัติงาน ติดตอ่ ประสานงาน วางแผน มอบหมาย ส่งเสริม กากบั ควบคมุ ดูแล และตรวจสอบ ให้คาปรึกษา แนะนา ปรับปรุงแก้ไข ติดตามประเมินผล และแก้ไขปัญหา ข้อขัดข้องในการปฏิบัติงานในหน่วยงานที่รับผิดชอบเพื่อให้การปฏิบัติงานบรรลุตามเป้าหมายและ ผลสมั ฤทธิ์ที่กาหนด 2. ดา้ นการวางแผน ร่วมกาหนดนโยบาย แผนงานหรือโครงการของหน่วยงานที่สังกัด วางแผนหรือร่วมวาง แผนการทางานตามนโยบาย แผนงาน หรอื โครงการของหน่วยงาน แก้ไขปญั หาในการปฏิบตั ิงานและ ติดตามประเมินผล เพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ทีก่ าหนด 3. ด้านการประสานงาน (1) ประสานการทางานภายในสถาบันอุดมศึกษา หรือองค์กรอื่น โดยมีบทบาทในการ เจรจา โน้มนา้ ว เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสมั ฤทธิ์ตามทีก่ าหนดไว้ (2) ให้ข้อคิดเห็น และคาแนะนา แก่หน่วยงานภายในสถาบันอุดมศึกษา รวมทั้งที่ประชุมทั้งใน และต่างประเทศ เพือ่ เปน็ ประโยชน์และเกิดความร่วมมอื ในการดาเนินงานร่วมกนั 4. ด้านการบรกิ าร (1) ให้คาปรึกษา แนะนา ถ่ายทอดความรู้ ทางด้านวิเคราะห์นโยบายและแผนที่ยุ่งยาก ซับซ้อนแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา นักศึกษา ผู้รับบริการท้ังภายในและภายนอกหน่วยงาน รวมทั้งตอบ ปัญหา และชี้แจงเร่ืองต่างๆ เกี่ยวกับงานในหน้าที่ เพื่อพัฒนาความรู้ เทคนิค และทักษะ ให้สามารถ นาไปประยุกต์ใชใ้ นการแก้ไขปัญหาและดาเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 17

(2) กาหนดแนวทางรูปแบบ วิธีการเผยแพร่ ประยุกต์เทคโนโลยีระดับสากลเพื่อให้ สอดคล้องสนับสนุนภารกิจขององค์กร (3)จัดทาฐานข้อมูลระบบสารสนเทศที่เกี่ยวกับงานที่รับผิดชอบ เพื่อก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยน เรียนรู้และพฒั นาองค์กร บทบาทหนา้ ทีค่ วามรับผิดชอบ (ตามที่ไดร้ บั มอบหมายจากคณะเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร มหาวทิ ยาลยั พะเยา ในตาแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ปฏิบตั ิงานด้านแผนงาน) การดาเนินงานด้านงานแผนงาน เป็นงานที่มีความสาคัญต่อองค์กรเป็นอย่างมาก เนื่องจาก เป็นงานด้านการบริหารงานการวางแผนในด้านต่าง ๆ ซึ่งส่งผลต่อการบริหารงานของ องค์กร ปัจจุบันผู้จัดทาคู่มือ ดารงตาแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ระดับปฏิบัติการ ทาหน้าที่ บริหารและดาเนนิ งานด้านงานแผนงาน โดยมีหนา้ ที่ความรบั ผดิ ชอบ ดังน้ี 1. จดั ทาคาของบประมาณรายได้ 2. จดั ทาขอ้ มลู ประกอบการของบประมาณรายจ่าย (แผ่นดนิ ) 3. จัดทาขอ้ มูลประกอบการขอครุภัณฑ์การศกึ ษา (แผ่นดนิ ) 4. จัดทาแผนครุภณั ฑ์การศกึ ษา 5 ปี (แผ่นดนิ ) 5. จดั ทาแผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณรายได้ 6. จัดทาระบบ Budget ของคณะ และประสานงานผู้รับผิดชอบโครงการกรอกข้อมูล ลงระบบ Budget 7. ดาเนินการปรบั /แก้ไข/ประสานงานกองแผน ในการใชง้ านระบบ Budget เบือ้ งตน้ 8. จดั ทาการปรบั แผนการใชง้ บประมาณ และโอนหมวดเงิน 9. ควบคุมการใชง้ บประมาณและการขออนุมัตเิ บิกจ่ายงบประมาณ 10. เร่งรดั การเบิกจ่ายงบประมาณให้เป็นไปตามแผนทีก่ าหนดไว้ 11. จดั ทาแผนกลยุทธ์เพื่อการพฒั นาคณะ และแผนปฏิบัติการประจาปี 18

12. ติดตามผลการดาเนินงานตามแผนกลยุทธ์ และรายงานผลการดาเนินงานตาม แผนปฏิบตั ิการประจาปี 13. รายงานผลการดาเนินงานตามแผนกลยุทธ์ และรายงานผลการดาเนินงานตาม แผนปฏิบัติการประจาปี 14. รวบรวมเอกสารเพื่อรับรองการประเมินที่เกี่ยวข้องกับแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติ การจากหน่วยงานภายนอก 15. ตรวจการขออนุมัตโิ ครงการในแผนปฏิบัติการประจาปี 16. สรุปจานวนความสาเร็จของ KPIs ของกลยทุ ธ์เพื่อการพฒั นาคณะ 17. สรปุ จานวนความสาเร็จของ KPIs ของแผนปฏิบัติการประจาปี 18. สรุปจานวนความสาเร็จของ KPIs ตามนโยบายของอธิการบดี 19. ให้คาปรึกษา แนะนา และถ่ายทอดความรู้ ทางด้านงบประมาณ และวิเคราะห์ นโยบายและแผนให้กบั ผรู้ ับบริการ 20. ประสานงานกับกองแผนงาน เกี่ยวกับการวางแผนงบประมาณและการจัดทาแผน ยทุ ธศาสตรเ์ พือ่ การพฒั นาคณะ 21. รวบรวมข้อมลู ในการจัดทารายงานประจาปีของคณะ 22. ใหข้ ้อมูลประกอบการจดั ทารายงานประจาปีของมหาวิทยาลัย 23. จัดทาเอกสารต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการประชมุ คณะกรรมการประจาคณะ 24. ตดิ ตามงาน และดาเนนิ งาน ตามที่ได้รบั มอบหมายในระบบ E-document 25. เป็นคณะกรรมการและคณะทางานโครงการตามแผน และโครงการนอกแผนปฏิบัติ การของคณะ 26. งานอ่นื ๆ ทีไ่ ด้รับมอบหมาย 19

จากบทบาทหน้าที่ความรับ ผิดชอบ และลักษณะงานที่ป ฏิบัติ ของผู้จัดทา ในตาแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ทาหน้าที่บริหารและดาเนินงานด้านแผนงาน จึงสรุปตาม มาตรฐานกาหนดตาแหน่ง และภาระงานทีป่ ฏิบัติได้ ดังน้ี มาตรฐานกาหนดตาแหน่ง ภาระงาน ด้านการปฏิบัติงาน ดา้ นการปฏิบัติงาน (1) ปฏิบัติการด้านงานวิเคราะหน์ โยบายและ (1) จัดทาคาของบประมาณรายได้ แผนข้ันสูงที่ยุ่งยากซับซ้อน ควบคุม (2) จั ด ท า ข้ อ มู ล ป ร ะ ก อ บ ก า ร ข อ ต ร ว จ ส อ บ ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น วิ เ ค ร า ะ ห์ นโยบายและแผน เพื่อให้เป็นไปตาม งบประมาณรายจ่าย (แผ่นดนิ ) มาตรฐานทีก่ าหนด (3) จัดทาข้อมูลประกอบการขอครุภัณฑ์ (2) ศึกษ า ค้นคว้า ท ดลอง วิเครา ะ ห์ การศกึ ษา (แผ่นดนิ ) สังเคราะห์ หรือวิจัยที่ยุ่งยากซับซ้อน (4) จัดทาระบบ Budget ของคณะ และ พฒั นาเอกสารวิชาการ คู่มอื เกี่ยวกับงาน ในความรับผิดชอบ และเผยแพร่ผลงาน ประสานงานผู้รับผิดชอบโครงการ ทางด้านวิเคราะห์นโยบายและแผนเพื่อ กรอกข้อมูลลงระบบ Budget ก่อให้เกิดการพัฒนางานวิชาการ เทคนิค (5) ควบคุมการใช้งบประมาณและการ วิธีการ กาหนดแนวทาง พัฒนาระบบ ขออนุมตั เิ บิกจ่ายงบประมาณ และมาตรฐานของงานให้มีคุณภาพและ (6) เร่งรัดการเบิกจ่ายงบป ระมาณ ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น หรือเพื่อหาวิธีการใน ให้เป็นไปตามแผนทีก่ าหนดไว้ ก า ร แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า เกี่ ยว กับ งา น ด้าน (7) ติดตามผลการดาเนินงานตามแผน วิเคราะหน์ โยบายและแผน ยุทธศาสตร์ และรายงานผลการ ด า เ นิ น ง า น ต า ม แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร ประจาปี (8) รายงานผลการดาเนินงานตามแผน ยุทธศาสตร์ และรายงานผลการ 20

มาตรฐานกาหนดตาแหน่ง ภาระงาน (3) ใ ห้ บ ริ ก า ร วิ ช า ก า ร ด้ า น ต่ า ง ๆ เ ช่ น ด า เ นิ น ง า น ต า ม แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร ฝกึ อบรม และเผยแพร่ความรคู้ วามเข้าใจ ประจาปี เกี่ยวกับหลักการและวิธีการของงานใน (9) รวบรวมเอกสารเพื่อรับรองการ ด้านวิเคราะห์นโยบายและแผน ให้ ป ร ะ เ มิ น ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ แ ผ น คาปรึกษา แนะนา ตอบปัญหาและชี้แจง ยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการจาก เร่ืองต่างๆ เกี่ยวกับงานในหน้าที่ เพื่อให้ หนว่ ยงานภายนอก สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง มี (10)ต ร ว จ ก า ร ข อ อ นุ มั ติ โ ค ร ง ก า ร ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ เ ข้ า ร่ ว ม ป ร ะ ชุ ม ในแผนปฏิบตั ิการประจาปี คณะกรรมการต่างๆ ตามที่ได้รับแต่งตั้ง (11) สรุปจานวนความสาเร็จของ KPIs เพื่อให้ข้อมูลทางวิชาการประกอบการ ของยทุ ธศาสตรเ์ พือ่ การพัฒนาคณะ พิจารณาและตัดสินใจ และปฏิบัติหน้าที่ (12)สรุปจานวนความสาเร็จของ KPIs อื่นที่เกีย่ วข้อง ของแผนปฏิบตั ิการประจาปี (13)สรุปจานวนความสาเร็จของ KPIs (4) ในฐานะหัวหน้างาน นอกจากอาจปฏิบัติ ตามนโยบายของอธิการบดี ตามข้อ (1)-(3) ดังกล่าวข้างต้นแล้วต้อง ทาหน้าที่กาหนดนโยบายการปฏิบัติงาน ติดต่อประสานงาน วางแผน มอบหมาย ส่งเสริม กากับ ควบคุม ดูแล แล ะ ตรวจสอบ ให้คาปรึกษา แนะนา ปรบั ปรงุ แก้ไข ติดตามประเมินผล และแก้ไข ปัญหาข้อขัดข้องในการปฏิบัติงานใน หน่วยงานที่ รับ ผิด ชอบ เพื่ อใ ห้ ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น บ ร ร ลุ ต า ม เ ป้ า ห ม า ย แ ล ะ ผลสัมฤทธิท์ ีก่ าหนด 21

มาตรฐานกาหนดตาแหน่ง ภาระงาน ด้านการวางแผน ดา้ นการวางแผน ร่วมกาหนดนโยบาย แผนงานหรือ (1) จัดทาแผนครุภัณฑ์การศึกษา 5 ปี โครงการของหน่วยงานที่สังกัด วางแผนหรือร่วม (แผ่นดนิ ) วางแผนการทางานตามนโยบาย แผนงาน หรือ โครงการของหน่วยงาน แก้ไขปัญหาในการ (2) จัดทาแผนการใช้จ่ายงบประมาณ ปฏิบัติงานและติดตามประเมินผล เพื่อให้บรรลุ รายได้ ตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิท์ ี่กาหนด (3) จัดทาการปรบั แผนการใช้งบประมาณ และโอนหมวดเงิน (4) จัดทาแผนกลยุทธ์เพื่อการพัฒนา คณะ และแผนปฏิบตั ิการประจาปี มาตรฐานกาหนดตาแหน่ง ภาระงาน ด้านการประสานงาน ดา้ นการประสานงาน (1) ป ร ะ ส า น ก า ร ท า ง า น ภ า ย ใ น (1) ดาเนินการปรับ/แก้ไข/ประสานงาน สถาบันอุดมศึกษา หรือองค์กรอื่น โดยมี กองแผน ในการใช้งานระบบ Budget บทบาทในการเจรจา โน้มนา้ ว เพื่อให้เกิด เบือ้ งตน้ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ แ ล ะ ผ ล สั ม ฤ ท ธิ์ ต า ม ที่ กาหนดไว้ (2) ประสานงานกับกองแผนงาน เกีย่ วกับ การวางแผนงบประมาณและการ (2) ให้ข้อคิดเห็น และคาแนะนา แก่หน่วยงาน จัดทาแผนยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา ภายในสถาบันอุดมศึกษา รวมทั้งที่ประชุม คณะ ทั้งในและต่างประเทศ เพื่อเป็นประโยชน์ และเกิดความร่วมมือในการดาเนินงาน (3) จัดทาระบบ Budget ของคณะ และ ประสานงานผู้รับผิดชอบโครงการ กรอกข้อมูลลงระบบ Budget ร่วมกัน 22

มาตรฐานกาหนดตาแหน่ง ภาระงาน ด้านการบรกิ าร ด้านการบรกิ าร (1) ให้คาปรึกษา แนะนา ถ่ายทอดความรู้ (1) ให้คาปรึกษา แนะนา และถ่ายทอด ทางด้านวิเคราะห์นโยบายและแผนที่ ความรู้ ทางด้านงบประมาณ และ ยุ่ ง ย า ก ซั บ ซ้ อ น แ ก่ ผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ช า วิ เ ค ร า ะ ห์ น โ ย บ า ย แ ล ะ แ ผ น ใ ห้ กั บ นักศึกษา ผู้รับบริการท้ังภายในและ ผรู้ บั บริการ ภายนอกหน่วยงาน รวมท้ังตอบปัญหา และชี้แจงเร่ืองต่างๆ เกี่ยวกับงานใน (2) จัดทาข้อมูลงบประมาณลงในระบบ Budget ของคณะ หน้าที่ เพื่อพัฒนาความรู้ เทคนิค และ ทักษะ ให้สามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นการ แก้ไขปัญหาและดาเนินงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ (2) กาหนดแนวทางรูปแบบ วิธีการเผยแพร่ ประยุกต์เทคโนโลยีระดับสากลเพื่อให้ สอดคล้องสนบั สนนุ ภารกิจขององค์กร (3) จัดทาฐานข้อมูลระบบสารสนเทศที่เกี่ยวกับ งานที่ รั บผิ ดชอบ เพื่ อก่ อให้ เกิ ดการ แลกเปลีย่ นเรียนรู้และพัฒนาองค์กร 23

บทที่ 3 หลกั เกณฑ์ วิธกี ารปฏิบัติงาน และเงื่อนไข 3.1 หลักเกณฑ์การปฏิบตั ิงาน หลักเกณฑ์ในการปฏิบัติงาน ในส่วนของการจัดสรรงบประมาณคณะเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร ได้รับการจัดสรรงบประมาณรายได้จากมหาวิทยาลัย เป็นวงเงิน ประมาณร้อยละ 12 ต่อปี ของค่าลงทะเบียนเรียนของนิสิตในคณะ และคณะได้นามาจัดสรร งบประมาณประจาปีที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาคณะฯ แผนปฏิบัติการ และการดาเนินงานในด้านต่างๆ เพื่อรองรับพันธกิจหลักด้านการผลิตบัณฑิต การวิจัย การบริการ วิชาการ การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม และการบริหารจัดการ โดยมีเกณฑ์การจัดสรร งบประมาณให้เป็นไปตามเกณฑก์ ารจัดสรรงบประมาณ ดงั น้ี เกณฑ์การจัดสรรงบประมาณประจาปี หมวดเงนิ สดั สว่ น (รอ้ ยละ) เ ก ณ ฑ์ ก า ร จั ด ส ร ร กองทนุ เพื่อการศึกษา 70 ง บ ป ร ะ ม า ณ นี้ อ า จ กองทนุ การวิจยั 10 เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ต า ม ค ว า ม กองทนุ บริการวิชาการ 5 เ ห ม า ะ ส ม ห รื อ ต า ม กองทุนกิจการนสิ ิต 10 นโยบายของมหาวิทยาลัย กองทุนสินทรัพย์ถาวร 4 ในแต่ละปี กองทุนทานบุ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม 1 100 รวม 24

การกาหนดรหสั โครงการ ประกอบด้วยตวั อกั ษรทีเ่ ป็นชื่อย่อของหน่วยงาน และตัวเลข 7 ตวั แยกเป็น 3 ชุด มีความหมายดังเช่นตวั อย่างรหสั โครงการคณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ทก6501011 ทก หมายถึงชือ่ ย่อของคณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร เลขรหัสชุดท่ี 1 2 ตวั แรก หมายถึงเลขสองตวั ท้ายของปีงบประมาณ พที่ดาเนินโครงการ .ศ. เลขรหสั ชุดท่ี 2 2 ตัวกลาง หมายถึงยทุ ธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย/คณะด้านที่ 1 ถึง 7 โดย 01 คือ ด้านการเรียนการสอนและพัฒนานิสติ 02 คือ ด้านการวิจยั 03 คือ ด้านบริการวิชาการ 04 คือ ด้านทานุบารงุ ศิลปะและวัฒนธรรม 05 คือ ด้านการบริหาร 06 คือ ด้านพลงั งานและสิ่งแวดล้อม 07 คือ ด้านการให้บริการสุขภาพ เลขรหสั ชุดท่ี 3 3 ตวั สุดท้าย หมายถึงตัวเลขหลักร้อย หลกั สิบและหลักหนว่ ยของลาดบั ที่โครงการ 25

ปฏิทินงบประมาณ ระยะเวลา รายการ รายละเอียด กรกฎาคม ของทุกปี แถลงนโยบายแนวทางการจดั สรร แ ถ ล ง น โ ย บ า ย แ น ว ท า ง ก า ร จั ด ส ร ร 1-20 สงิ หาคม ของทกุ ปี งบประมาณ งบประมาณ ในทีป่ ระชมุ คกก. ประจาคณะ จัดทา -รา่ ง- คาขอตั้งงบประมาณ รายจ่ายประจาปี หน่วยงานจดั ทา -รา่ ง- คาขอตั้งบประมาณ รายจ่ายประจาปี เสนอที่ประชุม คกก. กนั ยายน ของทุกปี คาขอต้ังงบประมาณรายจ่าย ประจาคณะ และจดั ทาคาขอต้ังงบประมาณ ในระบบ BUDGET กันยายน ของทกุ ปี คาขอต้ังงบประมาณรายจ่าย เสนอคณะกรรมการการเงินและทรัพย์สิน ไตรมาสที่ 3 ของปีงบประมาณ คาขอเพิม่ /ลด งบประมาณ มหาวิทยาลัยพะเยาพิจารณางบประมาณ (1 เมษายน – 30 มิถุนายน) การโอนงบประมาณ เสนอคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย ภายในวันที่ 31 กรกฎาคม พะเยาพิจารณางบประมาณ ของทกุ ปี ห น่ ว ย ง า น ข อ เ พิ่ ม / ล ด ง บ ป ร ะ ม า ณ ปีงบประมาณ การปรบั /เปลีย่ นแปลงงบประมาณ ได้ในไตรมาสที่ 3 ของปีงบประมาณ (ตุลาคม - กันยายน) ของทกุ ปี ห น่ ว ย ง า น ส า ม า ร ถ โ อ น ง บ ป ระ ม า ณ ไ ด้ ถึ ง วั น ที่ 3 1 ก ร ก ฎ า ค ม ข อ ง ทุ ก ปี 15 มกราคม ของทุกปี รายงานผลการใช้จา่ ยงบประมาณ และต้องส่งเอกสารการโอนเงินให้กับกอง 16 เมษายน ของทุกปี แผนงาน ภายในวนั ที่ 31 กรกฎาคม 16 กรกฎาคม ของทุกปี 15 ตลุ าคม ของทกุ ปี ผู้รับผิดชอบโครงการสามารถดาเนินการ ป รั บ / เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ง บ ป ร ะ ม า ณ ไ ด้ ต ล อ ด ปีงบประมาณ อย่างน้อยต้องไม่เกนิ ปีละ 5 คร้ัง ไตรมาสที่ 1 (ตลุ าคม - ธันวาคม) ไตรมาสที่ 2 (มกราคม – มีนาคม) ไตรมาสที่ 3 (เมษายน – มิถุนายน) ไตรมาสที่ 4 (กรกฎาคม – กนั ยายน) 26

3.2 วิธีการปฏิบัติงาน มีดังน้ี การบริหารจดั การงบประมาณ 1) บริหารการเงินโดยใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงบประมาณ พัสดุ การเงิน และบัญชีกองทุนจากงบประมาณแผ่นดินและงบประมาณรายได้คณะฯ โดยใช้หลักเกณฑ์ พึงรับ-พึงจ่าย ลักษณะ 3 มิติ ในการสนับสนุนภารกิจและยุทธศาสตร์ของคณะฯ ซึ่งเป็นระบบ ที่มหาวิทยาลัยนามาใช้ในการบริหารจัดการงบประมาณและใช้ดาเนินการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ในภาพรวมท้ังมหาวิทยาลัย 2) บริหารการเงินโดยยึดหลักธรรมาภิบาล โปร่งใส ตรวจสอบได้ โดยมีการวางแผน ยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาคณะฯ และแผนปฏิบัติการของคณะ และมีการจัดสรรเงินงบประมาณ สอดคล้องตามวางแผนกลยทุ ธ์และแผนปฏิบตั ิการของคณะ 3) มีการกาหนดตัวผู้รับผิดชอบโครงการ ทั้งการกาหนดผู้รับผิดชอบเป็นหัวหน้า โครงการ และการทาคาส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการดาเนินโครงการ/กิจกรรม และมีผู้รับผิดชอบด้าน การเงนิ และพสั ดุอย่างชัดเจน 4) มีการปรับปรุงแผนการเบิกจ่ายเงินให้สอดคล้องกับสถานการณ์และความจาเป็นใน การใช้งาน ทั้งนี้เพื่อให้คณะบรรลุวัตถุประสงค์หลัก และเป็นไปตามพันธกิจที่ได้รับมอบหมายจาก มหาวิทยาลยั 5) มีการสรุปผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรม ที่ต้องมีการรายงานทางการเงินทุกคร้ัง ทีป่ ิดโครงการหรอื กิจกรรม 6) มีการให้ความรู้ด้านระเบียบและแนวปฏิบัติการเบิกจ่ายเงินแก่บุคลากรของคณะ เป็นระยะๆ การตดิ ตามประเมินผลการใชจ้ า่ ยงบประมาณ 1) มีการตดิ ตามประเมินผลการใช้จา่ ยเงนิ ให้บรรลุตามเป้าหมายการดาเนินงานตามแผน กลยุทธ์และแผนปฏิบตั ิการของคณะ 2) มีการจัดทารายงานทางการเงินอย่างเป็นระบบ เพื่อรายงานผลการใช้จ่ายเงิน ประจาเดือนตอ่ คณะกรรมการประจา และมหาวิทยาลัย 3) มีการนาข้อมูลทางการเงินไปใช้วิเคราะห์ค่าใช้จ่าย และวิเคราะห์สถานะทางการเงิน และรายงานผลต่อคณะกรรมการประจาคณะเป็นรายไตรมาส เพื่อนาไปใช้ในการวางแผนและการ ตัดสินใจบริหารจดั การ 27

4) จัดให้มีคณะกรรมการตรวจสอบภายใน ทาหน้าที่ตรวจ ติดตามการใช้เงินให้เป็นไป ตามระเบียบและกฎเกณฑ์ของมหาวิทยาลยั 5) มีการรับการตรวจสอบภายจากคณะกรรมการภายนอก ตามรอบเวลาการเข้า ตรวจสอบของมหาวิทยาลยั และ สตง. 3.3 เงือ่ นไข / ข้อสงั เกตุ / ขอ้ ควรระวัง / สิง่ ที่ควรคานึงถงึ ในการปฏิบัติงาน เงอ่ื นไข การจัดทาโครงการตามแผนปฏิบัติการประจาปี ผู้รับผิดชอบโครงการจะต้องดาเนินงาน ให้แลว้ เสร็จภายในปีงบประมาณทีไ่ ด้รบั การจัดสรรงบประมาณในปีนั้นๆ โดยมีระยะเวลาต้ังแต่วันที่ 1 ตุลาคม ของปีหนง่ึ ถึงวันที่ 30 กนั ยายน ของปีถดั ไป และให้ใชป้ ี พ.ศ. ทีถ่ ัดไปน้ันเป็นช่อื ปีงบประมาณ ผู้รับผิดชอบโครงการต้องดาเนินโครงการตามแผนปฏิบัติการตามวงจรบริหารคุณภาพ ( PDCA) ประกอบไปด้วย 4 ขั้นตอน Plan-Do-Check-Act เป็นกระบวนการที่ใช้ปรับปรุงการทางาน อย่างเป็นระบบ โดยมีเป้าหมายเพื่อแก้ปัญหาและเกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง (Continuous improvement) จุดเด่นคือเป็นกระบวนการที่ทาซ้าได้เรื่อย ๆ จนกลายเป็น วงจร (Cycle) วนลูปน่ันเอง และผรู้ ับผิดชอบเม่อื ดาเนินการจัดทาโครงการตามแผนปฏิบัติการเสร็จสิ้น จะต้องดาเนินการรายงาน ผลการดาเนินโครงการ อีกทั้งผู้รับผิดชอบโครงการจะต้องดาเนินการเบิกจ่ายงบประมาณ ให้เปน็ ไปตามกฎ ระเบียบ ประกาศ ของมหาวิทยาลยั พะเยากาหนด ขอ้ สังเกตุ การจัดทาโครงการตามแผนปฏิบตั ิการประจาปี ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ ในการดาเนินการ จัดโครงการจาเป็นต้องคานึงถึงระยะเวลาในการเตรียม และการดาเนินงานโครงการตามแผนปฏิบัติ การ ดงั น้ี 1. ควรเสนอขออนุมัติดาเนินโครงการ และขออนุมัติค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานโครงการ ก่อนวันจัดจริงอย่างน้อย 7 วันทาการ แต่ถ้าหากจะขอยืมเงินทดรองจ่ายในการจัดโครงการจากกอง คลัง ควรเสนอขออนุมัตอิ ย่างนอ้ ย 2 สปั ดาห์ (พร้อมเอกสารขอยืมเงินทีเ่ รียบร้อย) 28

2. ในการระบุวันที่จัดโครงการควรระบุเป็นช่วงวัน โดยมีการระบุรายละเอียดต้ังแต่การ เตรียมงานจนถึงการสรุปประเมินผล เพราะจะทาให้มีเวลาในการจัดการงานเอกสารต่างๆ ภายหลัง การจดั โครงการเสรจ็ ส้ิน 3. ถ้าหากเป็นโครงการที่มีการยืมเงนิ ทดรองจ่ายจาเป็นที่จะต้องจัดการเอกสาร การเงิน ต่างๆ ให้ เสร็จสิ้น ภายในระยะเวลา 1 เดือน มิฉะนั้นผู้ที่ยืมอาจถูกหักเงินเดือนได้ และโครงการ หลังจากน้ันจะไม่สามารถยืมเงินได้ หากผู้รับผิดชอบโครงการที่จัดแล้ว ไม่ส่งเอกสารทางการเงินให้ แล้วเสรจ็ ภายในเวลาทีก่ าหนด ขอ้ ควรระวงั โดยปกติช่วงระหว่างการจัดดาเนินโครงการตามแผนปฏิบัติการจะไม่มีเอกสารอื่น เพิ่มเติม แต่เพื่อการเตรียมการในการจัดโครงการในอนาคต เป็นเอกสารหลักฐานในการสรุป ค่าใช้จ่ายในโครงการตามแผนปฏิบตั ิการ ควรได้มกี ารจดั เก็บเอกสารต่างๆ ไว้ เชน่ - เอกสารใบลงชื่อผู้เข้าร่วมโครงการ - เอกสารประกอบโครงการหรอื เอกสารประกอบการอบรม - เอกสารการเงนิ ได้แก่ ใบสาคญั รับเงิน เอกสารเชญิ วิทยากร แบบตอบรับเปน็ วิทยากร เปน็ ต้น - เอกสารแบบประเมินโครงการ - เอกสารเกียรติบัตร ผู้เข้าร่วมโครงการ นอกจากนั้นการจัดกิจกรรมจาเป็นที่จะต้องมี การเกบ็ ภาพถ่ายการจัดกิจกรรมไว้เพื่อเป็นหลักฐานการจัดโครงการดว้ ย สิง่ ที่ควรคานึงถงึ ในการปฏิบัติงาน การจัดทาโครงการตามแผนปฏิบตั ิการประจาปี ผู้รับผิดชอบโครงการจะต้องดาเนินการ จดั ประชมุ เพื่อเตรยี มความพร้อมก่อนดาเนินงานโครงการ การทบทวนก่อนปฏิบตั ิงาน (Before Action Review : BAR) หมายถึง เทคนิคขั้นตอนหนึ่งในการทางานที่ใช้ในการทบทวนก่อนการ/วิธีการ/ ปฏิบัติงานให้ชัดเจน มีเป้าหมายร่วมกัน รู้บทบาทหน้าที่ของตนเอง และส่งผลให้การปฏิบัติสาเร็จ ด้วยดี ซึง่ บางครงั้ อาจมกี ารปรับเปลี่ยนแนวทางปฏิบัติจากทีเ่ ตรยี มไว้เพื่อความเหมาะสม โดยอาจเร่มิ 29

จากการบรรยายภาพรวมและการนาผลจากการ AAR ในครั้งที่ผ่านมาชี้แจงเพื่อการปฏิบัติในคร้ังนี้ดี ขึ้น ป้องกันการผิดซ้าและปัญหาเฉพาะหน้าที่อาจเกิดขึ้น และการทบทวนหลังปฏิบัติงาน (After Action Review : AAR) หมายถึง เคร่ืองมือที่นามาใช้ในกระบวนการทางานเพื่อทบทวนวิธีการ ทางานท้ังด้านความสาเร็จและปัญหาที่เกิดขึ้น ทั้งนี้ไม่ใช่การค้นหาคนที่ทาผิดพลาดไม่ใช่การ กล่าวโทษ แต่เป็นการทบทวนเพื่อร่วมกันสะท้อน และทบทวนกระบวนการต่าง ๆ นาบทเรียนที่ได้ จากความสาเร็จและปัญหาที่เกิดขึ้น มาจัดทาและพัฒนากระบวนการทางานให้มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลมากขึ้น โดยมีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทางาน แบ่งวิธีการเป็น 2 ลักษณะ คือ การทา AAR สาหรับผู้ร่วมกิจกรรม และการทา AAR สาหรับผู้จัดกิจกรรม ซึ่งผู้รับผิดชอบในการ จั ด ท า โ ค ร ง ก า ร ต า ม แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร จ ะ ต้ อ ง ด า เ นิ น ก า ร ทุ ก ค ร้ั ง ใ น ก า ร ด า เ นิ น ก า ร โ ค ร ง ก า ร นอกจากนี้ยังต้องคานึงถึงการปรับเปลี่ยนงบประมาณในกรณีที่มีความจาเป็นต่อการดาเนินงาน โครงการ/กิจกรรม และต้องเป็นไปตามข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ และแนวปฏิบัติ การเบิกจ่าย งบประมาณ 3.4 แนวคดิ ทฤษฎีและงานวิจยั ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง แนวคดิ ในการปฏิบัติงาน หน่วยแผนงานเป็นงานสนับสนุน และประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ภายในมหาวิทยาลัย มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ของงานตามนโยบายและทิศทางการบริหารของมหาวิทยาลัย พะเยา และคณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีกระบวนการวางแผน การดาเนินการตามแผน การกากับติดตามผลอย่างเป็นระบบ เพื่อให้เกิดความสะดวกต่อการปฏิบัติงาน ใช้เป็นเอกสารอ้างอิง ในการปฏิบัติงาน สามารถปฏิบัติงานแทนกันได้ ลดข้ันตอนในการปฏิบัติงาน และลดการตอบคาถาม ของผู้ใช้บริการ อีกทั้ง หน่วยแผนงานยังใช้ระบบสารสนเทศควบคุมงบประมาณเข้ามาบริหารจัดการ โดยเน้นความโปร่งใส ทนั สมยั เกิดประสทิ ธิภาพและประสิทธิผล 30

แนวคดิ ทฤษฎีทีเ่ กี่ยวข้อง ความหมายของงบประมาณ มีการให้ความหมายว่า “งบประมาณ” ซึ่งมีหลาย ความหมายและมีความแตกต่างกันเพราะมีผู้ใช้จากหลากหลายวิชาชีพ จึงมีการกำหนดความหมาย ของงบประมาณและให้คำจากดั ความที่แตกต่างกนัออกไป ดังน้ี Frank P. Sherwood (อ้างถึงใน นงลักษณ์สุทธิวัฒนพันธ์ , 2544 : 16) ให้ทัศนะว่า งบประมาณ คือแผนเบ็ดเสรจ็ ซึ่งแสดงออกมาในรูปของตัวเงิน แสดงโครงการดำเนินงานท้ังหมด ในระยะเวลาหนึ่ง แผนนจี้ ะรวมถึงการประมาณ บริหาร กิจกรรม โครงการ และการใช้จ่าย ตลอดจน ทรัพยากรที่จำเปน็ ในการสนับสนุนการดำเนินการให้บรรลเุ ป้าหมายตามแผนนี้ย่อมประกอบด้วยการ กระทา 3 ขั้นตอน คือการจดั เตรียม การอนุมัติ และการบริหารงบประมาณ ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ (2546 :149) ได้ให้ความหมายของงบประมาณ โดยสรุป ไว้ว่า งบประมาณเป็นแผนการใช้จ่ายของรัฐ ประกอบด้วยขั้นตอนต่าง ๆ เช่น การเตรียมแผน งบประมาณ ได้แก่การจัดทาขั้นตอนอันประกอบไปด้วยโครงสร้างการบริหาร การทาตารางเวลา และการบริหารการควบคุมงบประมาณ ทั้งนี้การจัดทาแผนควรคานึงถึงกฎระเบียบหรือกฎหมาย ทั้งด้านการเมอื งและนโยบายของรฐั พรชัย ลิขิตธรรมโรจน์ (2550 : 22) ได้ให้ความหมายของงบประมาณ โดยสรุปไววา่ งบประมาณแผ่นดิน หมายถึงแผนทางการเงินเกี่ยวกับประมาณการรายได้และรายจ่ายของรัฐบาล ในระยะเวลาหนึ่ง ซึ่งจะต้องขออนมุ ตั จิ ากรฐั สภา ไพรัช ตระการศิรินนท์ (2548 : 152-154) ได้ให้ความหมายของบประมาณ โดยสรุป ไว้ว่า งบ ป ระมาณ หมายถึง เคร่ืองมือ อย่างหนึ่ง ของรัฐบ าล ที่เป็นเอกสารแสดงถึง ความต้องการของ รัฐบาลหรือหน่วยงานต่าง ๆ ในภาครัฐ ซึ่งประกอบด้วยแผนทางการเงิน และโครงการที่จาดาเนินในปีงบประมาณหนึ่ง ๆ ตามที่รัฐบาลได้สัญญาไว้กับรัฐสภา และประชาชนที่ จะใช้เงนิ ภายใต้เงอ่ื นไขและแนวทางการบริหารงานที่กาหนดไว้จากคำนิยามตา่ ง ๆ จึงพอสรุปได้ว่า งบประมาณ หมายถึงเคร่ืองมือที่สำคัญอย่างหนึ่งที่ทาให้ภารกิจต่าง ๆ ที่กำหนดไว้ตามแผนงาน โครงการ กิจกรรม และแผนการใช้จ่ายเงินสาหรับปีงบประมาณน้ันๆ ให้สามารถดำเนินการไปได้อย่างตอ่ เนือ่ งและบรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ 31

ลักษณะของโครงการ โครงการเป็นการจัดกิจกรรมที่เป็นระบบ เพื่อการปฏิบัติหน้าที่องค์การให้บรรลุถึง เป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งโครงการที่ดีย่อมให้ประสิทธิภาพของการดา เนินงาน และผลตอบแทนที่องค์กรหรือหน่วยงานได้รับอย่างคุ้มค่า อันจะนามาซึ่งการพัฒนาของหน่วยงาน นั้นๆ ลกั ษณะทีด่ ขี องโครงการ 1. สามารถตอบสนองความต้องการหรือแก้ไขปญั หาขององค์การหรอื หน่วยงานได้ 2. มีวัตถปุ ระสงค์และเป้าหมายที่ชัดเจน สามารถดาเนินงานและปฏิบตั ิได้ 3. รายละเอียดของโครงการต้องสอดคล้องและสัมพันธ์กัน คือ วัตถุประสงค์ ของ โครงการต้องสอดคล้องกับหลักการและเหตุผล วิธีการดาเนินงานต้องสอดคล้องกับ วัตถุประสงค์เปน็ ต้น 4. รายละเอียดของโครงการเข้าใจได้ง่าย สะดวกต่อการดาเนินงานตามโครงการ 5. เป็นโครงการที่สามารถไปปฏิบัติได้สอดคล้องกับแผนงานหลักขององค์กร และสามารถติดตามประเมินผลได้ 6. โครงการต้องกาหนดขึ้นจากข้อมูลที่มีความจริงและเป็นข้อมูลที่ได้รับการวิเคราะห์ อย่างรอบคอบ 7. โครงการต้องได้รบั การสนับสนนุ ในด้านทรพั ยากรและการบริหารอย่างเหมาะสม 8. โครงการต้องมีระยะเวลาในการดาเนินงาน กล่าวคือต้องระบุถึงวันเวลาที่เริ่มต้น และสิน้ สุดโครงการ แนวทางการเขียนโครงการ รูปแบบการเขียนโครงการจาเป็นต้องมีผู้รับผิดชอบโครงการ เพื่อที่จะดาเนินโครงการที่ เขียนให้ได้สาเร็จตามความต้องการ ดังนั้นในลักษณะของโครงการบางโครงการ ผู้เขียน หรือกลุ่ม ผู้เขียนโครงการอาจเป็นคนละคนกับผู้ดาเนินงานตามโครงการ หรืออาจจะเป็นคนๆ เดียวกันหรือ กลุ่มๆ เดียวกันกย็ ่อมได้ ท้ังนี้ ขึน้ อยู่กับลกั ษณะปัจจัยหลายประการ เชน่ ขนาดและชนิดของโครงการ ลกั ษณะโครงการ และอืน่ ๆ เป็นต้น ไม่ว่าโครงการจะมีขนาดเช่นใด ชนิดและประเภทใด ย่อมมรี ปู แบบ (Form) หรอื โครงสรา้ ง (Structure) ในการเขียนโครงการเหมือนกนั ดังน้ี 32

1. ชื่อโครงการ ควรตั้งชื่อให้กระชับ ชัดเจน เข้าใจง่าย ดึงดูดความสนใจ (จะทาอะไร) สะท้อนถึงวัตถุประสงค์หลักของการจัดโครงการ ชื่อโครงการจะบอกให้ทราบว่าจะทาสิ่งใดบ้าง โครงการที่จัดขึ้นนั้นทาเพื่ออะไร ควรจะต้องแสดงลักษณะงานที่ต้องปฏิบัติ ลักษณะเฉพาะ ของ โครงการและจดุ มงุ่ หมายของโครงการ 2. หน่วยงานที่รับผิดชอบ การเขียนโครงการจะต้องระบุหน่วยงานที่รับผิดชอบ ในการจัดทาโครงการน้ันๆ โดยจะต้องระบุหน่วยงานต้นสังกัดที่จัดทาโครงการ พร้อมท้ังระบุถึง หน่วยงานที่มีอานาจในการอนุมัติโครงการ เหตุที่ต้องมีการระบุหน่วยงานที่รับผิดชอบของโครงการ นั้นกเ็ พือ่ สะดวกต่อการติดตามและประเมินโครงการ 3. ผู้รับผิดชอบโครงการ ระบุผู้รับผิดชอบโครงการหรือหัวหน้า (ใครเป็นเจ้าภาพ) โครงการให้ชัดเจนโครงการทุกโครงการจะต้องมีผู้ทาโครงการรับผิดชอบดาเนินงานตามโครงการ ที่เขียนไว้ไม่ว่าตนเองจะเป็นผู้เขียนโครงการนั้นหรือผู้อื่นเป็นผู้เขียนโครงการก็ตาม จะต้องระบุ ผรู้ ับผิดชอบโครงการนั้นๆ ให้ชัดเจนว่าเปน็ ใคร มีตาแหน่งใดในโครงการลาดบั การเรียงชือ่ ผรู้ บั ผิดชอบ โครงการให้เรียบลาดับจากหัวหน้าโครงการเปน็ ลาดับแรก และลาดับสุดท้าย ควรเป็นเลขานุการของ โครงการ 4. หลักการและเหตุผล แสดงที่มาของปัญหาและความสาคัญจาเป็นของโครงการ ที่ได้รับการสนับสนุน (จัดทาไม ทาไมต้องทาตอนนี้) ระบุให้ชัดเจนถ้าเป็นโครงการใหม่ที่ริเริ่ม หรือถ้าเคยจัดมาแล้ว ก็ควรสรุปผลที่สาคัญจากการจัดที่ผ่านมา พร้อมท้ังระบุความจาเป็นที่ต้องจัด โครงการนี้ต่อไป ถ้าทาแล้วจะได้อะไร ช่วยแก้ปัญหาอะไร ถ้าไม่ทาอาจจะส่งผลกระทบ หรือเกิดผลเสียอะไรบ้าง มีความสอดคล้องตอบสนองประเด็นยุทธศาสตร์หรือกลยุทธ์ขององค์กร อย่างไร สรุปผู้เขียนโครงการต้องพยายามหาเหตุผล หลักการ และทฤษฎีต่างๆ สนับสนุนโครงการ ที่จัดทาขึ้นอย่างสมเหตุสมผล ทั้งนี้โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้บริหารหรือผู้มีอานาจหน้าที่ เห็นชอบ และอนุมัติโครงการที่นาเสนอให้ดาเนินการได้พร้อมท้ังให้การสนบั สนุนในด้าน งบประมาณ บุคลากร และปจั จัยสนบั สนุนอ่ืนๆ 33

5. วัตถุประสงค์ควรระบุวัตถุประสงค์หลักของโครงการ (จะทาโครงการไปเพื่ออะไร) ให้กระชบั ชัดเจน สอดคล้องกับประเดน็ ปัญหา ที่ระบไุ ว้ในหลกั การและเหตุผลสอดคล้องกบั กิจกรรม ในแผนการดาเนินงาน เพื่อประสิทธิภาพในการวางแผนและการติดตามประเมินผล วัตถุประสงค์จะ เ ป็ น ข้ อ ค ว า ม ที่ แ ส ด ง ถึ ง ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ที่ จ ะ ก ร ะ ท า สิ่ ง ต่ า ง ๆ ภ า ย ใ น โ ค ร ง ก า ร ให้ ปรากฏผลเป็นรูปธรรม ซึ่งข้อความที่ใช้เขียนวัตถปุ ระสงค์จะต้องชัดเจน ไม่คลุมเครือ สามารถวัด และประเมินผลได้ โครงการแต่ละโครงการสามารถมีวัตถุประสงค์ได้มากว่า 1 ข้อ ขึ้นอยู่กับระดับ และขนาดของโครงการ การเขียนวัตถปุ ระสงค์ ควรจะต้องคานึงถึงลักษณะทีด่ ี 5 ประการ หรอื จะต้องกาหนดขึ้น ด้วยความฉลาด (SMART) ดังน้ี S = Sensible (เป็นไปได้หมายถึง วัตถุประสงค์ที่ดีจะต้องมีความเป็นไปได้ในการ ดาเนนิ งานโครงการ) M = Measurable (วดั ได้ หมายถึง วตั ถุประสงค์ทีด่ ีจะต้องสามารถวดั และประเมินได้) A = Attainable (ระบุสิ่งที่ต้องการ หมายถึง วัตถุประสงค์ที่ดีต้องระบุสิ่งที่ต้องการ ดาเนนิ งานอย่างชัดเจนและเฉพาะเจาะจงมากที่สดุ ) R = Reasonable (เป็นเหตุเป็นผล หมายถึง วัตถุประสงค์ที่ดีต้องมีความเป้นเหตุเป็นผล ในการปฏิบตั ิ) T = Time (เวลา หมายถึง วัตถุประสงค์ที่ดีจะต้องมีขอบเขตของเวลาที่แน่นอนในการ ปฏิบัติงาน) 6. กาหนดตัวชี้วัดค่าเป้าหมาย ความสาเร็จของโครงการให้สอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ ของโครงการ วัตถุประสงค์หนึ่งข้ออาจมีหลายตัวชี้วัดกากับอยู่ โดยทุกตัวชี้วัดต้องมีการระบุค่า เป้าหมายหรือเกณฑ์ความสาเร็จกากับไว้ด้วย เช่น ระดับความพึงพอใจของนักศึกษา/บุคลากร ต่อความสาเร็จตามเป้าหมายของทุกตัวชี้วัด เม่ือรวมกันแล้วต้องกลายเป็นความสา เร็จ ของวัตถุประสงค์โครงการ ตัวชี้วัดที่สาคัญ (KPI) สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ สามารถวัดได้จริง สะท้อนให้เห็นถึงผลการดาเนินงานที่แท้จริง ข้อมูลมีความพร้อม ทันสมัย ชัดเจน เข้าใจง่าย มีต้นทุนในการจัดหาที่เหมาะสม สามารถนาไปเทียบเคียงต่อทวนสอบเพื่อป้องกัน 34

การบิดเบือนได้ KPI เชิงคุณภาพ เช่น ความรู้ ทักษะ ทัศนคติ ความสมารถ ความพึงพอใจ ความเชื่อมั่น ความยั่งยืน KPI เชิงปริมาณ เช่น ร้อยละ จานวน ค่าเฉลี่ย สัดส่วน ค่าเป้าหมาย ของตัวชี้วัด ชัดเจน ท้าทาย เป็นไปตามข้อกาหนด สามารถบรรลุได้จริง ภายในสภาพแวดล้อม ที่จากัด มีข้อมูลการดาเนินงานในอดีตหรือแวดวงเดียวกัน มีข้อมูลค่าต่าสุด ที่สามารถยอมรับได้ มาประกอบการพิจารณา สาหรับการเขียนเป้าหมาย ต้องเขียนให้ชัดเจนเพื่อแสดงให้เห็นผลงาน หรือผลลัพธ์ที่ระบุคุณภาพ หรือปริมาณงานที่คาด ว่าจะทา ให้บั งเกิดขึ้นในระย ะเวล าที่กา หนด ไ ว้ ซึ่งการกาหนด ผลงานอาจกาหนดเปน็ รอ้ ยละหรอื จานวนทีแ่ สดงปริมาณหรอื คณุ ภาพต่างๆ 7. กลุ่มเป้าหมาย ระบุ (ผลกระทบจากโครงการ / วัดให้ใคร ใครได้รับประโยชน์) กลุ่มเป้าหมายของโครงการให้ชัดเจน ท้ังเชิงปริมาณและคุณภาพ ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ของโครงการควรจาแนกกลุ่มอื่นๆ ที่เกี่ยงข้องกับโครงการให้ชัดเจน เช่น ผู้รับผิดชอบโครงการ ผู้สังเกตการณ์ หรือกลุ่มผู้สนใจท่ัวไป เพื่อให้การออกแบบช่องทางการส่งสาร การเข้าถึงรวมถึง การตดิ ตามประเมินผลกลุ่มเป้าหมายเป็นอย่างมปี ระสิทธิภาพ 8. ระยะเวลาในการดาเนินโครงการ ระยะเวลาในการดาเนินงานโครงการ เปน็ การระบรุ ะยะเวลาต้ังแต่เริม่ ต้นโครงการจนกระทั่งถึงเวลาสิน้ สุดโครงการว่าใช้เวลาทั้งหมดเท่าไร โดยแสดงในเห็นจุดเริ่มต้นและสิ้นสุดของโครงการโดยระบุ วัน เดือน ปี ที่เริ่มต้นและสิ้นสุด ถ้าหากเป็นโครงการระยะยาวและมีหลายระยะก็ต้องแสดงช่วงเวลาในแต่ละระยะของโครงการนั้น เพื่อใช้เปน็ รายละเอยี ดประกอบการพิจารณาอนมุ ตั โิ ครงการ 9. วิธีดาเนินการ วิธีดาเนินการเป็นงานหรือกิจกรรมที่กาหนดขึ้นเป็นข้ันตอน ตามลาดับ ก่อนหลังเพือ่ ใชป้ ฏิบตั ิในบรรลุตามวัตถปุ ระสงค์ของโครงการ วิธีการดาเนินการจึงนาวัตถปุ ระสงค์มา จาแนกแจกแจงเป็นกิจกรรมย่อยหลายกิจกรรม โดยจะแสดงให้เห็นอย่างชัดเจน ตั้งแต่ต้นจนจบ กระบวนการว่ามีกิจกรรมใดที่จะต้องทาเพื่อให้บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ 10. แผนการดาเนินงาน จัดโครงการอย่างไร แสดงลาดับขั้นตอนของแต่ละกิจกรรม ในแต่ละช่วงเวลาให้ต่อเน่ืองและยึดหยุ่นได้ ระบุสถานที่ เวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดโครงการที่ชัดเจน เหมาะสม เพื่อความสะดวกในการพิจารณาและติดตามความก้าวหน้า เตรียมแผนสารอง แผนพื้นฟู เพื่อรบั มือกับกรณีฉกุ เฉินทีไ่ ม่สามารถดาเนินงานตามแผนเดิมได้ เพือ่ ลดความเสีย่ งของโครงการ 35

11. งบประมาณและทรัพยากรที่ต้องใช้ แสดงประมาณการทรัพยากรที่ต้องใช้ทั้งหมด ในการดาเนินโครงการโดยเฉพาะอย่างยิ่งการแสดงยอดรวม แหล่งที่มาและรายละเอียด ของค่าใช้จ่าย ว่าเป็นค่าอะไรบ้าง จาแนกตามหมวดงบประมาณ กิจกรรมย่อย ควรสะท้อนให้เห็น ถึงการใชท้ รพั ยากรที่คุ้มค่าเกิดประโยชน์สงู สุด 12. การประเมนิ ผล ระบุวิธีการทีใ่ ช้ติดตาม (ประเมินผลอย่างไร/จะวัดผล) ความก้าวหน้า และการประเมินผลสัมฤทธิ์ของการจัดโครงการให้ชัดเจน วัดอย่างไร วัดเม่ือไร สอดคล้อง กับวัตถุประสงค์ของโครงการ เช่น การใช้แบบประเมินความถึงพอใจ แบบทดสอบ ความรู้ ความเข้าใจ การสมั ภาษณ์ เปน็ ต้น วงจรการบริหารคุณภาพ (PDCA) เกียรตพิ งษ์ อุดมธนะธีระ (2561) ได้กล่าวไว้ว่า วงจรการบริหาร/ควบคมุ คุณภาพ PDCA หรือวงจรเด็มมิ่ง (Deming Cycle) คือ แนวคิดการพัฒนาการทางานเพื่อควบคุมคุณภาพงาน ให้มีการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง พัฒนามาจากแนวคิดของ วอล์ทเตอร์ ซิวฮาร์ท (Walter Shewhart) นักสถิติในงานอุตสาหกรรม ต่อมาแนวคิดนี้เริ่มเป็นที่รู้จักกันมากขึ้นเม่ือ เอดวาร์ด เดมมิ่ง (W.Edwards Deming) นักจัดการบริหารคุณภาพ ได้นาเสนอและเผยแพร่ใช้เป็นเคร่ืองมือสาหรับ การปรับปรุงกระบวนการทางานของพนักงานภายในโรงงานให้ดีขึ้น ซึ่งจะใช้ในการค้นหาปัญหา อปุ สรรคในข้ันตอนการทางานจนเปน็ ทีร่ จู้ ักกนั ในช่อื ว่า วงจรเดม็ ม่งิ หรอื วงจร PDCA แนวคิดวงจร PDCA เป็นแนวคิดที่ง่ายไม่ซับซ้อน สามารถนาไปใช้ได้ในเกือบ จะทุกกิจกรรม จึงทาให้เป็นที่ รู้จักกันอย่างแพร่หลายมากขึ้นท่ัวโลก PDCA เป็นอักษร นาของภาษาอังกฤษ 4 คาคอื 1. การวางแผน (Plan) คือ การวางแผนการดาเนินงาน เพื่อให้เกิดการทางาน ที่ได้ผลงาน การปรับปรุงเปลี่ยนแปลง การพัฒนาสิ่งใหม่ การแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน มีส่วนที่สาคัญเช่น การกาหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ การจัดอันดับความสาคัญของเป้าหมาย กาหนดการดาเนินงาน กาหนดระยะเวลาการดาเนินงาน กาหนดผู้รับผิดชอบดาเนินการ และกาหนด งบประมาณที่จะใช้ การวางแผนที่ดคี วรต้องเกิดจากการศกึ ษาที่ดี มีการวางแผนไว้รดั กมุ รอบคอบ 36

ปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสมของงานและเหตุการณ์ แผนที่ได้ต้องช่วยในการคาดการณ์ สิ่งทีเ่ กิดขึน้ และสามารถชว่ ยลดความสูญเสียทีอ่ าจเกิดขึ้นได้ การวางแผนควรมีการกาหนด - การกาหนดเป้าหมาย - วตั ถปุ ระสงค์ - กาหนดผู้รับผดิ ชอบ - ระยะเวลาดาเนินการ - งบประมาณทีก่ าหนด - มีการเสนอเพือ่ ขออนมุ ัตกิ ่อนดาเนนิ การ 2. ปฏิบัติตามแผน (Do) คือ การดาเนินการเพื่อให้ได้ตามแผนที่มีการกาหนดไว้ อาจมีการกาหนดโครงสร้างคณะทางานรองรับการดาเนินการเช่น คณะกรรมการ ฯลฯ กาหนดวิธี ในการดาเนินงาน ข้ันตอน ผดู้ ูแลรบั ผิดชอบ ผตู้ รวจสอบและทาการประเมินผล การปฏิบัติการควรมี - มีคณะทางานคอยควบคุม กาหนดนโยบาย ติดตามตรวจสอบการทางาน - มีการกาหนดขน้ั ตอนที่ชดั เจน - มีวธิ ีการดาเนินการที่สามารถดาเนินการได้จริง - มีผู้รบั ผดิ ชอบดาเนินการที่ชดั เจน เพียงพอ - มีระยะเวลาทีก่ าหนดที่เหมาะสม - มีงบประมาณในการทางาน 3. ตรวจสอบการปฏิบตั ิตามแผน (Check) คือ ข้ันตอนที่เรม่ิ เมื่อมีการดาเนินโครงการ ตามข้อ 2 ควรจะต้องทาการประเมินผลการดาเนินงานว่าเป็นไปตามแผนงานที่กาหนดไว้ หรือไม่อาจประเมินในส่วนการประเมินผลงานการดาเนินการ การประเมินผลการดาเนินตามข้ันตอน และการประเมินผลงานตามเป้าหมายของแผนงานทีไ่ ด้มีการกาหนดไว้ แนวทางทีจ่ ะใช้ในการประเมิน เชน่ - กาหนดวิธีการประเมินแยกให้ชดั เจน - มีรูปแบบการประเมนิ ตรงกบั เป้าหมาย - มีคณะผจู้ ะเข้าทาการประเมนิ ที่มีความรเู้ พียงพอ - แนวคาตอบผลของการประเมิน ต้องสามารถตอบโจทย์และตรงกบั วตั ถปุ ระสงค์ทีว่ างไว้ - เน้นการประเมินปญั หา / จดุ อ่อน / ข้อดี / จดุ แข็ง ทีม่ ใี นการดาเนินการ 37

4. ปรับปรุงแก้ไขพัฒนาต่อเนื่อง (Act) คือ การนาผลประเมินที่ได้มาทาการวิเคราะห์ เพื่อพัฒนาแผน ในการปรับปรุงต่อไป ในส่วนนี้ควรจะเสนอแนะปัญหาแนวทางการปรับปรุงแก้ไข ปญั หา หรอื การพฒั นาระบบที่มอี ยู่แล้วให้ดยี ิง่ ข้ึนไปอีกไม่มีที่สิน้ สุด - ทาการระดมสมอง เพื่อหาทางแก้ไข ปัญหา / จุดอ่อน / ข้อดี / จุดแข็ง ที่พบ ปรับปรุง ให้ดียิ่งขึน้ - นาผลทีไ่ ด้จากการระดมสมองเสนอผู้เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณาใช้วางแผนต่อไป - กาหนดกลยทุ ธ์ในการจดั ทาแผนครั้งต่อไป - กาหนดผู้รับผดิ ชอบดาเนินงานครั้งต่อไป การพัฒนาระบบ PDCA เป็นการปรับปรุงพัฒนาระบบงานที่มีอยู่แล้วให้ดียิ่งขึ้นไปอีก โดยควรจะมีการดาเนินการต่อเน่ืองไม่มีที่สิ้นสุด จึงเป็นที่มาขอแนวคิดการบริหาร/ควบคุมคุณภาพ และการพฒั นาอย่างตอ่ เนื่อง ในการปรับปรงุ พัฒนาต่อเนอ่ื ง 38

งานวิจัยท่เี กี่ยวขอ้ ง กวิน ปลาอ่อน (2560) ศึกษาผลของการมีส่วนร่วมในการจัดทาแผนปฏิบัติการ เชิงกลยุทธ์ต่อการรับูร้และการนาแผนปฏิบัติการเชิงกลยุทธ์ไปปฏิบัติของพนักงานสายสนับสนุน วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล พบว่า ประชากรสวนใหญ่ มีความูร้ความเข้าใจเกี่ยวกับการ จัดทาแผนปฏิบตั ิการฯ ในระดับปานกลาง (ร้อยละ 60.00) รปู แบบความูรค้ วามเขา้ ใจที่ประชากรส่วน ใหญ่ได้รับเกี่ยวกบั การจัดทาแผนปฏิบูตัการฯ คือ การประชมุ อบรม สมั มนา (ร้อยละ 36.60) ชานาญ บูรณโอสถ (2547) ศึกษากระบวนการวางแผนพัฒนามหาวิทยาลัยเอกชน ใ น เ ข ต ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร แ ล ะ ป ริ ม ณ ฑ ล ผ ล ก า ร วิ จั ย พ บ ว า ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ อ ก ช น ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลมีการดาเนินการในกระบวนการวางแผนพัฒนามหาวิทยาลัย ท้ังในดานการเตรียมวางแผน การวางแผน การนาแผนไปปฏิบัติการติดตามและประเมินผล การทบทวน ปรับแผนหรอื จัดทาแผนใหมทเี่ ปนระบบชัดเจนมีปญหาคอนขางนอย สาหรบั ผูมีสวนรวม ในกระบวนการวางแผนพัฒนาสวนใหญเปน คณะผูบริหารของมหาวิทยาลัยฯ ไดแกอธิการบดี รองอธิการบดี ผูชวยอธิการบดี คณบดี ผูอานวยการ ศูนย/สานัก สาหรับในดานคณาจารยบุคลากร ทั่วไป นกั ศกึ ษา ศิษยเกา หรอื บคุ คลภายนอกยังมสี วนรวมนอย สุภาพร ศรีษะเนตร (2560) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารงบประมารแบบมุ่งเน้นผลงาน ตามยุทธศาสตร์ของสถานศึกษาระดับประถมศึกษา พบว่า 1) การบริหารงบประมารแบบมุ่งเน้น ผลงานในสถานศึกษาระดับประถมศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานในสถานศกึ ษาระดับประถมศกึ ษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และ 3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานในสถานศึกษาระดับประถมศกึ ษา ได้แก่ (1) ด้านแรงจูงใจในการทางาน (2) ด้านความพร้อมของข้อมูลและสารสนเทศ (3) ด้านความรู้ ของบุคลากร ส่งผลต่อการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ของสถานศึกษา ตามลาดับ สามารถพยากรณ์ได้ร้อยละ 71.40 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ส่วนด้านการมี ส่วนรว่ มสามารถพยากรณ์ได้แตไ่ ม่มนี ยั สาคัญทางสถิติ 39

บทที่ 4 เทคนิคในการปฏบิ ตั ิงาน 4.1 กิจกรรม/แผนปฏิบัติงาน รายละเอียดกิจกรรม แผนการปฏิบตั ิงาน ขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน (Work Flow) เริ่มตน้ มหาวิทยาลัยพะเยามอบหมายให้หน่วยงานต่างๆ ภายใน เดือน กรกฎาคม มหาวิทยาลัย กรอกข้อมูลโครงการตามแผนปฏิบัติการลงใน รบั นโยบาย ระบบ Budget อบรมการกรอกข้อมลู ดาเนินการจัดอบรมภายในหน่วยงานเพื่อถ่ายทอดความรู้ที่ เดือน สิงหาคม โครงการในระบบ Budget ได้รับ ในการกรอกข้อมูลโครงการตามแผนปฏิบัติการลงใน ระบบ Budget ให้กบั บุคลากรในหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง อบรมการขอใช้งบประมาณ ในระบบ Budget หมายเหตุ ได้รับการอบรมถา่ ยทอดความรู้จากกองแผนงาน ให้คาปรกึ ษา แนะนา ดาเนินการจัดอบรมภายในหน่วยงาน เพื่อถ่ายทอดความรู้ที่ เดือน กนั ยายน เกีย่ วกับการเบิกจ่ายงบประมาณ ไดร้ บั ในการจดั ทาบันทึกข้อความการขอใช้งบประมาณในแต่ ละหมวดรายจ่าย ติดตามและรายงานผล ตามตัวชี้วัด หมายเหตุ ได้รับการอบรมถา่ ยทอดความรู้จากกองแผนงาน ดาเนินการให้คาปรึกษา แนะนา เกี่ยวกับการเบิกจ่าย เดือน ตุลาคม – กันยายน งบประมาณโครงการตามแผนปฏิบัติการประจาปี ของปีงบประมาณ ดาเนินการติดตามการขอใช้งบประมาณ ติดตามผลการ เดือน ตลุ าคม – กนั ยายน ดาเนินงาน ตัวชี้วัด และติดตามการรายงานผลการดาเนินงาน ของปีงบประมาณ ปีงบประมาณละ 4 คร้ังต่อปี (ไตรมาส)เพื่อให้ผู้รับผิดชอบ โครงการ Update ข้อมูลโครงการที่รับผิดชอบในระบบ Budget 40

ข้ันตอนการปฏิบตั งิ าน รายละเอียดกิจกรรม แผนการปฏิบัติงาน (Work Flow) รายงานผล ด า เ นิ น ก า ร ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ด า เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร เดือน มีนาคม และเดือน ปีละ 2 ครั้ง ตามแผนปฏิบตั ิการ ประจาปี พร้อมจัดส่งไฟล์อิเลก็ ทรอนิกส์ กนั ยายน ของแต่ละปี เพื่อรายงานผลให้กับกองแผนงาน ปีละ 2 คร้ัง ทาง Email ใน สิ้นสุด เดือนมีนาคม และเดือนกนั ยายน ของแต่ละปีงบประมาณ 41

4.2 ขัน้ ตอนการปฏิบัติงาน ผู้ปฏิบัติงานได้เขียนข้ันตอนการปฏิบัติงานของแต่ละชิ้นงานและยังได้กาหนดสัญลักษณ์ และความหมายในการเขียนข้ันตอนการปฏิบัติงานเพื่อให้เข้าใจกระบวนงานที่เขียนออกมาแต่ละ ขั้นตอน ท้ังนี้ยังได้อธิบายรายละเอียดการดาเนินงานของแต่ละขั้นตอนและกาหนดผู้รับผิดชอบ และเวลาแล้วเสรจ็ โดยมีรายละเอียดและขน้ั ตอนการปฏิบตั ิงาน ดงั น้ี 42

ข้ันตอนการปฏิบตั ิงาน รายละเอียดการปฏิบตั ิงาน ระยะเวลา ผูร้ ับผิดชอบ (Work Flow) เริ่มต้น งานแผนของคณะฯ ดาเนินการแจ้งการจัดสรรงบประมาณ 1 วนั นักวิเคราะห์ แจ้งการจดั สรรงบประมาณ รายจ่าย ประจาปี และงบประมาณโครงการตามแผนปฏิบัติการ นโยบายและแผน กรอกข้อมลู โครงการ ในระบบ Budget ประจาปี ให้กบั ผู้เกีย่ วข้องทราบ ขออนุมัติดาเนินโครงการ ผู้รับผิดชอบโครงการตามแผนปฏิบัติการประจาปี ดาเนินการ 5 วนั ผู้รบั ผดิ ชอบ กรอกข้อมลู โครงการ ในระบบ Budget โครงการ ตรวจสอบ ในส่วนของสาขาวิชา โดยมีเจ้าหน้าที่ของแผนคณะฯ ดาเนินการ กรอกข้อมูลเบอื้ งต้น พร้อมให้คาปรกึ ษาและแนะนา ด า เ นิ น ก า ร จั ด ท า โ ค ร ง ก า ร ต า ม แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร ป ร ะ จ า ปี 1 วนั ผู้รับผดิ ชอบ 1. เ ปิ ด ใ บ ข อ อ นุ มั ติ โ ค ร ง ก า ร ผ่ า น ร ะ บ บ Budget โครงการ ในส่วนของสาขาวิชา โดยมีเจ้าหน้าที่ของสานักงานคณะฯ ที่ รับ ผิด ชอบ แ ต่ล ะด้าน ด าเนินก ารก รอก ข้อมูล เบื้องต้น และนาเสนอหัวหน้าโครงการลงนาม พร้อมเสนออนุมัติ ตรวจสอบการดาเนินงานโครงการตามแผนปฏิบัติการประจาปี 1 วนั ผู้รบั ผดิ ชอบ ในส่วนของสาขาวิชา กรณีปรับแผน ให้หัวหน้าโครงการ ปรึกษา โครงการ เจ้าหน้าที่ของสานักงานคณะฯ ที่รับผิดชอบแต่ล ะด้าน และนักวิเคราะห์ หรือ เจ้าหน้าทีแ่ ผนของคณะฯ นโยบายและแผน 43

ข้ันตอนการปฏิบตั ิงาน รายละเอียดการปฏิบัติงาน ระยะเวลา ผ้รู ับผิดชอบ (Work Flow) ขออนุมตั ิดาเนินกิจกรรม ขออนุมัติดาเนินกิจกรรม.............และค่าใช้จ่ายในการดาเนิน 2 วนั ผู้รับผดิ ชอบ แก้ไข กิจกรรรม ผา่ นระบบ Budget 2 วนั โครงการ 3 วนั ตรวจสอบ ในส่วนของสาขาวิชา โดยมีเจ้าหน้าที่ของสานักงานคณะฯ การเงินคณะฯ ผ่าน ที่รับผิดชอบแต่ละด้าน ดาเนินการกรอกข้อมูลขออนุมัติ และนาเสนอหวั หน้าโครงการลงนาม พรอ้ มเสนออนมุ ัติ ผู้รับผดิ ชอบ ขออนมุ ัติยืมเงิน โครงการ ผู้รับผดิ ชอบโครงการ/เจ้าหน้าทีข่ องสานกั งานคณะฯ ที่รับผดิ ชอบ และการเงนิ แต่ละด้าน จัดส่งขออนุมัติจัดกิจกรรม....................และค่าใช้จา่ ย คณะฯ ในการดาเนินกิจกรรรม ผ่านระบบ Budget ส่งให้กับการเงิน คณะฯ ตรวจสอบความถกู ต้อง กรณี ผ่าน เสนอต่อคณบดีลงนาม กรณี มีการแก้ไข สง่ กลบั ผู้รบั ผดิ ชอบดาเนินการแก้ไข ผู้รับผดิ ชอบโครงการ/เจ้าหน้าทีข่ องสานกั งานคณะฯ ทีร่ ับผดิ ชอบ แต่ละด้าน เปิดใบขออนุมัติยืมเงินทดรองจ่าย การจัดกิจกรรม ....................และค่าใช้จ่ายในการดาเนินกิจกรรรม ส่งให้กับ การเงินคณะฯ ดาเนินการตรวจและจัดทาใบยืมผ่านระบบ งบประมาณ AX พรอ้ มเสนออนุมัติ 44