Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore pdf24_merged3333333333

pdf24_merged3333333333

Published by Kcnsngnoon, 2022-02-09 05:50:36

Description: pdf24_merged3333333333

Search

Read the Text Version

PY THON ที่มา:https://itorn.net/srupphuuenthaan-python/ https://python-thailand.github.io/intro/why-python.html https://python3.wannaphong.com/2015/06/python-2-print-input-id-round-sum-type.html?m=1

ประวัติ ไพธอนสร้างขึ้นครั้งแรกในปี 1990 โดย Guido van Rossum ที่ CWI (National Research Institute for Mathematics and Computer Science) ในประเทศเนเธอร์แลนด์ โดยได้ นำความสำเร็จของภาษา โปรแกรมมิ่ง ที่ชื่อ ABC มาปรับใช้กับ Modula-3, Icon, C, Perl, Lisp, Smalltalk และ Tcl โดย Duido van Rossim ถือว่าเป็นผู้ริเริ่มและคิดค้น แต่เค้าก็ยัง คิดว่าผลงานอย่างไพธอนนั้น เป็นผลงานความรู้ที่ ทำขึ้นเพื่อ ความสนุกสนานโดยได้อ้างอิงงานชิ้นนี้ของเขาว่าเป็น Benevolent Dictator for Life (BDFL) ซึ่ง ผลงานที่ถูกเรียก ว่าเกิดจากความสนุกสนานเหล่านี้นั้นมักถูกเรียกว่า BDFL เพราะมักเกิดจากความไม่ตั้งใจ และความอยากที่จะทำอะไรที่ เป็นอิสระนั้นเอง ซึ่งคนที่ถูกกล่าวถึงว่าทำในลักษณะแบบนี้ ก็ได้แก่ Linus Torvalds ผู้สร้าง Linux kernel, Larry Wall ผู้สร้าง Perl programming language และคนอื่น ๆ อีก มากมาย

ประโยชน์ของ Python 1 . ง่ า ย ต่ อ ก า ร เ รี ย น รู้ ไ พ ธ อ น เ ป็ น ภ า ษ า โ ป ร แ ก ร ม ร ะ ดั บ สู ง ( H i g h - l e v e l p r o g r a m m i n g ) มี โ ค ร ง ส ร้ า ง ที่ ไ ม่ ซั บ ซ้ อ น ทำ ใ ห้ ง่ า ย ต่ อ ก า ร เ รี ย น รู้ เ มื่ อ เ ป รี ย บ เ ที ย บ กั บ ภ า ษ า โ ป ร แ ก ร ม อื่ น ๆ ไ ม่ ว่ า จ ะ เ ป็ น เ ด็ ก วั ย ป ร ะ ถ ม ห รื อ ผู้ ใ ห ญ่ วั ย ทำ ง า น ก็ ส า ม า ร ถ ที่ จ ะ เ รี ย น รู้ ไ ด้ ข้ อ ดี ดั ง ก ล่ า ว ทำ ใ ห้ เ ร า เ น้ น ค ว า ม ส น ใ จ ไ ป กั บ ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า จ ริ ง ๆ ม า ก ขึ้ น แ ล ะ ช่ ว ย ล ด เ ว ล า สำ ห รั บ ก า ร ต ร ว จ ส อ บ โ ค ร ง ส ร้ า ง แ ล ะ สั ญ ลั ก ษ ณ ต่ า ง ๆ ข อ ง ภ า ษ า ใ ห้ น้ อ ย ล ง ดั ง นั้ น ก า ร เ ลื อ ก ภ า ษ า ไ พ ธ อ น เ ป็ น ภ า ษ า แ ร ก จ ะ ทำ ใ ห้ ผู้ ที่ เ ริ่ ม ต้ น ศึ ก ษ า ก า ร เ ขี ย น โ ป ร แ ก ร ม ส า ม า ร ถ ใ ช้ เ ว ล า ตั้ ง แ ต่ ก า ร เ รี ย น รู้ ไ ป จ น ถึ ง ก า ร เ ขี ย น โ ป ร แ ก ร ม เ พื่ อ ใ ช้ ง า น จ ริ ง ใ น ร ะ ย ะ เ ว ล า ที่ เ ร็ ว ขึ้ น ไ ด้ 2 . นำ ไ ป ใ ช้ ง า น จ ริ ง ไ ด้ น อ ก จ า ก ไ พ ธ อ น จ ะ เ ป็ น ภ า ษ า โ ป ร แ ก ร ม ที่ นำ ม า ใ ช้ เ พื่ อ ศึ ก ษ า ก า ร เ ขี ย น โ ป ร แ ก ร ม แ ล้ ว แ ต่ เ ร า ก็ ส า ม า ร ถ นำ ไ ป ใ ช้ ง า น ไ ด้ จ ริ ง แ ล ะ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ไ ด้ ทำ ใ ห้ บ ริ ษั ท แ ล ะ อ ง ค์ ก ร ใ ห ญ่ ร ะ ดั บ โ ล ก เ ช่ น Google, Facebook, YouTube, Netflix, Dropbox, Agoda แ ล ะ N A S A เ ลื อ ก ที่ จ ะ นำ ภ า ษ า ไ พ ธ อ น ม า ใ ช้ ใ น ก า ร พั ฒ น า เ พื่ อ ส ร้ า ง ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ซ อ ฟ ต์ แ ว ร์ โ ด ย มี ผู้ ใ ช้ ง า น จ ริ ง ห ล า ย ล้ า น ค น ทั่ ว โลก

3 . มี ไ ล บ ร า รี ค ร อ บ ค ลุ ม ก า ร ใ ช้ ง า น ต่ า ง ๆ เ นื่ อ ง จ า ก ภ า ษ า โ ป ร แ ก ร ม ไ พ ธ อ น ส า ม า ร ถ นำ ไ ป พั ฒ น า ซ อ ฟ ต์ แ ว ร์ เ พื่ อ ต อ บ ส น อ ง ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ใ น ง า น ท า ง ด้ า น ต่ า ง ๆ ไ ด้ ทำ ใ ห้ มี นั ก พั ฒ น า จำ น ว น ม า ก ต้ อ ง ก า ร แ บ่ ง ปั น ผ ล ง า น ร่ ว ม กั บ นั ก พั ฒ น า ค น อื่ น ๆ เ พื่ อ ใ ห้ ภ า ษ า ไ พ ธ อ น มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ ม า ก ขึ้ น โ ด ย มี P y t h o n P a c k a g e I n d e x ( P y P I ) ซึ่ ง เ ป็ น แ ห ล่ ง ร ว บ ร ว ม โ ม ดู ล แ ล ะ ไ ล บ ร า รี ค ร อ บ ค ลุ ม ก า ร ใ ช้ ง า น ท า ง ด้ า น ต่ า ง ๆ เ ช่ น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ข้ อ มู ล พั ฒ น า เ ว็ บ ไ ซ ต์ ร ะ บ บ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ฝั ง ตั ว ร ะ บ บ เ ค รื อ ข่ า ย แ ล ะ อื่ น ๆ อี ก ม า ก ม า ย 4 . ง า น ท า ง ด้ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ข้ อ มู ล ใ น ปั จ จุ บั น ง า น ท า ง ด้ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ข้ อ มู ล ( D a t a S c i e n c e ) ไ ด้ รั บ ค ว า ม ส น ใ จ เ ป็ น อ ย่ า ง ม า ก เ นื่ อ ง จ า ก บ น อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต มี ข้ อ มู ล ใ ห ม่ เ กิ ด ขึ้ น ต ล อ ด เ ว ล า แ ล ะ มี ป ริ ม า ณ ข้ อ มู ล ร ะ ดั บ ม ห า ศ า ล ( B i g D a t a ) ดั ง นั้ น ห า ก เ ร า นำ ข้ อ มู ล เ ห ล่ า นี้ ม า ทำ วิ เ ค ร า ะ ห์ ใ น รู ป แ บ บ ต่ า ง ๆ เ พื่ อ เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ ท า ง ด้ า น ธุ ร กิ จ ห รื อ ด้ า น อื่ น ๆ จ ะ ทำ ใ ห้ อ ง ค์ ก ร ส า ม า ร ถ ส ร้ า ง ค ว า ม ไ ด้ เ ป รี ย บ เ ห นื อ คู่ แ ข่ ง ไ ด้ สำ ห รั บ ภ า ษ า โ ป ร แ ก ร ม ไ พ ธ อ น มี ไ ล บ ร า รี ที่ ค ร อ บ ค ลุ ม ก า ร ทำ ง า น ท า ง ด้ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ข้ อ มู ล ที่ มี คุ ณ ภ า พ เ ป็ น ที่ นิ ย ม แ ล ะ พ ร้ อ ม ใ ช้ ง า น อ ยู่ จำ น ว น ม า ก

5 . เ ขี ย น โ ป ร แ ก ร ม ไ ด้ ห ล า ย ก ร ะ บ ว น ทั ศ น์ ( M u l t i - paradigms programming) ก ร ะ บ ว น ทั ศ น์ ก า ร เ ขี ย น โ ป ร แ ก ร ม ( P r o g r a m m i n g Pa rad igm ) คื อ แ น ว คิ ด ห รื อ ส รไ ตเ ขีล์ยในนโกปา ร เ ขี ย น โ ป รแก รม โด ยภา ษาไ พ ธ อ น ส นั บ ส นุ น ก า ร แกร ม ไ ด้ หลา ย ก ร ะ บ ว น ทั ศ น์ เ ช่ น 1) Imperative programming 2) Event driving programming 3) Object Oriented Programming ( O O P ) แ ล ะ 4 ) F u n c t i o n a l p r o g r a m m i n g เ ป็ น ต้ น ทำ ใ ห้ นั ก พั ฒ น า ซ อ ฟ ต์ แ ว ร์ ส า ม า ร ถ เ ขี ย น โ ป ร แ ก ร ม ใ น รู ป แ บ บ ที่ เ ห ม า ะ ส ม กั บ ง า น ป ร ะ เ ภ ท ต่ า ง ๆ ไ ด้ 6 . มี ชุ ม ช น นั ก พั ฒ น า ที่ แ ข็ ง แ ก ร่ ง ใ น ปั จ จุ บั น ภ า ษ า ไ พ ธ อ น ไ ด้ รั บ ค ว า ม นิ ย ม สู ง อ ย่ า ง ต่ อ นื่ อ ง ไ พ ธ อ น มี ชุ ม ช น นั ก พั ฒ น า จำ น ว น ม า ก น อ ก จ า ก นั้ น ก า ร เ ขี ย น โ ป ร แ ก ร ม ไ ม่ ไ ด้ จำ กั ด อ ยู่ เ ฉ พ า ะ ใ น แ ว ด ว ง ข อ ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ( C o m p u t e r S c i e n c e ) เ ท่ า นั้ น แ ต่ ผู้ ที่ ทำ ง า น ส า ข า อื่ น ก็ อ า จ มี ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร จ ะ นำ ไ ป ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ ใ น ง า น ท า ง ด้ า น อื่ น ๆ ด้ ว ย ทำ ใ ห้ มี ชุ ม ช น นั ก พั ฒ น า ที่ ใ ช้ ง า น ภ า ษ า ไ พ ธ อ น เ กิ ด ขึ้ น บ น อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต จำ น ว น ม า ก ห า ก ต้ อ ง ก า ร ศึ ก ษ า ห า ค ว า ม รู้ เ พิ่ ม เ ติ ม ก็ มี เ นื้ อ ห า ที่ มี คุ ณ ภ า พ ใ น รู ป แ บ บ ต่ า ง ๆ เ ช่ น วิ ดี โ อ ห นั ง สื อ บ ท ค ว า ม แ ล ะ เ อ ก ส า ร บ น อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ใ ห้ ค้ น ค ว้ า เ พิ่ ม เ ติ ม ไ ด้ ถ้ า ห า ก ติ ด ปั ญ ห า ใ ด ๆ ก็ ส า ม า ร ถ ค้ น ห า วิ ธี ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า ข อ ง ค น ที่ เ ค ย พ บ ปั ญ ห า ม า ก่ อ น ห รื อ อ า จ จ ะ ข อ ค ว า ม ช่ ว ย เ ห ลื อ จ า ก สั ง ค ม นั ก พั ฒ น า ที่ ช อ บ แ บ่ ง ปั น ข้ อ มู ล ค ว า ม รู้ ร ะ ห ว่ า ง กั น แ ล ะ กั น บ น อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต เ ช่ น S t a c k O v e r f l o w แ ล ะ Q u o r a

7 . ทำ ง า น ไ ด้ ห ล า ย แ พ ล ต ฟ อ ร์ ม แ ม้ ว่ า ใ น ช่ ว ง แ ร ก ภ า ษ า ไ พ ธ อ น ไ ด้ ถู ก อ อ ก แ บ บ ม า ใ ห้ ทำ ง า น บ น ร ะ บ บ ป ฏิ บั ติ ก า ร U n i x เ พี ย ง อ ย่ า ง เ ดี ย ว อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ไ ด้ มี ก า ร พั ฒ น า ใ ห้ ส า ม า ร ถ นำ ไ ป ใ ช้ ง า น ไ ด้ ห ล า ย ร ะ บ บ ป ฏิ บั ติ ก า ร อื่ น ๆ ไ ด้ ด้ ว ย เ ช่ น W i n d o w s M a c แ ล ะ L i n u x ดั ง นั้ น นั ก พั ฒ น า ส า ม า ร ถ เ ขี ย น โ ป ร แ ก ร ม เ พี ย ง ค รั้ ง เ ดี ย ว แ ต่ ส า ม า ร ถ นำ ไ ป ใ ช้ ง า น บ น ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ เ ค รื่ อ ง ใ ด ก็ ไ ด้ ทำ ใ ห้ ช่ ว ย ล ด ร ะ ย ะ เ ว ล า แ ล ะ ค่ า ใ ช้ จ่ า ย ใ น ก า ร พั ฒ น า ท ด ส อ บ แ ล ะ บำ รุ ง รั ก ษ า ซ อ ฟ ต์ แ ว ร์ ใ ห้ ส า ม า ร ถ ใ ช้ ง า น เ ป็ น ป ก ติ ไ ด้ ทุ ก ร ะ บ บ ป ฏิ บั ติ ก า ร นั ก พั ฒ น า ภ า ษ า ไ พ ธ อ น มี ร า ย ไ ด้ ดี แ ล ะ เ ป็ น ที่ ต้ อ ง ก า ร ข อ ง อ ง ค์ ก ร ต่ า ง ๆ 8 . ร า ย ไ ด้ ดี แ ล ะ เ ป็ น ที่ ต้ อ ง ก า ร ข อ ง อ ง ค์ ก ร ต่ า ง ๆ นั ก พั ฒ น า โ ป ร แ ก ร ม ด้ ว ย ภ า ษ า ไ พ ธ อ น เ ป็ น ที่ ต้ อ ง ก า ร ใ น ส า ย ง า น ท า ง ด้ า น พั ฒ น า ซ อ ฟ ต์ แ ว ร์ อ ย่ า ง ม า ก 8 . ส า ม า ร ถ นำ ไ ป ใ ช้ ง า น ไ ด้ ฟ รี ภ า ษ า ไ พ ธ อ น ยั ง เ ป็ น ซ อ ฟ ต์ แ ว ร์ ป ร ะ เ ภ ท โ อ เ พ น ซ อ ร์ ส ( O p e n s o u r c e ) ห ม า ย ค ว า ม ว่ า เ ร า ส า ม า ร ถ นำ ซ อ ร์ ส โ ค้ ด ( S o u r c e c o d e ) ม า ดั ด แ ป ล ง แ ก้ ไ ข ไ ด้ ทั้ ง ห ม ด โ ด ย ไ ม่ จำ เ ป็ น ต้ อ ง ข อ อ นุ ญ า ต แ ล ะ ที่ สำ คั ญ เ ร า ส า ม า ร ถ นำ ไ ป ใ ช้ ง า น ไ ด้ ฟ รี โ ด ย ไ ม่ มี ค่ า ใ ช้ จ่ า ย เ รื่ อ ง ค่ า ลิ ข สิ ท ธิ์ ใ ด ๆ

Python ชนิดข้อมูลของ Python มีชนิดข้อมูลพื้นฐานอยู่ 5 ชนิด • Numbers เก็บข้อมูลตัวเลข • String เก็บข้อมูลตัวอักษร • List เก็บข้อมูลได้มากว่า 1 ค่าใน 1 ตัวแปร หรือที่เรียกว่า compound type • Tuple อ่านว่า “ทูเพิล” เก็บข้อมูลได้มากว่า 1 ค่าใน 1 ตัวแปร ใช้สำหรับเก็บลำดับ หรือที่เรียก ว่า sequence type • Dictionary เก็บข้อมูลได้มากว่า 1 ค่าใน 1 ตัวแปรเช่นกัน หรือที่เรียกว่า table type เทียบได้ กับตัวแปร array ใน php คำสงวน ใน Python and, as, assert, break, class, continue, def, del, elif, else, except, exec, finally, for, from, global, if, import, in, is, lambda, not, or, pass, print, raise, return, try, while, with, yield การตั้งชื่อตัวแปร นิยมใช้การตั้งชื่อแบบ snake_case ก็คือใช้ตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดและแบ่งคำ ด้วยunderscore(_) เช่น awesome_name = \"John Doe\" เป็นต้นComment คอมเม้นของ Python เริ่มต้นด้วย hash (#) ไปจนสิ้นสุดบรรทัดนั้น Variabl a = b = 2 คือ chained assignment เป็นการกำหนดค่า 2 ให้กับ a และ ตัวแปร (variable) สามารถตั้งชื่อได้เฉพาะ ตัวอักษร ตัวเลข และ underscore(_) ไม่สามารถ ขึ้นต้นด้วยตัวเลขได้ ตัวเลขจะมี Type อยู่ 2 ประเภทคือ integers และ floats โดย integers คือตัวเลขธรรมดา ส่วนfloats คือตัวเลขที่มีจุดทศนิ เช็ค Type ของตัวแปรต่างๆ ได้โดยฟังชั่น type() เช่น type(999 เราสามารถ convert จาก integer ไป float หรือ float ไป integer ได้ โดยใช้ built-in functions เช่น float_number = float(10) # แปลงค่า integer เป็น float number = int(35.321) # แปลงค่า float เป็น integer word = str(number) # แปลงค่า integer เป็น string

โค้ดคำสั่งต่างๆ print เป็ นคำสั่งสำหรับใช้แสดงผลบนคอมมานด์ไลน์ มีไวยากรณ์ดังนี้ [python]print(ตัวแปรหรือข้อมูล)[/python] ตัวอย่างเช่น >>> print(1,2,3) 123 >>> print(\"Hello\") Hello >>> a = \"python\" >>> print(a) python input เป็นคำสั่งสำหรับรับข้อมูลจากแป้ นพิมพ์ โดยรับทางคอมมานด์ไลน์ มีไวยากรณ์ดังนี้ input(ข้อความชนิดสตริงอธิบาย) ตัวอย่างเช่น >>> a = input(\"Text :\") Text :Hello >>> print(a) Hello

id เป็ นคำสั่งสำหรับบอกที่อยู่ของวัตถุในหน่วยความจำหลัก โดยคืนค่าออกมาเป็ นจำนวนจริง ในการประกาศเก็บค่าตัวแปร คอมพิวเตอร์จะนำข้อมูลนั้น ไปเก็บไว้ที่หน่วยความจำหลัก โดยจะเก็บข้อมูลงหน่วย ความจำและอ้างอิงข้อมูลที่เก็บอยู่ด้วยเลข ID ที่เก็บบน หน่วยความจำ เมื่ออ้างอิงตัวแปรข้อมูลในเขียนโปรแกรม ตัวแปรจะอ้างอิง ID บนหน่วยความจำและดึงข้อมูลจาก หน่วยความจำมาใช้อีกที มีไวยากรณ์ดังนี้ id(ตัวแปร) ตัวอย่างเช่น >>> a = [1,2,3] >>> id(a) 45848712 >>> id(a[0]) 1485616816 >>> id(a[1]) 1485616848 >>> id(a[2]) 1485616880

round เป็นคำสั่งสำหรับใช้ปัดตัวเลข ในระบบจำนวนจริง มีไวยากรณ์ดังนี้ round(ตัวเลขจำนวนจริง) ตัวอย่างเช่น >>> round(4) 4 >>> round(4.5) 4 >>> round(4.6) 5 >>> round(-0.1) 0 >>> round(-0.6) -1 sum เป็นคำสั่งสำหรับใช้หาผลรวมของ iterable มีไวยากรณ์ดังนี้ sum(List ข้อมูลตัวเลข) sum(List ข้อมูลตัวเลข, ค่าเริ่มต้น) ตัวอย่างเช่น >>> sum([1,2,3]) 6 >>> sum([1,2,3],10) 16

type เป็ นคำสั่งสำหรับใช้ตรวจสอบชนิดของข้อมูล มีไวยากรณ์ดังนี้ type(X) ตัวอย่างเช่น >>> a = \"str\" >>> b = 1 >>> c = 1.6 >>> d = [1,2] >>> e = (1,2) >>> type(a) <class 'str'> >>> type(b) <class 'int'> >>> type(c) <class 'float'> >>> type(d) <class 'list'> >>> type(e) <class 'tuple'>

จัดทำโดย ชื่อ:นาย พงศกร การณารัตน์ เลขที่1 ม.6/5 FB:เจ๋ง'กัญชลี Gmail:[email protected] ชื่อ:นางสาวกาญจนา ซองเงิน เลขที่15 ม.6/5 FB:กาญจนา 'า. Gmail:[email protected]

TYHAO NNK


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook