Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงสร้างรายวิชาสังคม ป.4

โครงสร้างรายวิชาสังคม ป.4

Description: โครงสร้างรายวิชาสังคม ป.4

Search

Read the Text Version

โครงสรา้ งรายวิชา สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รหัสวิชา ส 14101 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ระดบั ชั้น ประถมศกึ ษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จดั ทาโดย ชือ่ นางสาวอาภรรัตน์ แย้มทอง ตาแหน่ง ครคู ศ.1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 47 จังหวดั เพชรบุรี สังกดั สานกั บริหารงานการศกึ ษาพิเศษ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานกระทรวงศกึ ษาธิการ

บนั ทึกข้อความ สว่ นราชการ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 47 อาเภอชะอา จังหวดั เพชรบรุ ี ที…่ ………………………………………… วนั ที่ 17 พฤษภาคม 2565 เร่อื ง ขออนมุ ตั ใิ ช้โครงสร้างรายวิชา เรียน ผอู้ านวยการโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 47 จังหวัดเพชรบรุ ี ด้วยข้าพเจ้า นางสาวอาภรรัตน์ แย้มทอง ตาแหน่ง ครูคศ.1 ได้รับมอบหมายให้สอนรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รหัสวิชา ส ๑4๑๐๑ จานวน 2.0 หน่วยกิต เวลาเรียน 4 ช่ัวโมง / สัปดาห์ จานวน 80 ชั่วโมง / ปีการศึกษา จงึ ได้จดั ทาโครงสร้างรายวิชาทีส่ อน เพือ่ ใชใ้ นการประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ในระดบั ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ประจาปีการศึกษา 2565 จงึ เรียนมาเพือ่ โปรดอนมุ ัติ ลงชือ่ .................................. ( นางสาวอาภรรตั น์ แย้มทอง) ............................................................................................................................................................................... ความเห็นของรองผู้อานวยการกลุ่มบริหารงานวิชาการ / ผทู้ ี่ได้รบั มอบหมาย ได้ตรวจสอบโครงสร้างรายวิชาดังกล่าวแล้ว พบว่า ครบถ้วน ครอบคลุม และสอดคล้องตามหัวข้อ เน้ือหา สาระมาตรฐานตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ ควรปรบั ปรุง เพิม่ เติม หรอื แก้ไข ดังน้ี ……………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………. ลงชือ่ ...................................... ( นายชาญยทุ ธ สทุ ธิธรานนท์ ) รองผู้อานวยการกลุ่มบริหารงานวิชาการ ............/............./............. .............................................................................................................................................................. เรียนเสนอเพือ่ โปรดพิจารณา อนุมตั ิตามเสนอ ไม่อนุมตั ิ เนื่องจาก ...................................................................... ลงชือ่ ..................................................... ( นายวีระ แก้วกัลยา ) ผอู้ านวยการโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 47 จังหวดั เพชรบุรี

โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 47 จงั หวดั เพชรบุรี ประมวลรายวชิ า ( Course Syllabus ) ************************************************** 1. ชื่อวิชา สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2. สถานภาพวิชารหสั วชิ า วิชาพ้นื ฐาน 3. รหัสวิชา ส 14101 4. จานวนหน่วยกติ 2.0 5. จานวนช่วั โมง / สปั ดาห์ 4 ชว่ั โมง / สัปดาห์ 6. เวลาเรียน 40 ชวั่ โมง / ภาคเรียน 7. ภาคเรยี นที่ ตลอดปกี ารศกึ ษา 8. ปกี ารศึกษา 2565 9. ระดับชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 10. ชือ่ สกลุ ครผู สู้ อน นางสาวอาภรรัตน์ แย้มทอง 11. ขอบข่ายเนือ้ หาท่สี อน ตามคาอธบิ ายรายวิชา

คำอธิบำยรำยวิชำ ช่อื วิชำ สังคมศกึ ษา ศาสนาฯ รหัส ส 14101 กล่มุ สำระกำรเรยี นรู้ สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 เวลำเรียน 4 ชั่วโมง / สัปดำห์ จำนวน 2.0 หนว่ ยกติ ************************************************** คำอธิบำยรำยวชิ ำ ศึกษาความสาคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ีตนนับถือ สรุปพุทธประวัติ ตั้งแต่บรรลุธรรมจนถึงประกาศ ธรรม หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือ หรือปฏิบัติตนตามแบบอย่างการดาเนินชีวิต และข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรื่อง เล่าและศาสนิกชนตัวอย่าง แสดงความเคารพพระรัตนตรัย ปฏิบัติตามไตรสิกขา และหลักธรรมโอวาท 3 ใน พระพทุ ธศาสนา หรือหลกั ธรรมของศาสนาท่ีตนนบั ถือ ชื่นชมการทาความดีของตนเอง บุคคลในครอบครัว โรงเรียน และ ชุ ม ช น ต า ม ห ลั ก ศ า ส น า พ ร้ อ ม ทั้ ง บ อ ก แ น ว ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ด า เ นิ น ชี วิ ต ส ว ด ม น ต์ แ ผ่ เ ม ต ต า มสี ติ มสี มาธิในพระพทุ ธศาสนา หรือการพัฒนาจติ ตามแนวทางของศาสนาทีน่ บั ถือ ปฏบิ ัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตน นบั ถอื หรอื ปฏบิ ตั ติ นเป็นพลเมอื งดตี ามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย เป็นผู้นา ผู้ตามที่ดี วิเคราะห์สิทธิพื้นฐานท่ีเด็กทุกคนพึงได้รับตาม กฎหมาย ศึกษา วเิ คราะหค์ วามแตกตา่ งทางวฒั นธรรมของทอ้ งถ่ิน เสนอวธิ ีการทจี่ ะอยู่ร่วมกันอยา่ งสันติสุข อานาจอธิปไตย ความสาคัญของระบอบประชาธิปไตย บทบาทหน้าที่ของพลเมืองในการเลือกตั้ง ความสาคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซ้ือสินค้าและบริการ สิทธิพ้ืนฐาน และรักษาผลประโยชน์ในฐานะผู้บริโภค หลักการของเศรษฐกิจพอเพียงและนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ความสัมพันธ์ทาง เศรษฐกิจของคน ในชุมชน หน้าที่เบ้ืองต้นของเงิน สืบค้น ระบุ ข้อมูลลักษณะทางกายภาพ แหล่งทรัพยากรและสถานท่ี สาคญั ในจงั หวดั อธิบาย วิเคราะห์ ลักษณะและส่ิงแวดล้อมทางกายภาพที่ส่งผลต่อแหล่งทรัพยากรและสถานท่ีสาคัญ การ ดาเนินชีวิตของคนในจังหวัด การเปล่ียนแปลงและผลการเปล่ียนแปลง พร้อมทั้งนาเสนอแนวทางจัดการส่ิงแวดล้อมใน จังหวัด โดยใชก้ ระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการทางสังคม กระบวนการกลุ่ม ก ร ะ บ ว น ก า ร เ ผ ชิ ญ ส ถ า น ก า ร ณ์ แ ล ะ แ ก้ ปั ญ ห า ใ ช้ แ ผ น ที่ แ ล ะ รู ป ถ่ า ย ใ น ก า ร สื บ ค้ น วิ เ ค ร า ะ ห์ อธิบายและสรุปข้อมูลตามกระบวนการทางภูมิศาสตร์ การต้ังคาถามเชิงภูมิศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ทักษะ การสังเกต การแปลความข้อมูลทางภูมิศาสตร์ การใช้เทคนิคและเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ การสรุปเพื่อตอบคาถาม รวมถึง ทกั ษะด้านการคดิ และการสื่อสาร เพอื่ ใหเ้ กิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนาไปปฏิบัติในการดาเนินชีวิต ความสามารถทางภูมิศาสตร์ กระบวนการ ทางภูมศิ าสตร์ ทักษะทางภูมิศาสตร์ ทักษะในศตวรรษที่ 21 ด้านการสื่อสาร ความสามารถในการคิด มีคุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ รักความเป็นไทย มีจิต สาธารณะ สามารถดาเนนิ ชวี ติ อยา่ งสนั ติสขุ ในสงั คมไทยและสังคมโลก

ตวั ช้วี ัด ส 1.1 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ป.4/4 ป.4/5 ป.4/6 ป.4/7 ป.4/8 ส 1.2 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ส 2.1 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ป.4/4 ป.4/5 ส 2.2 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ส 3.1 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ส 3.2 ป.4/1 ป.4/2 ส 5.1 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ส 5.2 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 รวม 30 ตัวช้ีวัด

สำระ / มำตรฐำน / ตวั ช้ีวัด สำระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มำตรฐำนที่ ส 1.1 รู้ และเขา้ ใจประวตั ิ ความสาคญั ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ีตน ตวั ชี้วดั ท่ี นบั ถอื และศาสนาอ่ืน มีศรทั ธาที่ถกู ต้อง ยึดม่ันและปฏิบัติตามหลักธรรมเพ่ืออยู่ร่วมกันอย่างสันติ สุข มำตรฐำนท่ี ป.4/1 อธิบายความสาคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ในฐานะเป็นศูนย์รวม ตวั ชี้วดั ท่ี จติ ใจของ ศาสนิกชน ป.4/2 สรุปพุทธประวัติต้ังแต่บรรลุธรรมจนถึงประกาศธรรม หรือประวัติศาสดาท่ีตนนับถือ ตามที่กาหนด ป.4/3 เหน็ คุณคา่ และปฏบิ ัติตนตามแบบอยา่ งการดาเนนิ ชวี ิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก/ เรอื่ งเลา่ และศาสนกิ ชนตวั อยา่ ง ตามที่กาหนด ป.4/4 แสดงความเคารพ พระรัตนตรัย ปฏิบัติตามไตรสิกขาและหลักธรรมโอวาท 3 ใน พระพุทธศาสนา หรอื หลักธรรมของศาสนาทีต่ นนับถอื ตามท่กี าหนด ป.4/5 ชื่นชมการทาความดีของตนเอง บุคคลในครอบครัว โรงเรียนและชุมชนตาม หลักศาสนา พร้อมทั้งบอกแนวปฏบิ ตั ิในการดาเนนิ ชีวิต ป.4/6 เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา มีสติที่เป็นพื้นฐานของสมาธิใน พระพุทธศาสนา หรือ การพฒั นาจติ ตามแนวทางของศาสนาทต่ี นนับถือตามที่กาหนด ป.4/7 ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาท่ีตนนับถือ เพ่ือการอยู่ร่วมกันเป็นชาติได้ อย่าง สมานฉันท์ ป.4/8 อธบิ ายประวัตศิ าสดาของศาสนาอืน่ ๆ โดยสังเขป ส 1.2 เข้าใจ ตระหนัก และปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธารงรักษาพระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาที่ตนนบั ถือ ป.4/1 อภิปรายความสาคัญ และมสี ว่ นรว่ มในการบารงุ รักษาศาสนสถานของศาสนาทต่ี นนับถือ ป.4/2 มีมรรยาทของความเป็นศาสนิกชนที่ดี ตามที่กาหนด ป.4/3 ปฏบิ ัตติ นในศาสนพธิ ี พิธีกรรมและวันสาคญั ทางศาสนา ตามทกี่ าหนดได้ถกู ต้อง สำระที่ 2 หนา้ ท่พี ลเมอื ง วฒั นธรรม และการดาเนนิ ชวี ิตในสงั คม มำตรฐำนท่ี ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมท่ีดีงามและธารงรักษา ตัวช้ีวัดที่ ประเพณแี ละวัฒนธรรมไทย ดารงชวี ิตอยู่รว่ มกนั ในสังคมไทยและสงั คมโลกอยา่ งสนั ติสขุ ป.4/1 ปฏิบตั ติ นเปน็ พลเมอื งดตี ามวิถีประชาธิปไตยในฐานะสมาชิกทด่ี ีของชมุ ชน มำตรฐำนที่ ป.4/2 ปฏบิ ตั ิตนในการเป็นผ้นู าและผู้ตามท่ดี ี ป.4/3 วเิ คราะห์สทิ ธพิ ื้นฐานทเ่ี ด็กทกุ คนพงึ ไดร้ บั ตามกฎหมาย ป.4/4 อธบิ ายความแตกต่างทางวฒั นธรรมของกลุ่มคนในท้องถ่นิ ป.4/5 เสนอวิธีการท่จี ะอยู่รว่ มกันอยา่ งสนั ติสุขในชีวิตประจาวัน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดม่ัน ศรัทธา และธารงรักษาไว้ซ่ึง การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข

ตวั ชี้วดั ท่ี ป.4/1 อธิบายอานาจอธปิ ไตยและความสาคญั ของระบอบประชาธปิ ไตย ป.4/2 อธบิ ายบทบาทหน้าทข่ี องพลเมอื งในกระบวนการเลือกตง้ั ป.4/3 อธิบายความสาคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ตามระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข สำระท่ี 3 เศรษฐศำสตร์ มำตรฐำนท่ี ส 3.1 เข้าใจและสามารถบรหิ ารจัดการทรพั ยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากรท่ี มอี ยู่จากัดไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและคมุ้ ค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือการ ดารงชวี ติ อย่างมีดลุ ยภาพ ตวั ช้ีวัดท่ี ป.4/1 ระบุปจั จัยท่มี ผี ลตอ่ การเลือกซอื้ สินคา้ และบริการ ป.4/2 บอกสทิ ธพิ ื้นฐานและรักษาผลประโยชนข์ องตนเองในฐานะผบู้ ริโภค ป.4/3 อธบิ ายหลักการของเศรษฐกจิ พอเพียงและนาไปใช้ในชีวิตประจาวันของตนเอง มำตรฐำนที่ ส 3.2 เขา้ ใจระบบและสถาบนั ทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพนั ธท์ างเศรษฐกิจและความจาเป็น ของการร่วมมือกันทางเศรษฐกจิ ในสังคมโลก ตวั ชี้วัดท่ี ป.4/1 อธิบายความสมั พนั ธ์ทางเศรษฐกิจของคนในชุมชน ป.4/2 อธบิ ายหน้าทเ่ี บอื้ งตน้ ของเงิน สำระที่ 5 ภมู ิศาสตร์ มำตรฐำนท่ี ส 5.1 เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซ่ึงมีผลต่อกัน ใชแ้ ผนทแี่ ละเครือ่ งมอื ทางภมู ศิ าสตร์ในการคน้ หา วเิ คราะห์ และสรุปข้อมูลตามกระบวนการทาง ภมู ศิ าสตร์ ตลอดจนใชภ้ ูมิสารสนเทศอยา่ งมีประสิทธิภาพ ตัวชว้ี ัดที่ ป.4/1 สบื คน้ และอธิบายข้อมูล ลกั ษณะทางกายภาพใน จังหวดั ของตนดว้ ยแผนทแี่ ละ รูปถา่ ย ป.4/2 ระบุแหลง่ ทรพั ยากรและสถานทสี่ าคัญในจังหวดั ของ ตนดว้ ยแผนที่และรูปถ่าย ป.4/3 อธิบายลักษณะทางกายภาพ ท่สี ่งผลตอ่ แหลง่ ทรัพยากร และสถานที่สาคญั จังหวัด มำตรฐำนที่ ส 5.2 เข้าใจปฏิสมั พนั ธ์ระหว่างมนุษย์กับส่ิงแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์วิถี การดาเนินชวี ิต มีจิตสานึกและมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากร และสิ่งแวดล้อมเพ่ือการพัฒนา ที่ยั่งยืน ตวั ชีว้ ัดที่ ป.4/1 วิเคราะหส์ ิ่งแวดล้อมทางกายภาพทีส่ ง่ ผลตอ่ การดาเนนิ ชีวิตของคนในจงั หวัด ป.4/2 อธิบายการเปลย่ี นแปลง สง่ิ แวดล้อมในจังหวดั และผลทีเ่ กดิ จากการเปล่ียนแปลง ป.5/3 นาเสนอแนวทางการจดั การสิ่งแวดลอ้ มในจงั หวดั

โครงสร้างรายวิชาพื้นฐาน ชื่อวิชา ส รหัสวิชา ส ๑4๑๐๑ รายวชิ า สงั คมศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศกึ ษา ศาสนาแล เวลาเรยี น 4 ชว่ั โมง / สปั ดาห์ จานวน 80 ช สาระ / มาตรฐานก หน่วยท่ี ชือ่ หนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ที/่ เร่อื ง เรยี นรู้ / ตัวชีว้ ดั / ผ การเรียนรู้ ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม 1 ประวัติและ 1. เร่ือง. ความสาคญั ของ ส 1.1 ป.4/1 ความสาคัญ ศาสนา ของศาสนา 2. เรอื่ ง พระพทุ ธศาสนา ส 1.1 ป.4/2 3. เรื่อง ศาสนาครสิ ต์ ส 1.1 ป.4/8 ส 1.1 ป.8/8 4.เร่อื ง ศาสนาอสิ ลาม ส 1.1 ป.4/8

สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เวลา นา้ หนกั คะแนน (ชม.) K A P รวม ศาสนาและวฒั นธรรม ปกี ารศึกษา ๒๕๖5 ละวัฒนธรรม ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4 ชวั่ โมง / ปกี ารศึกษา จานวน 2.0 หน่วยกติ การ ผล สาระสาคัญ - ศาสนาแต่ละศาสนามีความสาคัญในฐานะเป็น 4 311 5 เครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ เป็นศูนย์รวมการทาความดี และเปน็ แหลง่ ทากิจกรรมทางสังคม ซ่ึงส่งผลให้อยู่ รว่ มกนั ในสังคมไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข - การศกึ ษาประวัติศาสดาของพระพุทธศาสนา ต้ังแต่บรรลุธรรมจนถึงประกาศธรรม จะทาให้ มีความรคู้ วามเข้าใจในพระพทุ ธศาสนามากขึ้น - ศาสนาคริสต์เกิดขึ้นในดินแดนปาเลสไตน์ มี พระเยซูเป็นศาสดา เกิดขึ้นมาเป็นระยะเวลา ยาวนานและมีผู้นับถืออยู่ในประเทศต่างๆ ทั่ว โลก - ศาสนาอิสลามถือเป็นศาสนาที่สาคัญศาสนา หนึ่งของโลก เกิดขึ้นที่นครเมกกะ ประเทศ

สาระ / มาตรฐานก หน่วยท่ี ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ที/่ เร่อื ง เรยี นรู้ / ตวั ชี้วัด / ผ การเรียนรู้ 2 เรอ่ื ง หลกั ธรรมของ 5. เรอ่ื ง หลกั ธรรมสาคญั ของ ส 1.1 ป.4/4 ศาสนา พระพทุ ธศาสนา ส 1.1 ป.4/7 6. เรือ่ ง หลกั ธรรมสาคัญของ ส 1.1 ป.4/4 ศาสนาคริสต์ ส 1.1 ป.4/7 ส 1.1 ป.4/4 7. เรื่อง หลักธรรมสาคัญของ ส 1.1 ป.4/7 ศาสนาอสิ ลาม 3 เรื่อง เชื่อมน่ั ในการทา 8.เรอ่ื ง คนดที ่นี ่าชืน่ ชม ส 1.1 ป.4/5 ความดี ส 1.1 ป.4/3 9. เรอ่ื ง แบบอย่างความดี

การ เวลา นา้ หนกั คะแนน ผล สาระสาคัญ (ชม.) K A P รวม ซาอุดีอาระเบีย มีนบีมุฮัมมัดเป็นศาสดาของ 3 212 5 ศาสนาของท่านมาปฏิบัติในการดาเนินชีวิต - การแสดงความเคารพต่อพระรัตนตรัย และ ปฏิบัติตนตามหลักธรรมไตรสิกขาและหลักธรรม โอวาท 3 ในพระพุทธศาสนา ทาให้คนในชาติอยู่ ร่วมกันได้อยา่ งสมานฉนั ท์ - ศาสนาคริสต์สอนให้ทุกคนมีความรักในพระ เจ้า ปฏิบัติตามคาสอนของพระเจ้าและมีความ รกั ในเพือ่ นมนษุ ย์ - ผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามจะต้องปฏิบัติตน ตามหลักปฏิบัติ 5 ประการ ซึ่งเป็นคาสอนที่ สาคญั ของศาสนาอสิ ลาม - การศึกษาการทาความดีของบุคคลต่างๆ ทาให้ 4 212 5 เราเกิดความชื่นชม เห็นคุณค่า และนามาเป็น แบบอยา่ งในการทาความดขี องตนได้ - การนาข้อคิดที่ได้จากการศึกษาประวัติสาวก

สาระ / มาตรฐานก หนว่ ยท่ี ชือ่ หนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ที่/เรอ่ื ง เรยี นรู้ / ตัวชี้วัด / ผ การเรียนรู้ 10. เรื่อง ศาสนกิ ชนตวั อย่าง ส 1.1 ป.4/3 4 เรื่อง ศาสนิกชนท่ีดี 11. เรื่อง การสวดมนต์ ไหว้พระ สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย และแผ่ ส 1.1 ป.4/6 เมตตา 12. เรอื่ ง การบรหิ ารจติ และเจรญิ ส 1.1 ป.4/6 ปัญญา ส 1.1 ป.4/6 13. เร่ือง การฝึกให้มสี ติ 14. เรื่อง การฝึกให้มสี มาธใิ นการ ส 1.1 ป.4/6 ฟงั การอ่าน การคิด การถาม และการเขยี น 15. เร่อื ง ความสาคัญของศาสน ส 1.2 ป.4/1

การ เวลา น้าหนกั คะแนน ผล สาระสาคัญ (ชม.) K A P รวม ชาดก มาเป็นแบบอย่างในการดาเนินชีวิต ย่อม 7 212 5 ก่อใหเ้ กิดผลดีตอ่ ตนเองและผอู้ ื่น - การศึกษาการทาความดีของศาสนิกชน ตัวอย่าง ทาให้สามารถนามาเป็นแบบอย่างใน การทาความดีได้ - การสวดมนตไ์ หว้พระ สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย และแผ่เมตตา เป็นวิธีการหน่ึงที่ช่วยให้จิตมีสมาธิ เม่ือจิตมีสมาธิก็จะส่งผลต่อการพัฒนาการเรียนรู้ และการทางานอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ - การบริหารจิตและเจริญปัญญา เป็นพื้นฐาน ในการฝึกจิตให้มีสมาธิ เม่ือจิตมีสมาธิจะทาให้ เกิดปัญญาตามมาในทีส่ ดุ - การฝึกใหม้ ีสตแิ ละฝึกกาหนดรู้ความรู้สึกเป็น ประจา เป็นการพัฒนาจิตตามแนวของศาสนา จะทาให้จติ นิ่งทาอะไรก็จะรู้จักระมัดระวังตัวอยู่ เสมอ - การฝึกให้มีสมาธิในการฟัง การอ่าน การคิด การถาม และการเขียนอยู่เสมอ จะส่งผลต่อ การพัฒนาการเรียนรู้และการทางานให้มี ประสิทธิภาพมากยิ่งข้นึ - ศาสนิกชนที่ดคี วรศึกษาและมีความรู้เบื้องต้น

สาระ / มาตรฐานก หน่วยท่ี ชื่อหนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ที/่ เร่อื ง เรยี นรู้ / ตวั ชีว้ ดั / ผ การเรียนรู้ สถาน 16. เรอื่ ง มรรยาทของศาสนิกชนที่ ส 1.2 ป.4/2 ดี 17. เรือ่ ง ศาสนพธิ ี ส 1.2 ป.4/3 หนา้ ทีพ่ ลเมือง วัฒนธรรม และ 18. เร่ือง พลเมืองดตี ามวถิ ี การดาเนินชีวติ ในสังคม ประชาธิปไตย 5 สมาชกิ ทดี่ ขี องชุมชน 19. เรื่อง ผูน้ าและผตู้ ามในสังคม ส 2.1 ป.4/1 ประชาธปิ ไตย ส 2.1 ป.4/2

การ เวลา นา้ หนกั คะแนน ผล สาระสาคญั (ชม.) K A P รวม เ กี่ ย ว กั บ ค ว า ม ส า คั ญ ข อ ง ศ า ส น ส ถ า น ข อ ง ศาสนาที่ตนนับถือ รู้จักทานุบารุงศาสนสถาน และแสดงความเคารพต่อศาสนสถานได้อย่าง ถูกต้องเหมาะสม - การปฏิบัติตนที่เหมาะสมกับพระภิกษุ และ การยืน เดิน นั่งที่เหมาะสมกับโอกาส ถือเป็น มรร ยา ท ชา วพุ ท ธ ที่ พึง ป ฏิบั ติใ ห้ถูก ต้อ ง เหมาะสมตามหลกั ศาสนา - ศาสนิกชนทีด่ ตี ้องประพฤติปฏิบัติตนในศาสน พิธี และพิธีกรรมในวันสาคัญทางศาสนา ซึ่ง เ ป็ น ส่ ว น ห นึ่ ง ข อ ง ก า ร ธ า ร ง ไ ว้ ซึ่ ง พระพทุ ธศาสนา - พลเมืองที่ดีย่อมมีบทบาทในการเข้าร่วมกิจกรรม 5 211 4 ประชาธิปไตยและปฏิบัติตนเป็นสมาชิกท่ีดีของ ชมุ ชน - ก า ร ป ฏิ บั ติ ต น ต า ม บ ท บ า ท แ ล ะ ค ว า ม รับผิดชอบของการเป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี ทาให้

สาระ / มาตรฐานก หน่วยท่ี ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ที่/เร่อื ง เรยี นรู้ / ตัวชีว้ ัด / ผ การเรียนรู้ 20. เรื่อง สิทธพิ น้ื ฐานสาหรบั เดก็ ส 2.1 ป.4/3 ส 2.1 ป.4/5 21. เร่ือง การอยู่ร่วมกันอย่างสันติ สขุ 6 วัฒนธรรมท้องถิน่ 22. เร่อื ง ความหมาย ลักษณะ ส 2.1 ป.4/4 และประเภทของวฒั นธรรม 23. เรื่อง ความแตกตา่ งทาง ส 2.1 ป.4/4 วัฒนธรรม 24. เรื่อง สาเหตุที่ทาให้วัฒนธรรม ส 2.1 ป.4/4 ของท้องถิ่นแตกต่างกนั 7 การปกครองระบอบ 25. เรอื่ ง อานาจอธิปไตยและ ส 2.2 ป.4/1 ความสาคัญของระบอบ

การ เวลา นา้ หนกั คะแนน ผล สาระสาคัญ (ชม.) K A P รวม การทางานรว่ มกนั เป็นไปอย่างมปี ระสิทธิภาพ 5 111 3 - เด็กทุกคนพึงได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย ตามหลักสิทธิมนษุ ยชน - ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวันเกิด จากหลายสาเหตุ ถ้ารู้จักแก้ปัญหานั้นด้วยสันติ วิธี ก็จะสามารถอยู่รว่ มกนั ได้อย่างสันตสิ ุข - การศึกษาความหมาย ลักษณะสาคัญ และ ประเภทของวัฒนธรรมไทยและภูมิปัญญาไทย ทาให้มคี วามรคู้ วามเข้าใจ ในวิถีการดาเนินชีวิต ของชาวไทย - วัฒนธรรมในภาคต่างๆ ของไทยมีความ แตกต่างกนั หลายด้าน การเรียนรเู้ กีย่ วกบั ความ แตกต่างทางวัฒนธรรมทาให้เกิดการยอมรับใน วัฒนธรรมที่แตกต่างกนั และอยู่ร่วมกันได้อย่าง มีความสขุ - การที่แต่ละภูมิภาคของไทยมีลักษณะทาง 6 111 3 วัฒนธรรมของท้องถิ่นแตกต่างกันเน่ืองมาจาก ปัจจัยหลายสาเหตุดว้ ยกนั - การเรียนรู้เกี่ยวกับการปกครองระบอบ ประชาธิปไตย ทาให้เกิดความรู้ความเข้าใจ

สาระ / มาตรฐานก หนว่ ยท่ี ชือ่ หนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ที่/เร่อื ง เรยี นรู้ / ตวั ชี้วดั / ผ การเรียนรู้ ประชาธปิ ไตย ประชาธปิ ไตย 26. เร่ือง การเลอื กต้งั ส 2.2 ป.4/2 27. เร่ือง สถาบันพระมหากษัตริย์ ส 2.2 ป.4/3 ในสังคมไทย 28. เรื่อง ความสาคัญของสถาบัน ส 2.2 ป.4/3 พระมหากษัตริย์ในสังคมไทย เศรษฐศาสตร์ ส 3.1 ป.4/1 8 การบริโภคสนิ คา้ และ 29. เรื่อง สนิ คา้ และการบริการ บรกิ าร

การ เวลา นา้ หนักคะแนน ผล สาระสาคัญ (ชม.) K A P รวม อานาจอธิปไตย และตระหนักถึงความสาคัญ ของระบอบประชาธิปไตย - ก า ร เ ลื อ ก ต้ั ง เ ป็ น ปั จ จั ย ส า คั ญ ข อ ง กระบวนการประชาธิปไตย ซึ่งพลเมืองที่ดี จะต้องปฏิบัติตนตามบทบาทหนา้ ทีข่ อง พลเมืองตามกระบวนการเลือกต้ัง ท้ังก่อนการ เลือกต้ัง ระหว่างการเลือกต้ัง และหลังการ เลือกตั้ง - ประเทศไทยมีการปกครองตามระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมขุ ทรงดารงอยู่ในฐานะ อันเป็นที่เคารพสักการะของคนไทยท้ังประเทศ - สถาบันพระมหากษัตริย์มีบทบาทสาคัญในการ เปน็ ศูนยร์ วมจิตใจของคนในชาติ - ในการดารงชีวิตของมนุษย์มีความจาเป็นท่ีต้อง 8 212 5 อาศัยสินค้าและบริการ เพื่อตอบสนองความ ตอ้ งการและความสะดวกสบายในดา้ นต่างๆ

สาระ / มาตรฐานก หนว่ ยท่ี ชือ่ หนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ที/่ เร่อื ง เรยี นรู้ / ตัวชี้วดั / ผ การเรียนรู้ 30. เรื่อง ปัจจยั ทม่ี ีอิทธพิ ลต่อการ ส 3.1 ป.4/1 เลอื กซื้อสินค้าและบริการ 31. เรือ่ ง การคุ้มครองผู้บรโิ ภค ส 3.1 ป.4/2 32. เรื่อง สทิ ธพิ นื้ ฐานของผู้บรโิ ภค ส 3.1 ป.4/2 ส 3.1 ป.4/2 33. เรื่อง เคร่ืองหมายรับรอง คุณภาพสนิ คา้ และบรกิ าร 34. เรื่ อง หลัก เกณ ฑ์ใน กา ร ส 3.1 ป.4/2 ตัดสนิ ใจเลอื กซ้ือสินคา้ และบรกิ าร 9 เศรษฐกิจพอเพียง 35. เ รื่ อ ง ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง เศรษฐกิจพอเพยี ง ส 3.1 ป.4/3 36. เรื่อง หลักปรัชญาเศรษฐกิจ ส 3.1 ป.4/3

การ เวลา นา้ หนกั คะแนน ผล สาระสาคัญ (ชม.) K A P รวม - ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อสินค้าและ บริการมีหลายด้าน ขึ้นอยู่กับผู้ซื้อ ผู้ขาย และ ตัวสินค้า - การได้รับความคุ้มครองของผู้บริโภคเป็น สิทธิพื้นฐานที่ผู้บริโภคพึงได้รับ เพื่อให้การซื้อ ขายแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ - การศึกษาเกี่ยวกับสิทธิพื้นฐานของผู้บริโภค ทาให้ทราบถึงสิทธิที่จะได้รับความเป็นธรรมใน การบริโภคสินค้าและบริการ - เครือ่ งหมายรับรองคุณภาพสินค้าและบริการ เป็นสัญลักษณ์ที่บอกให้ทราบถึงคุณภาพและ มาตรฐานของสนิ ค้าและบริการนนั้ ๆ - ในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าและบริการ 5 212 5 จาเป็นต้องมีหลักเกณฑ์การพิจารณาให้รอบคอบ เพ่อื ให้ผูบ้ ริโภคไดร้ ับประโยชน์สูงสดุ - เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาท่ีพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงช้ีแนะเป็น แนวทางในการดาเนินชวี ติ แก่ปวงชนชาวไทย - เศรษฐกิจพอเพียงเป็นระบบเศรษฐกิจที่ยึด

สาระ / มาตรฐานก หนว่ ยท่ี ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรูท้ ี/่ เร่อื ง เรยี นรู้ / ตัวชี้วดั / ผ การเรียนรู้ พอเพียง 37. เรอ่ื ง การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจ ส 3.1 ป.4/3 พอเพียงในชีวติ ประจาวัน 10 เศรษฐกิจชมุ ชนใน 38. เรอ่ื ง เศรษฐกจิ ของชุมชน ส 3.2 ป.4/1 ประเทศไทย 39. เรื่อง ลักษณะอาชีพ สินค้า ส 3.2 ป.4/1 และบรกิ ารในชุมชน 39. เร่ือง การพ่ึงพาอาศัยกันทาง ส 3.2 ป.4/1 เศรษฐกิจในชมุ ชน ส 3.2 ป.4/1 40. เรื่อง ชุมชนเขม้ แขง็ 11 เงินทองของมีคา่ 41. เรื่อง ความหมายของเงนิ ส 3.2 ป.4/2

การ เวลา นา้ หนักคะแนน ผล สาระสาคญั (ชม.) K A P รวม หลักการพึ่งตนเอง และความสามัคคีในชุมชน 6 212 5 ยึดทางสายกลางในการดารงชีวติ 5 212 5 - การนาหลักการเศรษฐกิจพอเพียงมา ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน จะทาให้เกิดการ พัฒนาที่สมดุลและย่ังยืน พร้อมรับต่อการ เปลี่ยนแปลงในทกุ ด้าน - การเรียนรู้เก่ียวกับความหมายและลักษณะของ เศรษฐกิจชุมชน ทาให้เข้าใจถึงกิจกรรมทาง เศรษฐกจิ ของชุมชนนน้ั ๆ - ชุมชนต่างๆ ในประเทศไทยจะมีลักษณะ อาชีพ สินค้า และบริการในชุมชนที่หลากหลาย เน่ืองมาจากการมีปัจจัยในการผลิตที่แตกต่าง กัน - ในแต่ละชุมชนจาเป็นต้องพึ่งพาอาศัยกันทาง เศรษฐกิจ เพื่อความเจริญก้าวหน้าและความ ม่ันคงทางเศรษฐกิจของชุมชนนั้นๆ - ถ้าคนในชุมชนรู้วิธีการสร้างชุมชนให้เข้มแข็ง ด้วยการใช้สิ่งของที่ผลิตในชุมชน ชุมชนนั้นก็จะ มีความกินดีอยู่ดี มีฐานะทางเศรษฐกิจที่ดี และ มีความม่นั คง - เงินเป็นสิ่งที่สังคมยอมรับอย่างแพร่หลายใน

สาระ / มาตรฐานก หนว่ ยท่ี ชื่อหน่วยการเรียนรู้ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี/่ เรอ่ื ง เรยี นรู้ / ตวั ชี้วัด / ผ การเรียนรู้ 42. เรื่อง หน้าท่ีของเงินในระบบ ส 3.2 ป.4/2 เศรษฐกิจ 43. เรอ่ื ง ประเภทของเงิน ส 3.2 ป.4/2 ภมู ิศาสตร์ ส 5.1 ป.4/1 12 การใช้แผนท่ีและรูป 43. เรื่อง แผนท่ี ส 5.1 ป.1/1 ถา่ ย 44. เร่อื ง รูปถ่าย 13 จังหวัดของเรา 45. เร่ือง ลักษณะทางกายภาพใน ส 5.1 ป.4/1

การ เวลา น้าหนักคะแนน ผล สาระสาคญั (ชม.) K A P รวม ฐานะเปน็ สอื่ กลางของการแลกเปลี่ยน มีอานาจซ้ือ ขายสินค้าและบริการ สามารถรักษามูลค่าหรือ หน่วยบัญชี สะสมความม่ังคั่ง และสามารถชาระ หนี้ได้ - สาระสาคญั /ความคิดรวบยอดเงินมีหน้าที่ เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน และเป็นเคร่ือง รักษามูลค่าของสินค้าแล้ว เงินยังเป็นมาตรฐานใน การวัดราคาของสนิ ค้า และสามารถชาระหนไี้ ด้ - เหรียญกษาปณ์หรือเงินเหรียญ เงิน ธนบัตรหรือเงินกระดาษ เงินฝากกระแสรายวัน หรือเงินฝากเผ่ือเรียก เป็นประเภทของเงินที่ ประเทศไทยใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน สินค้าและบริการ - แผนท่ีเป็นเคร่ืองมือท่ีใช้แสดงลักษณะทาง 4 212 5 กายภาพ แหล่งทรัพยากร และสถานที่สาคัญใน 8 866 20 จงั หวัดตน - รูปถ่ายเป็นเคร่ืองมือที่ใช้แสดงลักษณะทาง กายภาพ แหล่งทรัพยากรและสถานที่สาคัญใน จังหวดั ตน - แผนที่และรูปถ่ายเป็นเคร่ืองมือท่ีใช้แสดง

สาระ / มาตรฐานก หนว่ ยท่ี ชื่อหนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ที่/เรอ่ื ง เรยี นรู้ / ตัวชี้วดั / ผ การเรียนรู้ จังหวัด 46. เร่ือง แหล่งทรัพยากรและ ส 5.1 ป.4/2 สถานที่สาคญั ในจงั หวัด 47. เรื่อง ลักษณะทางกายภาพท่ี ส 5.1 ป.5/3 ส่ ง ผ ล ต่ อ แ ห ล่ ง ท รั พ ย า ก ร แ ล ะ สถานทสี่ าคัญในจังหวดั 14 สิ่งแวดล้อมในจังหวัด 4 8 . เ รื่ อ ง ส่ิ ง แ ว ด ล้ อ ม ท า ง ส 5.2 ป.4/1 กายภาพที่มีผลต่อการดาเนินชีวิต ของคนในจงั หวัด 49. เรื่อง การเปลี่ยนแปลง ส 5.2 ป.4/2 สง่ิ แวดลอ้ มในจังหวดั ส 5.2 ป.4/3 50. เร่ือง การจัดการส่ิงแวดล้อม ในจังหวัด

การ เวลา นา้ หนกั คะแนน ผล สาระสาคัญ (ชม.) K A P รวม ลักษณะทางกายภาพ แหล่งทรพั ยากร และสถานท่ี สาคัญในจงั หวัดตน - แผนที่และรูปถ่ายเป็นเคร่ืองมือที่ใช้แสดง ลักษณะทางกายภาพแหล่งทรัพยากร และ สถานที่สาคัญในจังหวดั ของตน - ลักษณะทางกายภาพส่งผลให้เกิดแหล่ง ทรพั ยากร และสถานทีส่ าคญั ในจงั หวัด - ภู มิ ป ร ะ เ ท ศ ภู มิ อ า ก า ศ แ ล ะ 8 523 10 ทรัพยากรธรรมชาติ ส่งผลต่อการดาเนินชีวิต ของคนในจังหวัด และขณะเดียวกัน การ ดาเนินชีวิตของคนในจังหวัดก็ส่งผลให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพของจังหวัด ด้วย - การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมส่งผลต่อการ ดาเนนิ ชีวติ คนในจงั หวัด - การจัดการสิ่งแวดล้อมในจังหวัดเป็นหน้าที่ ของทุกคนในจังหวดั

สาระ / มาตรฐานก หนว่ ยท่ี ชือ่ หนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรทู้ ี/่ เร่อื ง เรยี นรู้ / ตวั ชี้วัด / ผ การเรียนรู้ รวม เวลา / คะแนน หนว่ ยการเรียน สอบวัดผลกลางปี สอบวัดผลปลายปี รวมเวลาเรยี น / คะแนน ตลอดปี

การ เวลา นา้ หนกั คะแนน ผล สาระสาคญั (ชม.) K A P รวม 80 38 21 21 80 - 5 2 3 10 - 10 5 5 10 80 45 22 33 100

เกณฑก์ ารวัดและประเมินผล ๑. อัตราส่วนคะแนน หน่วยการเรียน : กลางปี : ปลายปี = 80 : 10 : 10 รายละเอียดของการใหค้ ะแนน ๑.๑ คะแนนเก็บตลอดปี  ชิน้ งาน 50 คะแนน  แบบฝกึ หัดท้ายหนว่ ย 15 คะแนน  สอบเก็บคะแนน 15 คะแนน ๑.๒ คะแนนสอบกลางปี 10 คะแนน ๑.๓ คะแนนสอบปลายปี 10 คะแนน รวม 100คะแนน คดิ ระดบั ผลการเรยี น ระดบั ผลการเรยี น 0 ได้คะแนน 0 – 49 คะแนน ระดับผลการเรยี น 1 ได้คะแนน 50 – 54 คะแนน ระดับผลการเรียน 1.5 ไดค้ ะแนน 55- 59 คะแนน ระดับผลการเรียน 2 ได้คะแนน 60 - 64 คะแนน ระดบั ผลการเรียน 2.5 ได้คะแนน 65- 69 คะแนน ระดบั ผลการเรยี น 3 ได้คะแนน 70 - 74 คะแนน ระดบั ผลการเรยี น 3-5 ไดค้ ะแนน 75 - 79 คะแนน ระดับผลการเรียน 4 ได้คะแนน 80 – 100 คะแนน แหลง่ เรียนรู้  หนงั สือเรยี น สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ป.4  แหล่งเรียนรู้ในช้ันเรยี น  แหลง่ เรียนรใู้ นหอ้ งสมดุ  แหลง่ เรียนรทู้ างอนิ เทอร์เน็ต


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook