Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปเนื้อหา ทักษะการเรียรู้ ม.ปลาย ทร31001

สรุปเนื้อหา ทักษะการเรียรู้ ม.ปลาย ทร31001

Published by กศน.ตำบลบางเพรียง, 2019-06-14 05:10:07

Description: 3.

Search

Read the Text Version



ข เอกสารสรุปเน้อื หาท่ตี อ งรู รายวิชา ทักษะการเรยี นรู ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย รหัสวชิ า ทร31001 หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สาํ นกั งานสง เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย สาํ นักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร หามจําหนาย หนงั สือเรยี นนจี้ ัดพมิ พดวยเงินงบประมาณแผนดินเพ่อื การศกึ ษาตลอดชวี ติ สําหรบั ประชาชน ลิขสิทธเ์ิ ปนของสาํ นักงาน กศน.สาํ นักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ



ง สารบญั หนา คาํ นํา สารบัญ คําแนะนําการใชเ อกสารสรปุ เน้อื หาทต่ี อ งรู บทที่ 1 การเรยี นรดู ว ยตนเอง 1 เรอ่ื งที่ 1 ความหมาย ความสาํ คัญ และกระบวนการของการเรียนรดู วยตนเอง 1 เรอ่ื งท่ี 2 ทกั ษะพน้ื ฐานทางการศกึ ษาหาความรู ทกั ษะการแกป ญหาและเทคนิค การเรียนรูดว ยตนเอง การวางแผนการเรยี นรูและการประเมินผลการเรยี นรู ดว ยตนเอง 4 เร่อื งที่ 3 ทักษะท่จี าํ เปนในการเรยี นรดู วยตนเอง 7 กิจกรรมทา ยบทท่ี 1 9 บทที่ 2การใชแหลงเรยี นรู 11 เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสาํ คัญ ประเภทแหลง เรยี นรู 11 เร่ืองท่ี 2 ขอควรคาํ นึงในการศกึ ษาเรียนรูก บั แหลง เรียนรูตาง ๆ รวมทง้ั นวัตกรรมและเทคโนโลยี 15 กจิ กรรมทายบทท่ี 2 16 บทที่ 3การจดั การความรู 18 เรื่องท่ี 1 ความหมาย ความสําคัญ และหลักการของการจัดการความรู 18 เรอื่ งท่ี 2 ทักษะการจัดการความรดู ว ยตนเอง และดว ยการรวมกลมุ ปฏิบัติการ 21 เรอ่ื งที่ 3 การสรปุ องคความรูของกลุม จดั ทาํ สารสนเทศองคความรใู นการพฒั นาตนเอง23 กจิ กรรมทายบทท่ี 3 27

สารบญั (ตอ) จ หนา บทที่ 4การคิดเปน 30 เร่อื งท่ี 1 ความเชอ่ื พ้นื ฐานทางการศกึ ษาผูใ หญ/การศกึ ษานอกระบบท่เี ช่อื มโยงมาสู ปรัชญาคิดเปน 30 เร่อื งที่ 2 ความหมาย ความสาํ คัญของการคดิ เปน 33 เรือ่ งท่ี 3 การรวบรวมและวเิ คราะหส ภาพปญหาของตนเอง ครอบครัว ชมุ ชนและคิด วิเคราะห โดยใชขอ มลู ดา นตนเอง วิชาการและสงั คมสง่ิ แวดลอ ม 35 เรอ่ื งที่ 4 กระบวนการและเทคนิคการเก็บขอ มูล การวิเคราะหแ ละสงั เคราะหขอมูล ทัง้ 3 ประการของบุคคล ครอบครัว และชุมชน เพื่อประกอบการคดิ การตดั สนิ ใจ 41 เรอ่ื งที่ 5 การกาํ หนดแนวทางทางเลอื กทหี่ ลากหลายในการแกป ญ หาอยา งมเี หตผุ ล มีคุณธรรม จริยธรรม และมีความสขุ อยา งยั่งยืน การประยกุ ตใ ชอยางมีเหตุผล เหมาะสมกบั ตนเอง ครอบครัว และชมุ ชน/สงั คม 44 กิจกรรมทา ยบทท่ี 4 46 บทท่ี 5การวิจัยอยางงาย 50 เรือ่ งที่ 1 ความหมาย ความสําคญั การวิจัยอยา งงาย กระบวนการและข้ันตอน ของการดาํ เนนิ งาน 50 เรอ่ื งที่ 2 สถิติงา ย ๆ เพ่ือการวจิ ยั 52 เรื่องที่ 3 การสรา งเครื่องมือการวจิ ัย 53 เรื่องที่ 4 การเขยี นโครงการวิจยั อยางงา ย 55 เรื่องท่ี 5 ทักษะการวิจัยในอาชีพ การเขยี นรายงานการวิจยั อยางงาย และการเผยแพรผ ลงานการวิจัย 59 กิจกรรมทา ยบทท่ี 5 66

สารบัญ (ตอ) ฉ บทท่ี 6ทกั ษะการเรยี นรแู ละศกั ยภาพหลกั ของพน้ื ท่ีในการพฒั นาอาชพี หนา เรื่องที่ 1 ความสําคัญของศักยภาพหลกั ของพ้ืนที่ในการพัฒนาอาชพี เรื่องท่ี 2 การวเิ คราะหศ กั ยภาพหลกั ของพื้นทีใ่ นการพฒั นาอาชีพ 67 เรื่องที่ 3 ตวั อยา งอาชีพท่สี อดคลอ งกับศกั ยภาพหลักของพ้ืนที่ 67 กิจกรรมทา ยบทที่ 6 68 69 บรรณานกุ รม 78 คณะผจู ัดทาํ 79 80

ช คาํ แนะนําการใชเอกสารสรปุ เนือ้ หาท่ตี องรู เอกสารสรุปเน้ือหาที่ตองรูฉบับน้ี เปนการสรุปเนื้อหาจากหนังสือเรียน รายวิชาทักษะ การเรียนรู ทร 31001 ตามหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2554) เพื่อใหผูเรียน กศน. ทําความเขาใจและเรียนรูในสาระสําคัญ ของเนือ้ หารายวชิ าทกั ษะการเรยี นรู ในการศึกษาเอกสารสรปุ เนื้อหาทต่ี องรูฉ บบั นี้ ผูเรยี นควรปฏบิ ัติ ดังน้ี 1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาทักษะการเรียนรู ทร 31001 หลักสูตรการศึกษา นอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2554) ใหเขา ใจกอน 2. ศึกษารายละเอียดเน้ือหาในเอกสารสรุปเนื้อหาที่ตองเรียนรู ใหเขาใจทีละบท หลังจากนั้นทํากิจกรรมทา ยบท ใหค รบทุกกิจกรรม จาํ นวน 6 บทเรยี น 3. หากตอ งการศึกษารายละเอียดเนื้อหารายวิชาทักษะการเรียนรูเพ่ิมเติม ผูเรียน กศน. สามารถศึกษาหาความรูเพิ่มเติมจากตํารา หรือหนังสือเรียนท่ีมีอยูในหองสมุด กศน.ตําบล หรอื จากครผู สู อน

1 เรอื่ งที่ 1 ความหมาย ความสําคัญ และกระบวนการของการเรียนรดู วยตนเอง ความหมายของการเรียนรูดวยตนเอง การเรยี นรูเปน เรือ่ งของทกุ คน ศกั ดิ์ศรีของผูเรียนจะมีไดเม่ือมีโอกาสในการเลือกเรียนใน เร่ืองที่หลากหลายและมีความหมายแกตนเอง การเรียนรูท่ีเกิดขึ้น มิไดเกิดข้ึนจากการฟงคํา บรรยายหรือทําตาม ท่ีครผู สู อนบอก แตอ าจเกดิ ข้นึ ไดในสถานการณต าง ๆ ตอ ไปน้ี 1. การเรยี นรูโดยบงั เอิญ การเรียนรแู บบน้ีเกดิ ข้นึ โดยบังเอญิ มไิ ดเกิดจากความตง้ั ใจ 2. การเรียนรูดวยตนเอง เปนการเรียนรูดวยความต้ังใจของผูเรียน ซึ่งมีความ ปรารถนาจะรูในเรื่องนั้น ผูเรียนจึงคิดหาวิธีการเรียนดวยวิธีการตาง ๆ หลังจากนั้น จะมีการ ประเมนิ ผลการเรียนรูดวย ตนเอง จะเปน รูปแบบการเรยี นรูท่ีทวีความสําคัญในโลกยุคโลกาภิวัตน บคุ คลซึ่งสามารถปรบั ตนเองใหต ามทันความกาวหนา ของโลก โดยใชส ่อื อุปกรณยคุ ใหมได จะทาํ ให เปน คนทมี่ ีคณุ คาและประสบความสาํ เรจ็ ไดอ ยางดี 3. การเรียนรูโดยกลุม การเรียนรูแบบนี้เกิดจากการท่ีผูเรียนรวมกลุมกัน แลวเชิญ ผทู รง คณุ วุฒมิ าบรรยายใหก ับสมาชกิ ทําใหสมาชกิ มีความรเู ร่ืองทีว่ ิทยากรพดู 4. การเรียนรูจากสถาบันการศึกษา เปนการเรียนแบบเปนทางการ มีหลักสูตรการ ประเมินผล มีระเบียบการเขาศึกษาที่ชัดเจน ผูเรียนตองปฏิบัติตามกฎระเบียบที่กําหนด เม่อื ปฏิบัตคิ รบถวนตามเกณฑท่ีกําหนด ก็จะไดร บั ปริญญาหรือประกาศนียบตั ร การเรยี นรดู ว ยตนเอง หมายถึง กระบวนการเรียนรูที่ผูเรียนริเร่ิมการเรียนรูดวยตนเอง ตามความสนใจ ความตองการและความถนัด มีเปาหมาย รูจักแสวงหาแหลงทรัพยากรของการ เรียนรู เลอื กวธิ กี ารเรียนรู จนถงึ การประเมินความกาวหนาของการเรียนรขู องตนเอง การเรียนรูด ว ยตนเองมอี ยู 2 ลกั ษณะ คอื 1. ลักษณะท่ีเปนการจัดการเรียนรูท่ีมีจุดเนน ใหผูเรียนเปนศูนยกลางในการเรียน โดยเปนผูรับผิดชอบและควบคุมการเรียนของตนเอง โดยการวางแผนปฏิบัติการเรียนรูและ ประเมินการเรียนรูดวยตนเอง ซ่ึงไมจําเปนจะตองเรียนดวยตนเองเพียงคนเดียวตามลําพัง และ ผูเรยี นสามารถถายโอนการเรียนรแู ละทักษะไดจ ากสถานการณหนง่ึ ไปยังอกี สถานการณห นึ่งได

2 2. ในอีกลักษณะหน่ึง เปนลักษณะทางบุคลิกภาพท่ีมีอยูในตัวผูท่ีเรียนดวยตนเอง ทุกคน ซึ่งมอี ยูในระดับทไ่ี มเ ทา กนั ในแตละสถานการณการเรียน เปนลักษณะท่ีสามารถพัฒนาให สูงขน้ึ ได และจะพัฒนาไดส ูงสดุ เมอ่ื มกี ารจดั สภาพการจดั การเรยี นรูทเ่ี อ้ือกนั ความสําคญั ของการเรยี นรดู วยตนเอง การเรียนรูดว ยตนเองมีความสาํ คัญ ดงั น้ี 1. บุคคลที่เรียนรูดวยการริเร่ิมของตนเองจะเรียนไดมากกวา ดีกวา มีความต้ังใจ มจี ดุ มุงหมายและมีแรงจงู ใจสงู กวา สามารถนาํ ประโยชนจากการเรยี นรไู ปใชไดด กี วา และยาวนาน กวาคนทีเ่ รียนโดยเปน เพยี งผรู บั หรือรอการถายทอดจากครู 2. การเรียนรูดวยตนเองสอดคลองกับพัฒนาการทางจิตวิทยา และกระบวนการ ทางธรรมชาติ ทาํ ใหบุคคลมีทิศทางของการบรรลุวุฒิภาวะ จากลักษณะหนึ่งไปสูอีกลักษณะหนึ่ง คือเมื่อตอนเด็ก ๆ เปนธรรมชาตทิ จี่ ะตอ งพ่ึงพงิ ผูอืน่ ตอ งการผูป กครองปกปองเลยี้ งดูและตัดสินใจ แทนให เมือ่ เตบิ โตมีพฒั นาการขึ้นเรือ่ ย ๆ พฒั นาตนเองไปสูความเปน อิสระไมต องพึ่งพิงผูปกครอง ครแู ละผอู ่นื การพฒั นาเปน ไปในสภาพทีเ่ พ่มิ ความเปน ตัวของตัวเอง 3. การเรยี นรูด วยตนเองทาํ ใหผูเ รยี นมีความรับผิดชอบ ซึ่งเปน ลักษณะที่สอดคลอง กับพัฒนาการใหม ๆ ทางการศึกษา เชน หลักสูตรหองเรียนแบบเปด ศูนยบริการวิชาการ การศกึ ษาอยา งอสิ ระมหาวทิ ยาลยั เปด ลว นเนนใหผูเรียนรับผิดชอบการเรยี นรดู ว ยตนเอง 4. การเรียนรูดวยตนเอง ทําใหมนุษยอยูรอด สามารถปรับตัวใหทันตอความ เปล่ยี นแปลงใหม ๆ ทเ่ี กดิ ขึ้นเสมอ จึงมคี วามจําเปน ทจี่ ะตอ งศึกษาเรยี นรู การเรียนรูดวยตนเองจึง เปน กระบวนการตอ เนอ่ื งตลอดชวี ิต การเรียนรูดว ยตนเองมีลักษณะอยางไร การเรียนรูดวยตนเองสามารถจําแนกออกเปน 2 ลักษณะสาํ คญั ดังนี้ 1. ลกั ษณะท่ีเปน บคุ ลกิ คุณลักษณะสวนบุคคลของผูเ รียน 2. ลักษณะท่ีเปน การจดั การเรยี นรใู หผ ูเรียนไดเ รียนดว ยตนเอง องคป ระกอบของการเรียนรดู วยตนเองมอี ะไรบา ง ผูเรียนควรมีการวิเคราะหความตองการ วิเคราะหเนื้อหา กําหนดจุดมุงหมาย และการ วางแผน ในการเรียน มีความสามารถในการแสวงหาแหลง วิทยาการ และมีวิธีการประเมินผลการ เรียนรูดวยตนเอง โดยมีเพื่อนเปนผูรวมเรียนรูไปพรอมกัน และมีครูเปนผูช้ีแนะ อํานวยความ

3 สะดวกและใหคําปรึกษา ทั้งนี้ครูอาจตองมีการวิเคราะหความพรอม หรือทักษะที่จําเปนของ ผเู รยี นเพอ่ื กา วสูก ารเปนผูเรียนรดู ว ยตนเองได ลกั ษณะสาํ คญั ในการเรยี นรดู ว ยตนเองของผูเ รยี น มีดังนี้ 1. การมสี ว นรวมในการวางแผน การปฏิบัติตามแผน และการประเมินผลการเรียนรู ไดแกผเู รียนมสี ว นรว มวางแผนกิจกรรมการเรียนรูบนพนื้ ฐานความตองการของกลุมผเู รียน 2. การเรยี นรทู ่ีคํานึงถงึ ความสาํ คัญของผูเรียนเปนรายบุคคล ไดแก ความแตกตางใน ความสามารถ ความรพู ืน้ ฐาน ความสนใจเรียน วิธกี ารเรียนรู จัดเน้ือหาและสอื่ ใหเหมาะสม 3. การพัฒนาทักษะการเรยี นรูดวยตนเอง ไดแก การสืบคนขอมูล ฝกเทคนิคที่จําเปน เชน การสังเกต การอา นอยา งมีจุดประสงค การบันทึก เปน ตน 4. การพัฒนาทักษะการเรียนรูซ่ึงกันและกัน ไดแก การกําหนดใหผูเรียนแบงความ รบั ผิดชอบในกระบวนการเรยี นรู การทํางานเดยี่ ว และทํางานเปน กลุมท่มี ีทกั ษะการเรียนรตู างกัน 5. การพัฒนาทักษะการประเมนิ ตนเอง และการรว มมอื ในการประเมนิ กบั ผอู ืน่ กระบวนการในการเรยี นรดู ว ยตนเอง เปนวิธีการที่ผูเรียนตองจัดกระบวนการเรียนรูดวย ตนเองโดยดําเนนิ การ ดังน้ี 1. การวนิ จิ ฉัยความตองการในการเรียน 2. การกําหนดจดุ มุง หมายในการเรยี น 3. การออกแบบแผนการเรียน โดยเขียนสัญญาการเรียน เขยี นโครงการเรียนรู 4. การดําเนินการเรยี นรูจากแหลงวิทยาการ 5. การประเมินผล กระบวนการเรียนรดู ว ยตนเอง กระบวนการในการเรียนรูดวยตนเองน้ัน ความรับผิดชอบเปนส่ิงสําคัญท่ีจะนําไปสูการ เรียนรู ดวยตนเอง ทั้งกระบวนการวางแผน การเลือกแหลงทรัพยากรทางความรู การปฏิบัติงาน ตามท่กี ําหนด ตลอดจนการประเมนิ ความกาวหนา ในการเรยี นของตนเอง ประกอบดวย 5 เรื่อง คือ 1. การวินิจฉัยความตองการในการเรียน 2. การกําหนดจุดมุง หมายในการเรยี น 3. การออกแบบแผนการเรียน 4. การดาํ เนินการเรยี นรูจากแหลงวิทยาการ 5. การประเมนิ ผลการเรียนรู

4 เรือ่ งที่ 2 ทักษะพืน้ ฐานทางการศกึ ษาหาความรู ทกั ษะการแกป ญ หาและเทคนคิ การ เรียนรดู ว ยตนเอง การวางแผนการเรียนรู และการประเมินผล การเรยี นรู ดว ยตนเอง ทักษะพื้นฐานทางการศกึ ษาหาความรู ในการศึกษาหาความรูดวยตนเอง เปน เรื่องทค่ี อนขางมีความสําคัญอยางมากของบรรดา ผูใฝเ รียนรูท้ังหลาย จาํ เปน อยางย่งิ ทจ่ี ะตองมีทักษะพ้นื ฐานทางการศึกษาหาความรู ซ่ึงทักษะที่วา นี้ หมายถงึ ความพรอมในการเรยี นรดู วยตนเองของผเู รยี นนน่ั เอง บุคคลจะเรียนรไู ดดว ยตนเองอยางมีประสิทธิภาพนั้น ตองมีลักษณะความพรอมของการ เรียนรูดว ยตนเองอยา งนอ ย 8 ประการ คือ 1. การเปดโอกาสตอการเรียนรู หมายถึง เปนผูท่ีสนใจใฝรู กลาที่จะทดลอง ชอบ ลองผดิ ลองถูก ฟงและคิดแตเร่ืองที่เปนประโยชนตอตนเอง และชุมชน สนใจในเรื่องที่ตนอยากรู อดทน คน ควาเพือ่ หาคําตอบมาใหไ ด 2. มีมโนทศั นข องตวั เองในดานการเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพ เกิดความมั่นใจ แนใจ และสามารถจัดการตัวเองในทุก ๆ ดานไดอยางเหมาะสม เชน ความมีวินัยในตนเอง การจัดสรร เวลา และกลาทจ่ี ะลงทนุ เพอ่ื ตนเอง เปน ตน 3. ความคิดรเิ ร่ิมและเรียนรูดวยตนเอง ชอบทําเรื่องยากใหเปนเรื่องงาย มีความคิดท่ี เห็นความแตกตางในความเหมือน และความเหมือนในความแตกตาง รักการอาน และ วิพากษว ิจารณ รวมทัง้ การแลกเปลย่ี นเรยี นรกู ับผูอ่ืน 4. มีความรบั ผิดชอบตอการเรียนรูของตนเอง มีความมุงมั่นวา ตนเองสามารถกระทํา ได มีทัศนคติท่ีดีตอการศึกษาทุกระดับ ชอบเรียนรูสิ่งแปลกใหม และไมอายที่จะขอความรูจาก ผอู ืน่ 5. รักการเรียนรู เหน็ เร่อื งราวรอบ ๆตวั เปน องคค วามรู คิดและดัดแปลงประสบการณ ของผอู ่นื มาเปนประสบการณข องตนเอง 6. ความคิดสรา งสรรค คือ คิดบวกตลอดเวลา กลาตัดสนิ ใจในเร่อื งที่ตนเองเชื่อมั่นวา กระทาํ ไดดว ยเทคนิคการเรยี นรขู องตนเอง 7. การมองอนาคตในแงดี เขาใจและมั่นใจโอกาสการเรียนรูของตนเอง เช่ือวา การศึกษา จะชวยเปล่ียนชีวิตคนในสังคม รวมทั้งเชอื่ วา มนษุ ยจ าํ เปน อยางย่ิงท่ีจะตองเรียนรูตลอด ชวี ติ

5 8. ความสามารถในการใชทักษะการศึกษาหาความรู และทักษะการแกปญหา สามารถใชทกั ษะพ้นื ฐาน คือ การฟง อา น และเขยี น ทจี่ ําเปนในการแกปญหาไดเปนอยางดี และ มองปญ หา ในลักษณะปญ หาคือการเรยี นรู ทกั ษะการแกป ญ หาและเทคนคิ ในการเรยี นรดู วยตนเอง ทักษะในการแกปญหานั้น นักจิตวิทยาใหความเห็นวา เปนกระบวนการทางสมอง ท่ซี บั ซอ นและเกี่ยวขอ งกับจินตนาการ การจัดกระบวนการคิดเพ่ือนําไปสูการกระทํา รวมท้ังเปน การรวบรวมความคิดและทางเลือก วิธีการเพื่อแกปญหานั้น ๆ ทักษะการแกไขปญหา ประกอบดว ย 7 ขั้นตอนสําคญั คือ 1. การทําความเขา ใจกับสถานการณท ี่เกดิ ข้นึ 2. การกาํ หนดปญหาใหถ กู ตอ งและชดั เจน 3. การวิเคราะหส าเหตขุ องปญ หา 4. การหาวิธแี กไ ขปญ หาทเี่ ปน ไปได 5. การเลือกวิธกี ารแกป ญหาทดี่ ที สี่ ุด 6. การวางแผนการปฏิบตั ิและลงมอื ดาํ เนินการ 7. การติดตามและประเมนิ ผล เทคนิคในการเรียนรูดว ยตนเอง เทคนิคที่นิยมใชในการเรียนรดู ว ยตนเอง เชน 1. การบันทึกการเรียนรู คือ บันทึกที่ผูเรียนจัดทําข้ึน เพ่ือใชบันทึกขอมูล ความคิด เรือ่ งราวตาง ๆ ทไี่ ดเ รียนรู เพ่ือเปน แนวทางในการศกึ ษาเพิม่ เติมใหกวา งไกลออกไป หรอื การนําไป ประยกุ ตใ ชใ นชวี ิตประจําวัน 2. การทํารายงาน เปนการนําขอมูลความรูท่ีไดไปศึกษาคนความาวิเคราะห สงั เคราะหใหถ กู ตอ ง และเรียบเรยี งอยา งมีแบบแผน ความยาวของรายงานขึ้นอยูกับขอบเขตของ หวั ขอ รายงาน 3. ทาํ สญั ญาการเรียนรู เปนการทําขอตกลงที่ผูเรียนไดทําไวกับครู วาเขาตองปฏิบัติ อยางไรบางในการเรียนรูของตนเอง เพ่ือใหบรรลุเปาหมายการเรียนรูท่ีกําหนดไว สําหรับครู สัญญาการเรียนรมู ีไวเพอ่ื ตดิ ตาม ตรวจสอบความกา วหนาการเรยี นของผเู รยี น

6 4. สรางหอ งสมุดของตนเอง เปนการรวบรวมรายช่ือ ขอมูลแหลงความรูตาง ๆ ท่ีคิด วา จะเปน ประโยชนต รงกบั ความสนใจ เพ่อื ใชศ กึ ษาคนควา ตอไป 5. หาแหลง ความรูในชุมชน ไวเปนแหลงคนควาหาความรูท่ีตองการ แหลงความรูใน ชมุ ชน มหี ลายประเภท อาจเปนผูร ู ผชู าํ นาญในอาชพี ตา ง ๆ หองสมุดประชาชน หอ งสมุดโรงเรียน ศนู ยการเรียนชมุ ชน เปน ตน 6. หาเพื่อนรวมเรียน หรือคูหูเรียนรู ซ่ึงควรเปนผูที่มีความสนใจ ที่จะเรียนรูในเรื่อง เดียวกันหรือคลายกัน และตองสามารถติดตอแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน ประสานงานกันไดดวย วิธกี ารตาง ๆ ได อยา งสะดวก รวดเรว็ 7. เรียนรูจากการฝกฝนและปฏิบัติจริง ซึ่งจะกอใหเกิดความรูและประสบการณ ทักษะ ความชํานาญท่ีเปนประโยชน โดยเฉพาะในรายวิชา หรือเร่ืองท่ีผูเรียนมีจุดมุงหมายให ตนเองทําได ปฏบิ ตั ิได การวางแผนการเรียนรแู ละการประเมนิ ผลการเรยี นดวยตนเอง เพ่ือใหการเรียนรูดวยตนเองของผูเรียนเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ผูเรียนควรดําเนินการ วางแผน การเรียนรูดวยตนเองตามขัน้ ตอน ตอ ไปน้ี 1. การประเมินความตองการของตนเองเพ่ือใหรูถึงความตองการในการเรียนรูวา มเี ปา ประสงคอยูจดุ ใด 2. การกาํ หนดจดุ มงุ หมายเพอ่ื เปนจุดหมายปลายทางของผูเรียนที่จะใชกระบวนการ เรยี นรูไ ปสจู ุดหมายนน้ั 3. การกําหนดสิ่งท่ีตองการเรียนรู โดยกําหนดระดับความยากงาย ชนิดของส่ิงท่ี ตอ งการเรยี นความตอ งการความชวยเหลอื แหลงทรัพยากร ประสบการณท ่ีจาํ เปนในการเรียนรู 4. การจดั การในการเรียน โดยกําหนดระยะเวลาทต่ี องการใหมีการสอน กิจกรรมการ เรยี นตามประสบการณท ผ่ี า นมา พรอมท้ังกําหนดวา กิจกรรมควรส้นิ สุดเมือ่ ใด 5. การเลอื กวธิ ีการเรียน อปุ กรณการเรียน เทคนคิ การเรียนรูแ ละทรพั ยากรการเรียนรู ทตี่ อ งใช 6. การกําหนดวิธีการควบคุมส่ิงแวดลอมในการเรียนรู ทั้งสิ่งแวดลอมทางกายภาพ และทางดา นอารมณ

7 7. การกําหนดวิธีการตรวจสอบตนเอง โดยกําหนดวิธีการรายงาน/บันทึกการสะทอน ตนเอง จะใชเทคนิคการสะทอนกลับแบบไหน การใหโอกาสไดฝกตัดสินใจ การแกไขปญหา การกําหนดหลกั การเรียนรู การเปดโอกาสใหผ เู รียนสามารถเสนอแนวคดิ เพ่อื ใหการเรียนชดั เจนขึ้น 8. การกําหนดขอบเขตและบทบาทของผูชว ยเหลอื ในการเรียนรดู วยตนเอง เรอ่ื งท่ี 3 ทกั ษะทจี่ าํ เปน ในการเรยี นรูดวยตนเอง การฟง การฟง เปนการรับรูความหมายจากเสียงที่ไดยิน การไดยินเปนการเร่ิมตนของการฟง ก า ร ฟ ง เ ป น ก ร ะ บ ว น ก า ร ทํ า ง า น ข อ ง ส ม อ ง อี ก ห ล า ย ขั้ น ต อ น ต อ เ น่ื อ ง จ า ก ก า ร ไ ด ยิ น เปน ความสามารถท่จี ะไดรบั รสู ่ิงที่ ไดย ิน ตคี วามและจับความส่ิงทร่ี ับรูนั้น เขาใจและจดจําไวซึ่ง เปนความสามารถทางสติปญ ญา การพูด การพูด เปนพฤติกรรมการส่ือสารท่ีใชกันอยางแพรหลายท่ัวไป ผูพูดสามารถใชท้ังวจน ภาษาและอวจนภาษา ในการสงสารติดตอไปยังผูฟงไดชัดเจนและรวดเร็ว การพูด หมายถึง การ ส่ือความหมายของมนุษยโดยการใชเสียงและกิริยาทาทางเปนเคร่ืองถายทอดความรู ความคิด และความรสู ึกไปสูผฟู ง การอาน การอาน คือ กระบวนการรับรูขาวสารซึ่งเปนความรู ความคิด ความรูสึก และความ คดิ เหน็ ทผี่ เู ขียนถา ยทอดออกมาเปน ลายลกั ษณอกั ษร ปจจุบันการอานเปนทักษะท่ีมีความสําคัญ และจําเปนอยางยิ่งตอการดําเนินชีวิต เนื่องจากการอานจะชวยสงเสริมการแสวงหาขอมูล เพือ่ เพ่มิ พนู ความรู และพัฒนาสติปญ ญาอยา งตอเน่อื ง การทาํ แผนผงั ความคดิ (Mind Mapping) คือ การเอาความรูม าสรปุ รวมเปนหมวดหมู เพ่ิมการใชสี และใชรูปภาพมาประกอบ เพ่ือชวยใหเรามองเห็นภาพรวมไดชัดเจนข้ึน ซ่ึงแผนผัง ความคิดจะมีสวนชวยใหความคิดและความจําของผูเรียนรูดวยตนเองมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน ทัง้ น้ีเพราะแผนผงั ความคิด คอื การถา ยทอดความคิด หรอื ขอมูลตา ง ๆ ท่ีมีอยูในสมองลงกระดาษ โดยการใชภาพ สี เสน และการโยงใย ใชแสดงการเชื่อมโยงขอมูลเก่ียวกับเร่ืองใดเรื่องหน่ึง ระหวา งความคิดหลัก ความคดิ รอง และความคดิ ยอ ย ท่ีเกีย่ วขอ งสมั พนั ธก ัน กฎการทําแผนผังความคิด (Mind Mapping) 1. เร่ิมดว ยภาพสตี รงก่งึ กลางหนา กระดาษ 2. ใชภ าพใหม ากท่สี ุดในแผนผงั ความคิด ตรงไหนที่ใชภาพไดใ หใชกอ นคาํ หรอื รหสั 3. ควรเขียนคําบรรจงตัวใหญ ๆ ถาเปนคําภาษาองั กฤษใหใ ชต วั พมิ พใหญ

8 4. เขียนคําเหนอื เสน แตล ะเสน ตองเชือ่ มตอกับเสนอืน่ ๆ 5. คําควรมีลักษณะเปน “หนวย” เชน คําละเสน เพราะจะชวยใหแตละคําเชื่อมโยง กบั คําอ่นื ๆ ไดอยางอิสระ 6. ใชสใี หท ่ัวแผนผังความคดิ เพราะสจี ะชว ยยกระดบั ความจํา เพลินตา กระตุนสมอง ซีกขวา 7. เพือ่ ใหเ กดิ ความคิดสรางสรรคใ หม ควรปลอยใหส มองคิดอยางอิสระ อยามัวแตคิด วาจะเขียนลงตรงไหนดี หรือวา จะใสหรือไมใสอะไรลงไป

9 กจิ กรรมท่ี 1 ใหผูเรียนอธิบายความหมายของคาํ วา “การเรยี นรดู วยตนเอง” .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... กิจกรรมที่ 2 ใหผ เู รยี นอธิบาย “ความสําคัญของการเรยี นรูด วยตนเอง” .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... กจิ กรรมที่ 3 ใหผ เู รยี นสรุปสาระสาํ คัญของ “ลกั ษณะการเรียนรดู วยตนเอง” .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................

10 กิจกรรมที่ 4 ใหผูเรยี นสรุปสาระสําคญั ของ “องคประกอบของการเรยี นรดู ว ยตนเอง” .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................

11 เรื่องท่ี 1 ความหมาย ความสาํ คญั ประเภทแหลงเรยี นรู ความหมายของแหลง เรยี นรู แหลงเรียนรู หมายถึง แหลงขอมูล ขาวสาร สารสนเทศ และประสบการณที่สนับสนุน สงเสริม ใหผูเ รียน ใฝร ู ใฝเรียน แสวงหาความรแู ละเรียนรดู ว ยตนเองตามอัธยาศัยอยางกวางขวาง และตอเนอ่ื ง เพ่ือเสริมสรางใหผเู รยี นเกิดกระบวนการเรยี นรูแ ละเปนบคุ คลแหงการเรยี นรู ความสาํ คัญของแหลง เรยี นรู แหลงเรียนรูเปรียบเหมือนหางสรรพสินคาที่เปนที่รวมสินคามากมายหลายชนิด เชน เดยี วกนั กับแหลงเรยี นรทู บี่ รรจคุ วามรทู ีห่ ลากหลาย ใหผูเรยี นสามารถเขาไปศกึ ษาหาความรูได ตลอดเวลา ดังนน้ั จึงพอสรุปถึงความสาํ คญั ของแหลง เรยี นรูได ดังนี้ 1. เปน แหลง รวมความรูตาง ๆ มากมาย ผเู รยี นสามารถเขาไปศึกษาคนควาหาความรู ไดต ามความถนดั ของตนเองไดต ลอดชีวิต 2. เปนศนู ยรวมในการติดตอสื่อสารระหวางสถานศึกษาและชุมชน และชุมชนมีสวน รว มในการจดั การศกึ ษาใหก บั คนในชมุ ชน 3. ผูเ รียนสามารถเขาไปศึกษาคนควาหาความรูไดอยา งมีความสุข 4. ผูเ รยี นสามารถศึกษาหาความรไู ดดว ยตนเองและสามารถเรียนรรู วมกบั ผูอ ่นื ได 5. เปนการปลูกฝงนิสัยการรักชุมชน รักทองถ่ิน มีความพรอมในการมีสวนรวม แกปญหา ในชุมชนและเปน สมาชกิ ทด่ี ีของชุมชน 6. ผเู รยี นรูมีการยอมรบั ในสงิ่ ใหม ๆ หรอื แนวคดิ ใหม มีความคิดสรา งสรรค 7. ชวยใหผูเรียนประหยัดคาใชจายในการหาซ้ือหนังสือเรียนมาศึกษาหาความรู โดยการใชแหลงเรียนรูทมี่ ีอยูใหเ กดิ ประโยชนม ากทสี่ ุด

12 ประเภทของแหลง เรียนรู แหลงเรียนรูส ามารถแบง ได 2 ลกั ษณะ ไดแ ก 1. แบงตามลักษณะทางกายภาพและวัตถุประสงค 5 กลมุ คอื 1) กลุมบริการขอมูล เชน หองสมุด ศูนยการเรียน ศูนยวิทยาศาสตรฯ สถาน ประกอบการ เปน ตน 2) กลมุ งานศลิ ปวฒั นธรรม เชน พพิ ิธภัณฑ หอศิลป ศาสนสถาน ศูนยวัฒนธรรม เปนตน 3) กลุมขอมลู ทอ งถน่ิ เชน ภมู ิปญ ญาชาวบาน ส่อื พ้ืนบาน แหลงทอ งเท่ียว เปนตน 4) กลมุ สอื่ เชน วทิ ยชุ ุมชน หอกระจายขา ว อนิ เทอรเนต็ เปนตน 5) กลุมสันทนาการ เชน ศูนยกีฬา สวนสาธารณะ ศูนยนันทนาการในหมูบาน เปน ตน 2. แบง ตามลักษณะแหลง เรียนรู 6 ประเภท คือ 1) แหลงเรียนรูประเภทบุคคล หมายถึง บุคคลท่ีมีความรู ความสามารถดานใด ดา นหนง่ึ และสามารถถา ยทอดความรูด วยรปู แบบและวิธีการตาง ๆ จนเปนแบบอยางท่ีดีได เปน แหลง เรยี นรทู มี่ ชี วี ิต สามารถสอ่ื ความหมายใหผ มู ารับบริการไดอยางดี จัดเปนแหลงเรียนรูที่ไดรับ ความนิยมมากทีส่ ุด 2) แหลงเรียนรูประเภทธรรมชาติ หมายถึง ทุกสิ่งทุกอยางที่เกิดขึ้นเองตาม ธรรมชาตแิ ละเปนประโยชนต อมนษุ ย เชน ดิน อากาศ ปา ไม แรธาตุ เปน ตน 3) แหลง เรยี นรปู ระเภทวัตถุ วสั ดแุ ละสถานที่ หมายถึง อาคาร ส่ิงกอสราง ท่ีเรา สามารถ หาคําตอบไดจากการไดเหน็ ไดยิน หรือการสัมผัส เชน อุทยานแหงชาติ หองสมุด ศูนย การเรยี น ศนู ยศึกษาธรรมชาติ หรือเขตรกั ษาพันธสุ ตั วป า เปนตน 4) แหลง เรยี นรปู ระเภทสอื่ หมายถึง สื่ออิเล็กทรอนิกสที่ทําหนาท่ีเปนสื่อกลางใน การถายทอดความรู ทงั้ ภาพและเสยี ง เชน วิทยุ โทรทัศน คอมพิวเตอร เปนตน 5) แหลงเรียนรูประเภทเทคนิค หมายถึง ส่ิงที่แสดงถึงความเจริญกาวหนาทาง วิทยาการ นวัตกรรม เทคโนโลยีตาง ๆ เปนส่ือท่ีทําใหผูเรียนเกิดการจินตนาการและเกิดแรง บันดาลใจ ทําใหเ กิดความคิดสรา งสรรค เชน ส่งิ ประดษิ ฐใหม ๆ เปน ตน 6) แหลงเรียนรูประเภทกิจกรรม หมายถึง การปฏิบัติกิจกรรมตาง ๆ ที่เปน ประโยชน รวมถงึ การปรบั ปรุงพัฒนาสภาพของทองถ่ิน การเขารวมกิจกรรมในชุมชน สังคม เชน การรณรงคปอ งกนั ยาเสพตดิ กจิ กรรมสง เสริมการเลอื กตัง้ เปนตน

13 วธิ กี ารใชแหลง เรยี นรู การใชแหลงเรียนรูมีหลักการทีส่ ําคญั 3 ประการ ดงั น้ี 1. การนําผูเรียนไปศึกษาหาความรูจากแหลงเรียนรูจริง เพื่อใหเกิดความรูและ ประสบการณจริง 2. ใชแหลงเรียนรูเปนสถานที่ฝกงานของผูเรียนโดยตรง เพื่อใหเกิดทักษะและ ประสบการณต รง 3. การนําภูมิปญญามาสูการเรียนรู ซ่ึงสามารถทําไดท้ังนําผูเรียนไปศึกษาจากภูมิ ปญญา การใหผ เู รยี นไปฝก งานกบั ภูมิปญ ญา และการเชญิ ภูมิปญญามาใหความรูในสถานศึกษา การเขา ถึงสารสนเทศจากแหลงเรียนรอู น่ื ๆ การใหผูเรียนเขาไปใชบริการสารสนเทศในแหลงเรียนรู เปนวิธีการที่จะชวยใหผูเรียน ไดร บั ขอมูล ขา วสารและความรูท่ีตรงกับความตองการของผูเรียนโดยตรง นอกจากหองสมุดแลว แหลงเรียนรูอ่ืน ๆ ทุกแหลง ทุกประเภท ถือวาเปนสารสนเทศท้ังส้ิน เพราะองคประกอบของ แหลง เรียนรทู กุ อยา งสามารถสือ่ ความหมายใหรูถึงเรื่องราวตามเจตนารมณของแหลงเรียนรูนั้น ๆ ทัง้ หมด การเขา ถงึ สารสนเทศจากแหลงเรียนรู มีขน้ั ตอนที่สําคญั ดงั นี้ 1. ผูเรียนตองสบื หาขอ มูลเบอ้ื งตน ใหไ ดวา สารสนเทศที่ตอ งการจะรู อยูทแ่ี หลงเรียนรู ใด ซึ่งทําไดโดยการสอบถามจากผูรู เพื่อน บรรณารักษ เอกสารที่เกี่ยวของ หรือคนหาจาก อินเทอรเ นต็ 2. ผเู รียนจะเขาถึงสารสนเทศไดอยางไร อาจเขาถึงโดยสอบถามโดยตรง คนหาจาก หมวดหมูของเอกสาร หรือจากอินเทอรเน็ต 3. การคนหาสารสนเทศแตละประเภทควรใชเคร่ืองมืออะไร เน่ืองจากขอมูล สารสนเทศแตละประเภทสามารถเขาถงึ ไดใ นวิธีท่แี ตกตา งกนั 4. หากจาํ เปนตองเขา ถงึ สารสนเทศผานการสืบคนทางอนิ เทอรเน็ต ผเู รียนจําเปนตอง รูจักวิธีการคน หาสารสนเทศอยา งถกู วิธี เชน คน หาผานกเู ก้ิล (Google) เปนตน 5. หากจาํ เปนตองสืบคน สารสนเทศผานหองสมุดประชาชน ผูเรียนสามารถสืบคนได ดวยคอมพิวเตอร หรือการสืบคนตูบัตรรายการ ซึ่งสามารถสืบคนได ทั้งจากบัตรชื่อเรื่อง บัตรผู แตง หรอื บตั รเร่อื ง หรือบัตรหัวเรอื่ ง โดยใชโปรแกรมบริการงานหอ งสมุด หรือ PLS (Public Library Service)

14 6. การเขา ถงึ สารสนเทศจากแหลง เรยี นรู โดยการสัมภาษณ พูดคยุ กบั ผเู ช่ียวชาญหรือ ผูรูใ นเร่อื งที่ตอ งการโดยตรง การใชอนิ เทอรเ นต็ เพ่อื การเรียนรูของตนเอง ปจ จุบนั อินเทอรเนต็ เขา มามีบทบาทตอการดําเนินชีวิตของคนเราเปนอยางมาก ในการ เรียนรูดวยตนเองนั้น ผูเรียนสามารถใชอินเทอรเน็ตในการศึกษาหาความรูและคนควาขอมูล ขาวสารไดง าย ๆ ทสี่ าํ คญั ทกุ วันน้เี ราสามารถเช่ือมตอเครือขายอินเทอรเน็ตเขามาใชในบานเรือน ซึ่งถอื เปน แหลง เรยี นรูท่ีอยูใกลตัว คนหาไดง าย สะดวก รวดเรว็ และยอดเยี่ยมท่ีสดุ ในยคุ ปจจุบัน เครือขายคอมพิวเตอรหรือเครือขายอินเทอรเน็ต เปนแหลงรวบรวมขอมูลมากมาย มหาศาล ไมสามารถเปรียบกับแหลงขอมูลประเภทอ่ืน ๆ ซึ่งการจัดกิจกรรมบนเครือขาย อินเทอรเ น็ตจะสามารถเชอื่ มโยงและบูรณาการการเรียนการสอนในวิชาตา ง ๆ ใหเ ขาดว ยกนั ได วธิ ีการใชอ นิ เทอรเ น็ตกบั การเรยี นรูดวยตนเอง การเรียนรูดวยตนเองจากเครือขายอินเทอรเน็ตใหเกิดประโยชนสูงสุดนั้น ผูเรียนตอง หมั่นศึกษาหาความรใู หม ๆ ใหท ันสมัยอยเู สมอ ซ่ึงสามารถทําไดหลายลักษณะ ดงั น้ี 1. การสืบคนขอมูลทางอินเทอรเน็ต การใชอินเทอรเน็ตลักษณะนี้ ควรใชในกรณี ตองการคน หาขอ มลู ท่ีไมส ามารถจะสอบถามใครได และไมส ามารถคน หาดวยแหลง เรยี นรอู นื่ ๆ 2. อเิ ลก็ ทรอนกิ สเ มล (E-mail) เปน วิธีการสง ขอมูล ขาวสาร ภาพ เสียงหรือเร่ืองราว ตาง ๆ ผานระบบ E-mail ทีส่ ะดวก รวดเรว็ และเปนท่นี ิยมมากท่สี ุดในปจ จุบนั 3. การถายโอนขอมูล เปนการคัดลอกงาน ขอมูล โปรแกรมจากเครื่องหนึ่งไปยังอีก เครือ่ งหนง่ึ ดวยระบบเครอื ขา ยอนิ เทอรเน็ตทีส่ ะดวก รวดเรว็ ถกู ตอ งตามตนฉบบั ทกุ ประการ 4. การพูดคุยกันท่ีเรียกวา หองสนทนา เปนวธิ กี ารตดิ ตอสอ่ื สารหรือโตตอบกันไดอยาง เปนปจจุบนั และสามารถพูดคยุ ไดต ลอดเวลาทีม่ กี ารเปด ใชเ คร่ืองมือ 5. กระดานขาว เปนการแลกเปลี่ยนขาวสาร ขอมูล เปนตัวอักษร ภาพหรือเสียง จากฝายหนึ่งไปยงั อกี ฝายหน่งึ ไดอ ยา งสะดวก รวดเรว็ 6. การโฆษณาประชาสัมพันธ เปนการเผยแพรข อ มูล ขาวสารหรอื การดําเนินกิจกรรม ผา นระบบอินเทอรเ น็ต หรือเว็บไซตท ี่สรา งขึน้ มา

15 7. การติดตามขาวสารขอมูล ทุกคนสามารถติดตามขาวสาร ขอมูลไดทุกพ้ืนที่ ท้ังภายในประเทศและตางประเทศทว่ั โลก 8. การบรกิ ารอื่น ๆ ทวั่ ไป ระบบเครอื ขายอินเทอรเน็ต สามารถใหบริการงานทุกงาน ไดต ลอดเวลา โทษของการใชเ ครือขายอินเทอรเน็ตอยางไมระมดั ระวัง 1. โรคติดอนิ เทอรเ นต็ การใชอนิ เทอรเนต็ เปนเวลานาน ๆ จนหยุดไมได หรือหยุดได ตอ มากลับไปใชอนิ เทอรเ นต็ อีก จนทําใหเสยี เวลา เสียงาน 2. อินเทอรเน็ตในท่ีน้ี หมายความรวมถึง ระบบออนไลน หรือระบบเทคโนโลยีที่ สอ่ื สารกันระหวางคอมพิวเตอรผานสายโทรศัพท หากผูใชบริการใชอินเทอรเน็ตยาวนานตอเน่ือง หลายชว่ั โมงตอวนั มีความตองการใชอ ินเทอรเ นต็ นาน ๆ ไมสามารถควบคมุ การใชอินเทอรเน็ตได เกดิ อาการหงดุ หงิดหากตองใชอ ินเทอรเ น็ตนอ ยลงในแตล ะวัน หมกมุนกับอนิ เทอรเ นต็ หรือเหตุผล อืน่ หลาย ๆ เร่ือง อาจจดั เปนพวก ท่ตี ดิ อินเทอรเ นต็ ได 3. การใชอินเทอรเน็ตไปในทางที่ไมถูกตอง ไมเหมาะสม เชน เผยแพรภาพลามก อนาจาร อาจไดรบั โทษจากการกระทําซ่งึ ตามกฎหมายมีโทษถงึ ขน้ั ตดิ คุก เรือ่ งท่ี 2 ขอ ควรคํานงึ ในการศกึ ษาเรยี นรกู บั แหลง เรียนรูต า ง ๆ รวมทั้งนวตั กรรมและเทคโนโลยี การเขาไปศกึ ษาหาความรจู ากแหลง เรียนรู ผูเ รยี นควรคํานงึ ถึงสง่ิ สาํ คญั ดงั น้ี 1. ผูเรยี นตองแสวงหาแหลง ขอ มูลที่มีเน้อื หาสาระตรงกับองคความรูที่ผูเรียนตองการ ใหม ากทีส่ ดุ 2. ผูเ รยี นตอ งพิจารณาใหร อบคอบในการใชขอ มูลจากแหลงเรยี นรทู ่คี น หา 3. ผูเรียนตองศึกษากฎ กติกา หรือขอบังคับในการใชแหลงเรียนรูใหเขาใจกอน ตัดสนิ ใจใชค วามรจู ากแหลง เรียนรูน้ัน ๆ 4. กอ นเขา ไปศึกษาแหลง เรยี นรู ใหศกึ ษารายละเอียดของวิธใี ชแ หลง เรยี นรูใ หชดั เจน 5. การพัฒนาความเจริญกาวหนาของเทคโนโลยี ทําใหผูเรียนตองพยายามติดตาม ความกา วหนาของขอ มลู และวธิ ใี ชแ หลง เรียนรทู พ่ี ฒั นาอยางสมํ่าเสมอ

16 ดังนั้น การรูจักและพิจารณาใชแหลงเรียนรูที่มีประสิทธิภาพ ถูกตอง เหมาะสมกับ กิจกรรมหรืองานท่ีไดรับมอบหมาย จะชวยใหการจัดการศึกษาโดยใชแหลงเรียนรูที่มีอยูเกิด ประโยชนอ ยา งแทจริง 1. ใหผูเ รยี นสรปุ ความหมายและความสาํ คัญของแหลง เรียนรู มาพอเขาใจ .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 2. แหลง เรยี นรูท ่ีแบงตามลกั ษณะแหลงการเรียนรู มีก่ีประเภท และสามารถเลือกใชแหลงเรียนรู แตละประเภท ใหเหมาะสมกบั ตนเองอยา งไร .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................

17 3. จงบอกลกั ษณะการใชอ ินเทอรเ น็ตกับการเรยี นรูดว ยตนเองวามกี ่ีวธิ ี แตล ะวิธีมีวธิ กี ารใชอ ยา งไร .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 4. การใชเ ครือขา ยอินเทอรเนต็ ในการติดตอส่อื สารอยางไมร ะมัดระวัง มีโทษอยางไรบาง อธิบาย และยกตัวอยา งมาอยา งนอย 3 ชนดิ .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................

18 เรอ่ื งท่ี 1 ความหมาย ความสําคัญ และหลกั การของการจัดการความรู ความหมายของการจัดการความรู การจัดการ (Management) หมายถึง กระบวนการในการเขาถึงความรูและการ ถา ยทอดความรทู ี่ตอ งดาํ เนนิ การรวมกนั กบั ผูปฏิบัตงิ าน จงึ เริม่ ตนจากการบงชีค้ วามรูที่ตองใช การ สรางและการแสวงหาความรู การประมวลเพื่อกล่ันกรองความรู การจัดการความรูใหเปนระบบ การสรางชองทางเพื่อการสื่อสารกับผูเกี่ยวของ การแลกเปลี่ยนความรู การจัดการสมัยใหม ใชกระบวนการทางปญ ญาเปนสิ่งสําคัญในการคิด การตัดสินใจ และสงผลใหเกิดการกระทํา การ จัดการจงึ เนน ไปท่ีการปฏิบัติ ความรู (Knowledge) หมายถึง ความรูท่ีควบคูกับการปฏิบัติ ซึ่งในการปฏิบัติ จาํ เปน ตองใชความรูท หี่ ลากหลายสาขาวิชามาเชอื่ มโยง บูรณาการเพ่อื การคิดและตัดสินใจ และลง มือปฏบิ ัติ จดุ กาํ เนิดของความรู คือ สมองของคน เปนความรูท ี่ฝงลึกอยูในสมอง เมื่อนําไปใชจะไม หมดไป แตจ ะเกิดความรเู พมิ่ พนู มากขน้ึ การจัดการความรู (Knowledge Management) หมายถึง การจัดการกับความรูและ ประสบการณทมี่ อี ยใู นตัวคน และความรูเ ดน ชัด นํามาแบงปนหรือแลกเปล่ียนใหเกิดประโยชนตอ ตนเอง และองคก ร กอ ใหเกดิ การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองคกรใหเปนองคกรแหงการ เรยี นรู ความรูแบง ไดเ ปน 2 ประเภท คอื 1. ความรูเ ดนชัด (Explicit Knowledge) คือ ความรูท่ีเขียนอธิบายเปนตัวอักษรได สามารถถายทอดได โดยผานวิธีการตาง ๆ เชน หนังสือ ตํารา คูมือปฏิบัติงาน เว็บไซต เปนตน จึงเรียกวา ความรูรปู ธรรม 2. ความรูที่ฝงอยูในตัวคน/ความรูซอนเรน (Tacit Knowledge) คือ ความรูและ ประสบการณท ่ีแฝงอยูในตัวคน พฒั นาเปนภมู ิปญญา ฝงอยใู นความคิด ความเชื่อ คานิยม ท่ีไดมา จากประสบการณ พรสวรรคท เ่ี ปน ความสามารถพิเศษเฉพาะตัว

19 ความสาํ คัญของการจัดการความรู การจัดการความรู จะกอใหเกิดการยกระดับความรูท่ีสงผลตอเปาหมายของการทํางาน คอื เกดิ การพัฒนาประสิทธภิ าพของงาน คนเกิดการพัฒนา สงผลตอเน่ืองไปถึงองคกร เปนองคกร แหงการเรียนรู ผลที่เกิดจากการจัดการความรู จึงเปนเรื่องท่ีสําคัญตอการพัฒนาบุคลากร ในองคกร ซ่งึ ประโยชนท่ีจะเกดิ ขนึ้ มี 3 ประการ คอื 1. ผลสัมฤทธข์ิ องงาน จะเกดิ ผลสําเรจ็ ที่รวดเร็วข้ึน เกิดนวัตกรรมใหมในการทํางาน และวฒั นธรรมการทาํ งานที่มีความเอ้อื อาทรตอกนั ขน้ึ ในองคกร 2. บุคลากรเกดิ การพฒั นาตนเอง และสงผลรวมทั้งองคกร กระบวนการเรียนรูจาก การแลกเปล่ียนความรูรวมกัน จะทําใหบุคลากรเกิดความมั่นใจในตนเอง เกิดความรวมมือกัน ระหวา งเพือ่ นรว มงาน สง ผลใหอ งคก รเปนองคกรแหงการเรยี นรู 3. ยกระดับความรูของบุคลากรและองคกร ทําใหบุคลากรมีความรูรวมกัน มีแนวทางในการพฒั นางานชดั เจนขน้ึ มอี งคค วามรูท่จี ําเปนตอการใชงาน และจัดระบบงานใหอยู ในสภาพพรอมใช หลักการของการจดั การความรู หลกั การของการจัดการความรู หมายถงึ การใหคนหลากหลายทกั ษะ หลากหลายวิธคี ดิ ทํางานรวมกัน ชวยกันคิด รวมกันพัฒนาวิธีการในรูปแบบใหม เกิดนวัตกรรมใหม และเกิด ประสทิ ธภิ าพในการทาํ งาน ตอบสนองความตองการของตนเอง ผูนาํ องคกร ผรู ับบริการและสังคม โดยการเรยี นรูจากการทดลอง และขยายการเรียนรูไ ปสวู ิธกี ารปฏบิ ตั ิ สคู วามเปนเลศิ โดยการเติม ความรูจากภายนอก จนเกดิ เปนความรูท่เี หมาะสมตามสภาพท่ตี องการใช กระบวนการจดั การความรู กระบวนการจดั การความรู เปนกระบวนการท่ีจะชวยใหอ งคก รเขาถึงข้ันตอนที่ทําใหเกิด การจดั การความรู หรอื พัฒนาการของความรูท่จี ะเกดิ ขึ้นในองคก ร มี 7 ข้นั ตอน ดังนี้ 1. การบงชค้ี วามรู เปนการพจิ ารณาวา เปาหมายการทาํ งานของเรา คืออะไร และถา จะใหบรรลุเปาหมาย จําเปนตองใชอะไร และขณะน้ีองคกรมีความรูอะไร รูปแบบใด อยูกับใคร ทกุ คนตองเขา ใจและทุกเรอื่ งตองชัดเจน 2. การสรางและแสวงหาความรู เปนการจัดบรรยากาศ และวัฒนธรรมการทํางาน ของคน ในองคก รใหเ ออ้ื ตอการแลกเปลี่ยนความรูซง่ึ กนั และกัน กอใหเ กิดความรใู หม

20 3. การจัดการความรูใหเปนระบบ เปนการเตรียมความพรอมในการเก็บรวบรวม ความรูประเภทตา ง ๆ อยางเปน ระบบ หรอื การคนหา เพือ่ นาํ มาใชง านไดง า ยและรวดเรว็ 4. การประมวลและกล่นั กรองความรู เปน การประมวลความรใู นรูปแบบเอกสารหรือ อื่น ๆ ใหเปน มาตรฐาน ปรบั ปรุงเนื้อหาใหสมบรู ณ ใชภ าษาทเ่ี ขาใจงา ยและใชไ ดงาย 5. การเขา ถงึ ความรู เปนการเผยแพรค วามรใู หผ ูอืน่ ไดใชป ระโยชน เขาถึงไดงายและ สะดวก เชน เวบ็ บอรด บอรด ประชาสมั พนั ธ เปน ตน 6. การแบงปนแลกเปลี่ยนความรู ทําไดหลายวิธีการ หากเปนความรูเดนชัด อาจ จดั ทาํ เปน เอกสาร ฐานความรูท่ีตองใชเทคโนโลยีสารสนเทศ หากเปนความรูฝงลึกในตัวคน อาจ จัดเปน ระบบแลกเปลีย่ นความรู การสอนงาน การสบั เปลย่ี นงาน ชุมชนแหง การเรียนรู เปนตน 7. การเรียนรู ตองใหการเรยี นรเู ปนสวนหนึ่งของการทํางาน การนาํ ความรูไปใชทําให เกิดการเรียนรแู ละประสบการณใ หมหมนุ เวยี นตอ เน่อื ง เรียกวา เปน “วงจรแหง การเรียนรู” การรวมกลมุ เพอ่ื การตอ ยอดความรู หมายถึง การแลกเปลยี่ นเรียนรู เพือ่ ดึงความรูท่ีฝงลึกในตัวบุคคลออกมาเปนองคความรู เพ่อื นาํ มาใชหรือประยกุ ตใ ชใ นการปฏิบตั งิ าน โดยจะตอ งมีบคุ คล หรือกลุมบุคคลท่ีสงเสริมใหเกิด การแลกเปลี่ยนเรียนรูซ่ึงกันและกัน หรืออาจกลาวไดวา เปนการเรียนรูวิธีการทํางานของคนท่ี ประสบผลสาํ เร็จมาเปนบทเรียน และนํามาประยุกตใชกับตนเอง จนเกิดวิธีการปฏิบัติงานใหมท่ีดี ข้นึ กวาเดิม การพฒั นาขอบขายความรูข องกลุม การพฒั นากลมุ ใหม คี วามเขม แข็งย่ังยืนไดน้ัน ตองมีขอบขายความรูที่จําเปนและสําคัญ ตอการพฒั นากลุม ดงั น้ี 1.ความรูเรื่องการบริหารจัดการกลุม มีความโปรงใส ระบบบัญชีเปนปจจุบัน ตรวจสอบได มคี วามรว มมอื ไวว างใจซึ่งกันและกัน 2. ความรูเร่ืองการพฒั นาผลติ ภัณฑ เพ่อื ใหผ ลติ ภัณฑม ีคณุ ภาพทันสมยั ไดรบั ความ นิยมตรงตามความตอ งการของตลาด ทาํ ใหมลี ูกคา ผใู ชบ รกิ ารอยางตอเน่อื ง 3. ความรูเร่อื งการตลาด ตอ งมคี วามรูเกี่ยวกับทําเลท่ีตั้ง ชองทางการจําหนายและ ขยายตลาดใหมากขึ้น 4. การรักษามาตรฐานของสินคา กลุมตองมีความรูในเร่ืองการผลิตสินคาใหมี มาตรฐาน สนิ คาจึงจะไดรับการยอมรับ เชน ถาเปน สินคาทผ่ี ลติ ในชุมชน จะตองมีมาตรฐานชุมชน เปนเครือ่ งกํากบั

21 การจดั ทําสารสนเทศเผยแพรค วามรู การจดั ทําสารสนเทศ หมายถงึ การจดั รวบรวมขอมูลความรู และประสบการณที่เกิดข้ึน จากการปฏิบัติใหเปนระบบ เพ่ือสรางชองทางใหคนที่ตองการใชความรูเขาถึงองคความรูไดงาย และเกดิ การแบง ปนความรรู ว มกันอยางเปนระบบ การเผยแพรความรู เปนการนําความรูท่ีไดรับมาถายทอดใหบุคลากรในองคกรไดรับรู โดยสามารถทําไดหลายทาง คือ การเขียนบันทึกรายงานการประชุม สัมมนา การฝกอบรม การ จดั ทําเปน บทเรียน รูปแบบหนังสือ บทความ วีดิทัศน การฝกสอน และการแลกเปลี่ยนเรียนรูใน รปู แบบอน่ื ๆ เชน การเลาเรอ่ื ง การสอบถาม การสัมภาษณ เปน ตน เรื่องที่ 2 ทกั ษะการจดั การความรดู วยตนเองและดวยการรวมกลมุ ปฏิบตั กิ าร ทกั ษะการจดั การความรดู วยตนเอง การเรียนรเู พื่อใหเ กิดการจดั การความรูดวยตนเอง ตองเร่ิมจากการคิด แลวลงมือปฏิบัติ การปฏิบตั ิจะทําใหจดจําไดแมนยํากวา และมีการบันทกึ ความรูระหวางปฏบิ ตั ไิ วใ ชท บทวน หรือให ผอู ืน่ นาํ ไปปฏบิ ัตติ ามได ขัน้ สดุ ทายใหย อนกลบั ไปทบทวนกระบวนเรยี นรู เพ่อื ตรวจหาจุดบกพรอง และปรับปรุง พัฒนาจุดบกพรองนั้นใหได ทักษะในการจัดการความรูดวยตนเอง สามารถฝกได ดงั นี้ ฝกสังเกต ใชส ายตา หู ในการสงั เกตจะชว ยใหเขาใจเหตกุ ารณน นั้ ๆ ได ฝกการนําเสนอ เพื่อนําความรูไปสูการแลกเปลี่ยนเรียนรูกับผูอื่น จะทําใหการ แลกเปลยี่ นความรูกนั อยางกวางขวางขน้ึ ฝกต้งั คําถาม การตั้งคําถามใหตนเองหรือผูอื่นตอบ ทําใหไดขยายขอบขายความคิด ความรกู วา งขน้ึ ไปอีก ฝกแสวงหาคําตอบ ตองรูวาความรูหรือคําตอบมีแหลงขอมูลอยูท่ีใดบาง เชน จาก เอกสาร อินเทอรเ นต็ หรอื สอบถามจากตัวบคุ คล เปนตน ฝกบรู ณาการเช่อื มโยงความรู เน่ืองจากความรูท ี่มีอยหู ลากหลาย และมคี วามสัมพันธ เชอ่ื มโยงกนั จงึ จําเปนตองรูองครวมของเรื่องน้ัน ๆ ยกตัวอยาง เชน ปุยหมัก ไมเฉพาะมีความรู เรอ่ื งวิธที าํ แตตอ งรูเชื่อมโยงไปถึงวิธีการนําไปใชหรือแนะนําผูอ่ืน โยงไปถึงการกําหนดราคาเพ่ือ ขาย การบรรจุภัณฑทกุ อยา งตองบูรณาการกันทั้งหมด

22 ฝกบันทึก การจดบันทึกความรูจากการปฏิบัติของตนเอง ใชเปนหลักฐานรองรอย การคิด การปฏิบัติ เพอ่ื การทบทวนการเรียนรูของตนเอง การเขาถึงและการเรียนรูของบุคคลอ่ืน ดว ย ฝกการเขียน การเขียนงานของตนเองเปนประโยชนตอการเรียนรูของตนเองและ ผูอ่นื เปน การเผยแพรความรูผ านการอาน การเขยี น ทกั ษะการจัดการความรดู วยการรวมกลุมปฏบิ ตั กิ าร การจัดการความรูท่ีเกิดข้ึนจากการรวมกลุมเพ่ือแกปญหา หรือพัฒนาในระดับกลุม องคก รหรือชุมชน มขี น้ั ตอนการปฏบิ ัติ ดังนี้ 1. การบงช้ีความรู โดยการสํารวจ วิเคราะหปญหาภายในกลุม เรียงลําดับ ความสาํ คญั ของปญ หา กาํ หนดความรทู ีต่ อ งใชแกปญหา หรอื พัฒนากลุม 2. การสรางและแสวงหาความรู เมื่อกําหนดองคความรูที่จําเปนในการแกปญหา หรอื พัฒนาแลว จงึ ทําการสาํ รวจและแสวงหาความรูที่ตอ งการจากหลาย ๆ แหลง 3. การจดั การความรูใหเปนระบบ นาํ ขอ มูลทไ่ี ดจากการแสวงหาความรูมาจัดระบบ เพอ่ื ใหงา ยตอ การวิเคราะห และตดั สนิ ใจในการนําไปใช 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู ความรูที่ไดมาจากแหลงตาง ๆ ตองมีการ ประมวลและกล่นั กรองกอนนาํ มาใช ความรูท่ีผานการปฏิบัติจนประสบความสําเร็จ เปนความรูท่ี สามารถนาํ มาประยกุ ตใ ชในกลุม ได 5. การเขาถึงความรู ทุกคนในกลุมควรมีสวนรวมในการเขาถึงความรูในการ แกป ญหาและพฒั นากลุม การเขาถงึ ความรไู ดงาย คือการแลกเปล่ียนเรียนรูในตัวคน การศึกษาดู งานกลมุ อน่ื หรอื การศกึ ษาหาความรจู ากแหลง เรียนรตู าง ๆ 6. การแบงปนแลกเปลี่ยนความรู ความรูสวนใหญอยูในสมองคน ซ่ึงเปนผูปฏิบัติ การแลกเปล่ียนเรียนรูเปนการตอยอดความรูใหแกกันและกัน ทําไดหลายวิธี เชน การประชุม สัมมนา ศกึ ษาดงู าน การสอนงานโดยรวมกลุมปฏิบัติการเรือ่ งทสี่ นใจ เปนตน 7. การเรียนรู สมาชิกในกลุมเกิดการเรียนรูรวมกัน เกิดแนวคิดนําไปใชโดยการ ปฏบิ ัติ สงผลใหเกิดการเรยี นรมู ากย่งิ ข้นึ จนเกิดผลสําเรจ็ ถอื วา เปน ผลสาํ เรจ็ จากการปฏิบัตทิ ีเ่ ปน เลศิ (Best Practice)

23 เร่อื งท่ี 3 การสรปุ องคค วามรูข องกลมุ จดั ทําสารสนเทศองคค วามรูในการพฒั นา ตนเอง การสรปุ องคค วามรู การสรุปองคค วามรูเปนการตอยอดความรูใหต นเองและผอู น่ื โดยดําเนินการตามขั้นตอน ดังนี้ 1. กาํ หนดความรหู ลักทีจ่ ําเปน หรอื สาํ คญั ตองานหรือกิจกรรมของกลุม หรือองคก ร 2. เสาะแสวงหาความรูที่ตองการ 3. ปรับปรุง ดัดแปลงสรา งความรูบางสว นใหเหมาะตอการใชง านของตนเองและกลมุ 4. ประยกุ ตใชความรใู นกจิ กรรมงานของตนเองและกลมุ 5. นําประสบการณจากการทํางาน และการประยุกตใชความรูมาแลกเปลี่ยนเรียนรู และสกดั ขมุ ความรูออกมาบันทกึ ไว 6. จดบนั ทกึ “ขุมความร”ู และ “แกน ความรู” สาํ หรับไวใชงาน และปรับปรุงเปนชุด ความรูใหครบถว นและเชือ่ มโยงกันมากขน้ึ เหมาะตอ การใชงานมากข้ึน การสรุปองคความรทู ี่ไดดาํ เนินการตามวิธีการดงั กลาวขางตน ผูเรียนสามารถนํามาจัดทํา เปนสารสนเทศในรปู แบบตา ง ๆ เพื่อใหค นเขา ถงึ ความรไู ดงา ยและนาํ ไปสกู ารปฏิบตั ไิ ด วธิ กี ารหาความรดู ว ยการจดั ความรโู ดยการรวมกลมุ นกั ปฏิบตั กิ าร ในการจัดการความรูวิธีรวมกลุมปฏิบัติการ มีวิธีหาความรูเพื่อใหเกิดการแลกเปล่ียน เรยี นรู โดยดึงความรูท่ีมีอยใู นตัวบุคคลออกมา เปนองคความรูเพื่อใชในการปฏิบัติงาน จะตองมี บคุ คลที่คอยสงเสรมิ และกระตุน ใหเ กิดการแลกเปล่ียนเรียนรดู ว ยวธิ ีการหลายรปู แบบ ดงั น้ี 1. การประชุมสัมมนา เปนการแลกเปลย่ี นเรยี นรูรวมกนั ในกลมุ 2. การไปศกึ ษาดงู าน มกี ารซกั ถามและจัดเวทแี สดงความคิดเห็น แลกเปล่ียนความรู จากคนไปสูคน 3. การเลาเรื่อง เปนการรวมกลุมของผูปฏิบัติงานท่ีมีลักษณะคลายกัน แลกเปลี่ยน ความรู โดยการเลา เรอื่ งสกู นั ฟง มีการสกดั ความรู วธิ ีการทํางานท่ีประสบความสําเร็จของแตละ คน ซง่ึ อาจแตกตา งกนั และสามารถนาํ ความรไู ปประยกุ ตใ ชในงานของตนได

24 4. ชุมชนนักปฏิบัติ เปน การรวมกลมุ ของคนทสี่ นใจเรอ่ื งเดยี วกัน รวมตัวแลกเปลี่ยน เรียนรู ผานการส่ือสารหลายชองทาง เชน การประชุมสัมมนา ต้ังชมรม หรือใชเทคโนโลยี แลกเปลยี่ นความรูกนั ในลักษณะของเว็บบอรด สามารถเรยี นรูไดทุกท่ีทุกเวลา ทําใหเกิดความรู และตอ ยอดความรู 5. การสอนงาน เปน การถา ยทอดความรู บอกวิธกี ารทํางาน ชวยเหลอื เพือ่ นรวมงาน เปลี่ยนความรจู ากคนท่ีรมู ากสูคนทรี่ ูนอ ย 6. เพอื่ นชว ยเพอ่ื น เปน การเชิญทมี อ่นื มาแบงปนประสบการณด ี ๆ โดยการแนะนํา สอน บอกตอ หรือเลา เพอ่ื นํามาประยกุ ตใ ชในการยกระดับความรแู ละพฒั นางานใหดยี ิ่งขน้ึ 7. การทบทวนการปฏิบัติงาน เปนการทบทวนทุกขั้นตอนของการปฏิบัติงาน ทั้งกอน ระหวาง และหลังการปฏิบัติงาน เพ่ือทบทวนส่ิงท่ีไดปฏิบัติรวมกัน และนําสิ่งที่ไดไป พัฒนางานตอไปได วิธกี ารจัดทาํ สารสนเทศเพอ่ื การเผยแพรค วามรู วิธีการจัดทําสารสนเทศ โดยการรวบรวมองคความรูท่ีเปนประโยชน และเผยแพรให ผสู นใจไดเ รยี นรู วิธีการเผยแพรส ามารถดําเนนิ การไดหลายแนวทาง ดังน้ี 1. จดั ทําเปนแผนพับ แผน ปลวิ โดยสรุปองคความรใู หกระชับ เขาใจงา ย 2. บันทกึ เรอื่ งเลา โดยจดั ทําเปน เอกสารรวมเลม จดั หมวดหมใู หสะดวกแกการคนหา 3. บนั ทึกการถอดบทเรยี น โดยจดั ทําเปนเอกสาร และมีรายละเอียดของการถอด บทเรยี นวา ทําไม อยา งไร 4. วีซีดี โดยสรปุ ยอกระบวนการคนพบ อาจถายทอดเปนสารคดี บอกถึงวิธีการตาง ๆ รวมทัง้ แนะนําแหลงขอมูลเพ่ือการตดิ ตาม 5. คูมือการปฏิบัติงาน เพ่ือใหเห็นรองรอยการทํางานท่ีประสบความสําเร็จทุก ขน้ั ตอน 6. ระบบอนิ เทอรเ น็ตในรูปของเวบ็ บอรด ชวยใหเผยแพรสะดวก รวดเรว็ 7. เผยแพรผานภมู ิปญ ญา โดยการบรรยาย หรืออภิปรายสอดแทรกความรูท่ีคนพบ เพื่อใหม าศกึ ษาดงู าน หรือฟงการบรรยายไดเ หน็ ภาพและมคี วามรเู พม่ิ เติม 8. การประชาสัมพันธผ า นส่ือของชุมชน เชน วทิ ยชุ มุ ชน เสียงตามสาย เปน ตน

25 กรณีตวั อยา ง ศนู ยเ รยี นรปู ราชญช าวบานจังหวัดลาํ ปาง ของนายสมโภชน ปานถม(ลุงอวน) นายสมโภชน ปานถม หรือที่คนท่ัวไปรูจักในชื่อ ลุงอวน เกิดวันที่ 22 กันยายน 2494 จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน มีภูมิลําเนาอยูท่ีบานเลขท่ี 253 บานหวยรากไม หมู 5 ตําบลสบปา ด อาํ เภอแมเมาะ จังหวดั ลาํ ปาง เปนผูนําในการปลูกผักปลอดสารพิษและจัดทําศูนย เรียนรูการเกษตรอินทรีย เพ่ือเปนแหลงเรียนรูใหเกษตรกรผูปลูกผัก และผูสนใจเกี่ยวกับการใช สารอนิ ทรีย เพ่ือลดตน ทุนการผลติ นอกจากน้ี ลงุ อวนยงั ไดร บั รางวัลตาง ๆ มากมาย เชน ป 2558 ไดรับรางวัล สาขาการพัฒนาที่ดินเพื่อการเกษตร จากกระทรวงเกษตรและ สหกรณ และรางวลั การปลกู พชื ผกั และสมนุ ไพรไลแมลง จากมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร ป 2550 ไดรับคัดเลือกจากจังหวัดลําปางเปนปราชญชาวบาน และเปนอนุกรรมการ แผนงาน/โครงการที่เกีย่ วของกับเศรษฐกจิ พอเพียงของกระทรวงเกษตรและสหกรณร ะดบั จังหวดั ป 2549 ไดรับรางวัลหมอดินอาสาดีเดน สาขาการจัดทําชุดการเรียนรู จากสํานักงาน พัฒนาท่ีดนิ เขต 6 ป 2548 ไดร ับรางวลั การประกวดสงเสรมิ เศรษฐกิจพอเพยี ง (ผักปลอดสารพิษ) ประเภท บุคคล ในเขตพื้นทีอ่ ําเภอแมเมาะ จากผลงานทลี่ ุงอว น ไดร บั มากมายหลายรางวัลและหลากหลายสาขานนั้ ลวนเกิดมาจาก การ ไมยอมหยุดน่ิงที่จะเรียนรู โดยครั้งแรกท่ีลุงอวนมาตั้งถิ่นฐานอยูท่ีอําเภอแมเมาะ เห็นวา ชาวบานปลกู ผัก โดยใชปยุ เคมีกนั มาก จงึ มแี นวคดิ ทีจ่ ะปลกู ผักปลอดสารพิษข้ึน โดยปฏิบัติตนตาม ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทดลองทําไปพรอม ๆ กับการศึกษาหาความรู การดูงาน ถามผูรู เขา ฝกอบรม สมั มนา ลองผดิ ลองถกู เปน เวลาหลายป จนประสบความสําเรจ็ และไดรับการยกยอง เปนผทู ่มี คี วามรเู รอ่ื งเกษตรอนิ ทรีย และดําเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จึงนํา ประสบการณม าถา ยทอดใหแ กคนในหมูบา นได ถึงแมจะประสบความสําเร็จในการดําเนินชีวิตตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จนเปนตัวอยางของคนในหมูบานแลว ลุงอวนยังไมยอมหยุด เรียนรู ไดเดินทางไปศึกษาเรียนรูยังแหลงเรียนรูตาง ๆ ศึกษาหาความรูเพ่ิมเติมดวยตนเองทาง ขอมูลขาวสาร เขารับการฝกอบรม รับฟงขอเสนอแนะจากผูรูหรือเจาหนาท่ีที่มาใหความรู เพือ่ นาํ มาปรับปรงุ ในการทํางานตลอดเวลา เม่ือลงุ อวนเกิดการตกผลกึ ความรู จึงคิดที่จะถายทอด ความรูใหผูสนใจท่ัวไป จึงไดจัดต้ังศูนยเรียนรูการเกษตรอินทรียเพื่อพัฒนาอยางย่ังยืน โดยการ สนับสนนุ ของหนวยงานท่ีเกยี่ วของ เพ่ือเปนแหลงเรยี นรใู หแ กเ กษตรกรผูปลูกผักและผูสนใจท่ัวไป

26 ในการเรียนรูถึงการใชสารอินทรียทดแทนสารเคมีเพ่ือลดตนทุนการผลิต โดยมีหลักสูตรการ ฝกอบรมท่ีหลากหลาย เชน หลักสูตรการเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง หลักสูตรการเกษตร อินทรีย หลักสูตรการผลิตปุยชีวภาพและสารอินทรียเพ่ือใชในไรนา หลักสูตรการเลี้ยงปลา การเล้ียงไก การทําบัญชีครัวเรือน เปนตน มีผูสนใจมาศึกษาเรียนรูในศูนย ฯ เปนจํานวนมาก นอกจากนี้ ลงุ อวนยังเปน วทิ ยากรถายทอดความรูดานการใชเทคโนโลยีการจัดการดิน วิทยากรการ ทาํ สารอนิ ทรียเพ่อื การเกษตร วิทยากรในการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการกระบวนการขับเคลื่อน เกษตรอินทรียจังหวัดลําปาง ของสํานักงานเกษตรและสหกรณจังหวัดลําปาง และวิทยากรการ ผลติ ปยุ ชีวภาพและสารอินทรีย ของศนู ยการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอําเภอแม เมาะ ฯลฯ นอกจากน้ี ยังไดด ําเนนิ การจัดเวทเี พื่อแลกเปลยี่ นเรียนรกู ับชาวบาน เกษตรกร ท้ังแบบ ไมเปน ทางการในรูปแบบสภากาแฟ และแบบทางการ โดยมหี นวยงานท่ีเกย่ี วขอ งมาชว ยใหความรู ดว ย จะเห็นวา ลุงอว น หรือนายสมโภชน ปานถม เปนผูท่ีมีความกระตือรือรนที่จะศึกษาเรียน รูอยูตลอดเวลา และนําความรูที่ตนเองมีอยูถายทอดใหกับบุคคลอื่น เปนการขยายความรูให แพรหลายและขยายวงกวา งออกไปตามลําดับ

27 1. ใหผูเรียนศึกษากรณีตัวอยาง ศูนยเรียนรูปราชญชาวบานจังหวัดลําปาง ของนายสมโภชน ปานถม แลว ตอบคําถาม ดังตอไปน้ี 1.1 ใหบอกวิธกี ารเรยี นรูทีห่ ลากหลายของนายสมโภชน ปานถม 1.2 ใหบอกวิธีการพัฒนาตนเอง เพื่อใหเกิดการแสวงหาความรูที่หลากหลาย ของนาย สมโภชน ปานถม 2. ใหผ เู รียนยกตวั อยา งแผนผงั ความคดิ เกี่ยวกบั อาชพี ในชุมชนมา 1 ตวั อยาง แนวทางการเฉลย 1.1 วิธีการเรียนรขู องนายสมโภชน ปานถม (ลงุ อวน) เรมิ่ ตนจาก 1) การทดลองปลูกผักปลอดสารพษิ เพอ่ื แกป ญ หาการใชปุยเคมีในการปลูกผักของ คนในชุมชน โดยทําการทดลองไปพรอมกับการศึกษาหาความรู จากการศึกษาดูงาน ถามผูรู การฝก อบรม สมั มนา และปฏิบัติแบบลองผิดลองถูก จนประสบความสําเร็จ ไดรับการยกยองให เปนผูมีความรูเร่ืองเกษตรอินทรีย และเปนตัวอยางที่ดีในการดําเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง 2) การถายทอดความรูใหคนในหมูบาน เปนการแลกเปล่ียนความรูและ ประสบการณใหบุคคลอื่น เปนการแบงปน แลกเปล่ียนความรูโดยการปฏิบัติ สงผลใหเกิดการ เรียนรมู ากยงิ่ ข้ึน เปน การ ตอยอดความรใู หต นเองและผอู น่ื 3) การศึกษาหาความรูเพ่ิมเติมอยางตอเนื่องจากแหลงเรียนรูตาง ๆ ที่เปนความรู ขอ มลู ขาวสาร จากขอ เสนอแนะของผรู หู รอื เจาหนาท่ที ่ีมาใหความรู จากการฝกอบรม และนําส่ิงที่ ไดเรียนรูเพิ่มเติมมาปรับปรุงการทํางานของตนเอง จนตกผลึกเปนความรูท่ีสามารถขยายผลให ผสู นใจท่วั ไปไดก วางขวางยิ่งขน้ึ โดยการจดั ตั้งศนู ยเ รียนรูก ารเกษตรอินทรีย 1.2 วธิ กี ารพฒั นาตนเอง เริ่มจากการวิเคราะหตนเองเพ่ือรูจุดออน จุดแข็ง และความ ตองการของตนเอง กําหนดเปาหมาย แนวทางในการแกปญหาและพัฒนาตนเอง ทําใหเกิดการ แสวงหาความรู เพอ่ื เดนิ ไปสูจุดหมายและประสบความสําเรจ็ การพัฒนาตนเองของลุงอวนเพ่ือให เกดิ การแสวงหาความรทู ี่หลากหลาย สรปุ ได ดงั นี้ 1) การวเิ คราะหตนเอง รูปญหาทเ่ี กิดขนึ้ คือ การใชสารเคมีในการปลกู ผกั ของคนใน ชุมชนและมีความตองการแกปญหา จึงกําหนดเปาหมายในการทํางาน โดยการทดลองปลูกผัก

28 ปลอดสารพิษและปฏิบัติตนตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีความตองการเรียนรูและ แสวงหาความรจู ากผรู ู การฝก อบรมสมั มนา การศึกษาดูงาน การทดลองปฏิบัติการปลูกผักปลอด สารพิษจนบรรลุเปาหมายและกลายเปนบุคคลตัวอยางในการดําเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง 2) การนาํ ความรแู ละประสบการณท่ีเปน จุดแขง็ ของตนเองไปถายทอดใหบุคคลอ่ืน ทําใหเกิดการพัฒนาตนเอง โดยลุงอวนไดไปแสวงหาความรูเพิ่มเติมจากแหลงเรียนรูตาง ๆ การแลกเปลย่ี นเรยี นรู การรับฟงขอเสนอแนะจากผรู แู ละเจา หนาที่ผใู หความรู ในการอบรม สัมมนา ทาํ ใหลุงอวนมีความรูเ พ่มิ ขึ้น และมีการพัฒนาตนเองอยางตอเนอ่ื ง 3) การจัดตั้งศูนยเรียนรูการเกษตรอินทรีย เปนการรวบรวมองคความรูและ ประสบการณท้ังหมด จัดไวอยางเปนระบบ ในรูปแบบหลักสูตรการฝกอบรมท่ีหลากหลาย เชน หลกั สูตรการเกษตรแบบเศรษฐกจิ พอเพียง การเกษตรอินทรีย การผลิตปุยชีวภาพ การเลี้ยงปลา การเลี้ยงไก การทําบัญชีครัวเรือน เปนตน ซ่ึงความรูที่เปนหลักสูตรตาง ๆ ดังกลาวเกิดจากการ คนควา แสวงหาความรูเพม่ิ เติมจากแหลง เรยี นรูที่หลากหลาย และจากหนว ยงานภาครฐั ที่สนับสนุน ทําใหเปน องคค วามรูทีส่ มบูรณแ บบ สามารถเปน แหลง เรยี นรใู นการจดั กจิ กรรมแลกเปลี่ยนเรยี นรู ที่เปนประโยชนในการพฒั นาตนเองและ บุคคลอื่น ๆ ไดเ ขาถึงความรูไดอยา งเปน ระบบ

29 2. แผนผังความคิดเกยี่ วกับอาชพี ในชมุ ชน

30 เรอ่ื งที่ 1 ความเชือ่ พน้ื ฐานทางการศกึ ษาผูใหญ/ การศึกษานอกระบบทเ่ี ชอ่ื มโยง มาสูปรชั ญาคิดเปน ในชีวิตประจําวันทกุ คนตองเคยพบกับปญหาตาง ๆ ไมวาจะเปน ปญหาการเรียน การงาน การเงิน หรอื แมแ ตการเลนกีฬา หรือปญ หาอน่ื ๆ เชน ปญ หาขัดแยงของเด็ก ปญหาการแตงตัวไป งานตา ง ๆ เปนตน เมอื่ เกดิ ปญหากเ็ กดิ ทกุ ข แตล ะคนก็จะมวี ิธแี กไ ขปญหา หรอื แกท กุ ขดวยวิธีการ ที่อาจจะแตกตางกันไป และอาจใหผลลัพธท่ีเหมือนกันหรือตางกันก็ได ทั้งนี้ขึ้นอยูกับพ้ืนฐาน ความเช่อื ความรู ความสามารถและประสบการณของบุคคลน้ัน หรืออาจจะขึ้นอยูกับทฤษฎีและ หลักการของความเช่ือทต่ี า งกันเหลาน้นั “คิดเปน” มาจากความเช่ือพื้นฐานเบื้องตนท่ีวา คนมีความแตกตางกันเปนธรรมดา แตทุกคนมีความตองการสูงสุดเหมือนกัน คือ ความสุขในชีวิต คนจะมีความสุขไดก็ตอเม่ือมีการ ปรบั ตวั เองและสังคม ส่งิ แวดลอมใหเขาหากันอยางผสมกลมกลืนจนเกิดความพอดี นําไปสูความ พอใจและมีความสุข อยางไรก็ตามสังคมส่ิงแวดลอมไมไดหยุดนิ่ง แตจะมีการเปล่ียนแปลงอยาง รวดเร็วอยูตลอดเวลา กอใหเกิดปญหาเกิดความทุกข ความไมสบายกายไมสบายใจข้ึนไดเสมอ กระบวนการปรับตนเองกบั สังคม ส่ิงแวดลอมใหผสมกลมกลืน จึงตองดําเนินไปอยางตอเน่ืองและ ทันการณ คนท่ีจะทําไดเชนนี้ ตองรูจักคิด รูจักใชสติปญญา รูจักตัวเองและธรรมชาติ สังคม ส่ิงแวดลอมเปนอยางดี สามารถแสวงหาขอมลู ท่เี ก่ียวขอ งอยางหลากหลายและพอเพียง อยางนอย 3 ประการ คือ 1. ขอ มลู ท่ีเกีย่ วของกบั ตนเอง 2. ขอ มูลทางสังคมและสิ่งแวดลอ ม 3. ขอ มลู ทางวิชาการ ซึ่งเปนหลักในการวิเคราะหปญหา เพื่อเลือกแนวทางการตัดสินใจท่ีดีท่ีสุดในการแกปญหา หรือ สภาพการณทเ่ี ผชิญอยูอยางรอบคอบ จนมีความพอใจแลวก็พรอมจะรับผิดชอบการตัดสินใจนั้น อยางสมเหตุสมผล เกิดความพอดี ความสมดุลในชีวิตอยางสันติสุข เรียกไดวา “คนคิดเปน” ซ่งึ กระบวนการคิดเปน อาจสรปุ ได ดังน้ี

31 อาจารย ดร.โกวิท วรพิพัฒน เคยกลาวไววา “คิดเปน” เปนคําเฉพาะที่หมายรวมทุก อยางไวใ นตวั แลว เปน คาํ ทบ่ี ูรณาการเอาการคิด การกระทํา การแกปญหา ความเหมาะสม ความ พอดี ความเชื่อวัฒนธรรม ประเพณี คุณธรรมจริยธรรม มารวมไวในคําวา “คิดเปน” หมดแลว นนั่ คอื ตอ งคดิ เปน คดิ ชอบทําเปน ทาํ ชอบ แกป ญ หาไดอ ยางมคี ณุ ธรรมและความรับผิดชอบ ไมใช เพียงแคคิดอยางเดียว เพราะเร่ืองดังกลาวเปนขอมูลที่ตองนํามาประกอบการคิด การวิเคราะห อยา งพอเพียงอยูแลว จากแผนภูมิดังกลาวน้ี จะเห็นวา คิดเปนหรือกระบวนการคิดเปนน้ัน จะตอง ประกอบดวยองคประกอบตา ง ๆ ดงั ตอ ไปนี้ 1. เปน กระบวนการเรียนรูท ปี่ ระกอบดว ยการคิด การวิเคราะห และสังเคราะหขอมูล ประเภทตาง ๆ ไมใชการเรียนรูจากหนังสือหรือลอกเลียนจากตํารา หรือรับฟงการสอนการบอก เลา ของครูแตเ พียงอยางเดียว 2. ขอมูลท่ีนํามาประกอบการคิด การวิเคราะหตาง ๆ ตองหลากหลาย เพียงพอ ครอบคลุมอยา งนอย 3 ดา น คอื ขอ มูลเก่ยี วกับตนเอง ขอมลู เกีย่ วกับสังคมสิ่งแวดลอม และขอมูล ทางวชิ าการ

32 3. ผูเรียนเปนคนสําคัญในการเรียนรู ครูเปนผูจัดโอกาสและอํานวยความสะดวกใน การจดั การเรยี นรู 4. เรยี นรจู ากวถิ ชี ีวติ จากธรรมชาติและภูมิปญญา จากประสบการณและการปฏิบัติ จริง ซ่งึ เปน สว นหนึ่งของการเรยี นรตู ลอดชีวติ 5. กระบวนการเรียนรูเปนระบบเปดกวาง รับฟงความคิดของผูอ่ืนและยอมรับความ เปนมนุษยท่ีศรัทธาในความแตกตางระหวางบุคคล ดังนั้น เทคนิคกระบวนการท่ีนํามาใชในการ เรยี นรู จงึ มกั จะเปน วิธีการสานเสวนา การอภปิ รายถกแถลง กลมุ สัมพันธเ พ่ือกลมุ สนทนา 6. กระบวนการคิดเปนน้ัน เม่ือมีการตัดสินใจ ลงมือปฏิบัติแลวจะเกิดความพอใจ มีความสุข แตถาลงมือปฏิบัติแลวยังไมพอใจ ก็จะมีสติไมทุรนทุราย ไมเดือดเนื้อรอนใจ แตจะ ยอนกลับไปหาสาเหตุแหงความไมสําเร็จ ไมพึงพอใจกับการตัดสินใจดังกลาว แลวแสวงหาขอมูล เพิ่มเติม เพ่ือหาทางเลือกในการแกปญหา แลวทบทวนการตัดสินใจใหมจนกวาจะพอใจกับการ แกปญหาน้ัน การเชอื่ มโยงความเชื่อพนื้ ฐานทางการศกึ ษาผใู หญ/การศึกษานอกระบบ กบั ปรชั ญาคดิ เปน พจนานกุ รมไทยฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ใหนิยามคําวา ปรัชญา ไววา วิชาวา ดวยหลกั แหงความรแู ละความจริง คิดเปน คือ ลักษณะอันพึงประสงคท่ีชวยใหคนสามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมที่ เปล่ียนแปลงอยูตลอดเวลาไดอ ยา งสนั ติสขุ เพราะ 1. มีความเช่ือมั่นในหลักแหงความเปนจริงของมนุษยท่ียอมรับในความแตกตางของ บคุ คล 2. เปนหลักการและแนวคิดสําคัญในการดําเนินโครงการตาง ๆ ทางการศึกษาผูใหญ การศึกษานอกโรงเรยี น ตงั้ แตใ นอดีตท่ผี านมาถงึ ปจจุบัน 3. เปนหลักคิดและแนวทางในการดําเนินชีวิตประจําวันของคนทํางานการศึกษานอก โรงเรียนและบคุ คลทั่วไป จากการที่คิดเปน เปนทั้งความเช่ือในหลักความเปนจริงของมนุษย เปนทั้งหลักการ แนวคิด และ ทิศทางการดาํ เนินกจิ กรรมและโครงการตา ง ๆ ของ กศน. และเปนพ้ืนฐานที่สําคัญ ในวิถีการดาํ เนินชวี ติ ของบุคคลท่ัวไป รวมทั้งเปนการสงเสริมใหมีทักษะการเรียนรูเพื่อการเรียนรู ตลอดชีวิตในอนาคต คิดเปนจึงเปนท่ียอมรับและกําหนดใหเปน “ปรัชญาคิดเปน”หรือปรัชญา การศกึ ษานอกโรงเรียนท่เี หมาะสมกับความเปน กศน. เปน อยางย่ิง

33 เร่อื งท่ี 2 ความหมาย ความสาํ คัญของการคดิ เปน ความหมายของการคดิ เปน “คิดเปน” หมายถึง การวิเคราะหปญหา และการแสวงหาคําตอบหรือทางเลือก เพ่อื แกปญ หาหรอื ดบั ทุกข ในอกี ความหมายหน่ึง “คิดเปน” หมายถึง การคิดอยางรอบคอบเพ่ือ แกปญหา โดยอาศัยขอมูลตนเอง ดานสังคมและส่ิงแวดลอม และดานวิชาการ มาเปน องคป ระกอบในการคิดตัดสินใจแกป ญหา นอกจากน้ี “คดิ เปน ” ยังหมายถงึ การคดิ ที่ดี มีหลกั การ ในการดํารงชวี ติ ท่ีถกู ตอ งทสี่ ดุ หากบุคคลใดนําไปใชเปนแนวคิดในการแกปญหาท่ีเปนอุปสรรคใน การดํารงชวี ิต ดวยการใชขอมูลทีเ่ ปน จริงและเพยี งพอ ก็จะชวยใหแกไขปญ หาได จากความหมายของ “คิดเปน” ทั้ง 3 ความหมาย จะเหน็ ไดว ามีทิศทางไปในทางเดียวกนั คอื 1. ปรัชญานีม้ ีไวเพอ่ื แกป ญหา 2. สง่ิ สําคัญทสี่ ุดในการตดั สินใจแกป ญหาคอื ขอมูล 3. ขอมูลประกอบการตัดสินใจ ตองเปนขอมูลจริง และมีจํานวนมากพอตอการ ตัดสนิ ใจ 4. ในความหมายของขอมูล ปรัชญานี้ใชขอมูลใกลตัวที่เกี่ยวของกับปญหาเหลาน้ัน ไดแ ก ขอมลู ตนเอง ขอ มลู สงั คมสงิ่ แวดลอ ม และขอมูลวชิ าการ 5. การคิดเปนมีลักษณะเปนพลวัตร หมายถึงปรับเปล่ียนไดเสมอ ในกรณีที่ เปลย่ี นแปลงขอ มลู หรอื เปาหมายชีวิต ความสําคัญของการคดิ เปน การคิดทีผ่ า นกระบวนการอยา งเปน ระบบ จะสงผลใหการปฏิบัติมีประสิทธิภาพและเกิด ความสําเร็จไดงาย อาจกลาวไดวา กระบวนการแกปญหาดวยปรัชญาคิดเปน มีความสําคัญตอ สังคม คอื ชว ยสรางสันติสขุ ใหเกดิ กับสังคม เพราะถาคนสวนใหญยึดหลักการคิดดวยกระบวนการ คดิ เปน การมองปญ หาจงึ มองอยางเปนเหตุเปนผลสมจริง ความขัดแยงจะลดลงหรือไมเกิดความ ขัดแยงข้ึน เมื่อไมมีความขัดแยงเกิดขึ้น สังคมก็จะมีแตความสุข ดังน้ันอาจสรุปความสําคัญของ การคิดเปน ไดดังนี้

34 1. สามารถแกไขปญหาที่เกิดขนึ้ กบั ตนเองไดและมักไมม ีขอ ผิดพลาดเกดิ ขนึ้ 2. ชว ยใหเปนคนใจเยน็ ยดึ ถือเหตผุ ล และมักไมทาํ อะไรตามอารมณของตนเอง 3. ชวยใหเ ปนคนทีม่ คี วามเชื่อมนั่ ในตนเองสงู ทง้ั น้ีเกิดจากความสําเร็จของงานที่มีผลมา จากการคดิ เปน 4. ชวยใหไมถูกหลอกดวยขอมูลท่ีไดรับและไมเช่ือถือสิ่งตาง ๆ อยางงาย ๆ แตจะ วนิ ิจฉัยไตรต รองและพสิ ูจนค วามจรงิ อยางรอบคอบกอนตัดสินใจเลอื ก 5. สามารถใชประโยชนจ ากขอมลู ทไี่ ดร ับ มาสรา งสรรคใ หเ กิดสิ่งที่มีประโยชนได การที่คนเราจะมีคุณสมบัติในการเปนคนคิดเปนได ตองมีการฝกฝนทักษะเร่ืองการคิด เปนอยูเ สมอ จนกลายเปนเรื่องปกตใิ นชีวติ ประจาํ วันแลว การดําเนนิ ชวี ิตก็จะมีลักษณะของคนคดิ เปน ดงั น้ี 1. มีความเชอื่ วาปญหาท่ีเกิดขนึ้ เปนเรือ่ งธรรมดา สามารถแกไ ขได 2. การคิดท่ีดีตองใชข อ มลู หลาย ๆ ดา น (ตนเอง สังคม วิชาการ) 3. เชื่อวาขอมูลมกี ารเปล่ียนแปลงอยูเ สมอ 4. สนใจท่จี ะวิเคราะหขอมูลอยเู สมอ 5. รูวา การกระทาํ ของตนเองมีผลตอ สังคม 6. ทําแลว ตดั สนิ ใจแลว เกิดความสบายใจและเตม็ ใจรบั ผดิ ชอบ 7. แกไขปญ หาในชวี ิตประจาํ วันอยา งเปนระบบ 8. รูจ กั ช่งั น้ําหนักคณุ คาของการกระทํากับสิ่งรอบ ๆ ดาน

35 เรอ่ื งที่ 3 การรวบรวมและวิเคราะหส ภาพปญ หาของตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน และคิดวเิ คราะห โดยใชข อมูลดานตนเอง สังคมสง่ิ แวดลอม และวิชาการ หลกั การรวบรวมขอ มลู ประกอบการคดิ เปน ขอมลู ที่จะใชใ นการคิด ตดั สนิ ใจในดานตาง ๆ ควรพิจารณาจากสงิ่ ตา ง ๆ ดังนี้ 1. ขอ มูลตาง ๆ ท่ีจะนํามาวิเคราะห ตองเปนขอมูลจริงเทาน้ัน เพราะถาเปนขอมูลที่ ไมจริงจะทําใหก ารตดั สนิ ใจเกิดความผดิ พลาดและทาํ ใหก ารแกปญ หาประสบความลมเหลวได 2. ในกรณีที่ขอมูลนั้น ยังมีความคลุมเครือ ไมชัดเจน จําเปนอยางย่ิงที่จะตองมีการ ตรวจสอบ ท่ีชดั เจนทีส่ ุด คือการตรวจสอบที่เขา ถึงตนตอของขอ มูลอยางแทจรงิ 3. เม่ือตรวจสอบในหลายแนวทางแลว ความชัดเจนของขอมูลก็ยังไมปรากฏ ผูว ิเคราะหต องตัดสินใจท้ิงขอมูลดังกลาวไป เพราะขอมูลที่พิสูจนไมได มักจะทําใหการวิเคราะห ปญหาผิดพลาดได 4. ขอ มลู ทผี่ านการวเิ คราะหและเปนขอมูลที่เช่ือถือได ในแตละดานควรมีมากพอตอ การคดิ และตดั สนิ ใจ ซ่ึงจะชว ยใหการตัดสินใจเปนการตัดสินใจทีถ่ กู ตอ งมากทีส่ ดุ การวิเคราะหส ภาพปญ หาของตนเอง ครอบครวั ชุมชนและวเิ คราะห โดยใชข อมูลดา น ตนเอง ดา นสังคมสงิ่ แวดลอ ม และดานวิชาการ ในแนวทางของปรัชญาคิดเปน มนุษยควรใชขอ มลู อยา งนอย 3 ดา น ดงั นี้ 1. ขอ มลู ดานตนเอง เชน พ้ืนฐานของชีวิต ครอบครัว อาชีพ การปฏิบัติตน สุขภาพ อนามัย เปนตน 2. ขอมูลดานสังคมและสิ่งแวดลอม เชน ขอมูลเก่ียวกับสังคม สภาพแวดลอม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี เปนตน 3. ขอมูลดา นวชิ าการ ไดแ ก องคค วามรทู ี่เก่ียวขอ งและผูกพันกบั ปญ หานนั้ ๆ มนษุ ยจ ะใชขอมูลท้ัง 3 ดาน มาเปนเครื่องมือชวยในการตัดสินใจกระทําพฤติกรรมเพื่อ แกปญ หาทีต่ นเองเผชญิ อยู ถาสาํ เร็จ หมายถงึ แกไขปญหาได มนุษยก็จะเกิดความสุข ในทางตรง ขามถาไมสําเร็จ ก็ยังคงเผชิญกับปญหาหรือยังเกิดความทุกขอยูตอไป ตองคิดคนหาขอมูล ประกอบการตัดสนิ ใจใหม

36 กระบวนการและขนั้ ตอนการคิดแกป ญ หาแบบคนคดิ เปน กระบวนการและขั้นตอนการแกปญ หาแบบคนคิดเปน มี 6 ขนั้ ตอน ดังน้ี 1. ขนั้ ทาํ ความเขา ใจกับทกุ ขแ ละปญ หา เกิดข้ึนได 2 ทาง คือ 1) ปญ หาทเี่ กิดจากปจ จยั ภายนอก เชน เมอ่ื เศรษฐกจิ ทรงตวั หรอื ซบเซา ทําให รายได ของเราลดนอ ยลง คนในสังคมมีการด้ินรนแกงแยงกัน การเอาตัวรอด การลักขโมย จ้ีปลน ฆาตกรรม สงผลกระทบตอความเปน อยแู ละความปลอดภยั ในชวี ติ และทรพั ยสิน ปญหาหลายเรื่อง สืบเนือ่ งมาจากสขุ ภาพอนามยั ภัยจากสิง่ เสพตดิ หรอื ปรากฏการณธรรมชาติ เปน ตน 2) ปญหาที่เกิดจากปจจัยภายใน คือ ปญหาจากตัวมนุษยเอง คือ ปญหาที่เกิด จากกิเลส ในจติ ใจของมนษุ ย ซ่งึ มี 3 เรื่อง คอื โลภะ ไดแ ก ความอยากได อยากมี อยากเปน มาก ขึ้นกวาเดิม มีการดิ้นรนแสวงหาตอไปอยางไมมีที่สิ้นสุด ไมมีความพอเพียง เม่ือแสวงหาดวยวิธี สุจรติ ไมไ ด กใ็ ชวิธีการทุจริต ทําใหเกิดความไมสงบ ไมสบายกาย ไมสบายใจ ไมมีที่สิ้นสุด โทสะ ไดแ ก ความโกรธ ความอาฆาตพยาบาทคนอ่นื ความคิดประทุษรายคนอ่ืน โมหะ ไดแก ความไมรู หรือรูไมจริง หลงเชื่อคําโกหก หลอกลวง ชักชวนใหหลงกระทําสิ่งท่ีไมถูกตอง ทําเร่ืองเสียหาย เห็นผิดเปน ชอบ เหน็ กงจักรเปน ดอกบวั เปนตน 2. ข้ันหาสาเหตขุ องปญหา เปน ข้ันตอนท่ีจะวิเคราะหขอมูลตาง ๆ ที่อาจเปนสาเหตุของปญหา เปนตัวตนตอ ของปญหา ท้ังที่เปนตนเหตุโดยตรงและท่ีเปนสาเหตุทางออม ท้ังนี้ ตองวิเคราะหจากสาเหตุที่ หลากหลายและมีความเปนไปไดหลาย ๆ ทาง การวิเคราะหหาสาเหตุของปญหาอาจทําไดงาย ๆ ใน 2 วิธี คอื 1) การวิเคราะหขอมูล โดยการนําเอาขอมูลท่ีหลากหลายดาน มาแยกแยะและ จัดกลุมของขอมลู สําคัญ ๆ เชน ขอ มูลดา นเศรษฐกิจ วฒั นธรรม สภาวะแวดลอม วิทยาการใหม ๆ นโยบายและทิศทางในการบริหารจดั การ ปจจยั ทางดานเทคโนโลยี ฯลฯ ซึ่งสาเหตุของปญหาอาจ มาจากขอ มลู อยา งนอ ย 3 ประการ คอื - สาเหตสุ ําคญั มาจากตนเอง จากพื้นฐานของชีวิตตนเองและครอบครัว ความ ไมสมดุลของการงานอาชีพท่ีพึงปรารถนา ความขัดของที่เกิดจากโรคภัยของตนเอง ความโลภ โกรธ หลง ในใจของตนเอง ความคบั ของใจในการรกั ษาคุณธรรม จริยธรรมของตนเอง ฯลฯ - สาเหตุสําคัญมาจากสังคม ชุมชนและสภาวะแวดลอม ความไมพึงพอใจ ตอพฤติกรรมไมพึงปรารถนาของเพ่ือนบาน การขาดแหลงเงินทุนในการประกอบอาชีพ ชุมชน ทะเลาะเบาะแวง ขาดความสามัคคี ฯลฯ

37 - สาเหตุสําคัญมาจากการขาดแหลงขอมูล แหลงความรู ความเคลื่อนไหวที่ เปน ปจจบุ นั ของวิชาการและเทคโนโลยที ี่เกีย่ วของ ขาดภมู ิปญ ญาที่จะชว ยเตมิ ขอมูลทางปญญาใน การบริหารจัดการ ฯลฯ 2) การวิเคราะหสถานการณ โดยการนําเอาสภาพเหตุการณตาง ๆ มาพัฒนาหา คําตอบโดยพยายามหาคําตอบในลักษณะตอไปนี้ใหมากท่ีสุด คือ อะไร ที่ไหน เม่ือไร เพียงใด ตัวอยาง เชน วิธีการอะไรท่ีกอใหเกิดสภาพเหตุการณเชนนี้ ส่ิงแวดลอมอะไรที่กอใหเกิดสภาพ เหตกุ ารณเ ชนน้ี บุคคลใด ทีก่ อใหเกิดสภาพเหตุการณเชนน้ี ผลเสยี หายเกิดขึ้นมาไดอยางไร ทําไมจึงมีสาเหตุเชนนี้เกิดข้ึน ฯลฯจากน้ันจึงจัดลําดับความสําคัญของสาเหตุตาง ๆ คือ หาพลัง ของสาเหตทุ ่ีกอใหเกิดปญ หา ท้งั นี้เนือ่ งจาก - ปญหาแตละปญหาอาจเปน ผลเน่อื งมาจากสาเหตุหลายประการ - ทุกสาเหตุยอมมีอันดับความสําคัญ หรือพลังของสาเหตุที่กอใหเกิดปญหาใน อันดบั แตกตา งกัน - ทรัพยากรมีจํากดั ไมว า จะเปนบุคลากร เงิน เวลา วสั ดุ ดงั นน้ั จึงตองพิจารณา จดั สรรการใชทรพั ยากรใหต รงกับพลังท่กี อปญ หาสูงสดุ 3. ขนั้ วิเคราะหเสนอทางเลอื กของปญหา เปนขั้นตอนที่ตองศึกษาหาขอมูลที่เก่ียวของอยางหลากหลายและท่ัวถึง เพียงพอ ท้งั ขอ มลู ดานบวกและดา นลบอยา งนอ ย 3 กลุม ขอ มลู คอื ขอ มูลเกี่ยวกับตนเอง ขอมูลที่เกี่ยวของ กับสังคมสง่ิ แวดลอม และขอมลู ทางวิชาการ แลวสังเคราะหขอมูลเหลาน้ันข้ึนมาเปนทางเลือกใน การแกไขปญหาหลาย ๆ ทางท่ีมคี วามเปนไปได 4. ขั้นการตดั สนิ ใจ เลอื กทางเลือกในการแกปญหาทด่ี ที ่ีสดุ จากทางเลอื กทง้ั หมดทีม่ อี ยู เปนทางเลือกที่ ไดวิเคราะหและสงั เคราะหจากขอมลู ทัง้ 3 ดา น พรอมสมบรู ณแ ลว บางครง้ั ทางเลือกท่ีดีที่สุด อาจ เปน ทางเลือกท่ไี ดจากการพิจารณาองคประกอบทดี่ ีทส่ี ุดของแตล ะทางเลือก นํามาผสมผสานกนั กไ็ ด 5. ขนั้ นําผลการตัดสินใจไปสกู ารปฏิบตั ิ เมือ่ ไดตัดสินใจดวยเหตผุ ลและไตรตรองขอ มูลอยา งรอบคอบพอเพียงและครบถวน ท้งั 3 ประการแลว นบั วา ทางเลอื กทตี่ ดั สนิ ใจนน้ั เปน ทางเลือกท่ดี ีท่สี ุดแลว

38 6. ขั้นตดิ ตามประเมินผล เม่ือตัดสินใจดําเนินการตามทางเลือกท่ีดีที่สุดแลว พบวามีความพอใจก็จะมี ความสุข แตถ า นาํ ไปปฏิบตั แิ ลวยงั ไมพ อใจ ไมสบายใจ ยังขดั ของเปนทุกขอยู ก็ตองกลับไปศึกษา คนควาหาขอมูลเพิ่มเติมดานใดดานหน่ึง หรือท้ัง 3 ดาน ท่ียังขาดตกบกพรองอยู จนกวาจะมี ขอมูลทีเ่ พียงพอ ทาํ ใหก ารตัดสนิ ใจครัง้ นั้นเกิดความพอใจ และมีความสุขกบั การแกป ญ หานน้ั อยา งไรกต็ ามสงั คมในยคุ โลกาภวิ ัตนเปนสงั คมแหงการเปลี่ยนแปลงท่ีรวดเร็วและรุนแรง ปญหา ก็เปลยี่ นแปลงอยูตลอดเวลา ทกุ ขก ็เกดิ ขึน้ ดาํ รงอยู และดบั ไป หรือเปลี่ยนโฉมหนาไปตาม กาลสมัย กระบวนทัศนในการดับทุกขก็ตองพัฒนารูปแบบใหทันตอการเปล่ียนแปลงเหลาน้ันอยู ตลอดเวลาใหเ หมาะสมกบั สถานการณท ี่เปลีย่ นแปลงไปดวย กระบวนการดับทุกขหรือแกปญหาก็ จะหมนุ เวียนมาจนกวาจะพอใจอีก เปน เชนน้ีอยอู ยา งตอเน่ืองตลอดชีวิต เพ่ือใหมองเห็นภาพและ เกิดความเขาใจมากข้ึน จึงขอสรุปเปนแผนภูมิกระบวนการและขั้นตอนการแกปญหาแบบคนคิด เปน เพ่ือจะชว ยใหเห็นขนั้ ตอน ของกระบวนการแกป ญหาของคนคดิ เปน ดงั น้ี

39 ตวั อยา งกระบวนการและขน้ั ตอนการแกป ญ หาแบบคนคดิ เปน กรณีศึกษาเรอื่ ง การติดยาเสพติดของเยาวชน ปญ หา นายสมชาย เปน เยาวชนอาศัยอยูกับเพ่ือน ชานเมืองกรุงเทพฯ มีอาชีพเปนชางกอสราง รับจา งตอ เติมซอมแซมเลก็ ๆ นอ ย ๆ ในหมูบาน บางครั้งก็รับเปนคนงานรับจางรายวันของบริษัท รบั เหมาทาํ งานไม งานปนู ทวั่ ไป ไมมีงานประจํา เปนหลักแหลง รายไดไมแนนอน เคลื่อนยายไป ตามแหลงงานพรอ มกบั เพ่ือนคนงานอืน่ ๆ พน้ื เพเดิม พอ แมเ ปนเกษตรกรอยูตางจังหวัด ยากจนมี ลูกหลายคน นายสมชายจึงตองมาเปนคนงานกอสรางเพื่อหาเงินสงไปใหพอแม แตปรากฏวา ลาํ พงั การเลี้ยงตัวเองกไ็ มคอยจะพออยูแลว คาครองชีพในกรุงเทพฯ ก็สูง คาใชจายก็มากกวาอยู ตางจังหวัด ชีวิตก็โดดเด่ียว มีแตเพื่อน ๆ วัยเดียวกัน ไมมีผูใหญคอยดูแล สมชายเรียนจบแค ประถมศึกษาจากตางจังหวัดแลวไมไดเรียนตอ ไมไดรับการแนะนําหรือไดรับความรูเพ่ิมเติม หลังจากออกจากโรงเรียนแลว เพ่ือน ๆ รวมงานก็จะมีลักษณะเดียวกันแทบทุกคน ผูรับเหมาซ่ึง เปนคนจางงานก็ไมเคยสนใจความเปนอยูของคนงาน แตก็จายคาจางตามแรงงาน ไมเอาเปรียบ คนงาน เมือ่ งานมนี อ ยลง สมชายขาดงานบอยขึ้น คบเพ่ือนเท่ียวเตรมากข้ึน เริ่มด่ืมเหลา และติด ยาเสพติดตามเพ่ือน ๆ ในทส่ี ดุ ข้นั ที่ 1 ขน้ั ทาํ ความเขาใจกับทุกขแ ละปญ หา ประการแรก คดิ มีสติ เพอื่ พิจารณาปญ หาใหชดั เจน และสรางความมั่นใจวาจะแกปญหา ไดจากนน้ั จึงพิจารณาความลํ้าลึกและซับซอนของปญหาการติดยาของนายสมชาย เพื่อแยกแยะ ความหนักเบาของการติดยา และมองชองทางในการเขาถงึ ปญหา รวมทง้ั เขา ถึงความเชื่อมโยงของ สภาวะแวดลอมของการติดยาของสมชายวาเก่ยี วของกบั เรื่องอะไรบาง อยา งไรในเบื้องตน ข้นั ที่ 2 ข้นั หาสาเหตขุ องปญ หา ขั้นนี้ เปนการศึกษาสาเหตุของการติดยาของสมชาย ซึ่งจะตองศึกษาจากขอมูล ที่หลากหลาย ทั้งจากเร่ืองสวนตัวของสมชาย (ขอมูลดานตนเอง) ในเร่ืองประวัติครอบครัว ความเปน มา สถานะความเปน อยู เศรษฐกิจ สังคม การทํามาหากิน นิสัย ความประพฤติ การคบ เพื่อน ความอดทน ฯลฯ เพ่ือดวู าเรอ่ื งสวนตัวของสมชายเร่ืองใดจะเปนตัวนําไปสูปญหาการติดยา ของสมชายบา ง ตอ งศึกษาขอ มลู จากสภาวะแวดลอ ม (ขอมูลดา นสงั คมสง่ิ แวดลอม) ท่ีจะทําให สมชายประสบปญหาตดิ ยา เชน การคบเพื่อน การเสพสรุ า ลักษณะของการทํางานท่ตี องเรรอนไป ตลอดเวลา แหลงความรูหรือภูมิปญญาท่ีจะเปนประโยชนในการเรียนรู แหลงมั่วสุรา ท้ังการซ้ือ

40 การขาย การเสพยาในชุมชน ฯลฯ รวมทงั้ ขอ มลู ทเี่ กี่ยวกับความรู (ขอมูลดานวิชาการ) เรื่องยา เสพตดิ และอันตรายจากการเสพยา ความใสใจของชุมชนในเรื่องการรณรงคใหความรูเก่ียวกับภัย จากยาเสพตดิ การเขา ถึงเอกสารและสือ่ ประชาสมั พนั ธ และประสทิ ธภิ าพของสอ่ื ปอ งกันสิ่งเสพ ตดิ ของประชาชนในชมุ ชน ฯลฯ ขอ มูลเหลาน้ตี องนํามาวเิ คราะหอยางหลากหลาย เพื่อสังเคราะห หาสาเหตุของปญ หาตดิ ยาของสมชาย ขั้นท่ี 3 ขนั้ วิเคราะหเ สนอทางเลือกของปญ หา เปน ขน้ั ตอนทจ่ี ะตอ งนําเอาสาเหตตุ าง ๆ ทท่ี าํ ใหส มชายติดยาที่วิเคราะหไดจากขอมูลทั้ง 3 ดานมาสังเคราะห สรุปเปนทางเลือกในการแกไขปญหาหลาย ๆ ทางเลือกที่มีความเปนไปได เชนไปบวชเพื่อหนีใหพนจากสังคมติดยาเสพติดในชุมชน เลิกคบเพื่อนท่ีติดยาโดยส้ินเชิง เปลี่ยน อาชพี ไปทํางาน ท่เี ปน หลกั แหลง ไมเ รรอน ศึกษาหาความรกู ารประกอบอาชีพใหมที่หางไกลจาก ยาเสพตดิ ปรกึ ษาผูรูและหนวยงานท่ีชวยเหลือผูติดยาเพื่อเลิกเสพยาและฝกอาชีพใหม เพื่อใหมี รายได กลบั บานตา งจงั หวดั เพอื่ ไปบําบดั การติดยาและอยกู บั ครอบครวั ฯลฯ ข้ันท่ี 4 ขั้นการตดั สินใจ เปนข้ันตอนท่ีสมชายเองจะตองตดั สนิ ใจเลือกทางแกปญหาการติดยาของตนเอง ท่ีคิดวา ดีท่ีสดุ เหมาะสมกับตนเอง สามารถปฏิบัติไดดวยความพอใจ เชน เลิกเท่ียวเตรกับเพื่อนที่เสพยา แลวไปปรึกษากับผูรู ขอเขาโครงการบาํ บัดการติดยาของหนวยงานในชุมชน และเขารับการฟนฟู สุขภาพควบคกู ับการฝก อาชพี ท่มี ีรายไดเ สริมเพมิ่ ข้ึน เปน ตน ขั้นที่ 5 ขั้นนาํ ผลการตัดสินใจไปสกู ารปฏบิ ตั ิ ขั้นตอนนี้ สมชายจะตองเขารับการบําบัดการติดยา ซ่ึงมีขั้นตอนและวิธีการโดยเฉพาะ สมชายตอ งอดทนรับการบําบดั ใหครบถว นตามวิธีการ และตองมีความตั้งใจแนวแนท่ีจะเลิกติดยา สญั ญากบั ตนเองวา จะไมห วนกลับมาเสพยาอีก ตองเขารับการดูแลรักษาฟนฟูสุขภาพทั้งรางกาย และจิตใจ รวมท้ังเขาศึกษาอาชีพใหมจากศูนยฝกอาชีพ เพื่อจะไดมีชองทางในการทํามาหากิน หลงั จากบาํ บัดการติดยาแลว ขน้ั ท่ี 6 ขน้ั ติดตามประเมนิ ผล ข้ันนเ้ี ปน การประเมินตนเองของสมชายวาการตัดสินใจของตนเองทจี่ ะเลิกเสพยา และ ตงั้ ใจ จะเปนคนดี มอี าชีพท่ีจะเปนชองทางในการทํามาหากิน มีรายได ไมตองเปนทุกข แลวหัน ไปเสพยาอกี นนั้ ทําไดหรือไมในทางปฏิบัติ พอใจและสบายใจท่ีจะเขารับการบําบัดและฟนฟู สุขภาพหรือไม ต้ังใจฝกอาชีพเพียงใด ถาพอใจและสบายใจก็จัดวาแกปญหาได แตถาลงมือ

41 ปฏิบตั ิแลว ยงั ไมสบายใจ ยงั ทุรนทุรายยังไมสงบสขุ ก็ตอ งยอ นกลับไปดูขอมูลท้ัง 3 ดานอีกครั้งวา ยงั ไมไ ดศกึ ษาขอ มลู ดานใดอยา งพอเพียงหรือไม จากนั้นจึงศึกษาหาขอมูลน้ัน ๆ จากแหลงขอมูล เพ่ิมเติม แลวนํามาคิดวิเคราะห สังเคราะห หาทางเลือกใหมเพ่ือการตัดสินใจแกปญหาตอไป จนกวา จะพบทางเลอื กแกปญ หาไดอยางพอใจ เรื่องที่ 4 กระบวนการและเทคนคิ การเกบ็ ขอ มูล การวเิ คราะหและสงั เคราะหข อ มูล ท้งั 3 ประการของบคุ คล ครอบครัว และชุมชน เพอื่ ประกอบการคดิ การตดั สนิ ใจ ขอมูล คือ ขาวสาร รายละเอียดตา ง ๆ ท่เี กิดขน้ึ เปนขอเท็จจริงของสิ่งตาง ๆ เหตุการณ ตาง ๆ ท่เี กิดข้ึนในชีวิตประจําวัน เปนขอเท็จจริงที่เปนสัญลักษณ ตัวเลข จํานวน รูปภาพ เสียง วีดทิ ัศน คาํ อธิบาย เชน ตัวเลขแสดงจํานวนลูกคา จํานวนคนปวย คะแนนสอบ ภาพแผนดินไหว พายุหมนุ เปน ตน สารสนเทศ คือ ขอมูลท่ีผานกระบวนการประมวลผล วิเคราะหจนสามารถนําไปใชใน การตัดสนิ ใจตอ ไปไดทันที ขอ แตกตางระหวางขอ มลู และสารสนเทศ ตัวอยาง ขอมลู : ผเู รยี น กศน.อาํ เภอเวยี ง มีจํานวน 30,000 คน มคี รผู ูสอนจํานวน 30 คน สารสนเทศ : อัตราสวนครูผูสอนตอผูเรียน กศน.อําเภอเวียง เทากับ 30,000/30 = 1,000 ลกั ษณะของขอมลู ขอมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data) เปนขอมูลที่แสดงความแตกตางในเร่ือง ปริมาณหรอื ขนาด ในลักษณะของตวั เลขโดยตรง เชน อายุ สว นสูง นาํ้ หนัก ปรมิ าณตาง ๆ ขอมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) เปนขอมูลท่ีแสดงลักษณะที่แตกตางกัน เชน เพศชาย เพศหญงิ จะเปน ขอมลู ทไี่ มไ ดอ ยูในรปู ของตัวเลขโดยตรง ประเภทของขอมลู 1. ขอมูลปฐมภูมิ (Primary Data) เปนขอมูลท่ีไดมาจากการท่ีผูใชเปนผูเก็บขอมูล โดยตรง ซึ่งอาจจะเก็บดวยการสมั ภาษณหรือสังเกตการณ เปนขอมูลท่ีมีความนาเชื่อถือมากท่ีสุด เน่ืองจากยังไมมีการเปล่ียนรูป และมีรายละเอียดตามที่ผูใชตองการ แตจะตองเสียเวลาและ

42 คาใชจายมาก เชน ขอมูลท่ีไดจากการนับจํานวนรถที่เขา - ออก หางสรรพสินคา ในชวงเวลา 01.00-12.00 น . ขอมูลทไี่ ดจ ากการสมั ภาษณน ักศึกษาเกย่ี วกับการใชหอ งสมุด 2. ขอมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) เปนขอมูลท่ีไดมาจากแหลงขอมูล ท่ีมีผูเก็บ รวบรวมไวแลว เปนขอ มูลในอดตี และมักจะเปนขอมูลท่ีไดผานการวิเคราะหเบ้ืองตนมาแลว ผูใช นํามาใชไดเลย จึงประหยัด ท้ังเวลาและคาใชจาย บางคร้ังขอมูลทุติยภูมิจะไมตรงกับความ ตองการหรอื มีรายละเอยี ดไมเ พียงพอ นอกจากนนั้ ผใู ชจ ะไมท ราบถึงขอผดิ พลาดของขอ มูล ซ่ึงอาจจะทําใหผ ทู น่ี าํ มาใชสรปุ ผดิ พลาดไปดวย คณุ สมบตั ิทเ่ี หมาะสมของขอมูล 1. ความถูกตอง ความผิดพลาดของขอมูลมาจากคน หรือเคร่ืองจักร ตองออกแบบ โครงสรางวธิ ีการเก็บขอ มลู ใหผ ดิ พลาดนอยท่ีสดุ 2. ความรวดเร็วและเปนปจจุบัน การไดมาของขอมูลตองรวดเร็ว ใหทันตอเหตุการณ เพราะขอมูลเปลี่ยนแปลงอยางรวดเรว็ 3. ความสมบูรณ ตองสาํ รวจและสอบถามความตอ งการของผใู ชขอมลู 4. ความชัดเจนและกะทัดรดั ตองออกแบบโครงสรา งของขอ มลู ใหก ะทดั รดั ส่ือความหมายได 5. ความสอดคลอ ง ตองมีการสาํ รวจความตอ งการของกลมุ เปา หมาย การทําขอ มูลใหเปนสารสนเทศทเี่ ปนประโยชนต อ การใชงาน จาํ เปนตองใชเทคโนโลยีเขา มาชวย ตั้งแตการเก็บรวบรวมขอมูล การตรวจสอบขอมูล การประมวลผล และการดูแลรักษา สารสนเทศเพ่ือการใชง าน เทคนิคการรวบรวมขอมูล ไดแก การสังเกต การสัมภาษณ การตอบแบบสอบถาม การ ทดสอบ ทดลอง การสํารวจ และการศกึ ษาเอกสาร หรอื แหลง ขอมูลออนไลน ขอมลู อเิ ลก็ ทรอนิกส ตา ง ๆ การบันทึกขอมลู เปนการนําเอาขอมลู ที่เก็บรวบรวมมาเพ่อื วเิ คราะหแ ละสังเคราะห และ นําไปใชประกอบการตัดสนิ ใจ ซ่ึงการบนั ทึกขอมลู ท่มี ีประสิทธภิ าพ ประกอบดวย 1. อานขอความที่จะยอใหเขาใจ หาใจความสําคัญของแตละยอหนาและใจความรองที่ สาํ คญั ๆ 2. นําใจความสําคญั และใจความรอง มาเรียบเรียงดวยสาํ นวนของตนเอง 3. ถาขอความที่อานไมมีช่ือเรื่อง ตองต้ังชื่อเร่ืองเอง กรณีตัวเลขหรือจํานวนตองระบุ หนวยชดั เจน

43 การวเิ คราะหแ ละการสงั เคราะหขอ มลู เพือ่ นํามาใชป ระกอบการตัดสนิ ใจ 1. การวิเคราะหขอ มลู การวิเคราะหขอมูล เปนการแยกแยะขอมูล หรือสวนประกอบของขอมูลออกเปน สวนยอย ๆ ศึกษารายละเอียดของขอมูลในการคิดเปนท้ัง 3 ประการ วาแตละดานมีขอมูล อะไรบา ง เพ่ือใหรวู า ใคร ทําอะไร ทไี่ หน อยางไร วิเคราะหและตรวจสอบขอมูลรอบดาน ทั้งดาน บวกและดานลบ ดูความหลากหลายและพอเพียงเพื่อใหไดขอมูลที่แมนยํา เท่ียงตรง เช่ือถือได สมเหตุสมผล การวิเคราะหขอมูล มีประโยชนชวยใหเราสามารถเขาใจเร่ืองราวหรือเร่ืองตาง ๆ ท่ีแทจริง ไมเ ชอ่ื ตามคําบอกเลา หรือคํากลาวอางของใครงา ย ๆ 2. การสังเคราะหข อมลู การสงั เคราะหข อ มูล เปนการนาํ ขอ มลู ท่เี กีย่ วขอ ง ถูกตอง ใกลเ คียงกนั มารวบรวม จัดกลุม จัดระบบเปนกลุมใหญ นําขอมูลการคิดเปนท้ัง 3 ประการ ท่ีวิเคราะหแมนยํา เท่ียงตรง หลากหลายและพอเพียง ท้ังดานบวกและดานลบไว แลวมาจัดกลุมทางเลือกในการแกปญหา ใชในการประกอบการตัดสินใจเลือกทางเลือกท่ีเหมาะสม เปนท่ียอมรับและพอใจที่สุดนํามา แกป ญหาตอ ไป การวิเคราะหแ ละการสังเคราะหขอมูลทั้ง 3 ดาน เปนเร่ืองของทักษะที่จะตองมีการ ฝก ปฏิบัตเิ พ่ือใหเ กิดทักษะกระบวนการคดิ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook