Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปเนื้อหา ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001

สรุปเนื้อหา ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001

Published by กศน.ตำบลบางเพรียง, 2019-06-14 05:10:09

Description: 2.

Search

Read the Text Version



ข เอกสารสรุปเนอ้ื หาทตี่ อ งรู รายวิชา ทักษะการเรียนรู ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน รหสั วชิ า ทร21001 หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 สาํ นกั งานสง เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย สํานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร หา มจาํ หนา ย หนังสือเรียนนี้จัดพมิ พดวยเงนิ งบประมาณแผน ดินเพื่อการศกึ ษาตลอดชีวิตสาํ หรบั ประชาชน ลิขสทิ ธเิ์ ปนของสาํ นักงาน กศน. สาํ นักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ



ง สารบัญ หนา คํานาํ สารบญั คาํ แนะนําการใชเ อกสารสรุปเนอ้ื หาที่ตองรู บทที่ 1 การเรยี นรดู วยตนเอง 1 เรื่องที่ 1 ความหมาย และความสําคัญของการเรยี นรูด วยตนเอง 1 เรือ่ งที่ 2 การกาํ หนดเปา หมายและการวางแผนการเรียนรดู ว ยตนเอง 3 เร่ืองที่ 3 ทกั ษะพืน้ ฐานทางการศกึ ษาหาความรู ทักษะการแกป ญหาและเทคนคิ ในการเรียนรูดว ยตนเอง 5 เร่ืองที่ 4 ปจจยั ท่ีทาํ ใหก ารเรยี นรูดวยตนเองประสบความสาํ เร็จ 9 กจิ กรรมทายบทท่ี 1 11 บทที่ 2 การใชแหลง เรียนรู 13 เรอื่ งท่ี 1 ความหมาย ความสําคัญของการใชหอ งสมดุ ประชาชน 13 เรอ่ื งท่ี 2 การเขา ถึงสารสนเทศของหอ งสมุดประชาชน 14 เรอ่ื งท่ี 3 แหลง เรียนรู 15 เรื่องที่ 4 การใชอนิ เทอรเน็ต การเขา ถงึ ขอมูลสารสนเทศท่ีตองการและสนใจ 18 กิจกรรมทายบทท่ี 2 20 บทที่ 3 การจัดการความรู 21 เรอ่ื งท่ี 1 ความหมาย ความสาํ คัญ และหลกั การของการจัดการความรู 21 เร่ืองที่ 2 รปู แบบและกระบวนการจดั การความรู 24 เรื่องท่ี 3 การรวมกลุม เพ่ือตอยอดความรู 25 เรอ่ื งที่ 4 การฝกทักษะกระบวนการจดั การความรดู วยตนเอง และกระบวนการ จัดการความรดู ว ยการรวมกลมุ ปฏบิ ัตกิ าร 29 เรื่องที่ 5 การจัดการสารสนเทศเผยแพรองคความรู 32 กิจกรรมทา ยบทท่ี 3 34

จ สารบัญ (ตอ ) หนา บทที่ 4 การคิดเปน 36 เรื่องท่ี 1 ความเชื่อพนื้ ฐานทางการศกึ ษาผูใหญ/การศึกษานอกระบบ 36 เรื่องที่ 2 ปรัชญาการคิดเปน 39 เรอ่ื งที่ 3 ขอมลู ประกอบการตัดสนิ ใจในกระบวนการของการคิดเปน 44 เรอ่ื งท่ี 4 กระบวนการคิดการแกปญหาอยา งคนคิดเปน ตัวอยา งการนาํ ไปปฏิบัติ ในวถิ กี ารดําเนินชีวิตจรงิ 49 กิจกรรมทายบทท่ี 4 53 บทที่ 5 การวจิ ยั อยา งงาย 55 เรื่องที่ 1 ความหมายและประโยชนของการวิจยั อยา งงา ย 55 เรื่องท่ี 2 ข้ันตอนการทาํ วิจัยอยางงา ย 56 เรื่องที่ 3 สถติ ิเพอ่ื การวิจยั 58 เรื่องท่ี 4 เครือ่ งมือการวจิ ยั เพือ่ การเกบ็ รวบรวมขอ มลู 60 เรอ่ื งท่ี 5 การเขียนโครงการวจิ ัย 62 กจิ กรรมทา ยบทท่ี 5 63 บทท่ี 6 ทักษะการเรยี นรูและศักยภาพหลักของพน้ื ที่ในการพฒั นาอาชพี 67 เรอื่ งที่ 1 ความหมาย ความสาํ คญั ของศักยภาพหลักของพ้นื ทใ่ี นการพัฒนาอาชีพ 67 เรอ่ื งที่ 2 การวเิ คราะหศกั ยภาพหลกั ของพ้ืนทใ่ี นการพัฒนาอาชพี 68 เรือ่ งท่ี 3 ตวั อยางอาชพี ท่ีสอดคลองกับศักยภาพหลักของพ้ืนท่ี 70 กจิ กรรมทายบทที่ 6 78 บรรณานกุ รม 79 คณะผูจ ดั ทํา 80

ฉ คาํ แนะนําการใชเอกสารสรุปเน้อื หาท่ตี องรู เอกสารสรุปเน้ือหาที่ตองรูฉบับน้ี เปนการสรุปเนื้อหาจากหนังสือเรียน รายวิชาทักษะ การเรียนรู ทร 21001 ตามหลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2554) เพ่ือใหผูเรียน กศน. ทําความเขาใจและเรียนรูในสาระสําคัญของ เนอ้ื หารายวชิ าทกั ษะการเรยี นรู ในการศึกษาเอกสารสรปุ เน้ือหาท่ตี อ งเรยี นรูฉบับนี้ ผูเรยี นควรปฏิบัติ ดงั นี้ 1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาทักษะการเรียนรู ทร 21001 หลักสูตรการศึกษานอก ระบบระดับการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง 2554) ใหเ ขา ใจกอน 2. ศึกษารายละเอียดเนื้อหาในเอกสารสรุปเน้ือหาท่ีตองรู ใหเขาใจทีละบท หลังจาก นั้น ทํากิจกรรมทา ยบท ใหค รบทุกกิจกรรม จํานวน 6 บทเรยี น 3. หากตองการศึกษารายละเอียดเนื้อหารายวิชาทักษะการเรียนรูเพ่ิมเติม ผูเรียน กศน. สามารถศึกษาหาความรูเพ่ิมเติมจากตํารา หรือหนังสือเรียนที่มีอยูในหองสมุด กศน.ตําบล หรือจากครูผสู อน

1 เร่อื งที่ 1 ความหมาย และความสําคัญของการเรียนรูดวยตนเอง ความหมายของการเรียนรดู ว ยตนเอง การเรียนรดู วยตนเอง หมายถึง กระบวนการที่ผูเรียนมีความคิดริเร่ิมที่จะเรียนรู ศึกษา คน ควา ดวยตนเอง หรอื สอบถามขอความชว ยเหลอื จากผอู น่ื หรือไมก็ได ผูเรยี นสามารถเรียนรูดวย ตนเอง ตามความสนใจ ความตองการ และความถนัด โดยมีเปาหมาย คือ รูจักแสวงหาแหลง คนควาของการเรียนรู เลือกวิธีท่ีจะเรียนรู จนถึงการประเมินความกาวหนาของการเรียนรูดวย ตนเอง หรอื รว มมอื กับผอู นื่ ซ่งึ ผูเรยี นจะตองมคี วามรับผดิ ชอบและควบคมุ การเรียนของตนเอง ความสําคัญของการเรยี นรดู ว ยตนเอง เนื่องจากการเรยี นรูดวยตนเอง เปนแนวทางการเรียนรูท่ีสอดคลองกับการเปล่ียนแปลง ของสภาพปจ จบุ ัน ความเจริญกา วหนา ทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีใหม ๆ เกิดขึ้นทุกวัน การเรียนรูจากสถาบันการศึกษา ไมอาจทําใหศึกษาหาความรูไดครบถวน ดังน้ันการเรียนรูดวย ตนเองจงึ มคี วามสาํ คญั สามารถสนองความตองการของบคุ คลได ความสาํ คัญของการเรียนรดู วยตนเอง แบง เปน 2 สวน คือ 1. ความสําคญั ตอ ตัวผเู รียน 1) ทาํ ใหคนมีการพฒั นาทางปญญา จากคนทไ่ี มม คี วามรู มาเปนผูรู และทําเปน 2) ทาํ ใหค นสามารถปรับและประยุกตใ ชความรูไปสูส ถานการณใหม ทําใหประสบ ความสาํ เร็จในการปฏิบัติงาน 3) ทําใหคนสามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา อยา งมศี ักยภาพ เปน ผูแกป ญหาเปน และมคี วามสขุ

2 2. ความสาํ คัญตอ สงั คม สังคมปจจุบัน เปนสังคมที่มีการเปล่ียนแปลง มีขอมูลขาวสารและความรูใหม ๆ เกิดขน้ึ ตลอดเวลา ซึ่งสงผลตอ การดาํ เนินชวี ิตของคนในสังคม การแสวงหาความรู และนําความรูที่ ไดไปปรบั ใช ใหเ กิดประโยชน จะทําใหอยูรอดในสังคมได ถาคนเราสามารถเรียนรูไดดวยตนเอง กจ็ ะเกดิ สงั คมแหงการเรยี นรูต ลอดชวี ิต เปน สงั คมที่มกี ารพฒั นาใหเ จริญกา วหนาตอไป การเรียนรูด ว ยตนเอง สามารถจําแนกออกเปน 2 ลกั ษณะ ดังน้ี 1) ลักษณะท่ีเกิดจากองคประกอบภายในที่มีแรงจูงใจอยากเรียนรู ผูเรียนที่มี คณุ ลกั ษณะในการเรียนรูดวยตนเอง จะมีเปาหมายในการเรียนรูท่ีแนนอน มีความรับผิดชอบใน การเรียน รวมท้งั รบั ผดิ ชอบในการบรหิ ารจดั การตนเอง 2) ลักษณะทเ่ี กิดจากองคประกอบภายนอกที่เปนการจัดการเรียนรูใหผูเรียนได เรียนรูดวยตนเอง ประกอบดวย ข้ันตอนการวางแผนการเรียน การปฏิบัติตามแผน และการ ประเมินผล การเรยี น ซึ่งการจัดการเรียนรูแบบน้ี ผูเรียนจะไดประโยชนจากการเรียนมากท่ีสุด การใหผเู รียนบรรลเุ ปาหมายอาจจะเสนอใหใ ชสญั ญาการเรยี น เปน การมอบหมายภาระงานใหแก ผเู รียนวา จะตอ งทาํ อะไรบาง เพือ่ ใหไดร ับความรตู ามเปาประสงคและผเู รียนจะปฏิบตั ิตามเงื่อนไข นนั้

3 เรื่องท่ี 2 การกําหนดเปา หมายและการวางแผนการเรยี นรดู วยตนเอง การกาํ หนดเปา หมายหรือจดุ มุงหมายการเรยี นรู เปาหมายของชีวิต คือ การคิดถึงภาพของตัวเองในอนาคตในหลาย ๆ ดานไปพรอม ๆ กนั ท้งั เปาหมายท่จี บั ตอ งได และจับตองไมไ ด การกําหนดเปาหมายชีวิต ทําใหมีทิศทางในการคิด อยา งมจี ดุ มุงหมาย ไมเสยี เวลา มีแผนทจ่ี ะเดินทางไปสคู วามสําเรจ็ ทต่ี อ งการในอนาคต ความหมายของการกาํ หนดเปาหมายการเรียนรู การกําหนดเปาหมายการเรียนรู คือ การกําหนดจุดหมายปลายทางของผูเรียนวาตอง บรรลุถงึ จดุ หมายอะไรบา ง ภายหลังการเรยี นรดู วยตนเอง ซ่งึ สามารถกําหนดได ท้งั ดานทกั ษะทาง ปญญา เชน ความรู ความจํา ความเขาใจ การนําไปใช เปนตน ทางพฤติกรรม อารมณ และ ความรูสึก เชน เจตคติ คานิยม คุณธรรม จริยธรรม เปนตน และดานทักษะความสามารถ เชน การปฏบิ ตั ิ การแสดงออก เปนตน ประโยชนของการกาํ หนดเปา หมายการเรยี นรู เมอ่ื ผเู รยี นทราบจดุ หมายปลายทางการเรยี นรขู องตนเอง จะสามารถวางแผนการเรียนรู และกําหนดแผนการเรียนรใู หส อดคลองกบั เปา หมายทต่ี องการ ผูเรียนสามารถเลือกวิธีการเรียนรู ชองทางหรือแหลงเรียนรูแ ละสอ่ื ท่ีเหมาะสม ทําใหสามารถดําเนินกิจกรรมการเรียนรูของผูเรียน ไดอยางมีประสทิ ธิภาพ หลักการกาํ หนดเปาหมายการเรียนรู มีดงั นี้ 1. ระบุส่งิ ทเ่ี ราตองการใหเ กดิ ตอ งการใหเปนใหชดั เจน 2. ตองสามารถระบุ และวดั ผลลัพธไ ดอยางชัดเจน 3. ตองมคี วามมงุ มนั่ และลงมอื ปฏบิ ัติจรงิ 4. ตองสมเหตุสมผล และเปนสิ่งที่มีโอกาสเปน ไปได 5. มรี ะยะเวลาเปนกรอบกําหนดส่งิ ทตี่ อ งทาํ ใหส าํ เรจ็

4 การวางแผนการเรยี นรดู วยตนเอง การเรยี นรูดวยตนเอง เปน คุณลักษณะท่ีสําคัญ ชวยใหผูเรียนมีความตั้งใจ มีแรงจูงใจสูง มคี วามคดิ รเิ ร่มิ สรางสรรค สามารถทํางานรวมกับผูอ่ืนได นําประโยชนของการเรียนรูไปใชใหเกิด ประโยชนตอ การดาํ เนนิ ชีวติ ความหมายของการวางแผนการเรียนรู การวางแผนการเรียนรู คือ การท่ีผูเรียน กําหนดแนวทางการเรียนรูของตนเองข้ึนมา เพื่อใหบรรลุจุดมุงหมายที่กําหนดไว โดยตอง กําหนดเวลาเรียนรูของตนเอง กําหนดวากิจกรรมมีอะไรบาง และจะส้ินสุดเมื่อใด โดยมีการวาง แผนการเรยี นรู ดงั น้ี 1. เน้ือหาการเรยี นรู มีอะไรบาง 2. ผลการเรียนรทู ่คี าดหวงั ทีเ่ กดิ จากการเรียนรู 3. กจิ กรรมการเรียนรู เรียนรูดวยวิธกี ารใด 4. สอ่ื และแหลง เรยี นรอู ยทู ่ีไหนบา ง 5. การวัดประเมินผล มีวธิ ีวดั ประเมินผลการเรยี นรอู ยางไร ประโยชนข องการวางแผนการเรียนรดู วยตนเอง 1. ชว ยใหผ เู รียนสามารถระบุเปา หมาย หรือผลงานการเรียนรูไดอ ยางชดั เจน 2. ชวยในการกําหนดและระบกุ จิ กรรม หรอื งานท่ีผูเ รียนทาํ ไดอยา งชัดเจน 3. ชวยใหก ารเรยี นรเู ปน ไปอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพตามกรอบทกี่ ําหนดไว หลักการวางแผนการเรยี นรูดว ยตนเอง 1. การวางแผนการเรียนรู ควรเริ่มตนจากการกําหนดจุดมุงหมายในการเรียนรูดวย ตนเอง 2. ผเู รยี นเปนผกู าํ หนดการวางแผนการเรียนของตนเอง 3. ผูเ รยี นเปน ผจู ดั การเนอ้ื หาใหเ หมาะสมกบั สภาพความตองการและความสนใจของ ตนเอง 4. ผเู รยี นเปน ผรู ะบุวธิ ีการเรียนรูเ พ่อื ใหเ หมาะสมกบั ตนเองมากทีส่ ดุ 5. ผูเ รียนกําหนดและแสวงหาแหลงเรยี นรูดวยตนเอง

5 กระบวนการวางแผนการเรียนรดู วยตนเอง กระบวนการวางแผนการเรียนรูด วยตนเอง มกี ระบวนการสาํ คญั ที่ควรดําเนนิ การ ดงั นี้ 1. วิเคราะหและกําหนดความตองการในการเรียนรูของตนเอง ตามความตองการหรือ ความสนใจ 2. กําหนดจุดมุงหมายในการเรียนรู หรือสิ่งท่ีตองการใหเกิดกับตนเอง ภายหลังการ เรยี นรู 3. วางแผนการเรียนรู โดยผเู รียนกาํ หนดแนวทางการเรียนของตนเอง เรื่องเวลาเรียน เน้ือหา กิจกรรมการเรยี นรูในแตล ะชวง ต้งั แตเริ่มตนจนส้นิ สุด 4. เลอื กรูปแบบกิจกรรมการเรยี นรู แหลง เรยี นรู และส่อื การเรยี นรู 5. ในกรณีบางเรื่องไมสามารถเรียนรูไดดวยตนเองท้ังหมด ตองมีผูชวยเหลือ ซึ่งอาจ เปนครู เพื่อนท่ีพบกลุมรวมกัน ฯลฯ ผูเรียนจะตองกําหนดบทบาทของผูชวยเหลือการเรียนรูให ชดั เจน 6. กําหนดวิธีการตรวจสอบตนเอง วิธีการประเมินผลการเรียนของตนเองรวมกับครู เชน การทดสอบ การสงั เกต การสอบถาม เรือ่ งท่ี 3 ทักษะพ้ืนฐานทางการศึกษาหาความรู ทักษะการแกปญหาและเทคนิค ในการเรียนรดู วยตนเอง ทักษะพื้นฐานทางการศกึ ษาหาความรูดว ยตนเอง ทักษะพื้นฐานทางการศึกษาหาความรูดวยตนเอง เปนส่ิงสําคัญและจําเปนอยางมาก สาํ หรบั การดาํ รงชวี ิตในปจ จบุ นั เพราะสภาพสงั คมมกี ารเปลี่ยนแปลง การท่ีบุคคลจะเรียนรูดวย ตนเองไดน น้ั ตอ งมลี กั ษณะความพรอมเพ่อื เปน พืน้ ฐานทางการเรียนรดู วยตนเอง ดงั นี้ 1. การฟง เปนการรับรเู รอ่ื งราวตาง ๆ จากแหลงของเสียงหรือเหตุการณ ซ่ึงอาจจะ หมายถึง การฟงจากผูพูดโดยตรง หรือฟงผานอุปกรณ การบันทึกเสียง วีดิทัศน หรือส่ือวิทยุ โทรทัศน หรอื อนิ เทอรเ นต็ ผา นคอมพิวเตอร อวัยวะท่ีใชในการฟง คือ หู การฟงเปนกระบวนการ ทาํ งานของสมอง อกี หลายขั้นตอนตอ เนอื่ งจากการไดยิน เปนความสามารถท่ีจะไดรับรูสิ่งท่ีไดยิน ตคี วามหมาย และจบั ความส่งิ ท่รี บั รนู น้ั เขาใจและจดจาํ ไว ซงึ่ เปน ความสามารถทางสติปญ ญา

6 2. การพูด เปนการถา ยทอด หรอื สื่อความหมายของมนษุ ยโ ดยการใชเสียง ซ่ึงมีคําพูด น้ําเสียง และกรยิ าทา ทางเปน เครอ่ื งถา ยทอดความรู ความคิด และความรูสกึ จากผพู ูดไปสผู ูฟง 3. การอาน เปน การรับรคู วามหมายจากถอ ยคาํ การอา นตามหนังสือ หรือการสังเกต พจิ ารณาดู เพ่ือใหเขาใจจากขอความที่ปรากฏในหนังสือ จับประเด็นสาระสําคัญของการอานได และสามารถสรปุ เร่อื งทอี่ านได 4. การเขยี น เปน การถา ยทอดความรสู ึกนึกคิด และความตองการของบุคคล ออกมา เปนสัญลกั ษณ คือ ตวั อกั ษร เพอ่ื ส่อื ความหมายใหผูอื่นเขาใจ ทําใหมองเห็นความหมายของการ เขียนวามีความจําเปนอยางยิ่งตอการส่ือสารในชีวิตประจําวัน เชน ใหผูเรียนเขียนบันทึกความรู ทาํ แบบฝกหดั เปน ตน 5. การสงั เกตและการจาํ การสงั เกตเปนกระบวนการหน่ึงของการศึกษาคนหาความ จริงตามวิธีการทางวิทยาศาสตร ในแตละวันเราตองผานเหตุการณ ผานสิ่งตาง ๆ หลายอยาง ฉะน้ันจึงตองรูจักสังเกตและจดจําสิ่งท่ีพบเห็น การเรียนรูดวยตนเองก็จะเกิดขึ้นจากการสังเกต และการจาํ 6. การจดบันทกึ วิธีการจดบันทกึ น้นั เปนแบบอยา งทดี่ แี ละเปนประโยชนอยางย่ิง คือ จะตองทําการบันทึกอยางสมํ่าเสมอ เม่ือจดบันทึกแลวควรนํามาเรียบเรียง การจดบันทึกเปน วธิ ีการหน่งึ ของการเรียนดว ยตนเอง การประเมนิ ผลดวยแฟมสะสมงานที่ตองใชกับการเรียนรูดวย ตนเอง ก็ตอ งอาศยั การจดบนั ทึกเปน สาํ คัญ ทกั ษะการแกป ญ หา ทกั ษะการแกปญหา เปนความสามารถในการจัดการกับปญหาท่ีเกิดขึ้นในชีวิตไดอยางมี ระบบ ไมเกิดความเครียดทางกายและจิตใจ จนอาจลุกลามเปนปญหาใหญและแกไขยากยิ่งขึ้น เรือ่ ย ๆ ข้ันตอนการแกป ญ หา แบงเปน 7 ขนั้ ตอน ดงั น้ี 1. ทําความเขาใจสถานการณที่เปนปญหา โดยรวบรวมขอมูลที่เก่ียวของ และทํา ความเขา ใจกับเหตุการณ สถานการณน น้ั

7 2. กําหนดปญหาใหถูกตองและชัดเจน โดยอาจใชวิธีการเลาเร่ือง หรือการเขียน บรรยายสภาพปญ หาดวยถอ ยคาํ สัน้ ๆ และระบเุ ปา หมายทเ่ี ราอยากใหเกิดภายหลังจากท่ีไดแกไข ปญหานัน้ แลว 3. วเิ คราะหสาเหตุสาํ คัญ โดยอาจจะใชว ิธกี ารตาง ๆ ประกอบดวย การตรวจหาสาเหตุ การเลอื กสาเหตสุ าํ คญั ทีน่ ํามาสูป ญหาน้นั และการระบุสาเหตุท่ีแทจริงของปญ หา 4. หาวิธีการแกปญหาใหไดมากที่สุด จากนั้นจึงวิเคราะหความเปนไปได และลด จาํ นวนวิธกี ารแกไ ขปญ หา จนคาดวา จะเหลือวิธที ่เี กิดประสทิ ธผิ ลมากท่ีสุด 5. เลือกวิธีการแกไขปญหาท่ีดีท่ีสุด โดยการเปรียบเทียบทางเลือกของการแกไข ปญหาทัง้ หมด แลวประเมิน และเลือกทางเลือกท่ดี ีที่สดุ 6. การวางแผนการปฏิบัติ เปนการกําหนดไววาจะตองทําอะไรบาง แตละขั้นตอน มีกระบวนการแกป ญหานน้ั อยางไร 7. ติดตามประเมินผล เปนการตรวจสอบความคืบหนาของการแกปญหาอยาง สมํ่าเสมอเพื่อที่จะไดทราบวามีปญหาและอุปสรรคใดที่แกไขไปแลว หรือยังคงอยู และควรปรับ วธิ ีการแกป ญหาหรือไม อยา งไร เทคนคิ ในการเรียนรดู ว ยตนเอง เทคนิคที่นยิ มใชในการเรยี นรูดวยตนเอง เชน 1. การบันทึกการเรียนรู เปนการบันทึกขอมูล ความคิดเรื่องราวตาง ๆ ที่ไดเรียนรู เพื่อเปนแนวทางในการศึกษาเพ่ิมเติมใหกวางไกลออกไป หรือการนําไปประยุกตใชใน ชีวติ ประจําวนั 2. การทํารายงาน เปนการนําขอมูลความรูที่ไดจากการศึกษาคนควา มาวิเคราะห สงั เคราะหใ หถูกตอง และเรียบเรยี งอยา งมแี บบแผน ความยาวของรายงานข้ึนอยูกับขอบเขตของ หัวขอ รายงาน 3. ทาํ สัญญาการเรียนรู เปนการทําขอตกลงที่ผูเรียนไดทําไวกับครู วาเขาตองปฏิบัติ อยางไรบา ง ในการเรยี นรูของตนเอง เพ่อื ใหบรรลเุ ปาหมายการเรียนรูที่กําหนดไว และสําหรับครู สัญญาการเรยี นรูมีไวเ พ่ือติดตาม ตรวจสอบความกาวหนาการเรยี นของผเู รยี น

8 4. สรางหองสมุดของตนเอง เปนการรวบรวมรายช่ือ ขอมูลแหลงความรูตาง ๆ ท่ีคิด วา จะเปนประโยชน ตรงกับความสนใจ เพือ่ ใชในการศึกษาคน ควาตอ ไป 5. หาแหลง ความรูในชุมชน เพ่ือเปน แหลงคนควาหาความรูท ่ตี อ งการ แหลงความรูใน ชุมชน มีหลายประเภท อาจเปนผูรู ผูชํานาญในอาชีพตาง ๆ หองสมุดประชาชน หองสมุด โรงเรียน ศนู ยก ารเรียนชุมชน เปนตน 6. หาเพ่ือนรวมเรียนหรือคูหูเรียนรู ซึ่งควรเปนผูที่มีความสนใจท่ีจะเรียนรูในเรื่อง เดียวกันหรือคลายกัน และตองสามารถติดตอแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน ประสานงานกันดวย วิธกี ารตาง ๆ ไดอยางสะดวก รวดเรว็ 7. เรียนรูจากการฝกฝนและปฏิบัติจริง ซึ่งจะกอใหเกิดความรูและประสบการณ ทักษะ ความชํานาญท่ีเปนประโยชน โดยเฉพาะในรายวิชาหรือเร่ืองท่ีผูเรียนมีจุดมุงหมายให ตนเองทาํ ได ปฏบิ ัตไิ ด

9 เรือ่ งที่ 4 ปจ จัยที่ทําใหก ารเรียนรดู วยตนเองประสบความสาํ เร็จ ปจจยั ทเี่ ก่ยี วขอ งกบั การเรยี นรูดวยตนเอง ท่ีมสี วนทําใหการเรียนรดู วยตนเองประสบ ความสาํ เร็จ คอื ปจ จัยภายในตวั ผูเ รยี น และปจจยั ภายนอก ปจจัยภายในตวั ผูเรียน ปจจัยภายในตัวผูเรยี น ไดแ ก 1. แรงจูงใจในตวั ผเู รียน เปน การเรยี นรตู ามความสนใจ ความพอใจของตนเอง 2. การรับรูความสามารถของตนเอง ซึ่งจะมีผลตอความม่ันใจในตนเองวาสามารถ เรียนรูได 3. ความพรอมในการเรียนรูดวยตนเอง ซึ่งคนที่มีความพรอมในการเรียนรู จะมี คุณลักษณะ 8 ประการ คือ 1) เปน คนเปด โอกาส และแสวงหาโอกาสในการเรยี นรู 2) เปนคนท่ีมีทัศนคติที่ดีตอตนเอง มีความเชื่อมั่นวาตนเองเปนผูที่มีศักยภาพ มองวาตนเองแสวงหาได เรียนรไู ด และแกป ญ หาได 3) เปนคนท่ีมคี วามคิดริเร่มิ และเรยี นรูไดด ว ยตนเอง 4) เปนคนมีวินัยในตนเอง มีความรับผิดชอบตอตนเอง รับผิดชอบตอการ เรียนรขู องตนเอง 5) เปนคนที่มีความรักในการเรียน สนใจ ใฝรู ใฝเรียนตอส่ิงท่ีอยูรอบตัวเสมอ ใหค วามสนใจกับเร่อื งใหม ๆ เร่อื งทต่ี นเองยงั ไมร ูห รือรูนอ ย เปนตน 6) เปนคนทม่ี ีความคดิ เชิงบวก คิดริเริ่มสรางสรรค คือ คิดวาสิ่งท่ีตนเองทําเปน เรื่องทดี่ ี เปน สิ่งที่มีประโยชนตอ ตนเองและสงั คม 7) เปนคนท่ีสามารถใชทักษะการศึกษาหาความรูไดอยางดี เชน ทักษะการอาน ทักษะการเรียน ทักษะการจดบันทกึ เปน ตน 8) เปนคนทีส่ ามารถใชทักษะการแกปญหาไดอยางดี เชน เม่ือพบปญหา จะไม ทอใจ สามารถวิเคราะหปญหา สาเหตุของปญหา แสวงหาวิธีการ และดําเนินการแกปญหาได อยางเปนระบบ

10 4. มีเจตคตทิ ่ีดตี อ การเรียนรดู ว ยตนเอง คอื เหน็ วา การเรียนรูตลอดชวี ติ เปนสิ่งสําคัญ การเรียนรทู ําใหเ กิดการพัฒนาทางปญญา และนําไปสูก ารพฒั นางาน พัฒนาคณุ ภาพชีวิต ปจ จยั ภายนอก 1. บรรยากาศแวดลอมตัวผูเรียน จะตองเปนบรรยากาศท่ีเอ้ืออํานวยตอการสราง ความคิดริเริ่มสรา งสรรค และการเรยี นรู 1) ตัวบุคคล เชน ครูผูสอน เพื่อน ครอบครัว มีสวนชวยใหแรงจูงใจและ สนับสนนุ ดานตาง ๆ 2) ดานสงั คม สิ่งแวดลอ ม เชน กลมุ องคก รชุมชน นโยบายหรือโครงการพัฒนา ตา ง ๆ 2. การมแี หลงเรียนรทู ่ีหลากหลาย มีความพรอมและสะดวกสาํ หรับการเรยี นรู 3. การมเี ทคโนโลยีสารสนเทศที่ทนั สมัย และมีจาํ นวนเพยี งพอ สามารถเขา ถงึ ใชได สะดวกและรวดเร็ว อยา งไรก็ตามความสาํ เร็จของการเรยี นรดู วยตนเองนั้น อยูท่ีตัวผูเรียนท่ีตองมีวินัย ความ มงุ มนั่ และนิสยั ใฝรู ใฝเรียน

11 ใหผูเรยี นตอบคําถามตอไปน้ี 1. บอกความหมายและความสาํ คญั ของการเรยี นรูด วยตนเอง ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. อธิบายถึงความจําเปน ในการกาํ หนดเปาหมายการเรียนรูด ว ยตนเอง ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. อธบิ ายความสําคัญของการวางแผนการเรยี นรูดวยตนเอง ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. บอกลักษณะของการเรียนรูด วยตนเอง วามกี ล่ี กั ษณะ อะไรบา ง ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. อธิบายองคป ระกอบของเทคนิคการเรยี นรดู ว ยตนเองทสี่ งผลใหผูเรียนประสบ ความสาํ เร็จ ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… 6. บอกลกั ษณะความพรอมเพอื่ เปนพื้นฐานทางการเรียนรดู ว ยตนเองวามกี ี่ลกั ษณะ อะไรบาง ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………….………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………

12 7. ถา ผูเ รยี นอยากประกอบอาชีพเกษตรกรรมใหประสบผลสําเร็จ จะมีวิธีการเรียนรูดวย ตนเองอยา งไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………..……… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… 8. ถา ผูเรียนประสบปญหาในการประกอบอาชพี จะมีวธิ กี ารแกป ญหาอยา งไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………

13 เรอ่ื งท่ี 1 ความหมาย ความสาํ คัญของการใชห อ งสมดุ ประชาชน ความหมายของการใชหองสมุดประชาชน หอ งสมดุ ประชาชน เปนสถานที่รวบรวมหนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ นิตยสารและสื่อ โสตวัสดุทุกประเภท สําหรับการอานและศึกษาคนควาทุกชนิด เพื่อบริการแกนักศึกษาและ ประชาชนทัว่ ไป โดยไม จาํ กดั เพศ วยั ความรู เชือ้ ชาติ ศาสนา รวมทั้งการจัดกิจกรรมสงเสริมการ อาน มีบคุ ลากรทมี่ ีความรทู าง บรรณารักษศาสตรเปนผูใหบรกิ าร ความสาํ คญั ของการใชห องสมดุ ประชาชน หองสมุดประชาชนเปนแหลงเรียนรูสําคัญในชุมชน ที่ใกลชิดผูเรียนมากท่ีสุด แทบทุก อาํ เภอจะมหี องสมุดประชาชนใหบรกิ าร เชน หอ งสมดุ ประชาชนจังหวัด หองสมุดประชาชน\"เฉลิม ราชกุมารี\" และหองสมุดประชาชนอําเภอ เปนตน ซึ่งมีความสําคัญมากตอการเรียนรูของผูเรียน และประชาชนท่ัวไป ดงั นี้ 1. เปนแหลงรวมทรัพยากรสารสนเทศตาง ๆ ที่ผูใชบริการสามารถคนควาในทุก สาขาวิชาตามทีต่ องการ 2. เปนสถานทีท่ ่ีทกุ คนสามารถเลอื กอานหนังสือ และคน ควา หาความรตู า ง ๆ ไดอยาง อิสระ ตามความสนใจของแตล ะบุคคล 3. เปน ทรี่ วมความหลากหลายของหนังสอื ทาํ ใหผ ูใชบริการเกิดความเพลิดเพลินอยาง มสี าระ จัดเปนการปลูกฝงการสรา งนิสยั รักการอา นไดเปนอยา งดี 4. ผูท่ีใชบริการหองสมุดประชาชนอยูเ สมอ จะเปนผูท่ีมีองคความรูท่ีทันสมัยอยูเสมอ และเปน การใชเ วลาวา งใหเกดิ ประโยชน 5. การใชหองสมดุ ประชาชนอยางสมา่ํ เสมอ ทําใหเกดิ นิสัยการใชสาธารณสมบัติอยาง ระมดั ระวัง และบํารุงรกั ษาอยางถูกตอ ง

14 เรอื่ งท่ี 2 การเขา ถึงสารสนเทศของหอ งสมดุ ประชาชน หองสมดุ ประชาชนทุกประเภท จะจัดหมวดหมูระบบสารสนเทศ ตามระบบสากลที่ทั่ว โลกใช โดยมีวัตถุประสงคสําคัญ คือ เพื่อใหประชาชนเขาถึงส่ิงที่สนใจไดงาย สะดวก รวดเร็ว และสะดวกในการบริหารจัดการหอ งสมุด เพ่ือใหบ รกิ ารกลมุ เปา หมายไดอ ยา งกวางขวางและท่วั ถึง การใหบ รกิ ารภายในหอ งสมุดประชาชน 1. ใหบรกิ ารการอา น การศึกษาคนควา จากหนงั สือพิมพ วารสาร หนังสืออางอิง สารคดี ชดุ วิชา แบบเรยี น จุลสาร ซดี ขี อมลู ตาง ๆ วิทยุ โทรทัศน เว็บไซต เปนตน 2. ใหบริการสืบคนขอมูลขาวสารความรูดวยคอมพิวเตอร และหรือตูบัตรรายการ หองสมุดประชาชนจะจัดเคร่ืองคอมพิวเตอรไวบริการสืบคนหาขอมูลสารสนเทศที่ตองการและ สนใจ โดยใชโ ปรแกรมบรกิ ารงานหองสมดุ PLS (Public Library Service) ท่ีสามารถคนหาไดท้ัง จากชื่อหนงั สือหรือชอื่ สือ่ ชื่อผูแตงหรือผูจดั ทาํ และหวั เรื่อง หรือคําสําคัญท่ีเปนสาระหลักของส่ือ ไดอ ยา งรวดเร็ว เน่ืองจากขอมลู หนงั สอื หรอื ขอ มูลอืน่ ๆ ที่ไมใ ชหนงั สือมอี ยเู ปน จาํ นวนมาก ถาไม ใชโ ปรแกรม PLSชวยสบื คน จะทาํ ใหเสียเวลา การสบื คน ขอ มลู ดว ยระบบคอมพวิ เตอร การสืบคนขอมูลดวยโปรแกรม PLS ทําไดโดยเลือกรายการสืบคนจาก Short Cut โปรแกรมจะแสดงเมนูการสืบคน ดงั น้ี เมนทู ่ี 1 สบื คน หนงั สอื เมนูท่ี 2 สบื คน สมาชกิ เมนูที่ 3 สืบคน วสั ดทุ ีไ่ มใ ชหนังสือ เมนูที่ 4 เลกิ ทาํ ซึง่ เมอ่ื เขาไปในเมนูหลัก ๆ นีแ้ ลว แตละเมนูกย็ ังมเี มนูยอ ยใหสืบคน ไดสะดวก ชัดเจนยิง่ ขนึ้

15 เรอื่ งท่ี 3 แหลงเรยี นรู หอสมดุ แหงชาติ หอสมุดแหงชาติ ถือเปนหองสมุดท่ีใหญที่สุด เปนแหลงเรียนรูท่ีสําคัญที่สุดแหงหน่ึงใน ประเทศ เปน แหลงรวบรวมหนังสือ สิ่งพิมพ และสื่อความรูทุกอยางท่ีผลิตขึ้นในประเทศ และทุก อยางที่เก่ียวกับประเทศ ไมวาจะพิมพในประเทศใด ภาษาใด เปนการอนุรักษส่ือความรูที่เปน ทรัพยสินทางปญญาของชาติไมใหสูญไป และมีไวใชในอนาคต นอกจากรวบรวมส่ิงพิมพใน ประเทศแลว ยังมีหนาที่รวบรวมหนังสือ ที่มีคุณคา ซ่ึงพิมพในประเทศอื่นไวเพื่อการศึกษา คน ควา อางองิ ตลอดจนทาํ หนาที่เปน ศนู ยรวมบรรณานกุ รมแหงชาติ และเผยแพรใหทราบโดยท่ัว กัน หอสมุดแหงชาติจึงเปนแหลงใหบริการความรูแกคนท้ังประเทศ ชวยเหลือการคนควา วิจัย ตอบคําถาม ใหค าํ ปรกึ ษา และแนะนําเกีย่ วกับหนังสือ หอสมุดแหง ชาติ นอกจากที่ต้ังอยูท่ีทาวาสุกรี กรุงเทพฯแลว ยังมีหอสมุดแหงชาติสาขา อยใู นภูมภิ าคตาง ๆ อกี 17 แหง หอสมุดวทิ ยาลยั /มหาวทิ ยาลยั หอสมุดวิทยาลัย/มหาวิทยาลัย เปนแหลงเรียนรูหลักในสถาบันอุดมศึกษา มีบทบาท หนาท่ีสงเสริมการเรียนการสอน ตามหลักสูตรท่ีเปดในวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัยน้ัน ๆ เปน สาํ คัญ เพื่อสนับสนนุ ชว ยเหลือการคนควาวจิ ัย และสงเสริมพัฒนาการทางวิชาการของคณาจารย และนักศึกษา นอกจากน้ี ยงั มหี องสมุดมหาวทิ ยาลยั ตาง ๆ ทีป่ ระชาชนสามารถเขาไปใชบริการได โดยเสยี คา บริการตามอัตราที่หองสมดุ แหงนัน้ เรียกเกบ็ รวมทั้งปฏิบัติตามกฎ กติกา ขอบังคับของ หองสมดุ นัน้ ๆ หอ งสมดุ เฉพาะ หองสมุดเฉพาะ หมายถงึ หอ งสมุดทีร่ วบรวมเอกสาร หนังสอื หรือสื่อการเรียนรูในสาขาใด สาขาหน่ึงโดยเฉพาะ ซึ่งมีท้ังภาคราชการและเอกชน เร่ืองราวสวนใหญของส่ือท่ีมีไวบริการใน หองสมดุ เปนเรอ่ื งที่เก่ียวของกับการดําเนินงานของหนวยงานนั้น ๆ เนนเกี่ยวกับรายงานเพ่ือใช ในกลมุ นกั วชิ าการ หองสมุดเฉพาะในประเทศไทยมีหลายแหง สวนใหญจะเปนหนวยงานขนาด ใหญ เชน ปตท. การทา อากาศยาน และที่นาสนใจมาก ๆ คือ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

16 ซงึ่ เรยี กชือ่ วาหอ งสมุดมารวย (เพอื่ เปนเกียรติแด ดร.มารวย ผดงุ สิทธ์ิ กรรมการและผจู ดั การตลาด หลักทรัพยคนท่ี 5) เปนแหลงสารสนเทศดานตลาดการเงิน ตลาดทุน และสาขาวิชาที่เก่ียวของ เปนตน หอ งสมุดโรงเรียน หอ งสมุดโรงเรียน เปนหองสมุดท่ีจัดต้ังข้ึนในโรงเรียน หรือสถานท่ีจัดการศึกษาตํ่ากวา ระดบั อุดมศึกษา มีวตั ถปุ ระสงคส ําคัญ เพอ่ื เปน ศูนยกลางการเรียนของนักเรียนและการสอนของ ครูและเปนการปลูกฝงนิสัยรักการอานของนักเรียน บทบาทหนาที่ของหองสมุดโรงเรียนมี 3 ประการ ดังน้ี 1. เปน ศูนยก ลางของการศกึ ษา คน ควา ของการเรียน 2. เปน ศูนยกลางฝก วิจารณญาณในการอาน มีบรรณารักษทําหนาท่ีแนะนําการอาน 3. เปน ศูนยก ลางอปุ กรณการสอน สงเสริมการเรยี นของนักเรยี นและการสอนของครู พพิ ธิ ภณั ฑ พิพิธภัณฑเปนแหลงเรียนรูที่รวบรวม ศึกษา คนควา วิจัยและจัดแสดงหลักฐานวัตถุ สิ่งของท่ีสัมพันธกับมนุษยและสิ่งแวดลอม เปนบริการการศึกษาท่ีใหความรูและเพลิดเพลินแก ประชาชนท่ัวไป เนน การจดั กิจกรรมการศึกษา ท่ีเอื้อใหประชาชนสามารถเรียนรูดวยตนเองอยาง อสิ ระเปนสําคญั พิพิธภณั ฑมหี ลากหลายรปู แบบ แบง ออกเปน 6 ประเภท ดังน้ี 1. พิพิธภัณฑสถานประเภททั่วไป (Encyclopedia Museum) เปนสถาบันท่ีรวม วชิ าการทกุ สาขาเขาดว ยกนั โดยจัดแยกเปน แผนก ๆ 2. พิพิธภัณฑสถานศิลปะ (Museum of Art) เปนสถาบันที่จัดแสดงงานศิลปะ ทกุ แขนง เชน พพิ ธิ ภณั ฑส ถานศิลปะการแสดง หอศลิ ป พิพธิ ภัณฑศ ลิ ปะสมัยใหม เปน ตน 3. พิพิธภัณฑสถานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (Museum of Science and Technology) เปนสถาบันท่ีจัดแสดงวิวัฒนาการทางวิทยาศาสตรดานตาง ๆ เชน เครื่องจักรกล โทรคมนาคม ยานอวกาศ และวิวัฒนาการเกย่ี วกบั เครื่องมือการเกษตร เปนตน 4. พิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยา (Natural Science Museum) เปนสถาบันที่จัด แสดงเร่ืองราวของธรรมชาติเกี่ยวกับเรื่องของโลก ดิน หิน แร สัตว พืช รวมท้ังสวนสัตว สวนพฤกษชาติ วนอทุ ยาน และพิพธิ ภัณฑสัตวบ กและสตั วน าํ้ ดวย

17 5. พิพิธภัณฑสถานประวัติศาสตร (Historical Museum) เปนสถาบันท่ีจัดแสดง หลักฐานทางประวัติศาสตร แสดงถึงวิถีชีวิตความเปนอยู วัฒนธรรมและประเพณี พิพิธภัณฑ ประเภทนี้ อาจแยกเฉพาะเรื่องก็ได เชน พิพิธภัณฑที่รวบรวบและจัดแสดงหลักฐานทาง ประวตั ิศาสตร ทงั้ น้ี รวมถงึ โบราณสถาน อนุสาวรียแ ละสถานทท่ี างวัฒนธรรม 6. พิพิธภัณฑสถานชาติพันธุวิทยาและประเพณีพ้ืนเมือง (Museum of Ethnology) เปน สถาบนั ทแ่ี สดงถึงวฒั นธรรมและการจําแนกชาติพนั ธุ และอาจจัดเฉพาะเร่ืองราวของทองถ่ิน ใดทอ งถิน่ หน่งึ ซ่ึงเรยี กวาพพิ ธิ ภณั ฑส ถานพนื้ บา น และถาจดั แสดงกลางแจง โดยปลูกโรงเรือน จดั สภาพแวดลอมใหเ หมือนสภาพจริง ก็เรยี กวาพพิ ิธภัณฑส ถานกลางแจง (Open-air Museum) แหลงเรียนรสู ําคญั อน่ื ๆ ในประเทศ นอกจากแหลงเรียนรูดังกลาวมาแลว ยังมีแหลงเรียนรูที่ชวยสงเสริมใหประชาชนได เรียนรอู ยา งมากมาย เชน หองสมุดเคลอ่ื นที่ เปนการบรกิ ารหองสมุดแบบเคลื่อนที่ไปยังหมูบานตาง ๆ ในบาง พืน้ ที่ จะมีหอ งสมุดเรอื เคลอ่ื นท่ีไปตามลํานํา้ เพือ่ ใหบ รกิ ารประชาชนท่ีอยรู มิ ฝงนา้ํ ดวย ท่ีอานหนังสือประจําหมูบาน มีจุดมุงหมายเพื่อสงเสริมการอาน ปองกันการลืม หนังสอื ตลอดจนเปนแหลงเผยแพรข าวสารขอ มลู ในระดับหมูบา น ศนู ยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษา เรม่ิ จากทร่ี ฐั บาลไดจัดตัง้ ทองฟาจําลองที่กรุงเทพฯ ต้ังแต พ.ศ. 2507 ตอ มาไดข ยายบริการของศนู ยวิทยาศาสตรเพ่ือการศกึ ษาไปยงั ภูมภิ าครวมท้ังสิ้น 16 แหง เชน ศนู ยว ิทยาศาสตรเพ่อื การศกึ ษาเอกมัย อุทยานวิทยาศาสตรพระจอมเกลา ณ หวา กอประจวบครี ีขนั ธ ศูนยวิทยาศาสตรเ พอ่ื การศึกษานครราชสีมา ศนู ยวทิ ยาศาสตรเ พ่ือการศึกษาอยธุ ยา ฯลฯ ศาสนสถาน วัด โบสถ มัสยิด เปนศาสนสถานที่เปนรากฐานของวัฒนธรรมในดาน ตา ง ๆ เปน ศนู ยกลางท่สี ําคัญในการทาํ กิจกรรมทางศาสนาของชุมชน และเปนแหลงเรียนรูที่มีคา มากในทุก ๆ ดาน เชน การอบรมตามคําส่ังสอนของศาสนา การใหการศึกษาดานศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี พิธีกรรมตาง ๆ เชน วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เปนแหลงเรียนรู

18 ดานการนวดแผนโบราณ ตํารายาสมุนไพร วัดพระศรีรัตนศาสดาราม เปนแหลงเรียนรูดาน จติ รกรรมฝาผนงั เรือ่ งรามเกียรติ์ เปนตน เรอื่ งที่ 4 การใชอนิ เทอรเ นต็ การเขา ถึงขอ มูลสารสนเทศทต่ี อ งการและสนใจ อินเทอรเ นต็ (Internet) คอื อะไร อินเทอรเน็ต เปนระบบเครือขายเช่ือมโยงทั่วโลกเขาดวยกัน เหมือนใยแมงมุม หรือ world wide web (www.) จึงเปนแหลงขอมูลขนาดใหญที่มีขอมูลทุก ๆ ดาน ทั้งภาพ เสียง และภาพเคล่อื นไหว ใหผูสนใจเขาไปศึกษาคนควาไดสะดวก รวดเร็วและงาย มีคอมพิวเตอรเปน เครือ่ งมอื ผูท ใี่ ชเครือขายน้ีสามารถสื่อสารถึงกันไดหลาย ๆ ทาง เชน อีเมล (E-mail) เว็บบอรด (webboard) แชทรูม (Chat room) การสืบคนขอมูลและขาวสารตาง ๆ รวมทั้งคัดลอก แฟม ขอมูลและโปรแกรมมาใชง านได ความสําคัญของอนิ เทอรเ นต็ อนิ เทอรเ น็ตเปนแหลงรวบรวมขอมูลแหลงใหญที่สุดของโลก เปนทั้งชองทางการเรียนรู และเปนแหลงเรียนรูเองดวย เราสามารถใชชองทางนี้ทําอะไรไดมากมาย เหตุผลสําคัญที่ทําให อินเทอรเนต็ เปนแหลงเรียนรทู ไ่ี ดรบั ความนยิ มแพรห ลาย คือ 1. การสอื่ สารบนอินเทอรเน็ตไมจ ํากัดระบบปฏบิ ัติการของเครื่องคอมพิวเตอร 2. อนิ เทอรเน็ตไมมีขอ จํากัดในเร่ืองระยะทาง 3. อนิ เทอรเน็ตไมจ ํากดั รปู แบบของขอ มูล การสบื คน ขอ มลู ทางอนิ เทอรเ นต็ ในการสบื คนหาขอมลู ผานเครือขา ยอินเทอรเน็ต มีเครื่องมือที่ชวยในการสืบคนที่สะดวก เรียกวา โปรแกรมคนหา (Search Engine) ซึง่ โปรแกรมคนหานสี้ ามารถใชไดหลายภาษา เชน ไทย จีน อังกฤษ โปรแกรมคน หาทีน่ ยิ ม และสามารถใชภาษาไทยสบื คนได คือ เวบ็ ไซตก ูเกลิ (Google) ข้นั ตอนในการใชโ ปรแกรมคนหา 1. เปด เขาระบบอนิ เทอรเ น็ต โดยคลกิ ที่ Chrome หรือ Internet Explorer

19 2. พิมพชื่อเว็บไซต www.google.com ลงในชอง แอ็ดเดรส (Address) แลวกดปุม Go หรือกด เอ็นเทอร (Enter) รอจนหนาตางของเว็บไซตก เู กิล (Google) ขึน้ 3. มีบริการที่สามารถเขาถึงไดสะดวกในการคนหา 6 รายการ คือ รูปภาพ กลุมขาว บล็อก สารบัญ เวบ็ Gmail 4. พิมพค าํ สาํ คัญ หรือสิ่งทตี่ อ งการคน หาในชอ งคน หา แลวกดปุม คนหาโดย google 5. เมือ่ กดปุม คนหาโดย Google แลว กจ็ ะข้ึนรายละเอยี ดของเว็บไซตท ี่เก่ียวของกับ คาํ สาํ คญั หรอื ส่งิ ท่ีตองการคน หา 6. คลกิ ขอความทีข่ ีดเสนใตเพื่อศึกษารายละเอียด จะมีเช่ือมโยง (Link) ไปเว็บไซตที่ ตอ งการ

20 ใหผ เู รียนตอบคาํ ถามตอ ไปน้ี 1. อธิบายความแตกตา งของแหลงเรยี นรแู ตละประเภท อยางนอย 3 ขอ .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 2. อธบิ ายวธิ ีใชแ หลงเรยี นรูแตล ะประเภท .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 3. บอกแหลง เรียนรตู ามลําดับความสําคญั อยางนอ ย 3 ขอ .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................

21 เร่ืองที่ 1 ความหมาย ความสําคัญ และหลกั การของการจดั การความรู ความหมายของการจดั การความรู การจัดการ (Management) หมายถึง กระบวนการในการเขาถึงความรู และการ ถายทอดความรูท่ีตองดําเนินการรวมกันกับผูปฏิบัติงาน ซ่ึงอาจเร่ิมตนจากการบงช้ีความรูที่ ตองการใช การสรา งและแสวงหาความรู การประมวลเพื่อกลั่นกรองความรู การสรางชองทาง เพ่ือการสือ่ สารกบั ผูเกี่ยวของ การแลกเปลี่ยนความรู และสงผลใหเกิดการกระทํา การจัดการจึง เนน ไปท่กี ารปฏบิ ตั ิ ความรู (Knowledge) หมายถึง ส่ิงท่ีมนุษยสรางขึ้น หรือผลิตข้ึน ความเช่ือ ความจริง ความรูมอี ยู 2 ประเภท คอื ความรเู ดนชัด หรอื เรยี กอีกอยางหนึ่งวา “ความรูในกระดาษ” เปน ความรู ท่ีเปนเอกสาร ตํารา คูมือการปฏิบัติงาน สื่อตาง ๆ กฎเกณฑ กติกา ฯลฯ และความรู ซอ นเรน /ความรฝู งลึก หรอื เรียกอกี อยา งหนึง่ วา “ความรใู นคน” เปน ความรูทแี่ ฝงอยใู นตวั คน ฝง อยูในความคิด ความเชื่อ คานิยม ที่ไดมาจากการสั่งสมประสบการณมายาวนาน หรือเปน ความสามารถพิเศษเฉพาะตัวที่มีมาแตกําเนิด แลกเปลี่ยนความรูกันไดยาก ไมสามารถ แลกเปล่ยี นมาเปนความรูท่เี ปด เผยไดทั้งหมด ตอ งเกดิ จากการเรียนรรู ว มกัน การจัดการความรู (Knowledge Management) หมายถึง การรวบรวมองคความรู และประสบการณท ีม่ อี ยูในตวั คน หรอื ในเอกสาร ตํารา มาพฒั นาใหเปนระบบ และแบงปนใหเกิด ประโยชนตอ ตนเองและองคก ร ดวยการผสมผสานความสามารถของคนเขาดว ยกนั อยางเหมาะสม โดยมเี ปา หมายเพอ่ื พัฒนาคน พฒั นางาน และพัฒนาองคกร

22 ความสําคัญของการจดั การความรู หัวใจสําคัญของการจัดการความรู คือ การจัดการความรูท่ีอยูในตัวบุคคล โดยเฉพาะ บุคคลที่มีประสบการณในการปฏิบัติงานมากมาย จนงานประสบผลสําเร็จ ดังน้ันกระบวนการ แลกเปลี่ยนเรียนรู ระหวางคนกับคน หรือกลุมกับกลุม จะชวยใหองคความรูท่ีซอนหรือฝงอยู กลายมาเปนความรูท่ีชัดแจงได มีผูรับรูมากขึ้น จะกอใหเกิดการยกระดับความรูท่ีสงผลตอ เปา หมายของการทํางาน คือ งานมีประสิทธิภาพ คนเกิดการพัฒนา และจะสงผลใหองคกรไดรับ การพัฒนา กลายเปน องคก รแหง การเรียนรู ประโยชนท ่ีจะเกิดขน้ึ มี 3 ประการ คอื 1. ผลสัมฤทธิ์ของงาน หากมีการจัดการความรูที่ดีในตนเอง หรือในหนวยงานและ องคก ร จะเกิดผลดีอยางย่งิ เนอื่ งจากความรทู ่ใี ชในการพฒั นางานนั้น เปนความรูจากผูท่ีผานการ ปฏิบัติงานโดยตรง จึงสามารถนํามาพัฒนางานไดทันที ทําใหงานประสบผลสําเร็จ และเกิด นวตั กรรมใหมในการทํางาน ทั้งผลงานและวฒั นธรรมการทํางานรว มกัน 2. บุคลากร การจัดการความรูในตนเอง จะสงผลใหคนในองคกรเกิดการพัฒนา ตนเอง กระบวนการเรียนรจู ากการแลกเปลีย่ นความรูร ว มกนั จะทําใหบุคลากรเกิดความมั่นใจใน ตนเอง มั่นใจ ในการทํางาน และเกิดความเปนชุมชนในหมูเพื่อนรวมงาน สงผลใหองคกรเปน องคกรแหงการเรยี นรู 3. ยกระดับความรูของบุคลากรและองคกร การแลกเปลีย่ นเรยี นรจู ะทําใหบ ุคลากร มคี วามรูเพ่ิมขน้ึ เห็นแนวทางในการพัฒนางานที่ชัดเจนมากข้ึน และเม่ือนําความรูไปปฏิบัติงาน จรงิ จะทําใหบุคลากรและองคก รมอี งคค วามรูมากพอทีจ่ ะปฏิบัตงิ านใหเ กดิ ผลสาํ เรจ็ ไดดวยดี หลักการของการจดั การความรู การจัดการความรู เปนเร่ืองท่ีตองการเห็นการเปลี่ยนแปลงในการทํางาน และองคกร เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางท่ดี ี โดยใชว ิธีการจดั การความรูเปนเครื่องมือในการพัฒนางานหรือ สรา งนวตั กรรม ในงาน มหี ลักการสําคญั 4 ประการ คอื 1. ใหคนหลากหลายทักษะ หลากหลายวิธีคิด ทํางานรวมกันอยางสรางสรรค การจดั การความรูที่ดแี ละมพี ลัง ตองทาํ โดยคนที่มพี น้ื ฐาน ความเชอ่ื หรือวิธีคิดแตกตางกัน แตมี เปาหมายอยูทค่ี วามสาํ เร็จขององคก ร

23 2. การชว ยกนั คิดและพฒั นาวิธกี ารทํางานในรปู แบบใหม ทีมงานตองรวมกนั คิดหา เทคนคิ เพ่ือชว ยใหง านบรรลผุ ลทกี่ ําหนดไว ซึ่งประกอบดวยองคป ระกอบ 4 ประการ คอื 1) การตอบสนองความตอ งการ ซ่ึงอาจเปนความตองการท่ีเกิดจากการผนวก เอา ความตอ งการของผูนําหรือผูบริหารองคกร ความตองการของลูกคา ผูรับบริการ สังคม และ ความตองการของสมาชกิ ในทมี การจดั การความรู 2) เกิดนวัตกรรม ซ่ึงอาจเปนนวัตกรรมทางความคิด นวัตกรรมทางผลผลิต หรอื วิธกี ารทํางานใหม ๆ 3) ไดรูปแบบการทํางานใหม ตองเห็นถึงขีดความสามารถของบุคคลและ องคก ร 4) เกดิ ประสิทธิภาพในการทํางาน 3. การทดลองและการเรียนรู เมื่อคนพบแนวทางการทํางานซึ่งเปนกิจกรรมที่ สรางสรรค จึงตองทดลองทําเพยี งนอ ย ๆ เมือ่ ทดลองแลว คาํ ตอบคือ ไมใ ช ก็ยกเลิกความคิดน้ันได แลวรวมกนั คน หาใหม อาจชว ยกนั พฒั นาหรอื ปรับปรุงจากการทดลองกไ็ ด ถาไดผลดีจึงขยายการ ทดลอง โดยการปฏิบตั ิใหม ากข้ึน จนในทส่ี ุดไดวิธีการทํางานแบบใหม หรือที่เรยี กวา “การปฏิบัติที่ สงผลเปนเลิศ” (best practice) 4. การนําความรจู ากภายนอกมาประยุกตใชอยางเหมาะสม ความรูจ ากภายนอกถือ วาเปนความรูท่ีสามารถนํามาใชในการทํางานได แตอาจจะยังไมเขากันหรือเปนเนื้อเดียวกัน ตองนาํ มาประยกุ ตเปนความรูที่สรา งขึ้นใหม เพ่อื ใหเ ขา กบั สภาพความพรอ มขององคก ร

24 เร่อื งท่ี 2 รปู แบบและกระบวนการจดั การความรู รูปแบบการจดั การความรู การจัดการความรู มี 2 รปู แบบ คือ รปู แบบปลาทู และรปู แบบปลาตะเพียน 1. รูปแบบปลาทู (โมเดลปลาทู) ประกอบดวย การจัดการความรู 3 สวน คือ สวนหวั เปน การกาํ หนดเปา หมายท่ีชัดเจน สวนตัว เปนการแลกเปลี่ยนเรียนรู และสวนหาง เปนความรทู ่ีไดจากการเรยี นรู 2. รปู แบบปลาตะเพียน (โมเดลปลาตะเพียน) เปนการจัดการความรูของกลุมหรือ องคกร ปลาตัวใหญ เสมือนวิสัยทัศน พันธกิจขององคกร ปลาตัวเล็กท้ังหลาย เสมือน เปา หมายของการจัดการความรู ทมี่ ุงตอบสนองเปา หมายใหญขององคกร ซง่ึ มีทศิ ทางเดยี วกัน กระบวนการจดั การความรู กระบวนการจัดการความรู คือ กระบวนการท่ีชวยใหเกิดพัฒนาการของความรู มี 7 ข้นั ตอน คอื 1. การบงชี้ความรู เปนการพิจารณาวา เปาหมายของเราคืออะไร และถาจะให องคกรบรรลเุ ปาหมาย จาํ เปนตองใชอะไร ขณะนีอ้ งคก รมคี วามรอู ะไรบาง อยูในรูปแบบใด และ อยูท ใ่ี คร 2. การสรางและแสวงหาความรู ไดแก สรางความรูใหม และแสวงหาความรูจาก ภายนอกองคก ร เก็บรกั ษาความรเู ดมิ รวมทงั้ การกําจดั ความรเู กา ทไี่ มใชแ ลว 3. การจัดการความรูใหเปนระบบ เปนการจัดทําสารบัญและเก็บรวบรวมความรู ประเภทตา ง ๆ ใหเ ปน ระเบียบ เพอื่ คนหางายเม่ือตอ งการนาํ ความรูม าใช 4. การประมวลและกล่ันกรองความรู เปนการประมวลความรูใหอยูในรูปของ เอกสาร หรอื รูปแบบอน่ื ๆ ใหมมี าตรฐาน หรือปรบั ปรุงเนอื้ หาใหส มบูรณ 5. การเขา ถึงความรู เปนการเผยแพรความรูเพ่ือใหผูอื่นไดใชประโยชน และเขาถึง ความรไู ดงา ยและสะดวก เชน ใชระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เวบ็ บอรด หรือบอรด ประชาสมั พนั ธ 6. การแบงปนแลกเปลี่ยนเรียนรู ทําไดหลายวิธี ถาเปนความรูเดนชัด อาจจัดทํา เปน เอกสารเผยแพร ฐานเรยี นรทู ใ่ี ชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศ แตถาเปนความรทู ี่ฝงอยใู นตวั คน

25 อาจจัดทําเปนระบบแลกเปลี่ยนเรียนรูเปนทีม ขามสายงาน พี่เลี้ยงสอนงาน การสับเปลี่ยนงาน การยมื ตวั บคุ คล หรือเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู เปน ตน 7. การเรียนรู การเรียนรูของบุคคลจะทําใหเกิดความรูใหม ๆ ข้ึนมากมาย ซ่ึงเปน การเพิ่มองคความรขู ององคก รทมี่ อี ยูแลว ใหม ากขึ้นเรื่อย ๆ ความรูเหลาน้ีจะถูกนําไปสรางความรู ใหม เปนวงจรไมม ีที่ส้ินสดุ เรียกวาเปน “วงจรแหง การเรียนร”ู เร่ืองท่ี 3 การรวมกลุมเพอื่ ตอ ยอดความรู การตอยอดความรู หมายถึง การทดลองเรยี นรูสิ่งใหมที่เริ่มจากสิ่งเดิม หรืออาจเรียกวา “การตอยอดของเกา” การเรยี นรูจากแหลงเรยี นรตู า ง ๆ ท้ังท่ีเปนสถาบันการศึกษา หรือจากการ ทํางาน เราสามารถนําความรูท่ีมีอยูมาดัดแปลงใชได เปนการประหยัดเวลา ทําใหมีเวลาไป แสวงหาความรหู รอื ประสบการณใหมากขึน้ บคุ คลท่ีเกย่ี วขอ งกบั การจัดการความรู ในการจัดการความรูดวยวิธีการรวมกลุมปฏิบัติการเพื่อตอยอดความรู จะตองมีบุคคล ทส่ี งเสริมใหเกดิ การแลกเปลย่ี นเรยี นรู รวมทงั้ ผูท่ที าํ หนาทกี่ ระตนุ ใหคนอยากจะแลกเปลี่ยนเรียนรู ซ่งึ กันและกนั บคุ คลที่สาํ คญั และเกีย่ วของ มดี งั น้ี “คุณเอื้อ” หรอื “คุณเออื้ ระบบ” เปนผูนําระดับสูงสดุ ขององคกร มหี นาท่สี าํ คัญ คือ 1. ทําใหก ารจัดการความรเู ปนสว นหนึ่งของการปฏบิ ตั งิ านตามปกตขิ ององคก ร 2. เปดโอกาสใหท ุกคนในองคก ร เปนผนู ําการพัฒนาวิธกี ารทาํ งานทตี่ นรับผิดชอบ 3. หากุศโลบาย ทําใหความสําเร็จของการใชเครื่องมือการจัดการความรูมีการ นําไปใชม ากขึน้ “คณุ อาํ นวย” หรอื ผูอ ํานวยความสะดวกในการจัดการความรู เปนผูกระตุนสงเสริม ใหเกิดการแลกเปล่ียนเรียนรู และอํานวยความสะดวกในการแลกเปล่ียนเรียนรู ท้ังการนําคนมา แลกเปลี่ยนประสบการณการทํางานรวมกัน ชวยใหคนเหลานั้นสื่อสารกันจนเกิดความเขาใจ เห็นความสามารถของกันและกัน คุณอํานวยตองมีทักษะที่สําคัญ คือ ทักษะการสื่อสารกับคนท่ี แตกตางหลากหลาย และรูจกั ประสานความแตกตา งเหลาน้ัน ใหมีคุณคาในทางปฏิบัติ ผลักดันให เกดิ การพฒั นา และตดิ ตามประเมินผลการดําเนินงาน

26 “คุณกจิ ” คือ เจา หนา ท่ี ผูปฏิบัติงาน หรือคนทํางานท่ีรับผิดชอบงานตามหนาท่ีของ ตน ในองคกร ถือเปนผูจัดการความรูตัวจริง เปนผูรวมกันกําหนดเปาหมายการใชการจัดการ ความรขู องกลมุ ตน เปนผคู น หาและแลกเปล่ยี นเรยี นรูภายในกลมุ ดําเนินการแสวงหาความรูจาก ภายนอกเพื่อนํามาประยุกตใชใหบรรลุเปาหมายท่ีกําหนดไว และเปนผูดําเนินการจดบันทึกและ จดั เก็บความรใู หหมนุ เวยี นตอยอดความรูต อไป “คุณลิขิต” คือ คนที่ทําหนาที่จดบันทึกกิจกรรมจัดการความรูตาง ๆ เพ่ือจัดทําเปน คลังความรูขององคก ร เครือ่ งมอื ท่เี ก่ียวขอ งกบั การจัดการความรู เครื่องมือท่ีเก่ียวของกับการจัดการความรู เพ่ือการแลกเปล่ียนเรียนรู มีหลากหลาย รปู แบบ ดังนี้ 1. การประชมุ (การสมั มนา ปฏิบัติการ) ท้งั ท่เี ปน ทางการและไมเ ปน ทางการ 2. การศึกษาดูงาน การซักถาม หรอื จดั ทําเวทแี สดงความคิดเห็นระหวางการศึกษาดู งาน ถือเปน การแลกเปลี่ยนเรยี นรรู ว มกนั 3. การเลาเร่ือง (Story Telling) เปนการรวมกลุมกันของผูปฏิบัติงานท่ีมีลักษณะ คลายกัน แลวมาแลกเปลี่ยนเรียนรูโดยการเลาเร่ืองสูกันฟง เม่ือแตละคนเลาจบ จะมีการสกัด ความรูที่เปนเทคนิค หรือวิธีการท่ีใหงานประสบผลสําเร็จออกมา ท่ีเรียกวา “การปฏิบัติที่สงผล เปน เลศิ ” (best practice) 4. ชุมชนนักปฏิบัติ (Community of Practice : CoPs) เปนการรวมตัวกันของผูท่ี สนใจ ในเรอ่ื งเดียวกนั เพ่ือแลกเปลยี่ นเรียนรู ทง้ั เปนทางการและไมเปนทางการ อาจรวมตัวกัน ในลักษณะของการประชุม สัมมนา หรือรวมตวั กนั ในรปู แบบการต้งั เปน ชมรม หรอื ใชเ ทคโนโลยีใน การแลกเปล่ยี นเรยี นรูในลักษณะของเวบ็ บล็อก ซงึ่ สามารถแลกเปลีย่ นเรยี นรไู ดท กุ ท่ี ทกุ เวลา และ ประหยัดคา ใชจา ย 5. การสอนงาน หมายถงึ การถายทอดความรหู รือบอกวธิ กี ารทาํ งาน 6. เพอื่ นชวยเพอ่ื น (Peer Assist) หมายถงึ การเชิญคนอ่นื มาแบงปนประสบการณด ี ๆ โดยการแนะนาํ มาสอน หรอื มาเลาใหฟง

27 7. การทบทวนกอนการปฏิบัติงาน (Before Action Review : BAR) เปนการ ทบทวนกอนการปฏิบัติงาน เพ่ือดูความพรอมกอนการเริ่มงาน หรืออบรม เปนการปองกันความ ผิดพลาดที่จะเกิดข้นึ กอนการทาํ งาน 8. การทบทวนขณะปฏิบัติงาน (During Action Review : DAR) เปนการทบทวน ระหวา งท่ีทํางาน หรอื จดั อบรม โดยการสงั เกต และนาํ ผลจากการสังเกตมาปรึกษาหารือและแกไข ปญหาขณะทาํ งานรวมกนั ทาํ ใหล ดปญหา หรืออุปสรรคระหวา งการทํางานได 9. การทบทวนหลงั การปฏิบตั ิงาน (After Action Review : AAR) เปนการติดตาม ผล หรือทบทวนการทาํ งานของคณะทาํ งาน หลังเลกิ กิจกรรมแลว ผา นการเขียนและพูด ดวยการ ตอบคําถามงายๆ วา ไดผลตามท่ีคาดหวังหรือไม ไดเพราะอะไร ไมไดเพราะอะไร และจะทํา อยางไรตอไป 10. การจดั ทําดัชนีผรู ู คอื การรวบรวมผูเช่ียวชาญท่ีเกงเฉพาะเรื่อง หรือภูมิปญญา มาจัดเก็บไวอยางเปนระบบ ท้งั รปู แบบทเ่ี ปน เอกสาร หรอื สอ่ื อิเล็กทรอนิกส ชมุ ชนนกั ปฏบิ ัตหิ รอื ชุมชนแหงการเรยี นรู (CoPs) ในชุมชนมีปญหาซบั ซอน ทีค่ นในชมุ ชนตอ งรวมกันแกไ ข การจดั การความรูจ งึ เปนเร่ืองที่ ทุกคนตองใหความรวมมือ และใหขอเสนอแนะเชิงสรางสรรค การรวมกลุมเพื่อแกปญหาหรือ รวมมือกันพัฒนาโดยแลกเปล่ียนเรียนรูรวมกัน เรียกวา “ชุมชนนักปฏิบัติ” หรืออาจจะเรียกวา “ชุมชนแหงการเรยี นรู” หรอื “ชมุ ชนปฏิบตั กิ าร” การรวมกลุมปฏิบัติการจะดําเนินไปดวยดี บรรลุเปาหมายที่ตั้งไว จะตองมีเวลาท่ีจะมา แลกเปล่ียนเรียนรู มีเวทีหรือพื้นที่ ที่ใชในการสนทนาแลกเปล่ียนความคิดกัน และจะตองมีใจ ท่เี ปดกวาง รับฟงความคดิ เห็นของผูอนื่ พรอ มรับสิ่งใหม ๆ มคี วามเออ้ื อาทร พรอมทจ่ี ะชวยเหลือ เก้ือกลู กันและกัน รปู แบบของเวทีชมุ ชนนกั ปฏบิ ตั ิ การแลกเปล่ยี นเรยี นรูของชุมชนนักปฏิบัติ มีหลากหลายรูปแบบ เชน การประชุม การ สัมมนา การจัดเวทีประชาคม การจัดมุมกาแฟ มุมอานหนังสือ ปจจุบันมีการใชเทคโนโลยีเพื่อ สื่อสาร ทําใหเกิดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกันผานทางอินเทอรเน็ต ดังน้ันรูปแบบของการ แลกเปล่ยี นเรยี นรู จงึ มี 2 รปู แบบ คอื

28 1. เวทจี รงิ เปน การรวมตวั เพือ่ แลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน ดวยการเห็นหนากัน มีท้ัง แบบเปนทางการและไมเ ปน ทางการ 2. เวทีเสมือน เปนการรวมตัวกันเช่ือมเปนเครือขายเพื่อแลกเปล่ียนเรียนรูรวมกัน ผานทางอินเทอรเน็ต เปนการแลกเปล่ียนเรียนรูกันแบบไมเปนทางการ จะเห็นหนาหรือไมเห็น หนากไ็ ด การแลกเปล่ียนเรยี นรจู ะใชว ธิ ีการบนั ทกึ ผา นเว็บบลอ็ ก การพฒั นาขอบขา ยความรูของกลุม การจัดตั้งกลุมอาชีพ มีเปาหมายเพ่ือสรางงานอาชีพแกคนในชุมชน เพิ่มรายได ลดรายจา ย ลดปญหาการวางงาน และสรางความสามัคคีในชุมชน แตกลมุ อาชีพทดี่ าํ เนนิ การอยู ในปจจุบันมหี ลายปจจัยที่สงผลใหก ลมุ เขม แขง็ ยัง่ ยนื บางกลมุ ไมสามารถดําเนินการตอไปได กลุม ท่ีดําเนินการอยูได เนื่องจากมีการจัดการความรูในกลุมไดเปนอยางดี ความรูที่เกี่ยวของในการ พัฒนากลมุ มีดงั น้ี 1. การบริหารจัดการกลุม หากกลุมบริหารจัดการไมโปรงใส จัดทําบัญชีไมเปน ปจจุบัน ไมม ีระบบการตรวจสอบที่ดี จะทาํ ใหกลุมขาดความไววางใจกัน เกิดความขัดแยงกันเอง สงผลใหสมาชิกไมใหค วามรวมมือทํากิจกรรม และกลุมไมส ามารถพฒั นาตอ ไปได 2. การพัฒนาผลิตภณั ฑ หากกลมุ ไมพ ัฒนาผลติ ภัณฑ ทาํ ใหสินคา ไมไดรบั ความนยิ ม และจําหนายไมได เพราะฉะนั้นกลุมจะตองศึกษาหาความรูในการพัฒนาผลิตภัณฑใหมีความ ทันสมยั และตรงกับความตอ งการของลกู คา หรอื ผูใชบ ริการอยูเสมอ 3. การตลาด กลมุ จะตองมีความรเู ร่ืองการจําหนาย การต้ังราคา การทําความเขาใจ เร่อื งการตลาด จะทําใหกลมุ มชี องทางในการจาํ หนายและขยายตลาดไดมากขึน้ 4. การรกั ษามาตรฐานของสนิ คา สนิ คาที่ผลิตข้ึนในชุมชนจะมีมาตรฐานของชุมชน เปน เครือ่ งกาํ กับ บอกถึงคณุ ภาพของสนิ คา ดงั นั้นกลมุ ตอ งผลิตสินคาใหไดมาตรฐาน จึงจะไดรับ การยอมรับ และขยายตลาดได

29 เร่อื งที่ 4 การฝก ทักษะกระบวนการจดั การความรดู วยตนเอง และกระบวนการ จดั การความรูดว ยการรวมกลมุ ปฏบิ ตั ิการ การจดั การความรูดวยตนเอง จะทําใหรูหลักการอันแทจริงในการพัฒนาตนเอง และมี แรงจงู ใจใหก าวไปสกู ารพัฒนาคุณภาพชีวิตและคุณภาพในการทํางาน โดยการนําองคความรูท่ี เปนประโยชน ไปประยุกตใชในชีวิตจริงและการทํางาน สามารถปรับตัวใหทันตอโลกยุคโลกา ภวิ ัตน มีทศั นคตทิ ่ดี ตี อชวี ติ ตนเองและผูอื่น นําไปสูการเห็นคุณคาของการอยูรวมกันแบบพ่ึงพา อาศัยกนั เรียนรูซ ่ึงกนั และกัน กอ ใหเ กดิ เปนชมุ ชนแหง การเรียนรู วิธีการเรียนรูที่เหมาะสม เพื่อใหเกิดการจัดการความรูดวยตนเอง คือ ใหเร่ิม กระบวนการเรียนรตู ้งั แตการเริ่มคดิ คิดแลว ลงมอื ปฏิบตั ิ ซ่งึ จะเกิดความรูจ ากการปฏิบัติ ทั้งสวนที่ เปนความรูฝงลึกและความรูท่ีเปดเผย มีการจดบันทึกความรูลงในสมุดบันทึก หรือบันทึกไวใน รูปแบบตาง ๆ สดุ ทายใหม ีการพฒั นาปรับปรงุ สง่ิ ทีก่ ําลังเรียนรอู ยตู ลอดเวลา ทกั ษะการเรียนรเู พ่อื จัดการความรดู วยตนเอง การพฒั นาตนเองใหม คี วามสามารถและ ทักษะในการจัดการความรู เปน สงิ่ ทีต่ อ งทาํ อยางสมาํ่ เสมอ ดังนี้ 1. ฝก สงั เกต ใชสายตาและหเู ปน เครือ่ งมอื การสงั เกตจะชวยใหเขา ใจในเหตกุ ารณน้ัน 2. ฝก การนาํ เสนอ การนาํ เสนอเพื่อใหค นอื่นรับรู จะทาํ ใหเ กิดการแลกเปล่ียนความรู กันอยางกวางขวาง 3. ฝกต้ังคําถาม จะตั้งคําถามใหตนเองตอบ หรือใหคนอ่ืนตอบก็ได ทําใหไดขยาย ขอบความคิด ความรู รลู ึก และรกู วาง 4. ฝก การแสวงหาคาํ ตอบ ตอ งรวู า คําตอบหรือความรูที่ตองการนั้น มีแหลงขอมูล ใหค น ควา ไดจากทไ่ี หนบา ง เชน หอ งสมุด อินเทอรเ นต็ หรือในตวั บคุ คลทต่ี อ งไปสัมภาษณ เปน ตน 5. ฝกบูรณาการเชอื่ มโยงความรู ความรูส ัมพันธเชอื่ มโยงกันไปหมด จึงจําเปนตอง รูความเปนองครวมของเร่ืองน้ัน ๆ ยกตัวอยาง ปุยหมัก ไมเพียงแตมีความรูเร่ืองวิธีทําเทาน้ัน แตเช่ือมโยงการบรรจุภณั ฑ วา จะบรรจกุ ระสอบแบบไหน โยงไปถงึ การกาํ หนดราคาไวเ พื่อขาย 6. ฝกบันทึก จะบันทึกแบบจดลงสมุด หรือเปนภาพ หรือใชเคร่ืองมือบันทึกใด ๆ กไ็ ด ตอ งบนั ทึกไวใหปรากฏรองรอย เพอื่ ใหผอู ืน่ สามารถเขาถึงและเรียนรไู ดดวย 7. ฝกการเขยี น เขียนงานของตนเองใหเ ปนประโยชนตอ การเรียนรขู องผอู ่ืน เปนการ แลกเปล่ยี นเรียนรกู บั ผคู นในสังคมท่มี าอานงานเขียน

30 ทักษะกระบวนการจัดการความรดู ว ยตนเอง ในการเรยี นรเู พ่ือการจัดการความรดู วยตนเอง สามารถดาํ เนินการตามข้ันตอนตาง ๆ ได ดงั น้ี 1. ขนั้ การบงชค้ี วามรู ผูเรียนตองวิเคราะหตนเอง เพ่ือรูจุดออน จุดแข็งของตนเอง กําหนดเปาหมายในชีวิต กําหนดแนวทางเดินไปสูจุดหมาย และรูวาความรูท่ีจะแกปญหาและ พฒั นาตนเอง คอื อะไร 2. ข้ันการสรางและแสวงหาความรู ผูเรียนตองตระหนักและเห็นความสําคัญของ การแสวงหาความรู เขา ถึงความรูทต่ี อ งการดวยวิธีการที่หลากหลาย แหลงการเรียนรูที่ใชในการ แสวงหาความรู เชน การใชเทคโนโลยี ผูเช่ียวชาญ ภูมิปญญาทองถ่ิน ฯลฯ และตองฝกการใช ทกั ษะตาง ๆ เชน การสงั เกต การนําเสนอ การตั้งคําถาม การแสวงหาคําตอบ การบูรณาการ เชื่อมโยงความรู การบนั ทกึ และการเขียน ฯลฯ 3. ขน้ั การจัดการความรใู หเ ปน ระบบ ผูเรียนตองจัดทําสารบัญเก็บความรูประเภท ตา ง ๆ ทจ่ี ําเปน ตอ งรูใหเปน ระบบ เพื่องา ยตอ การคน หา และนาํ มาใชไดง าย รวดเร็ว 4. ข้ันการประมวลและกล่ันกรองความรู ผูเรียนตองนําความรูใหม ๆ ที่แสวงหา เพิ่มเตมิ ไปปฏิบัติจริง โดยนํามาประยกุ ตใชร วมกับความรูเดิมท่มี ีอยู 5. ข้ันการเขาถึงความรู เมื่อผูเรียนมีความรูจากการปฏิบัติ แลวควรมีการเก็บใน รูปแบบตาง ๆ เชน สมดุ บนั ทกึ ความรู แฟม สะสมงาน หรือใชเทคโนโลยีในการจัดเก็บในรูปแบบ เวบ็ ไซต วีดิทัศน เพอื่ ใหตนเองหรอื ผูอ่นื เขา ถึงความรูน้นั ๆ ไดง าย 6. ขนั้ การแบง ปน แลกเปลย่ี นเรยี นรู ผูเรียนตองเขารวมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู กับเพ่ือนๆ หรือชุมชน อาจเปนลักษณะของการสัมมนา การศึกษาดูงาน หรือแลกเปล่ียนเรียนรู ผานทางอนิ เทอรเ นต็ 7. ขั้นการเรียนรู ผูเรียนจะตองนําเสนอความรูในโอกาสตาง ๆ เชน การจัด นทิ รรศการ การพบกลุม การเขาคาย หรือการประชุมสัมมนา รวมทั้งมีการเผยแพรความรูผาน ชองทางตาง ๆ การดาํ รงชวี ติ อยูในปจ จบุ นั เราจําเปนตองมีความรูท่ีหลากหลาย และนําความรูดังกลาว มาเช่ือมโยง บูรณาการใหเกิดความคิด วิเคราะห สรางความรูใหมจากการแกปญหาและพัฒนา ตนเอง ความรูบางอยางเกิดขึ้นจากการรวมกลุมเพ่ือแกปญหา หรือพัฒนาในระดับกลุม องคกร

31 หรือชุมชน ดังน้ันจึงตองมีการรวมกลุมเพื่อการจัดการความรูรวมกัน ปจจัยที่ทําใหการจัดการ ความรูด วยการรวมกลุม ปฏบิ ัติการประสบผลสาํ เรจ็ ประกอบดวย 1. วฒั นธรรมและพฤติกรรมของคนในกลมุ คนในกลุม ตอ งมีเจตคติทีด่ ใี นการแบง ปน ความรซู ึง่ กนั และกนั มคี วามเชื่อใจกนั ใหเ กยี รติกนั และเคารพความคดิ เห็นของคนในกลุม 2. ผนู าํ กลุม ตอ งมองวาทกุ คนมีคณุ คา มีความรจู ากประสบการณ ตอ งเปน ตนแบบใน การแบงปนความรู กําหนดเปาหมายของการจัดการความรูของกลุมใหชัดเจน หาวิธีการใหคนใน กลมุ นาํ เรื่อง ทตี่ นรูอ อกมาเลา สกู ันฟง ใหเ กียรติกบั ทกุ คนจะทาํ ใหทุกคนกลา แสดงออก 3. เทคโนโลยี นําเทคโนโลยีมาใชในการเก็บขอมูลท่ีไดจากการจัดการความรู เชน จดั เกบ็ ในรูปของเอกสาร เวบ็ ไซต วดี ทิ ศั น ฯลฯ 4. การนําไปใช การติดตามประเมินผล จะชวยใหทราบวา ความรูท่ีไดจากการ รวมกลุมปฏิบัติการ มีการนําไปใชหรือไม การติดตามอาจจะใชวิธีสังเกต สัมภาษณ หรือถอด บทเรียนผูเ ก่ียวของ หรือประเมนิ ผลจากการเปลย่ี นแปลงท่ีเกดิ ขึน้ ในกลุม รวมท้ังการพัฒนาดาน อน่ื ๆ ท่ีสง ผลใหก ลุมเจริญเติบโตขึน้ ดวย ทักษะกระบวนการจัดการความรูด วยการรวมกลมุ ปฏิบตั กิ าร ในการรวมกลุมเพื่อพัฒนาอาชีพ ควรมีการนําการจัดการความรูมาใชเพ่ือพัฒนากลุม โดยสามารถดําเนนิ การตามขน้ั ตอนตาง ๆ ได ดงั น้ี 1. ขัน้ การบงชี้ความรู เปา หมายของการรวมกลุม คือ การสรางรายไดใหแกสมาชิก และพฒั นากลุมอาชีพใหมคี วามเขมแข็ง ย่ังยืน มีรายไดอยางตอเน่ือง กลุมตองมีความรูท่ีจําเปน ในเร่ืองอาชีพ ที่ทํา เชน เรื่องวัตถุดิบ กระบวนการผลิต การตลาด การรวมกลุม และการสราง เครอื ขาย 2. ขน้ั การสรางและแสวงหาความรู เมื่อกลุมมีความรูท่ีจําเปนในการพัฒนาอาชีพ แลว กลุมจะตองมีการแสวงหาความรูจากเครือขายตาง ๆ ท่ีมีอาชีพเดียวกัน พรอมท้ังรวบรวม รายชอื่ กลมุ ทง้ั ในและนอกจงั หวดั เพอ่ื เปนขอ มูลในการวางแผนในการพฒั นางาน และแลกเปล่ียน เรียนรูรว มกัน 3. ข้ันการจัดการความรูใหเปนระบบ เมื่อมีการแสวงหาความรูแลว กลุมจะตอง จัดทําสารบัญจัดเก็บความรูประเภทตาง ๆ ใหเปนระบบ เพ่ือคนหาและนํามาใชไดงาย รวดเร็ว เชน จัดทาํ ทําเนียบกลมุ อาชพี เดียวกนั หรอื ทําเนยี บภมู ปิ ญ ญา เปนตน

32 4. ขนั้ การประมวลและกลน่ั กรองความรู ความรทู ี่ไดจากกลุมอาชีพเดียวกันจะตอง นํามาแยกแยะปญหา และจุดเดนของการดําเนินการพัฒนากลุมอาชีพแตละกลุม จากน้ันนํา ความรูม าจดั เวทเี พ่ือใหส มาชิกในกลุมรว มกนั วิเคราะหจุดเดน หรอื จดุ ดอยของกลุมตนเอง 5. ขั้นการเขาถึงความรู กลุมตองสรางเครือขายเพื่อการเรียนรูในองคความรูที่ จาํ เปน ตอการพัฒนาอาชพี รว มกนั ทัง้ ในเร่ืองวตั ถดุ บิ กระบวนการผลิต การตลาด และการบริหาร จดั การกลุม 6. ข้ันการแบงปนแลกเปลี่ยนเรียนรู กลุมตองมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกันอยู เสมอ และแลกเปลี่ยนเรียนรูกับกลุมอ่ืน ๆ ทั้งในและนอกจังหวัด อาจเปนลักษณะของการ สัมมนา การศึกษา ดูงาน หรือแลกเปล่ียนเรยี นรูผา นทางอนิ เทอรเน็ต 7. ขั้นการเรียนรู สมาชิกในกลุมเกิดการเรียนรูรวมกันในการพัฒนาอาชีพ ทั้งเรื่อง การหาวัตถุดิบ กระบวนการผลิต ผลผลิตที่ไดเพียงพอกับความตองการของตลาด มีการขยาย ตลาดเพม่ิ เรื่องที่ 5 การจัดการสารสนเทศเผยแพรอ งคค วามรู การจัดทาํ สารสนเทศเผยแพรอ งคค วามรู ในการจัดการความรู จะมีการรวบรวมและสรางองคความรูท่ีเกิดจากการปฏิบัติข้ึน มากมาย การจดั ทาํ สารสนเทศ จึงเปน การสรา งชอ งทางใหคนท่ีตองการใชความรู สามารถเขาถึง องคความรูไดงาย คนหาขอมูลไดถูกตอง รวดเร็ว ทันเวลา และเหมาะสมกับความตองการ การจัดทําสารสนเทศควรจัดทําอยางเปนระบบ โดยจัดใหมีการจําแนกรายการตาง ๆ ที่อยูบน พ้ืนฐานตามความจําเปนในการเรยี นรู โดยทาํ ไดหลายแนวทาง คือ 1. จัดทาํ เปน แผนพบั แผนปลวิ โดยสรปุ องคค วามรใู หก ระชบั เขาใจงาย 2. บันทกึ เรอื่ งเลา โดยจดั ทาํ เปน เอกสารรวมเลม จดั หมวดหมูใหคนหาไดส ะดวก 3. บันทึกการถอดบทเรียน หรือถอดองคความรู ควรใหรายละเอียดของการถอด บทเรยี น ดวยวา ทาํ ทาํ ไม และทําอยางไร โดยจดั ทาํ เปนเอกสาร 4. วีซีดี โดยสรุปกระบวนการคนพบ อาจถายทอดเปนสารคดีที่บงบอกถึงวิธีการ ตา ง ๆ และควรแนะนําตอ ไปดว ยวา ถา สนใจรายละเอยี ด ควรติดตามท่ีไหน อยา งไร

33 5. คมู ือการปฏบิ ัติงาน เปนการชวยใหผูที่สนใจเห็นรองรอยของการทํางาน ท่ีประสบ ความสําเร็จตามขั้นตอนตา ง ๆ 6. ระบบอินเทอรเน็ต เปนวิธีการที่ไดรับความนิยมสูงมาก โดยเฉพาะในรูปของเว็บ บล็อกที่เผยแพรไ ดส ะดวก รวดเร็ว และสามารถรองรบั ผทู ีส่ นใจไดม าก 7. เผยแพรผ านภมู ปิ ญญา ในกรณีทภ่ี ูมิปญญาทานนั้นมีสวนเก่ียวของกับการจัดการ ความรู เมื่อมกี ารบรรยายหรืออภิปราย ภูมิปญญาทานนั้นจะชวยสอดแทรกความรูที่คนพบจาก การจัดการความรูเพอ่ื ใหผูรบั ฟง เห็นภาพและไดค วามรูเพมิ่ เติม

34 ใหผ เู รียนตอบคาํ ถามตอ ไปนี้ 1. อธบิ ายความหมายของ “การจัดการความรู” .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 2. อธิบายความสําคญั ของ “การจดั การความร”ู .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 3. อธบิ ายหลกั การของ “การจัดการความร”ู .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 4. ยกตวั อยา งอาชีพที่ตนเองทําอยู และอธิบายกระบวนการ/ข้ันตอนการจัดการความรู ดว ยตนเอง วามีกี่ข้ันตอน อะไรบา ง .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................

35 5. ยกตวั อยางอาชพี ท่ีรวมกลุมทาํ และอธบิ ายวากระบวนการ/ข้นั ตอนการจัดการความรู ดวยการรวมกลมุ วา มีก่ขี ้นั ตอน อะไรบาง .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 6. บอกวธิ ีการจัดทําสารสนเทศเพ่ือเผยแพรความรูโดยการใชส อื่ ที่หลากหลาย .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................

36 เรอื่ งที่ 1 ความเชื่อพื้นฐานทางการศึกษาผใู หญ/การศกึ ษานอกระบบ โลกปจจุบัน เปนโลกแหงการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วในทุก ๆ ดาน ท้ังเร่ืองขาวสาร ขอ มูล ความรู การเมือง เศรษฐกจิ การศกึ ษา ธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ ม ซึ่งการเปล่ียนแปลงอยาง รวดเร็วเชนนี้ ถาไมสามารถปรับตัวใหทันเหตุการณ ก็จะเกิดปญหาขึ้นกับตนเอง ครอบครัว สงั คม และชุมชน วธิ กี ารหนงึ่ ท่จี ะชวยใหช วี ติ อยูอ ยางมคี วามสุขได คือ “การคิดเปน” การคิดเปน เปนการใชทักษะการคิด ที่ใชขอมูลอยางนอย 3 ดาน มาสัมพันธโยงกัน เพ่ือการตัดสนิ ใจสกู ารกระทาํ โดยปกติแลว การกระทําของคนนั้น เกดิ มาจากการคิด ถาคิดดีก็ทําดี การคิดท่ีมีขอมูลประกอบการตัดสินใจ จะทําใหการคิดน้ัน มีความรอบคอบ มีเหตุผล มีความ พอประมาณ ไมโลภ ไมเ บยี ดเบยี นผอู ื่น การคดิ ดนี าํ ไปสกู ารปฏิบัติที่ดี ถาในสังคมผูคนปฏิบัติดีตอ กัน สังคมก็อยรู ว มกนั อยางมคี วามสขุ ความเชือ่ พื้นฐานทางการศกึ ษาผใู หญ/ การศึกษานอกระบบ เชอื่ วาคนมีความแตกตางกัน อยา งหลากหลาย ทง้ั รูปลกั ษณะภายนอก ภมู ิหลัง พื้นฐานทางครอบครัว ฯลฯ ความตองการของ คน จึงไมเ หมอื นกนั แตส ่งิ หนึ่งท่ที กุ คนตอ งการ คอื “ความสขุ ” ความสขุ ของแตละคนจะเกิดขึ้นได ตอเมือ่ มนุษยก ับสภาวะแวดลอ มที่เปนวิถชี ีวติ ของตน สามารถปรับเขาหากันไดอ ยางผสมกลมกลืน จนเกิดความพอดีและพึงพอใจ ความสุขของแตละคนจึงไมจําเปนตองเหมือนกัน เมื่อมนุษย ตอ งการความสุขเปน เปา หมายสงู สดุ ของชีวติ การคดิ ตดั สนิ ใจ การเลือกกระทําหรือไมกระทําใด ๆ ลวนตองใชเหตุผลหรือขอมูลมาประกอบการคิด อยางนอย 3 ดาน คือ ขอมูลเก่ียวกับตนเอง ขอ มูลเกี่ยวกบั สังคม และขอ มลู ทางวิชาการ

37 ทฤษฎกี ารเรยี นรูส าํ หรบั ผใู หญ ทฤษฎีการเรียนรูสําหรับผูใหญนั้น กลาวไดวาเร่ิมมีการศึกษาคนควาและพัฒนาการมา จาก แนวความคิดของเดิม ของธอรนไดค (Edward L. Thorndike. 1982) จากการเขียน เกี่ยวกับ \"การเรียนรูของผูใหญ\" ซ่ึงมิไดทําการศึกษาเก่ียวกับการเรียนรูของผูใหญโดยตรง แต ศึกษาถงึ ความสามารถในการเรียนรู โดยเนนใหเห็นวา ผูใหญนั้นสามารถเรียนรูได ซ่ึงเปนส่ิงท่ีมี ความสาํ คัญมาก จากสงครามโลก ครัง้ ท่ีสอง มนี ักการศกึ ษาผูใหญจํานวนมาก ไดศึกษาคน ควาจน ไดพยานหลักฐานทางวิทยาศาสตรเพิ่มข้ึนอีกวา ผูใหญสามารถเรียนรูได รวมท้ังยังไดพบวา กระบวนการเก่ยี วกับดา นความสนใจ และความสามารถนัน้ แตกตา งออกไปจากการเรียนรูของเด็ก เปนอนั มาก นอกจากวิธีการทางวิทยาศาสตรแลว ยังมีแนวความคิดทางดานท่ีเปนศิลป ในการ เรียนรู ซึ่งเปนการคนหาวิธีการในการรับความรูใหม ๆ และการวิเคราะหถึงความสําคัญของ ประสบการณ ซ่ึงส่ิงเหลาน้ีจะเก่ียวของกับวา \"ผูใหญเรียนรูอยางไร\" (How Adult Learn) ลินเดอรแ มน (Edward C. Linderman) โดยไดเขยี นหนังสอื ชื่อ \"ความหมายของการศึกษาผูใหญ\" แนวความคิดของลินเดอรแมนน้ัน ไดรับอิทธิพลคอนขางมากจากนักปรัชญาการศึกษาผูท่ีมี ชื่อเสยี ง คือ จอหน ดิวอี้ (John Dewey) โดยไดเนนอยางมากเก่ียวกับการเรียนรูของผูใหญนั้น ควรเร่มิ ตนจากสถานการณต าง ๆ (Situations) มากกวาเร่ิมจากเนื้อหาวิชา ซ่ึงวิธีการเรียนการ สอนโดยทัว่ ๆ ไป มักจะเริ่มตนจากครูและเนื้อหาวิชาเปนอันดับแรก และมองดูผูเรียนเปนสวนที่ สอง ในการเรียนแบบเดิมนั้น ผูเรียนจะตองปรับตัวเองใหเขากับหลักสูตร แตวาในการศึกษา ผูใหญน้ัน หลักสูตรควรจะไดสรางข้ึนมาจากความสนใจ และความตองการของผูเรียนเปนหลัก สําคัญ ผูเรียนจะพบวาตัวเองมีสถานการณเฉพาะ อันเก่ียวกับหนาท่ีการงาน งานอดิเรกหรือ สนั ทนาการ ชวี ติ ครอบครัว ชีวติ ในชุมชน สถานการณตาง ๆ น้ีจะชวยใหผูเรียนไดปรับตัว และ การศึกษาผูใหญควรเริม่ จากจดุ น้ี สว นดานตาํ ราและผูสอนนั้นถือวา มีหนาทแ่ี ละบทบาทรองลงไป แหลงความรทู ีม่ ีคุณคา สูงสุดในการศกึ ษาผูใหญ คือ ประสบการณของผูเรียนเอง และมี ขอคิดท่ีสําคัญวา \"ถาหากการศึกษาคือชีวติ แลว ชีวติ ก็คือการศึกษา\" (If Education is Life, then Life is Education) และก็สรุปไดวา ประสบการณนั้น คือตําราที่มีชีวิตจิตใจสําหรับนักศึกษา ผูใ หญ จากแนวความคดิ ของลนิ เดอรแ มน ทําใหไดขอสันนิษฐานท่ีสําคัญ ๆ และเปนกุญแจสําคัญ สาํ หรับการเรียนรูของผใู หญ รวมทั้งการวิจัยในระยะตอ ๆ มา ทําใหโนลส(M.S.Knowles.1954) ไดพยายามสรุปเปนพ้ืนฐานของทฤษฎีการเรียนรูสําหรับผูใหญสมัยใหม ซึ่งมีสาระสําคัญ ดังตอ ไปน้ี

38 1. ความตอ งการและความสนใจ ผูใหญจะถูกชักจูงใหเกิดการเรียนรูไดดี ถาหากวา ตรงกับความตองการ และความสนใจในประสบการณท่ีผานมา เขาก็จะเกิดความพึงพอใจ เพราะฉะนั้นควรจะมีการเร่ิมตนในสิ่งเหลานี้อยางเหมาะสม โดยเฉพาะการจัดกิจกรรมท้ังหลาย เพ่อื ใหผใู หญเกดิ การเรียนรูนั้นจะตอ งคาํ นงึ ถึงสิง่ นด้ี วยเสมอ 2. สถานการณทเี่ กย่ี วขอ งกบั ชวี ติ ผูใ หญ การเรยี นรูของผูใหญจ ะไดผลดี ถา หากถือเอา ตัว ผูใหญเปนศูนยกลางในการเรียนการสอน ดังนั้น การจัดหนวยการเรียนที่เหมาะสมเพื่อการ เรยี นรูของผใู หญ ควรจะยึดถือสถานการณทั้งหลายที่เก่ียวของกับชีวิตผูใหญเปนหลักสําคัญ มิใช ตวั เน้อื หาวชิ าท้งั หลาย 3. การวเิ คราะหประสบการณ เนื่องจากประสบการณเปนแหลงการเรียนรูท่ีมีคุณคา มากที่สุดสําหรับผูใหญ ดังนั้น วิธีการหลักสําหรับการศึกษาผูใหญ ก็คือ การวิเคราะหถึง ประสบการณของผใู หญ แตละคนอยางละเอียด วามีสวนไหนของประสบการณที่จะนํามาใชใน การเรียนการสอนไดบ า ง แลว จึงหาทางนาํ มาใชใหเกดิ ประโยชนต อ ไป 4. ผูใหญตองการเปนผูนาํ ตนเอง ความตองการที่อยูในสวนลึกของผูใหญ ก็คือ การมี ความรูสกึ ตองการทจ่ี ะสามารถนาํ ตนเองได เพราะฉะน้ันบทบาทของครูจึงควรอยูในกระบวนการ สืบหา หรือคนหาคําตอบรวมกับผูเรียน มากกวาการทําหนาท่ีสงผานหรือเปนสื่อสําหรับความรู แลว ทาํ หนา ท่ปี ระเมินผลวาเขาคลอ ยตามหรอื ไมเพียงใด 5. ความแตกตางระหวา งบคุ คล ความแตกตา งระหวา งบคุ คลจะมเี พ่มิ มากขึ้นเรื่อย ๆ เม่ือมีอายุเพ่ิมมากข้ึน เพราะฉะน้ันการสอนผูใหญจะตองจัดเตรียมการในดานนี้อยางดีพอ เชน รปู แบบของการเรียนการสอน เวลาท่ีใชท ําการสอน สถานทีส่ อน

39 เรือ่ งท่ี 2 ปรัชญาการคดิ เปน ความหมายของการคิดเปน พจนานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ใหนิยาม คําวา “ปรัชญา” ไววา วิชาวาดวยหลักแหงความรูและความจริง ถายอนนับถึงเวลาที่มีการนําแนวคิด เร่ือง “คิดเปน” เขา มาใชใ นวงการศึกษา เริ่มแรกเมื่อป พ.ศ.2513 (โดย ดร.โกวิท วรพิพัฒน ผูอํานวยการกอง การศึกษาผูใหญก รมสามัญศึกษา ในขณะนั้น) จนถึงบัดน้ี (พ.ศ.2559) จะไดป ระมาณ 45 ป หรือ 4 ทศวรรษเศษ แตความเติบโตของคํา ๆ น้ี ไมไดหยุดย้ังอยูท่ีหลักสูตรการศึกษาผูใหญหรือ การศึกษานอกระบบ หากไดแพรขยายไปถึงการศึกษาในระบบโรงเรียน ตลอดจนสังคมทั่วไป อยา งแพรหลาย ดร.โกวิท วรพิพัฒน อดีตอธิบดีกรมการศึกษานอกโรงเรียน (พ.ศ.2525-2529) ไดอธิบายเกี่ยวกับ “คิดเปน” วา “บุคคลท่ีคิดเปน จะสามารถเผชิญปญหาในชีวิตประจําวันได อยางมรี ะบบ บุคคล ผูน ้ีจะสามารถพินิจพจิ ารณาสาเหตุของปญหาท่ีเขากําลังเผชิญอยู สามารถ รวบรวมขอมลู ตา ง ๆ ไดอยา งกวา งขวาง เก่ยี วกับทางเลือก เขาจะพิจารณาขอดีขอเสียของแตละ เรอ่ื ง โดยใชความสามารถเฉพาะตัว คานิยมของตนเอง และสถานการณท่ีตนเองกําลังเผชิญอยู ประกอบการพิจารณา” นักวิชาการไดใหความหมายของ “คิดเปน” ไวหลากหลาย เปนตนวา หมายถึง การ วิเคราะหปญหาและการแสวงหาคําตอบหรือทางเลือก เพ่ือแกปญหาหรือดับทุกข ในอีก ความหมายหนงึ่ “คิดเปน” หมายถึง การคิดอยางรอบคอบเพ่ือแกปญหา โดยอาศัยขอมูลดาน ตนเอง ดานสังคมและสิ่งแวดลอม และดานวิชาการ มาเปนองคประกอบในการคิดตัดสินใจ แกปญหา นอกจากนี้ “คิดเปน” ยังหมายถึง การคิดที่ดี มีหลักการในการดํารงชีวิตท่ีถูกตอง ทสี่ ดุ หากบุคคลใดนาํ ไปใชเปนแนวคิดในการแกปญหาที่เปนอุปสรรคในการดํารงชีวิต ดวยการ ใชข อ มลู ที่เปน จริงและเพียงพอ กจ็ ะชว ยใหแกไ ขปญ หาได จากความหมายทง้ั หมดที่กลาวมา จะเห็นไดวามีความคลายคลึงกัน กลาวคือ หมายถึง กระบวนการคิดพิจารณาอยางรอบคอบ มีเหตุผล โดยอาศัยขอมูลอยางกวางขวางรอบดาน ทั้งขอมูลที่เก่ียวกับตนเอง ขอมูลทางสังคมและสิ่งแวดลอม ขอมูลทางวิชาการมาใชพิจารณา

40 ประกอบการตัดสนิ ใจไดอ ยางเหมาะสมกับสถานการณท ตี่ นเองกําลังเผชิญอยู และความหมายก็มี ทศิ ทางมงุ ไปในทางเดียวกนั คอื 1. ปรัชญานมี้ ไี วเ พอื่ แกปญหา 2. ส่ิงสาํ คญั ทีส่ ดุ ในการตัดสนิ ใจแกป ญ หาคือ ขอ มูล 3. ขอมูลประกอบการตัดสินใจ ตองเปนขอมูลจริง และมีจํานวนมากพอตอการ ตัดสนิ ใจ 4. ในความหมายของขอมูล ปรัชญานี้ใชขอมูลใกลตัวท่ีเก่ียวของกับปญหาเหลาน้ัน ไดแ ก ขอมูลตนเอง ขอ มลู วิชาการ และขอมลู สังคมสิ่งแวดลอม 5. การคดิ เปน มีลักษณะเปน พลวัตร หมายถึง ปรับเปลยี่ นไดเสมอ ในกรณี ทเ่ี ปลี่ยนแปลงขอ มลู หรอื เปา หมายชวี ิต ความสําคญั ของการคดิ เปน กระบวนการแกปญหาดวยปรัชญาคิดเปนมีความสําคัญตอสังคม ถาคนสวนใหญยึด หลกั การคดิ ดว ยกระบวนการคิดเปน การมองปญหาจึงมองอยางเปนเหตุเปนผล สมจริง เขาใจ ธรรมชาติและสังคมโดยถอ งแท ความขดั แยงจะลดลงหรือไมเกิดข้ึน สังคมก็จะมีแตความสงบสุข ดังนน้ั อาจสรุปความสําคัญของการคดิ เปน ไดด ังนี้ 1. มติ ิในการจดั การศึกษา การศึกษาทั้งในระบบโรงเรียนและนอกระบบโรงเรียนใน ทุกวันนี้ ยังมิไดพัฒนาขึ้นสูระดับท่ีนาพึงพอใจ เพราะเรามุงเนนในดานความจํา มิไดพัฒนา คุณลักษณะทางสติปญญาประเภทท่ีสูงข้ึน คือ ความเขาใจ การนําไปใช การวิเคราะห การ สังเคราะห และทายสุดสําคัญ คือ การประเมินคา สถานศึกษาของเราเวลาน้ีมุงแตจะสอนใหได เนอ้ื หาวิชาการมากที่สุด แตไมไดสอนใหนําเนื้อวิชาการไปใชอยางเหมาะสม ตามขอจํากัดของ สังคมสง่ิ แวดลอม หรือความรทู เ่ี หมาะสมจะเกดิ ขึน้ แกต นเองแตอยางใด ดังนัน้ การศึกษาไมวาในหรือนอกระบบโรงเรียน ควรจะตองสอนใหคนคิดเปนและ ทําเปน สมรรถภาพทง้ั สองอยางน้ไี มควรจะแยกออกจากกัน เพราะจะเปนการแยกสมองออกจาก กาย ซึ่งไมเ ปน ประโยชนแ ละเปนไปไดยาก การสอนไมวา เรอ่ื งอะไรจึงควรสอน ท้ังคิดเปนและทําเปน ถาสอนใหทําเปนโดยคิด ไมเปน คนก็จะเอาทักษะไปใชไมได หรือสอนใหคิดเปนแตทําไมเปนก็จะนําความรูไปใชไมได เหมอื นกัน ขอ บกพรองของการสอนวิชาชีพเวลาน้ีอยูทีว่ า ไมไดสอนใหบ ุคคลท่ีมีทักษะอยูแลวนํา

41 ทักษะไปใชในชีวิตของตน หลายคนไมไดใชความรู ความสามารถท่ีตนฝกอบรมมา เพราะการ สอนมงุ แตเ พียงดานความรูดา นเดยี วเทา นัน้ 2. มิติของปจเ จกบุคคล การสอนห รือการฝกต นเองใหเป นคนคิดเป น เปนคุณลักษณะที่เกิดกับตนเองและตองหลอหลอมใหย่ังยืน เปนเรื่องสําคัญมากเพราะปจเจก บคุ คลท่มี ีคุณลกั ษณะตอ ไปน้ีจะเปนสวนหนงึ่ ใหครอบครวั ชุมชน สงั คมไทย เปน ปกติสขุ 1) สามารถแกไขปญหาที่เกดิ ขน้ึ กับตนเองไดและมกั ไมมขี อผิดพลาดเกดิ ข้นึ 2) ชว ยใหเปน คนใจเยน็ ยดึ ถอื เหตุผล และมกั ไมท ําอะไรตามอารมณของตนเอง 3) ชวยใหเ ปน คนท่มี คี วามเชอื่ ม่นั ในตนเองสูง ท้ังนี้ เกิดจากความสําเร็จของงาน ที่มีผลมาจากการคดิ เปน 4) ชวยใหไมถูกหลอกดวยขอมูลที่ไดรับ และไมเช่ือถือสิ่งตาง ๆ อยางงาย ๆ แตจะวินิจฉยั ไตรตรอง และพสิ ูจนค วามจรงิ อยางรอบคอบกอ นตดั สินใจเลือก 5) สามารถใชประโยชนจากขอมูลที่ไดรับ มาสรางสรรคใหเกิดส่ิงท่ีมี ประโยชนไ ด คนเราจะมีคุณสมบัติในการเปนคนคิดเปนได ตองมีการฝกฝนทักษะเร่ืองการคิดเปนอยู เสมอ จนกลายเปน เร่อื งปกติในชีวิตประจําวนั การดําเนนิ ชีวิตกจ็ ะมีลักษณะของคนคดิ เปน ดงั น้ี 1. มคี วามเชอ่ื วา ปญหาที่เกิดขึ้นเปนเร่อื งธรรมดา สามารถแกไขได 2. การคิดท่ีดตี องใชข อ มูลหลาย ๆ ดา น (ตนเอง สังคม วิชาการ) 3. เชื่อวาขอมูลมกี ารเปลีย่ นแปลงอยเู สมอ 4. สนใจทจี่ ะวเิ คราะหขอ มลู อยูเ สมอ 5. รูวาการกระทําของตนเองมีผลตอสงั คม 6. ทําแลว ตดั สนิ ใจแลว เกดิ ความสบายใจแลวและเต็มใจรับผดิ ชอบ 7. แกไขปญหาในชวี ติ ประจาํ วันอยางเปนระบบ 8. รจู กั ชงั่ น้าํ หนกั คณุ คาของการกระทํากับสิ่งรอบ ๆ ดาน การเชอ่ื มโยงความเชอื่ พนื้ ฐานทางการศกึ ษาผใู หญ/ การศึกษานอกระบบ สปู รชั ญาคดิ เปน ความเชอ่ื พ้นื ฐานทางการศกึ ษาผใู หญหรอื การศกึ ษานอกระบบ ท่ีวา คนเราทุกคนมีความ แตกตางกนั แตทุกคนตองการความสุข ดงั น้นั ความสขุ ของแตละคนจึงแตกตางกัน โดยความสุข ของคนจะเกดิ ขึ้นไดก ็ตอเมือ่ มกี ารปรบั ตัวเองกับส่ิงแวดลอมใหเขาหากันไดอยางผสมกลมกลืนจน เกิดความพอดี อยางไรก็ตามสังคม ส่ิงแวดลอมไมไดหยุดนิ่ง แตจะมีการเปลี่ยนแปลงอยู

42 ตลอดเวลา กอใหเกิดปญหา ความไมสบายกายไมสบายใจข้ึนไดเสมอ กระบวนการปรับตนเอง กบั สงั คม สง่ิ แวดลอม ใหผ สมกลมกลนื จึงตองดําเนนิ ไปอยา งตอเนือ่ งและทันเหตุการณ คนท่จี ะทําไดเชน น้ตี อ งเขา ใจในความเปน จรงิ ของธรรมชาติ สงั คม สงิ่ แวดลอมเปนอยางดี สามารถแสวงหาขอมูลท่ีเก่ียวของอยางหลากหลายและเพียงพอ อยางนอย 3 ประการ คือ ขอมูลทางวิชาการ ขอมลู ทางสงั คมและส่ิงแวดลอม และขอมูลที่เก่ียวของกับตนเอง มาเปนหลัก ในการวเิ คราะหป ญหา เพือ่ เลอื กแนวทางการตดั สินใจที่ดีทส่ี ดุ ในการแกปญหาหรือสภาพการณที่ เผชิญอยูอยางรอบคอบ เพื่อปรับตัวเองและสงั คมสิง่ แวดลอ ม ใหผสมกลมกลืนจนเกิดความพอดี พอเพียง และมคี วามสขุ ในชีวติ หากไดลงมือปฏิบัติตามแนวทางท่ีไดตัดสินใจแลว ผลที่ออกมา ยังไมพอใจ ไมมีความสุข ก็ยังมีสติ ไมกระวนกระวาย แตพ ยายามทบทวนศกึ ษาทําความเขาใจกับ ปญหา คนควาหาขอมูลเพ่ิมเติม กลับเขาสูกระบวนการคิดใหม เพ่ือเลือกทางปฏิบัติใหม หมุนเวียนไปอยา งตอเน่ือง จนกวาจะพอใจ ซง่ึ เรยี กไดวา “คนคิดเปน ” นนั่ เอง จากความเชื่อพ้นื ฐานดังกลา ว จงึ ไดน าํ ไปสูก ารประยุกตใชเปนกระบวนการแกปญหาแบบ คน “คดิ เปน ” ตามขัน้ ตอน ดังตอ ไปนี้

43 1. ขนั้ สํารวจ ทําความเขาใจปญ หา เมอ่ื เกดิ ปญหา คนเรายอ มตอ งคิดแกปญ หา 2. ขั้นหาสาเหตขุ องปญ หา เปน การหาขอมูลรอบดานมาวิเคราะหวา ปญหาที่เกิดขึ้น นั้นเกิดขึ้นไดอยางไร มีอะไรเปนองคประกอบของปญหาบาง แตละองคประกอบเก่ียวของกัน อยางไร - สาเหตจุ ากตนเอง พน้ื ฐานของชีวติ ครอบครัว อาชีพ การปฏบิ ตั ิตน คุณธรรม ฯลฯ - สาเหตจุ ากสังคม สภาพธรรมชาติและบุคคลที่อยแู วดลอม ประเพณีวฒั นธรรม ฯลฯ - สาเหตจุ ากการขาดความรูในวชิ าการตาง ๆ ทีเ่ กยี่ วของกบั ปญ หา 3. ขั้นวิเคราะหปญ หา หาทางแกปญหา เปนการวิเคราะหทางเลือกในการแกปญหา โดยใชขอมูลดานตนเอง สังคม วิชาการ มาประกอบในการวิเคราะห เพ่ือหาแนวทางท่ีมีความ เปน ไปไดหลาย ๆ ทางเลือกภายใตก รอบแหง คุณธรรม 4. ข้ันตัดสินใจ เมื่อไดทางเลือกแลว จึงตัดสินใจเลือกแกปญหาในแนวทางท่ีมีขอมูล ตา ง ๆ พรอม 5. ขั้นนําผลการตัดสินใจไปสูการปฏบิ ัติ เม่ือตัดสินใจเลอื กทางเลือกแลว ตอ งยอมรับ วาเปน ทางเลือกที่ดที ี่สดุ ในภาวะขอมลู เทา ท่มี ีอยขู ณะนน้ั 6. ขั้นตดิ ตามประเมินผลในการแกปญหา ในขั้นน้เี ปน การตรวจสอบดผู ลท่เี กิดจากการ นําไปปฏิบตั ิ และประเมนิ ผลดูวาเปน ทพ่ี อใจหรือไม - พอใจ ก็ถือวาพบความสุข เรยี กไดว า “คดิ เปน ” - ไมพอใจ หรือผลออกมาไมไ ดเ ปนไปตามท่ีคิดไว ไมไดถือวาคิดไมเปน ซ่ึงเปน เพราะขอมูลอาจเปลี่ยนหรือไมเพียงพอ ก็ตองศึกษาหาขอมูลเพ่ิมเติมจนเพียงพอทุกดานอยาง ตอเนื่อง ยอนกลับไปเร่ิมตนกระบวนการคิดแกปญหาใหม หาทางเลือกใหม ลงมือปฏิบัติใหม จนกวาผลทีไ่ ดจะเปน ทีพ่ อใจ แนวคิดเร่ืองคิดเปน ไดนํามาใชเปนองคประกอบในงานการจัดการศึกษาผูใหญหรือ การศึกษา นอกระบบโรงเรียนอยางครอบคลุมท้ังระบบ ไมวาจะเปนหลักสูตร วิธีการเรียนรู สื่อ การประเมินผล เปนตน ดวยหลักแหงการคิดเปน คอนขางมีความยืดหยุน โดยเฉพาะในเร่ือง ของความเปน ธรรมชาติ ความเรียบงาย การใหเสรีภาพในการตัดสินใจแกผูเรียนภายใตขอจํากัด ตา ง ๆ ทีแ่ ตล ะคนมี เพราะถาไมมกี ารคาํ นงึ ถึงขอ จาํ กัด เราก็มีเพียงวิธีการเดียว สูตรสําเร็จเดียว ทีจ่ ะนําไปใช ซ่ึงก็คงจะไมไดผล เพราะความแตกตางกันโดยบุคคล โดยสถานท่ี โดยวัฒนธรรม และอ่ืน ๆ การสงเสรมิ ใหคน “คิดเปน” น้ีเทากับการยอมรับสิทธิสําคัญของมนุษย คือ สิทธิที่จะ

44 ตดั สินใจเลอื กไดด ว ยตวั ของเขาเอง ดงั คาํ พงั เพยท่ีวา “ปลกู เรอื นตามใจผอู ย”ู หรอื “ลางเน้ือชอบ ลางยา” เมอ่ื พจิ ารณาถงึ งานการศกึ ษาผูใ หญหรอื งานการศึกษานอกระบบ กับ ปรัชญาคิดเปนแลว น้ัน จะพบวามีความเชื่อมโยงกันอยู กลาวคือ การศึกษาผูใหญหรือการศึกษานอกระบบ ยึดแนวคิดความเชื่อพื้นฐานเปนหลักในการดําเนินงานจัดการศึกษา และความเชื่อพื้นฐานก็เปน ท่ีมาของการคดิ ที่นาํ ไปสปู รชั ญาคดิ เปน “...โดยทมี่ นุษยคิดเปน มนษุ ยจ ึงมอี ะไรพเิ ศษไปกวา สัตวเดรัจฉานและเครอ่ื งคอมพิวเตอร มนษุ ย สามารถตดั สินใจดานความเห็นอกเห็นใจ กรุณา ปราณี เออื้ เฟอ เผอื่ แผ อดทน เสยี สละ สามารถมองดู ประโยชนข องผอู ื่น ของสว นรวมมาประกอบในการวินิจฉัย ตดั สนิ ใจ...” เร่ืองที่ 3 ขอมลู ประกอบการตดั สินใจในกระบวนการของการคดิ เปน ความหมายของขอ มลู ในการคิดเรอ่ื งใดเร่ืองหนงึ่ ของคนเรา จะเหน็ วา ตองใชความรู ความจําในประสบการณท่ี เคยผา นมาเชอ่ื มโยงกันเพอื่ หาบทสรุป ซึ่งความรู ความจําในประสบการณที่ระลึกไดน้ัน ก็คือ สิ่ง ที่เราเรียกวา ขอมูลนั่นเอง ดังท่ีไดทราบแลววาการคิดในกระบวนการคิดเปนนั้น ตองใชขอมูล อยางนอย 3 ประการ มาใชเพ่ือประกอบการคิดและตัดสินใจ ดังน้ัน ในการเรียนรูเรื่องคิดเปน จึงจาํ เปนตองศกึ ษาทาํ ความเขา ใจเกีย่ วกบั ขอมูลเปน อยางย่ิง ขอ มูล คือ ขา วสาร รายละเอียด ขอเทจ็ จรงิ ของส่ิงตา ง ๆ เหตุการณตาง ๆ ที่เกิดข้ึน ในชวี ิตประจําวัน ท่รี วบรวมมาจากแหลง ตาง ๆ ซ่ึงอาจเปนตัวเลข สัญลักษณ รูปภาพ เสียง วีดิ ทัศน คําอธบิ าย เชน ตัวเลขแสดงจํานวนผูเรียน ภาพแผนท่ี คําอธิบายของครู เปนตน ซึ่งเมื่อนํา ขอ มลู ตามความหมายดงั กลา วนี้ มาวเิ คราะห สงั เคราะหจ ัดใหเปน ระบบแลว เรียกวา สารสนเทศ สารสนเทศ คอื ขอมูลท่ผี า นกระบวนการวิเคราะห ประมวลผล จนสามารถนําไปใชใน การตดั สินใจตามจดุ มงุ หมายตอไปไดทนั ที


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook