Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ณฐกร อวดฉลาด108 (แก้ 2)

ณฐกร อวดฉลาด108 (แก้ 2)

Published by Natakorn Natakorn, 2018-10-01 00:16:47

Description: การใช้งานออสซิลโลสโคป

Keywords: ไฟฟ้า

Search

Read the Text Version

เร่ือง ออสซลิ โลสโคป ( ) จัดทำโดยนายณฐกร อวดฉลาด รหสั 60181700108 สาขาวิชา อุตสาหกรรมศิลป์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลยั ราชภัฏลาปาง

คานา หนังสืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ เรื่อง ออสซิลโลสโคป ได้จัดทาขนึ้ เพ่ือใช้ประกอบการเรียนการสอนสาหลบั นักศึกษา ตลอดจน นักเรียน และบุคคลทส่ี นใจ โดยผ้พู ฒั นาได้ แบ่งเนื้อหาของ หนังสืออเิ ลก็ ทอนิกส์ออกเป็ น 10 หัวเรื่อง ได้แก่ ออสซิลโลสโคปคืออะไร การปรับแต่งออสซิลโลสโคป การต่อออสซิลโลสโคป การทาให้ได้รอยเส้น(trace)ทส่ี ะอาดและเสถยี ร การวดั แรงดนั และคาบเวลา แรงดนั คาบเวลาฐานเวลา(เวลา/cm)และป่ ุมควบคุมทริกเกอร์ ป่ มุ ควบคุม y แอมปลิไฟเออร์(โวลต์/cm) สวทิ ช์ AC GND DC ผู้พฒั นาหวงั เป็ นอย่างยง่ิ ว่า เนื้อหาสาวะของหนังสือ อเิ ลก็ ทรอ-นิกส์ เล่มนีจ้ ะเป็ นประโยชน์ และให้ความรู้แก่ผู้เรียน และทม่ี คี วามสนใจทว่ั ไป นายณฐกร อวดฉลาด คณะเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏลาปาง 7 กนั ยายน 2561

1. ออสซิลโลสโคปคืออะไร 1-22. การปรับแต่งออสซิลโลสโคป 33. การต่อออสซิลโลสโคป 44. การทาให้ได้รอยเส้น(trace) ทสี่ ะอาดและเสถียร 55. การวดั แรงดนั และคาบเวลา 66. แรงดนั 77. คาบเวลา 88. ฐานเวลา(เวลา/cm) และป่ มุ ควบคุมทริกเกอร์ 99. ป่ ุมควบคุม y แอมปลไิ ฟเออร์ (โวลต์/cm) 1010. สวทิ ช์ AC GND DC 11-1211. สรุป 1312. แบทดสอบ/แบบฝึ กหัด 14-1913. ทมี่ าของข้อมูล/ทม่ี าของภาพ 20-2214. เกย่ี วกบั 23

หน้าที่ 1 ออสซิลโลสโคปคอื อะไร ออสซลิ โลสโคปเป็นเครอื่ งมือวัดซงึ่ จะทาใหเ้ ราเห็นรูปร่างของสัญญาณไฟฟา้ โดยแสดงเปน็ กราฟของแรงดันบนแกนเวลาท่ีจอภาพ เหมือนกับเปน็ โวลตม์ ิเตอรท์ ม่ี ีฟังชั่นพเิ ศษแสดงคา่ แรงดันทเ่ี ปล่ียนไปตามเวลา และดว้ ยช่องตารางขนาด 1 ซม.ทาเราให้สามารถวดั ค่าแรงดนั กับเวลาจากจอได้ รูปกราฟนี้ปกติเราเรียกว่ารอยเส้น(trace)ถกูเขียนโดยลาอเิ ล็กตรอนท่ียิงมากระทบหน้าจอซง่ึ ฉาบดว้ ยฟอสเฟอร์ทาให้เกิดการเปล่งแสงปกตจิ ะเป็นสีเขยี วหรอื น้าเงิน ทานองเดยี วกันกบั การเกิดภาพของจอโทรทัศน์ ออสซิลโลสโคปทใี่ ช้หลอดสูญญากาศ(CRO)จะมปี นื อิเลก็ ตรอน(electron gun)ซึ่งประกอบด้วย แคโทด (ขั้วลบ) ท่ีปลายขา้ งหนึง่ เพื่อยงิ อเิ ล็กตรอนและ แอโนด (ขัว้ บวก)ทปี่ ลายอีกข้าง เพือ่ เรง่ การเคลอื่ นท่ขี องอิเล็กตรอนให้รวดเร็วไปยงั จอ นอกจากน้ีหลอดยงั มีขั้วสาหรับ ทาหน้าทเ่ี บ่ยี งเบนลาอิเล็กตรอน ให้ไปทางซ้าย-ขวา บน-ล่าง ด้วยเหตุท่ีแคโทดเปน็ ตัวยิงอเิ ลก็ ตรอนเราจงึ เรยี กอเิ ลก็ ตรอนนีว้ า่ รงั สแี คโทด(cathode ray)และออสซิลโลสโคปท่ีใชห้ ลอดชนดิ น้ีจึงเรียกวา่ รงั สีแคโทดออสซิลโลสโคป(Cathode RayOscilloscope)หรอื CROปจั จุบนั CRO ไมน่ ิยมใช้กนั แล้ว และหลอด CRT ก็เลิกผลติ จอ LCD กลับมาแทนที่สาหรบั ดจิ ิตอลออสซลิ โลสโคปรุน่ ใหม่ๆ ออสซลิ โลสโคปท่ใี ชห้ ลอดสูญญากาศ(CRO)

หน้าท่ี 2 ออสซลิ โลสโคปแบบรอยเสน้ คู่(dual trace)หรอื 2ชอ่ งสามารถแสดงกราฟสญัญาณสองรอยบนจอ ทาใหส้ ะดวกในการใชง้ าน เช่น การวดั เปรยี บเทยี บสัญญาณเขา้ และออกของเคร่อื ง ขยายได้ง่ายเปน็ ต้น แต่ราคาเครอ่ื งกแ็ พงตามไปดว้ ยอยา่ งไรก็ตามปจั จบุ ันดิจติ อลออสซลิ โลสโคป มใี ห้เลือกมากกว่า2 ชอ่ ง สามารถแสดงกราฟได้หลากสี มีฟงั ช่ันการใช้งานมากมายขนาดกบ็ าง นา้ หนักเบา กนิ ไฟน้อย แตร่ าคายงั คงแพงอยู่ดิจิตอลออสซลิ โลสโคป ออสซิลโลสโคปแบบพกพาสมรรถนะสูงข้อควรระวงั1.การเคลอ่ื นย้ายหรือถอื หิ้วออสซลิ โลสโคป(CRO)ตอ้ งทาอยา่ งระมดั ระวังอย่าให้กระทบกระแทกหลอดจอทเี่ ปราะบาง(ราคาแพงด้วย)2. ออสซลิ โลสโคปใช้แรงดนั สูงเพือ่ สรา้ งลาอีเล็กตรอนและอาจยงั คงมคี ้างอยู่หลงั จากปดิสวทิ ช์ ดงั นัน้ เพ่ือความปลอดภัยจงึ ไมค่ วรเปิดฝาเครอื่ งดภู ายในโดยไม่จาเป็น

หน้าที่ 3 ออสซลิ โลสโคปเป็นเครอื่ งมอื ทค่ี อ่ นขา้ งซบั ซอ้ นใช้ยากมปี ุ่มปรบั มากและต้องมีการปรบั ต้งั ก่อนใชง้ าน รอยเสน้ จะหายไปจากจองา่ ยหากปรับไม่ถกู ตอ้ ง ปุ่มปรบั ต่างๆของออสซลิ โลสโคป ตลอดจนช่ือเรียกจะคล้ายกนั ทกุ ย่ีหอ้ คาแนะนาการใช้ต่อไปนอี้ าจต้องปรบั เปลย่ี นบา้ งเพือ่ ให้เหมาะทีจ่ ะใช้กบั ออสซลิ โลสโคปทที่ า่ นมีใชอ้ ยู่ เปิดสวทิ ช์ออสซลิโลสโคปเพือ่ อุ่นเครอื่ ง (ใชเ้ วลา 1-2 นาที)1. ยงั ไม่ต้องตอ่ สายสัญญาณเข้าตอนนี้2. ต้งั AC/GND/DC สวิทช์ (ที่ Y อินพทุ ) ไปท่ตี าแหนง่ DC3. ตงั้ SWP/X-Y สวิทช์ไปท่ี SWP (กวาด)4. ตงั้ Trigger Level ไปท่ี AUTO5. ตั้ง Trigger Source ไปท่ี INT (ภายใน, อินพทุ Y)6. ต้ัง Y AMPLIFIER ไปท่ี 5V/cm (คา่ ปานกลาง)7. ต้งั TIMEBASE ไปท่ี 10ms/cm (เวลาปานกลาง)8. ปรบั หมนุ ป่มุ VARIABLE ควบคมุ ฐานเวลาไปที่ 1 หรือ CAL.9. ปรับ Y SHIFT (ข้ึน/ลง) และ X SHIFT (ซา้ ย/ขวา)ใหป้ รากฏรอยเสน้ ทก่ี ลางจอเหมอื นรปู ขวามอื10. ปรับINTENSITY (ความสว่าง) และ FOCUS ใหเ้ สน้ สว่างและคม11. ตอนนี้ออสซลิ โลสโคปพร้อมท่ีจะใช้งาน! น่ีคือสงิ่ ท่ีเราจะเห็นหลงั จากปรับตงั ้ แล้ว โดยยงั ไมต่ ่อสญั ญาณเข้า

หน้าที่ 4 การตอ่ ออสซลิ โลสโคป สายต่อสญั ญาณเข้าอนิ พทุ Y ของออสซลิ โลสโคปจะต้องเปน็ สายโค-แอกเซย่ี ลดงั รปู แสดงโครงสรา้ งของสาย สายเส้นกลางเป็นตวั นาสัญญาณ และสกรีนตอ่ ลงดิน(0V) เพอ่ื ชลี ด์สัญญาณจากส่ิงรบกวนทางไฟฟา้ (ท่เี รียกว่านอยส)์ ข้ัวตอ่ อินพทุ Y ของออสซลิ โลสโคปโดยทว่ั ไปเปน็ ซ็อคเกทแบบ BNC สามารถตอ่ สายเข้าโดยการเสยี บแลว้ ก็หมุน ตอนถอดออกกห็ มนุ กลับแล้วกด็ งึ ออสซลิ โลสโคปตามโรงเรยี นมักใชส้ ายต่ออินพุทเปน็ สายดา-แดง ใชก้ บั ซ็อคเกท 4mm ธรรมดา ไม่มสี กรนี ซึง่ สายปล๊ัก4mm ธรรมดาก็สามารถใชไ้ ด้ หากจาเป็นแตส่ าหรับมอื อาชพี จะใช้สายและโปรบคิท ทอ่ี อกแบบมาพิเศษเฉพาะซึง่ เปน็ ผลดเี ม่ือวัดสัญญาณความถ่ีสูงและทดสอบกับวงจรทม่ี คี วามตา้ นทานสงู แตก่ ไ็ ม่จาเป็นสาหรบั งานธรรมดาในยา่ นความถีเ่ สยี ง(สงู ถงึ 20kHz).การตอ่ ออสซลิ โลสโคปก็เหมือนกับการต่อ โวลต์มิเตอร์ แตต่ อ้ งพึงระวังว่าสายสกรนี(สดี า) ของสายอินพทุ ได้ถูกตอ่ กบั สายดินหลักทต่ี ัว ออสซลิ โลสโคป นัน่ หมายถงึ ว่าสายน้ีจะตอ้ งตอ่ ลงดินหรือ 0V บนวงจรท่ีทดสอบดว้ ย โครงสร้างของสายโคแอกเซ่ียล สายออสซลิ โลสโคปและชุดโปรบคิท

หน้าท่ี 5 เมอื่ ต่อออสซลิ โลสโคปกับวงจรเพื่อทดสอบวดั เราจาเป็นทจี่ ะต้องปรบั ปุ่มควบคุมต่างๆเพอื่ ให้ได้รอยเส้นทสี่ ะอาดและเสถยี รบนจอ ดังนี้1. ปรับปุม่ Y แอมปลไิ ฟเออร์ (VOLTS/CM) กาหนดความสูงของรอยเส้น เลอื กตง้ั ให้รอยส้นมคี วามสูงอย่างน้อยครง่ึ หน่งึ ของจอ แตต่ ้องไม่เลย หรือหายไปจากจอ2. ปรบั ปมุ่ ฐานเวลา (TIME/CM) กาหนดอตั ราการกวาดของจุดบนจอ เลือกตั้งให้รอยเสน้ แสดงอย่างน้อย 1 รอบของสญั ญาณบนจอ3. โปรดสงั เกตว่า อินพทุ DC คงทจี่ ะได้รอยเสน้ ทางแนวนอนซึ่งการปรบั ตง้ั ฐานเวลาไม่มีความสาคัญปุ่มควบคมุ ทรกิ เกอร์ (TRIGGER) ปกตใิ ห้ต้ังไวท้ ตี่ าแหนง่ AUTOหากใช้ออสซลิ โลสโคปเป็นครัง้ แรก จะเป็นการดีทีส่ ุดทเี่ ร่ิมต้นกบั การวดั สัญญาณงา่ ยๆเช่นไฟเอซจี ากเพาเวอรแ์ พคต้ังไวส้ กั ประมาณ 4V รูปคลน่ื ของสัญญาณเอซี เมือ่ ปรับตั้งปุ่มควบคุมตา่ งๆถกู ต้อง

หน้าที่ 6 การวัดแรงดันและคาบเวลา รอยเสน้ บนจอออสซิลโลสโคปคือกราฟของแรงดนั ตามเวลา รูปรา่ งของกราฟเปน็ไปตามลกั ษณะของสัญญาณท่ีอนิ พุทนอกจากนี้คุณสมบตั ิทแ่ี สดงบนกราฟจะมคี วามถี่ซงึ่ คือจานวนรอบตอ่ วินาที แผนภาพแสดงคลื่นซายนซ์ ่งึ คณุ สมบัตเิ หล่านีน้ าไปใช้กบั สญั ญาณอืน่ ๆทมี่ ีรปู รา่ งคงท่ี1. ขนาด(Amplitude) คือแรงดันสูงสดุ ของสัญญาณมหี นว่ ยวดั เป็น โวลต์(volts, V)2. แรงดนั ยอด(Peak voltage) คืออกี ชอ่ื หนง่ึ ของขนาด3. แรงดันยอดถงึ ยอด(Peak-peak voltage) คอื สองเทา่ ของแรงดนั ยอด(ขนาด) เวลาอา่ นรอยเสน้ บนออสซลิ โลสโคปวัดคา่ เป็นแรงดันยอดถึงยอด4. คาบเวลา(Time period) คือเวลาทสี่ ญั ญาณครบหนง่ึ รอบสมบรู ณ์ มหี น่วยวัดเปน็วินาท(ี s), แต่ช่วงเวลาค่อนข้างจะสนั้ จึงมกั ใช้เปน็ มิลลิเซคันด์ (ms) และไมโครเซคนั ด์(µs) 1ms = 0.001s และ 1µs = 0.000001s.5. ความถ(่ี Frequency) คอื จานวนรอบตอ่ วนิ าที มีหนว่ ยวัดเป็นเฮิรท์ (Hz), แตค่ วามถี่คอ่ นข้างจะสงู จึงมกั ใช้เปน็ กิโลเฮริ ์ท (kHz) และ เมกะเฮริ ์ท (MHz) 1kHz = 1000Hzและ1MHz = 1000000Hzความถี่ = 1 และ คาบเวลา = 1 คาบเวลา ความถ่ี

แรงคัน หน้าที่ 7 แรงดนั แสดงทางแนวตงั้ แกน-y และมาตราส่วนถูกกาหนดโดยปุ่มควบคุม Yแอมปลิไฟเออร์ (VOLTS/CM) ปกติวัดเป็นแรงดนั ยอดถึงยอดเพราะวา่ สามารถอา่ นได้ถกู ตอ้ งแม้วา่ ไมท่ ราบตาแหน่งของ 0V สว่ นขนาด(amplitude) ของแรงดันเทา่ กับครึ่งหนง่ึ ของแรงดันยอดถึงยอด หากตอ้ งการอา่ นขนาดแรงดนั โดยตรงเราจะต้องตรวจสอบหาตาแหนง่ 0V (ปกติจะอยทู่ ค่ี รง่ึ บนจอ): เลอื่ นสวทิ ช์ AC/GND/DC ไปที่ตาแหนง่ GND (0V) และปรบั ปุ่มY-SHIFT (ขึ้น/ลง)เล่อื นตาแหน่งรอยเสน้ หากจาเป็น , จากน้ันปรบั สวทิ ช์กลับไปท่ี DCจะมองเหน็ สัญญาณอีกครัง้แรงดัน = ระยะทางเป็น cm × แรงดนั /cmตัวอยา่ ง: แรงดนั ยอดถงึ ยอด = 4.2cm × 2V/cm = 8.4Vขนาด (แรงดนั ยอด) = ½ × แรงดนั ยอดถึงยอด = 4.2V ใรูปคลื่นสญั ญาณเอซีY แอมปลิไฟเออร์: 2V/cm ฐานเวลา: 5ms/cm ตัวอย่างการวัด:แรงดนั ยอดถึงยอด = 8.4V ขนาดแรงดัน = 4.2V คาบเวลา = 20ms ความถี่ = 50Hz

คาบเวลา เวลาแสดงทาง แนวนอน แกน-x และมาตราสว่ นถูกกาหนดโดยป่มุ ควบคมุ ฐานเวลา (TIME/CM) คาบเวลา (หรอื เรียกทับศัพทว์ า่ พเี รยี ด)คอื เวลา ในหน่งึ รอบของสัญญาณ สว่ นความถ่ีคอื จานวนรอบต่อหนง่ึ วนิ าที ความถ่ี = 1/ช่วงเวลาตอ้ งแนใ่ จวา่ปรับปมุ่ ฐานเวลาไปที่ 1 หรือ CAL (แคลลิเบรท) ก่อนทจ่ี ะอ่านค่าเวลาเวลา = ระยะทางเป็น cm × เวลา/cmตัวอย่าง: ชว่ งเวลา = 4.0cm × 5ms/cm = 20msและ ความถ่ี = 1/ช่วงเวลา = 1/20ms = 50H ตารางแสดงคาบเวลาแกนนอน (แกนX)

หน้าท่ี 9 ฐานเวลา (เวลา/cm) และปุ่มควบคมุ ทริกเกอร์ ลาอิเลก็ ตรอนของออสซลิ โลสโคปจะกวาดหนา้ จอจากซา้ ยไปขวาดว้ ยความเรว็ ท่ีถกู ตง้ั โดยปมุ่ ฐานเวลา(TIMEBASE) การปรบั แต่ละครงั้ ตามป้ายทีแ่ สดงดว้ ยเวลา จุดจะเลอ่ื นไป 1 ซม. มีผลต่อมาตราสว่ นตามแกน-x ปุม่ ควบคมุ ฐานเวลามกั ตดิ ป้ายกากบั ว่าTIME/CMหากต้งั ฐานเวลาชา้ (เชน่ 50ms/cm) เราจะมองเหน็ จดุ เคลอื่ นทข่ี ้ามจอ แตถ่ ้าต้ังฐานเวลาเร็ว (เชน่ 1ms/cm) จดุ จะเคลอื่ นที่เรว็ จึงปรากฏเหน็ เปน็ เส้นปุ่มปรบั ฐานเวลา VARIABLE สาหรับปรบั ความเรว็ ละเอยี ด แตจ่ ะตอ้ งตงั้ ไวท้ ี่ตาแหนง่1 หรือ CAL (แคลลเิ บรท) หากเราต้องการอา่ นค่าเวลาจากรอยเสน้ บนจอที่ถกู ตอ้ งปุ่มควบคมุ ทรกิ เกอร์(TRIGGER)ปรบั ชว่ ยรกั ษาความแน่นอนของรอยเส้นบนจอ หากปรบัไม่ถกู จะเห็นรอยเส้นขยบั เลอื่ นไปดา้ นข้าง เกิดรอยเสน้ ลวกๆสบสนบนจอหรอื ไม่กห็ ายไปเลย ทรกิ เกอร์คงรกั ษาความแน่นอนของรอยเสน้ ต้งั แต่จดุ เริม่ กวาดขา้ มจอจนสัญญาณอนิ พุทกลบั มาถงึ จดุ เดมิ ทกุ รอบเวลาสาหรบั การใชง้ านอยา่ งตรงไปตรงมา ดีที่สดุ คือตัง้ ระดบั ทรกิ เกอรไ์ วท้ ่ี AUTO แตห่ ากเห็นว่ารอยเส้นไมค่ ่อยจะนิ่ง ขยบั ดา้ นขา้ งอยเู่ รอื่ ยกค็ อ่ ยๆปรับปมุ่ ทรกิ เกอร์ ชว่ ยได้ฐานเวลาชา้ ,ไม่มีอนิ พทุ ฐานเวลาเรว็ , ไมม่ อี ินพทุจะมองเหน็ เปน็ จุดเคลน่ื ท่ี จุดจะเคลือ่ นท่เี ร็วจนมอง เหน็ เปน็ เสน้

หน้าท่ี 10 ปมุ่ ควบคุม Y แอมปลไิ ฟเออร์ (โวลต/์ cm) รอยเสน้ จะเคลือ่ นที่สูงและตา่ ตามแรงดนั ท่ี Y อนิ พุทและการปรบั ตง้ั ปมุ่ ควบคุมY แอมปลิไฟเออรป์ ุ่มควบคมุ นต้ี ้งั คา่ แรงดนั แทนโดยแตล่ ะเซนติเมตรบนจอ การต้งั มีผลต่อมาตราส่วนบนแกน-y แรงดนั บวกทาให้รอยเส้นเลือ่ นขึน้ สว่ นแรงดันลบทาใหม้ นั เล่ือนลงปุ่มควบคมุ Y แอมปลไิ ฟเออร์จะมปี ้ายกากบั ว่า Y-GAIN หรือ VOLTS/CMแรงดนั อินพทุ เล่ือนจุดขน้ึ และลง ในขณะเดยี วกันกก็ วาดข้ามจอ นัน่ หมายถึงรอยเส้นบนจอคอื กราฟของแรงดัน (แกน-y) ตาม เวลา (แกน-x)ของสญั ญาณอินพทุ DCเปลย่ี นแปลง (ทางบวก) ไฟฟ้ากระแสตรงชนิดต่าง ๆ (บน) ชนิดสมบรู ณ์ (กลางและลา่ ง) ชนดิ เป็นจงั หวะเกิดจาก การเรยี งกระแส

หน้าที่ 11 สวิทช์ AC/GND/DC การปรบั ต้ังปรกตขิ องสวิทช์นีอ้ ยู่ที่ตาแหน่ง DC สาหรบั ทุกสัญญาณรวมทงั้สัญญาณ ACสวิทช์ตาแหน่ง GND (ดิน) เทา่ กับต่ออินพทุ Y เขา้ กบั 0V และทาให้เราตรวจสอบตาแหนง่ 0V บนจอได้รวดเรว็ (ปกติจะอยู่ทค่ี รงึ่ ทางข้นึ ) ในกรณนี ไ้ี ม่จาเป็นต้อง ถอดสายสญั ญาณอินพุทออก เพราะว่ามนั มกี ารตัดตอ่ ภายในแลว้ สวิทชไ์ ปที่ GND ทาใหส้ ามารถตรวจ สอบตาแหนง่ 0Vไดร้ วดเร็ว (ปกตจิ ะอยทู่ ่ีครงึ่ ทางขน้ึ )สวิทช์ไปทตี่ าแหนง่ AC จะมกี ารตอ่ ตวั เก็บประจอุ นกุ รมกับอนิ พุทเพอ่ื บลอ็ คสัญญาณ DCใดๆไมใ่ หผ้ า่ นเขา้ ยกเว้นสัญญาณ AC การใช้วธิ นี ้ีเพ่อื ดสู ญั ญาณค่าคงท่ี ที่มกี ารเปลย่ี นแปลงเลก็ น้อย เชน่ พร้ิว(ripple)ทเี่ อาทพ์ ุทของแหลง่ จ่ายไฟดซี ี การปรบั ลด VOLTS/CMเพอื่ ดูรายละเอยี ดของพร้วิ ปกติจะทาให้ รอยเสน้ หายไป จากจอ การตงั้ ท่ี AC จะเคลอื่ นสว่ นสัญญาณคงที่ (DC)ออกไป ทาใหเ้ ราสามารถมองเหน็ ส่วนท่เี ปลีย่ นแปลง(AC)ได้ และ ตอนนเ้ี ราก็สามารถ ลดVOLTS/CM. เพ่อื ให้เหน็ ชัดยิ่งข้ึน ดงั แสดงในแผนภาพต่อไปนี้

หน้าท่ี 12 สวทิ ช์อยูท่ ีตาแหน่งDCปกติ สวิทช์เล่ือนไปทต่ี าแหน่ง ACส่วนพริว้ ยากทจี่ ะมองเหน็ แต่ ส่วนทคี่ งท(่ี DC) จะถกู เคลอื่ นออกหากลดVOLTS/CMเพอ่ื ขยาย คงเหลอื แต่ส่วนพรวิ้ (AC) รอยเส้นจะหายไปจากจอลดVOLTS/CM เพื่อขยายพร้วิตอนนี้พรว้ิ สามารถมองเหน็ ไดช้ ดั

หน้าที่ 13 ออสซิลโลสโคปเป็นเครื่องมือวัดซึ่งจะทาให้เราเห็นรูปร่างของสัญญาณไฟฟ้าโดยแสดงเปน็ กราฟของแรงดันบนแกนเวลาที่จอภาพสัญลักษณ์ของออสซิลโลสโคปท่ีใช้ในวงจร หลอดรังสีแคโทดออสซิลโลสโคป (CRO) เหมือนกับเป็นโวลต์มิเตอร์ที่มีฟังชั่นพิเศษแสดงค่าแรงดันท่ีเปลี่ยนไปตามเวลา และด้วยช่องตารางขนาด 1 ซม.ทาเราให้สามารถวัด ค่าแรงดันกับเวลาจากจอได้ รูปกราฟนี้ปกติเราเรียกว่ารอยเส้น(trace)ถูกเขียนโดยลาอิเล็กตรอนท่ียิงมากระทบหน้าจอซึ่งฉาบด้วยฟอสเฟอร์ทาให้เกิดการเปล่งแสง ปกติจะเป็นสีเขียวหรือน้าเงิน ทานองเดียวกันกับการเกิดภาพของจอโทรทัศน์ ออสซิลโลสโคปที่ใช้หลอดสูญญากาศ(CRO)จะมีปืนอเิ ลก็ ตรอน(electron gun)ซงึ่ ประกอบดว้ ย แคโทด (ข้ัวลบ) ที่ปลายข้างหนึ่ง เพื่อยิง อิเล็กตรอนและ แอโนด (ขั้วบวก)ท่ีปลายอีกข้าง เพื่อเร่งการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนให้รวดเร็วไปยังจอนอกจากนี้หลอดยังมีขั้วสาหรับทาหน้าที่เบี่ยงเบนลาอิเล็กตรอน ให้ไปทางซ้าย-ขวา บน-ล่างด้วยเหตุที่แคโทดเป็นตัวยิงอิเล็กตรอนเราจึงเรียกอิเล็กตรอนนี้ว่ารังสีแคโทด(cathode ray)และออสซิลโลสโคปท่ีใช้หลอดชนิดนี้จึงเรียกว่ารังสีแคโทดออสซิลโลสโคป(Cathode RayOscilloscope)หรือ CROปจั จบุ นั CRO ไมน่ ิยมใชก้ ันแล้ว และหลอด CRT ก็เลกิ ผลิต จอ LCDกลับมาแทนท่ีสาหรับดิจิตอลออสซิลโลสโคปรุ่นใหม่ๆซึ่งจะมีน้าหนักท่ีเบาว่าง่ายต่อการขนย้ายและงา่ ยต่อการใช้งานแต่ในคณะเดียวกันก็จะมีราคาท่ีสูงกว่ารุ่นเก่า ส่วนการใช้งานก็จะแตกต่างกันไปตามรูปแบบของการใช้งานและการต้ังค่ามาจากทางบริษัทจะมีคู่มือการใช้งานแต่ก็จะมีลกั ษณะฟงั ช่ันทคี่ ล้ายๆกัน

หน้าท่ี 14

หน้าท่ี 15ก เครื่องมอื วดั ไฟฟา้ข เคร่ืองมือวดั ซง่ึ จะทาให้เราเหน็ รูปร่างของสญั ญาณไฟฟา้ โดยแสดงเป็นกราฟของแรงดนั บนแกนเวลาที่จอภาพค เป็นเครอ่ื งมอื วัดความต้านทานกระแสไฟฟ้าง เครื่องแปลงกระแสไฟฟ้า

หนา้ ท่ี 16 ก กาหนดอัตราการกวาดของจดุ บนจอข กาหนดการตั่งคา่ แอมมิเตอร์ค กาหนดความสงู ของรอยเส้น เลอื กตั้งให้รอยเสน้ มคี วามสูงอยา่ งน้อยคร่งึ หน่ึงของจอง ไม่มีคาตอบทีถ่ ูกต้อง

หนา้ ท่ี 17ก เวลาข แรงดนัค ความถี่ง แอมป์

หน้าท่ี 18ก กิโลเฮริ ์ท (kHz)ข มิลลเิ ซคันด์ (ms)ค เมกะเฮริ ท์ (MHz)ง โวลท์(V)

หน้าท่ี 19ก GHzจกิ ะเฮิรตซ์ข u ไมโครค kw กโิ ลวัตต์ง กโิ ลเฮิร์ท (kHz) และ เมกะเฮริ ์ท(MHz)

หน้าท่ี 20ที่มาของขอ้ มูลhttp://icelectronic.com/beginner/study/cro.htm ทม่ี าของรูปภาพรปู ที่ 1,2,4,5,7,8,9,10,11,13,14,15,17,18,19,20http://icelectronic.com/beginner/study/cro.htmรปู ท่ี 3,6 http://www.measuretronix.com/products/fluke-190-series-ii-%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%8B%E0%B8%B4%E0%B8%A5%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%AA%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%9B%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%9E%E0%B8%81%E0%B8%9E%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%96%E0%B8%99%E0%B8%B0%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%87-%E0%B8%AA%E0%B8%B3%E0%B8%AB%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%AA%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B9%81%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8

หน้าที่ 21%A5%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%94%E0%B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%89%E0%B8%9E%E0%B8%B2%E0%B8%B0รปู ท่ี 12 https://www.google.co.th/search?biw=1920&bih=969&tbm=isch&sa=1&ei=WQGRW6_iOInSvwSStK_gAw&q=%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%81%E0%B8%AA%E0%B8%94%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%99+%28%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%99X%29&oq=%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%81%E0%B8%AA%E0%B8%94%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%99+%28%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%99X%29&gs_l=img.3...504625.507736.0.508556.3.3.0.0.0.0.116.116.0j1.1.0....0...1c.1j2.64.img..2.0.0.0...0.aR5d3lbLgxQ#imgr c =qAB5EA1zN87qrM

หน้าท่ี 22รปู ที่ 16https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%81%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%87

หน้าท่ี 23


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook