Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Act_Plan60

Act_Plan60

Published by กศน.ตำบลบางเพรียง, 2019-09-03 22:19:15

Description: Act_Plan60

Search

Read the Text Version

คํานาํ แผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของสํานักงาน กศน. จัดทําข้ึน ตามบทบัญญัติของพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 มีบทบญั ญตั ิเก่ียวกบั แผนปฏบิ ตั ิราชการ ในหมวด 3 การบริหารราชการมาตรา 17 กําหนดวา ในกรณีที่ กฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณกําหนดใหสวนราชการตองจัดทําแผนปฏิบัติราชการเพ่ือขอรับ งบประมาณ และมาตรา 16 ท่ีกําหนดใหสวนราชการจัดทําแผนปฏิบัติราชการ เปนแผนส่ีปท่ีสอดคลองกับ แผนการบริหารราชการแผน ดิน และใหจ ดั ทาํ แผนปฏบิ ัตริ าชการประจาํ ป โดยใหระบุสาระสําคัญเก่ียวกับ นโยบายการปฏบิ ตั ริ าชการของสว นราชการ เปา หมายและผลสัมฤทธ์ิของงาน รวมท้ังประมาณการรายไดและ รายจาย และทรัพยากรอ่ืนท่ีจะตองใช ประกอบกับคณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2557 เห็นชอบแนวทางการจัดทํางบประมาณ และปฏิทินงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ตามท่ีสํานักงบประมาณเสนอเพื่อใหสวนราชการเตรียมความพรอมในการจัดทํางบประมาณรายจาย ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560 โดยตองดําเนินการใหสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560 - 2579) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ทิศทางแผน การศึกษาแหงชาติ (พ.ศ. 2560 - 2579) นโยบายรัฐบาล นโยบายความมั่นคงแหงชาติ และจุดเนนของ ยุทธศาสตรการจัดสรรงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560 สํานักงาน กศน. จึงไดจัดทํา แผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของสํานักงาน กศน. ขึ้น เพื่อใชเปนกรอบแนวทางในการ ปฏิบัติงาน ตลอดจนการกํากับ เรงรัด ติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติงานประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของสาํ นักงาน กศน. ไดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ สาระของแผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของสํานักงาน กศน. แสดงใหเห็น สรุปภาพรวมงาน โครงการ กิจกรรม เปาหมาย และงบประมาณที่ดําเนินการในปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของหนวยงานและสถานศึกษาในสังกัด สํานักงาน กศน. ในอันที่จะขับเคลื่อนนโยบาย ยุทธศาสตรที่เปนจุดเนนสําคัญที่รัฐบาล และกระทรวงศึกษาธิการกําหนดไว รวมท้ังขับเคล่ือนงานตาม บทบาทภารกิจหลักของ สํานักงาน กศน. ใหบรรลุวิสัยทัศน “กศน. รวมสรางสังคมแหงการเรียนรู ตลอดชวี ติ เพ่อื โอกาสและคุณภาพทางการศึกษาของประชาชนทุกชว งวัย” สํานักงาน กศน. ขอขอบคุณผูมีสวนเกี่ยวของ ที่ใหความรวมมือในการจัดทําแผนปฏิบัติการ ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของสํานักงาน กศน. ฉบับนี้จนสําเร็จไดเปนอยางดี และหวังเปนอยางย่ิงวา แผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของสํานักงาน กศน. จะเปนแนวทางในการบริหารงาน/โครงการ และ งบประมาณของหนวยงานและสถานศึกษาในสังกัดสํานักงาน กศน. ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ตลอดจนเปนเคร่ืองมือในการกํากับติดตามผลการดําเนินงานของผูบริหาร รวมท้ังเปนขอมูลสําหรับ หนว ยงาน และผสู นใจกิจกรรมงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยตอไป สาํ นักงาน กศน.

สารบญั คํานํา หนา สว นท่ี 1 บทนาํ 1 สว นที่ 2 สาระสาํ คัญของแผนปฏบิ ัตกิ ารประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2560 38 76 ของสาํ นกั งาน กศน. สว นท่ี 3 ตารางสรุปบญั ชีแผนปฏิบตั ิการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560 112 สาํ นกั งาน กศน. (สาํ หรับการจัดทาํ คําของบประมาณรายจา ย ประจําป พ.ศ. 2560) สวนที่ 4 การบริหารจดั การ การกํากบั ตดิ ตาม และการประเมนิ ผลและ รายงานผลแผนปฏบิ ัตกิ ารประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560 สาํ นักงาน กศน. (สําหรับการจัดทาํ คาํ ของบประมาณรายจา ย ประจาํ ป พ.ศ. 2560) ภาคผนวก x ฟอรม กศน-กผ -01 x ฟอรม กศน-กผ -02 x ฟอรม กศน-กผ -03 x ฟอรมเขยี นโครงการ ประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2560 x อกั ษรยอหนว ยงาน x คณะผูจัดทํา

ปรัชญา แผนภูมิแสดงความเช่อื มโยงสาระสําคัญของแผนปฏบิ ตั ิกา วิสยั ทศั น พนั ธกจิ “ปรชั ญาของเศรษ เปาประสงค กศน. รวมสรางสงั คมแหงการเรยี น ตวั ช้วี ดั 1. จัดและสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษา 2. สง เสริมและสนบั สนนุ การมสี ว นรวมของภาคี 3. สงเสริมและ ตามอธั ยาศยั เพือ่ ยกระดับการศกึ ษา พัฒนาทักษะ เครือขายและชุมชน ในการจดั การศึกษา และเทคโน การเรยี นรูของประชาชนใหเ หมาะสมทุกชวงวัย นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั เกดิ ประสิท และสรางสงั คมแหงการเรยี นรตู ลอดชีวิต และการศึก 1. ประชาชนผดู อย พลาดและขาดโอกาสทาง 5. ชุมชนและทุกภาคสวน รวมเปนภาคีเครือขายใน 6. หนว ยงานแ การศึกษาไดรบั โอกาสทางการศึกษาในรปู แบบ การจัด สงเสรมิ และสนบั สนุนการดําเนนิ งาน เทคโนโลยที การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐานที่ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย และการสอ่ื มีคณุ ภาพอยา งทัว่ ถึงและเทา เทียม รวมท้งั มสี วนรวมในการขบั เคล่ือนกิจกรรมการ ยกระดบั คณุ เรยี นรูของชมุ ชนตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ 2. ประชาชนไดรบั การศึกษาและการเรียนรทู ม่ี ี พอเพยี งและปรัชญาคิดเปน คณุ ภาพ เพอื่ ยกระดบั คุณภาพการศกึ ษา อันนาํ ไปสูการยกระดบั คณุ ภาพชีวิตและเสริมสรา ง ความเขม แขง็ ใหชมุ ขน 3. ประชาชนไดร บั การสง เสรมิ การอาน เพ่ือสรางนิสยั รักการอานและการแสวงหาความรดู วยตนเอง 4. ประชาชนไดร ับโอกาสในการเรียนรแู ละมีเจตคติ ทางวิทยาศาสตร และเทคโนโลยที ี่เหมาะสม สามารถประยุกตใ ชในการแกปญหา และพัฒนา คุณภาพชีวิตไดอ ยา งสรางสรรค 1. จํานวนผูเรยี นการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พนื้ ฐานท่ีไดร ับการสนบั สนุนคา ใชจ ายตามสิทธทิ ก่ี ําหนดไว 2. จาํ นวนของคนไทยกลุม เปาหมายตางๆ (กลมุ เปาหมายทัว่ ไป กลุมเปา หมายพเิ ศษ และกลุมคนไทยทั่วไป เปน ตน) ทีเ่ ขา รวมกจิ กรรมการเร ไดร ับบริการกิจกรรมการศกึ ษาตอเนอ่ื ง และการศกึ ษาตามอัธยาศัยทส่ี อดคลอ งกบั สภาพ ปญ หา และความตอ งการ 3. รอยละผูจ บหลกั สูตร/กิจกรรมการศึกษานอกระบบสามารถนําความรูความเขา ใจไปใชไ ดตามจดุ มงุ หมายของหลักสตู ร/กจิ กรรมทีก่ ําหนด 4. จาํ นวนแหลงเรียนรใู นระดบั ตําบลท่ีมีความพรอมในการใหบ รกิ ารการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 5. จํานวนประชาชนกลมุ เปาหมายทเ่ี ขารบั การฝกอาชพี เห็นชอ งทางในการประกอบอาชพี 6. รอ ยละของผูเขารวมกจิ กรรมทีส่ ามารถอา นออกเขียนไดและคดิ เลขเปนตามจดุ มงุ หมายของกิจกรรม 7. รอยละของประชาชนกลมุ เปาหมายทไ่ี ดรับบรกิ ารเขา รว มกิจกรรมแหลงเรียนรูตามอัธยาศยั มีความรคู วามเขา ใจ เจตคติ ทักษะตามจดุ มงุ ห ของกจิ กรรมทก่ี ําหนด 8. จาํ นวนผดู แู ลผสู ูงอายทุ ผี่ านการอบรมตามหลกั สตู รทก่ี าํ หนด 9 จาํ นวนองคกรภาคสวนตาง ๆ ทงั้ ในและตางประเทศ ทรี่ ว มเปน ภาคเี ครอื ขา ยในการดําเนินงานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธย 10. จํานวนนักเรียน นักศกึ ษา และประชาชนทัว่ ไปท่เี ขาถงึ บริการการเรยี นรูทางดานวิทยาศาสตรในรูปแบบตาง ๆ

ารประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของสาํ นักงาน กศน. ษฐกิจพอเพยี ง และ ปรัชญาคดิ เปน ” นรตู ลอดชวี ิต เพ่ือโอกาสและคุณภาพทางการศึกษาของ ะพัฒนาการนาํ เทคโนโลยีทางการศึกษา 4. พัฒนาหลกั สตู ร รปู แบบการจดั กิจกรรม 5. พฒั นาบคุ ลากรและระบบการบรหิ าร นโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารมาใชให การเรียนรู สอื่ และนวตั กรรม การวัดและ จดั การเพอ่ื มุง จัดการศึกษาทมี่ ีคณุ ภาพ ทธภิ าพในการจัดการศกึ ษานอกระบบ ประเมนิ ผลในทุกรปู แบบใหส อดคลองกบั บริบท โดยยึดหลกั ธรรมาภบิ าล กษาตามอธั ยาศยั ในปจจบุ ัน 8. บุคลากรของหนวยงานและสถานศึกษาไดรับ และสถานศึกษาพัฒนาและนําสือ่ 7. หนว ยงานและสถานศึกษาพัฒนาและจัด การพัฒนาเพ่ือเพ่มิ สมรรถนะในการปฏบิ ัตงิ าน ทางการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศ กระบวนการเรียนรเู พ่ือแกปญหาและพฒั นา การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย อสาร มาใชใ นการเพม่ิ โอกาสและ คณุ ภาพชวี ติ ท่ตี อบสนองกบั การเปลยี่ นแปลง อยางทั่วถึง ณภาพในการจัดการ เรียนรู บริบทดา นเศรษฐกิจ สังคม การเมอื ง วัฒนธรรม ประวตั ศิ าสตร และสงิ่ แวดลอ ม รวมทงั้ 9. หนว ยงานและสถานศึกษามีระบบการบรหิ าร ตามความตองการของประชาชน และชุมชน จัดการตามหลักธรรมาภบิ าล ในรปู แบบทหี่ ลากหลาย รียนร/ู 11. จํานวน/ประเภทของส่ือ และเทคโนโลยที างการศกึ ษาทีม่ กี ารจัดทํา/พัฒนาและนาํ ไปใชเพ่อื สง เสริมการเรยี นรขู องผูเรยี น/ผรู บั บริการการศึกษานอก ระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัย หมาย 12. จาํ นวนนกั เรยี น นกั ศกึ ษา และประชาชนทวั่ ไปท่ีเขาถึงบรกิ ารความรนู อกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยผา นชอ งทางสอ่ื เทคโนโลยีทางการศึกษา ยาศยั และเทคโนโลยกี ารสื่อสาร 13. รอ ยละของนักศึกษาท่ีมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนทไี่ ดร ับบริการตวิ เขมเตม็ ความรเู พม่ิ สูงขึ้น 14. จํานวนบุคลากรของหนว ยงานและสถานศึกษาไดรับการพฒั นาเพ่อื เพ่ิมสมรรถนะในการปฏบิ ตั งิ านการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 15. รอยละของสถานศึกษาในสังกัดทีม่ ีระบบประกนั คุณภาพภายในและมีการจัดทํารายงานการประเมินตนเอง 16. รอยละของหนว ยงาน และสถานศกึ ษา กศน. ท่ีมีการใชระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารในการจดั ทําฐานขอ มูลชมุ ชนและการบริหาร จัดการ เพือ่ สนบั สนุนการดาํ เนินงานการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศยั ขององคก าร 17. รอยละของหนวยงาน และสถานศึกษา กศน. ทส่ี ามารถดําเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามบทบาทภารกจิ ทร่ี บั ผดิ ชอบไดสําเร็จตามเปาหมายทกี่ าํ หนด ไวอ ยา งโปรง ใส ตรวจสอบได โดยใชทรพั ยากรอยา งคุมคา /ตามแผนท่กี ําหนดไว

ยทุ ธศาสตร ยทุ ธศาสตรท ี่ 1 ยุทธศาสตรท ่ี 2 ยทุ ธศาสตรท ี่ 3 และจุดเนน พฒั นาหลกั สตู ร กระบวนการเรยี นการสอน การผลติ พฒั นา ครู คณาจารย และ ผลติ และพัฒนากําลังคน รวมทง้ั ง การวดั และประเมนิ ผล บุคลากรทางการศกึ ษา ที่สอดคลอ งกบั ความตองกา ของการพฒั นาประเทศ จดุ เนน จุดเนน 1.1 จัดกระบวนการเรียนรทู ี่ตอบสนองกับ 2.1 จดั ทาํ แผนพัฒนาอัตรากาํ ลงั ลว งหนา จดุ เนน 3.1 ยกระดับการศึกษาใหก บั กลุมปร การเปล่ยี นแปลงบรบิ ทดานเศรษฐกจิ ระยะ 10 ป สังคม การเมือง วัฒนธรรม ประวัตศิ าสตร 2.2 เรงพัฒนาศกั ยภาพครู กศน. ทุกประเภท วัยแรงงาน (15-59 ป) ใหจบการ และสงิ่ แวดลอ ม รวมท้งั ตามความ ภาคบงั คับอยางมคี ณุ ภาพ ตอ งการของประชาชน และชุมชน เพื่อใหส ามารถเปนทงั้ ผูสอน ผูออกแบบ 3.2 จัดการศึกษาเพื่อเพ่ิมอตั ราการร ในรูปแบบที่หลากหลาย ใหประชาชน การเรยี นรูรายบคุ คล และจัดกระบวนการ ใหคนไทยสามารถอานออกเขียน คดิ เปน วิเคราะหได ตัดสินใจภายใต เรยี นรไู ดอยา งมีประสทิ ธภิ าพ รวมท้ัง ใชหลักสูตรการรหู นงั สอื ไทย พุท ฐานขอ มลู ท่ีถกู ตอ ง จัดทาํ แผนพัฒนาครู กศน. ทุกประเภท ๒๕๕๗ ของสํานกั งาน กศน. แล 1.2 สง เสรมิ ใหมกี ารจดั การเรียนการสอน และทกุ ระดบั ชว งระยะ 10 ป สื่อท่ีเหมาะสมกับสภาพและพื้นท แบบ “สะเต็มศึกษา” (STEM Education) 2.3 สาํ รวจขอ มลู และทบทวนหลักเกณฑ ของกลุมเปา หมาย การจา งลกู จางแบบจา งเหมาบริการ และ 3.3 จดั การศกึ ษานอกระบบและการ พนกั งานราชการใหตรงตาม ตามอัธยาศยั ใหสอดคลองและรอ ความตอ งการของพนื้ ท่ี ความตองการของการพัฒนาตาม ของแตล ะพน้ื ทใ่ี นเขตพฒั นาเศร พิเศษ โดยมงุ เนนผลติ กาํ ลงั คนให สอดคลอ งกบั ความตองการของพ พรอมท้ังสรางทักษะทางวิชาชีพ ผลผลติ / 1. แผนงานพื้นฐานดานพัฒนาและเสริมสรา งศักยภาพคน 2. แผนงานพื้นฐานดา นความมั่น โครงการหลัก โครงการ : สนับสนุนคาใชจ ายการจัดการศึกษาตัง้ แตระดบั อนบุ าลจนจบการศึกษา โครงการ : บริหารจัดการศกึ ขั้นพ้ืนฐาน กจิ กรรม : กอสรา งศูนยวิทยา กิจกรรม : จดั การศึกษานอกระบบ ระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน กิจกรรม : พฒั นาบคุ ลากรเพ ผลผลิต : ผูรับบริการการศึกษานอกระบบ กจิ กรรม : ติดตามประเมนิ ผล กิจกรรม : จัดการศกึ ษานอกระบบ 1) จัดการศึกษานอกระบบ 3. แผนงานบรู ณาการขับเคลอื่ นก 2) โครงการจดั การศกึ ษาสําหรบั เดก็ และเยาวชนในถ่นิ ทรุ กนั ดารเพอ่ื สนองงาน โครงการ : พฒั นาการศึกษา ตามพระราชดาํ รสิ มเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี กจิ กรรม : จัดการศึกษานอก 3) โครงการความรว มมือกบั ตางประเทศดานการพัฒนาสง เสรมิ และเผยแพร 1) โครงการเตมิ ปญ ญาสรา ง เกษตรธรรมชาติ 2) โครงการฝก อาชพี จงั หวดั กิจกรรม : แกไขปญ หาพน้ื ทปี่ ลกู ฝนอยางยง่ั ยืน 3) โครงการสง เสรมิ ภาษาคูก 1) โครงการขยายผลโครงการหลวงเพอื่ แกป ญ หาพ้ืนทป่ี ลกู ฝน อยางยงั่ ยืน 4) โครงการรินน้ําใจสเู ยาวช ผลผลติ : ผรู บั บรกิ ารการศึกษาตามอัธยาศยั 5) โครงการนอมนําหลกั ปร 1) จดั การศึกษาตามอัธยาศยั อันเนอ่ื งมาจากพระราช 2) โครงการสง เสริมการศึกษานอกระบบผา นทวี ีสาธารณะ (ติวเขมเต็มความร)ู 6) โครงการกีฬาสายสัมพนั 3) จัดสรางแหลงการเรยี นรใู นระดบั ตาํ บล 7) โครงการเยาวชนสานสัม 4) สนับสนุนคา บรกิ ารเครอื ขา ยสารสนเทศเพอ่ื การจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา 8) โครงการมหกรรมวิทยาศ ตามอธั ยาศยั

งานวจิ ัย ยุทธศาสตรที่ 4 ยุทธศาสตรท ี่ 5 ยทุ ธศาสตรท่ี 6 าร ขยายโอกาสในการเขา ถงึ บริการการศกึ ษา สงเสรมิ และพัฒนาระบบเทคโนโลยี พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การสง เสริมใหท กุ สารสนเทศและการส่อื สารเพอ่ื การศกึ ษา ภาคสว นมีสว นรวมในการจัดการศกึ ษา ระชากร และการเรียนรอู ยางตอ เนอ่ื งตลอดชวี ิต จุดเนน จดุ เนน รศกึ ษา จุดเนน 5.1 พฒั นา กศน. ตําบล ใหมีความพรอม 6.1 เรงบรหิ ารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก รหู นังสือ 4.1 จดั และสง เสรมิ หนวยงานทเ่ี กีย่ วขอ ง เกีย่ วกับโครงสรางพ้ืนฐานดาน ICT และ 6.2 สาํ รวจ วิเคราะห และปรบั ปรุงคาใชจ า ย นได โดย เทคโนโลยี เพ่อื การศกึ ษาอน่ื ที่เหมาะสม ทธศักราช ในการจดั การศกึ ษาและการเรียนรใู หก บั กบั พืน้ ท่ี ในการจัดการศกึ ษานอกระบบระดบั ละ กลมุ เปา หมายเด็กออกกลางคัน/ 5.2 พฒั นาระบบชองทางแหลงเรียนรูออนไลน การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน นที่ เด็กตกหลน และกลุม คนพิการ (Portal Web) และสง เสริมใหป ระชาชน 6.3 สรา งความรู ความตระหนัก และ รศึกษา 4.2 เรง สํารวจขอมลู การรูหนังสอื ของคนไทย นําเทคโนโลยีจิดิทลั มาประยกุ ตใ ช ปลูกจติ สํานกึ ตามหลักธรรมาภิบาล องรับกับ 4.3 พฒั นา กศน.ตาํ บล/แขวง ใหเปนฐาน ในการเรียนรู/ กิจกรรมตาง ๆ ตลอดจนความรเู รอ่ื งกฎหมาย ระเบยี บ มบริบท การขบั เคล่อื นการจัดการศกึ ษา ขอบังคับ และอื่น ๆ ท่เี ก่ียวของกับ รษฐกิจ 4.4 จดั การศึกษาเพอื่ พัฒนาคุณภาพชวี ติ การปฏบิ ัตงิ านใหกับบุคลากร ห สาํ หรบั ประชาชนทกุ ชว งวยั ทุกระดบั ทุกประเภท พ้ืนที่ “กศน. เพ่ือประชาชน” พ 4.5 มุงเนน การสง เสรมิ ใหเกดิ ชุมชน รกั การอาน “นัง่ ที่ไหน อานที่นน่ั ” ในรูปแบบตาง ๆ นคง 4. แผนงานบูรณาการพัฒนาศกั ยภาพคนตามชวงวยั กษาในจังหวัดชายแดนภาคใต โครงการ : พัฒนาคุณภาพชีวิตผสู ูงอายุ าศาสตรเ พอ่ื การศกึ ษานราธิวาส กิจกรรม : สง เสรมิ คุณภาพชวี ติ ของผูส งู อายุ พ่อื เพ่ิมประสทิ ธิภาพการปฏิบัตงิ านในจังหวัดชายแดนภาคใต 1) โครงการจดั หลกั สตู รการดแู ลผสู งู อายกุ ระทรวงศกึ ษาธิการ ลการพฒั นาการศกึ ษาจังหวัดชายแดนภาคใต 2) โครงการเสริมสรางคณุ ภาพชวี ิตสาํ หรบั ผสู งู อายุ การแกไ ขปญหาและพฒั นาจงั หวดั ชายแดนภาคใต าในเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกิจจังหวดั ชายแดนภาคใต 5. แผนงานบูรณาการยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาและการเรยี นรตู ลอดชวี ติ กระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยในจงั หวดั ชายแดนภาคใต โครงการ : ปรับปรุงระบบการเรยี นรู งความรสู สู ถาบันศกึ ษาปอเนาะ กิจกรรม : สง เสรมิ ศูนยฝก อาชพี ชมุ ชน ดชายแดนภาคใตต ามแนวทางโรงเรยี นพระดาบส กจิ กรรม : พฒั นาครู กศน. ตน แบบการสอนภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอื่ สาร คการเรียนรสู ูหมบู า นชายแดนใต กจิ กรรม : แนะแนวและประสานงานการศกึ ษาพเิ ศษอาํ เภอ/เขต ชน กศน. ชายแดนใต รัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและขยายผลการดาํ เนินงาน 6. แผนงานบูรณาการบริหารจดั การขยะและสง่ิ แวดลอม ชดํารสิ ูประชาชนจงั หวัดชายแดนภาคใต โครงการ : เพิม่ ประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การขยะมลู ฝอย นธช ายแดนใต กจิ กรรม : เพมิ่ ประสิทธิภาพการบรหิ ารจัดการขยะมูลฝอย มพันธล กู เสือ กศน. ชายแดนใต ศาสตรแ ละอาชีพเพอื่ คนชายแดนใต

1สวนท่ี บทนาํ ฅ ตามท่ีพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 มาตรา 9 ไดกําหนดไววา การบริหารราชการเพ่ือใหเกิดผลสัมฤทธ์ิตอภารกิจของรัฐใหสวนราชการปฏิบัติ คือ (1) กอนจะดําเนินการตามภารกิจใด สวนราชการตองจัดทําแผนปฏิบัติราชการไวเปนการลวงหนา (2) การกําหนดแผนปฏิบัติราชการของสวนราชการตาม (1) ตองมีรายละเอียดของข้ันตอนระยะเวลา และงบประมาณที่จะตองใชในการดําเนินการของแตละข้ันตอน เปาหมายของภารกิจ ผลสัมฤทธ์ิ ของภารกจิ และตัวช้ีวดั ความสําเร็จของภารกิจ และมาตรา 16 ใหสวนราชการจัดทําแผนปฏิบัติราชการ ของสวนราชการนั้น “ในแตละปงบประมาณ ใหสวนราชการจัดทําแผนปฏิบัติราชการประจําป โดยให ระบุสาระสําคัญเกี่ยวกับนโยบายการปฏิบัติราชการของสวนราชการเปาหมายและผลสัมฤทธ์ิของงาน รวมท้ังประมาณการรายไดและรายจายและทรัพยากรอื่นที่จะตองใชเสนอตอรัฐมนตรีเพื่อใหความเห็นชอบ เมอื่ รัฐมนตรีใหความเห็นชอบแผนปฏิบตั ริ าชการของสวนราชการใดแลวใหสาํ นักงบประมาณดําเนนิ การ จัดสรรงบประมาณเพื่อปฏิบัติงานใหบรรลุผลสําเร็จในแตละภารกิจตามแผนปฏิบัติราชการดังกลาว ในกรณีท่ีสวนราชการมิไดเสนอแผนปฏิบัติราชการในภารกิจใดห รือภารกิจใดไมไดรับความเห็นชอบ จากรัฐมนตรี มิใหสํานักงบประมาณจัดสรรงบประมาณสําหรับภารกิจน้ัน” ประกอบกับคณะรัฐมนตรี มีมติ เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2558 เห็นชอบแนวทางการจัดทํางบประมาณ และปฏิทินงบประมาณ รายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ตามท่ีสํานักงบประมาณเสนอเพ่ือใหสวนราชการเตรียมความพรอม ในการจัดทํางบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560 และกําหนดแผนการปฏิบัติงาน ใหสอดคลองปฏิทินงบประมาณ โดยมีสาระสําคัญใหทุกสวนราชการจัดทําแผนปฏิบัติงานและ แผนการใชจายงบประมาณประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560 เบื้องตน (Pre - Ceiling) ตามยุทธศาสตร การจัดสรรงบประมาณรายจายประจําป พ.ศ. 2560 ซึ่งจําแนกวงเงินและรายละเอียดงบประมาณ ออกเปน 3 สวน ประกอบดวย 1) แผนงานบุคลากรภาครัฐ 2) แผนงานพ้ืนฐาน 3) แผนงานยุทธศาสตร (แผนงานบูรณาการ) พรอมท้ังใหสอดคลองกับกรอบยุทธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560 - 2579) แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ทิศทางแผนการศึกษาแหงชาติ (พ.ศ. 2560 - 2579) นโยบายความมั่นคงแหงชาติ (พ.ศ. 2558 - 2564) และนโยบายรัฐบาล (พลเอก ประยทุ ธ จนั ทรโ อชา) น้นั ดังนั้น เพ่ือใหเปนไปตามพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการ บานเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 สอดคลองกับมติคณะรัฐมนตรี กรอบยุทธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560 - 2579) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) นโยบายของ รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ (พลเอก ดาวพงษ รัตนสุวรรณ) และบริบทตาง ๆ ที่เกี่ยวของ สํานักงาน กศน. จึงไดจัดทําแผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ขึ้น โดยเช่ือมโยงภารกิจของ

ชาติดานการศึกษา และบริบทตา ง ๆ ท่ีเก่ียวของกบั บทบาทอาํ นาจหนาทข่ี องสํานักงาน กศน. เพื่อใชเปน กรอบแนวทางในการปฏิบัติงานประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของสํานักงาน กศน. ไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยแผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของสํานักงาน กศน. มรี ายละเอยี ด ดังน้ี กรอบยุทธศาสตรช าติ ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560 - 2579) คณะกรรมการจัดทํายุทธศาสตรชาติไดดําเนินการยกรางกรอบยุทธศาสตรแหงชาติ ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560 - 2579) เพื่อใชเปนกรอบแนวทางการพัฒนาประเทศในระยะ 20 ป โดยกําหนดวิสัยทัศน เปา หมายและยทุ ธศาสตร ดงั น้ี วิสัยทศั น “ประเทศไทยมีความม่ันคง ม่ังคั่ง ย่ังยืน เปน ประเทศพัฒนาแลว ดวยการพัฒนา ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง” และเปนคติพจนประจําชาตวิ า “มน่ั คง มง่ั คั่ง ย่ังยืน” เปา หมาย 1. ความม่ันคง 1.1 การมีความม่ันคงปลอดภัย จากภัยและการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในประเทศ และภายนอกประเทศในทุกระดับ ทัง้ ระดบั ประเทศ สังคม ชมุ ชน ครัวเรือน และปจเจกบคุ คล และมีความม่ันคง ในทกุ มติ ิ ทั้งมติ ิเศรษฐกจิ สังคม สงิ่ แวดลอ ม และการเมอื ง 1.2 ประเทศ มคี วามมัน่ คงในเอกราชและอธิปไตย มีสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย ท่ีเขมแข็งเปนศูนยกลางและเปนที่ยึดเหน่ียวจิตใจของประชาชน ระบบการเมืองที่ม่ันคงเปนกลไกท่ีนําไปสู การบริหารประเทศทีต่ อ เนอ่ื งและโปรง ใสตามหลักธรรมาภิบาล 1.3 สังคม มีความปรองดองและความสามัคคี สามารถผนึกกําลังเพื่อพัฒนาประเทศ ชุมชนมีความเขมแข็ง ครอบครัวมคี วามอบอุน 1.4 ประชาชน มคี วามม่ันคงในชวี ิต มีงานและรายไดท ี่มนั่ คงพอเพียงกับการดํารงชีวิต มที ่ีอยูอ าศยั และความปลอดภยั ในชวี ติ และทรัพยส นิ 1.5 ฐานทรัพยากรและสงิ่ แวดลอ ม มคี วามมนั่ คงของอาหาร พลงั งาน และน้าํ 2. ความมงั่ ค่ัง 2.1 ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอยางตอเนื่อง ยกระดับเปนประเทศ ในกลุมประเทศรายไดสูง ความเหล่ือมลํ้าของการพัฒนาลดลง ประชากรไดรับผลประโยชนจากการพัฒนา อยา งเทา เทยี มกนั มากข้นึ 2แผนปฏบิ ตั ิการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของสาํ นักงาน กศน.

2.2 เศรษฐกิจมีความสามารถในการแขงขันสูง สามารถสรางรายไดทั้งจากภายใน และภายนอกประเทศ สรางฐานเศรษฐกิจและสังคมแหงอนาคต และเปนจุดสําคัญของการเช่ือมโยง ในภูมิภาคท้ังการคมนาคมขนสง การผลิต การคา การลงทุน และการทําธุรกิจ มีบทบาทสําคัญในระดับ ภมู ภิ าคและระดบั โลก เกดิ สายสัมพนั ธทางเศรษฐกิจและการคาอยางมีพลัง 2.3 ความสมบูรณในทุนที่จะสามารถสรางการพัฒนาตอเน่ือง ไดแก ทุนมนุษย ทุนทางปญญา ทุนทางการเงิน ทุนท่ีเปนเครื่องมือเครื่องจักร ทุนทางสังคม และทุนทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอ ม 3. ความยง่ั ยืน 3.1 การพัฒนาที่สามารถสรางความเจริญ รายได และคุณภาพชีวิตของประชาชน ใหเพ่ิมข้ึนอยางตอเน่ือง ซ่ึงเปนการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจท่ีไมใชทรัพยากรธรรมชาติเกินพอดี ไมสรางมลภาวะตอ สิง่ แวดลอ มจนเกนิ ความสามารถในการรองรับและเยยี วยาของระบบนเิ วศน 3.2 การผลิตและการบริโภคเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และสอดคลองกับกฎระเบียบ ของประชาคมโลกซึ่งเปนท่ียอมรับรวมกัน ความอุดมสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม มีคณุ ภาพดขี น้ึ คนมีความรับผดิ ชอบตอสงั คม มคี วามเออื้ อาทร เสยี สละเพือ่ ผลประโยชนส วนรวม 3.3 มุงประโยชนสวนรวมอยางยงั่ ยืน ใหความสําคญั กับการมีสวนรวมของประชาชน ทกุ ภาคสวน เพ่อื การพัฒนาในทกุ ระดบั อยางสมดุล มีเสถียรภาพ และย่ังยนื 3.4 ประชาชนทุกภาคสวนในสังคม ยึดถือและปฏิบัติตามปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง วัตถุประสงค 1. เพื่อสรา งความปรองดองสมานฉนั ท 2. เพื่อเพิ่ม กระจายโอกาสและคณุ ภาพการใหบรกิ ารของรัฐอยางทวั่ ถึง เทาเทียม เปนธรรม 3. เพ่อื ลดตนทุนใหภ าคการผลติ และบรกิ าร 4. เพอ่ื เพ่มิ มูลคา สินคา เกษตร อุตสาหกรรม และบริการดว ยนวัตกรรม ยทุ ธศาสตรของกรอบยุทธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560 - 2579) ประกอบดวย 6 ยทุ ธศาสตร โดยมสี าระสาํ คญั ที่เกย่ี วของกบั สาํ นักงาน กศน. ดังน้ี ยทุ ธศาสตรที่ 1 ดา นความมน่ั คง มีเปาหมายทง้ั ในการสรา งเสถยี รภาพภายในประเทศ และชวยลดและปองกันภัยคุกคามจากภายนอก รวมท้ังสรางความเชื่อม่ันในกลุมประเทศอาเซียน และประชาคมโลกท่มี ีตอประเทศไทย 1.1 การเสริมสรางความม่ันคงของสถาบันหลักและการปกครองระบอบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษตั รยิ ท รงเปน ประมุข 1.3 การรักษาความม่ันคงภายในและความสงบเรียบรอยภายใน ตลอดจนการบริหาร จัดการความม่นั คงชายแดนและชายฝง ทะเล 3แผนปฏบิ ัติการประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2560 ของสาํ นักงาน กศน.

ยุทธศาสตรท่ี 2 ดา นการสรา งความสามารถในการแขงขนั เพื่อใหป ระเทศไทยสามารถ พัฒนาไปสูการเปนประเทศพัฒนาแลว ซ่ึงจําเปนตองยกระดับผลิตภาพการผลิตและการใชนวัตกรรม ในการเพ่มิ ความสามารถในการแขงขนั และการพฒั นาอยา งยั่งยนื 2.2 การพัฒนาภาคการผลิตและบริการ บนฐานของการพัฒนานวัตกรรม และ มีความเปนมิตรตอส่ิงแวดลอม โดยมีการใชดิจิทัลและการคาท่ีเขมขนเพื่อสรางมูลคาเพิ่มและ ขยายกิจกรรม การผลิตและบริการ โดยมุงสูความเปนเลิศในระดับโลกและในระดับภูมิภาค ในอุตสาหกรรมหลายสาขา และในภาคบริการท่ีหลากหลายตามรูปแบบการดําเนินชีวิตและ การดาํ เนนิ ธุรกิจทเ่ี ปลย่ี นไป รวมท้งั เปนแหลง อาหารคณุ ภาพ สะอาดและปลอดภัยของโลก ยุทธศาสตรท่ี 3 ดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพคน เพื่อพัฒนาคนและสังคมไทย ใหเปนรากฐานท่ีแข็งแกรงของประเทศ มีความพรอมทางกาย ใจ สติปญญา มีความเปนสากล มีทักษะ การคิดวิเคราะหอยางมีเหตุผล มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย มีคุณธรรม จริยธรรม รูคุณคาความเปนไทย มีครอบครวั ท่มี น่ั คง 3.1 การพัฒนาศักยภาพคนตลอดชว งชวี ิตใหส นับสนุนการเจริญเติบโตของประเทศ 3.2 การยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรใู หม ีคุณภาพ เทา เทยี ม และทั่วถึง 3.3 การปลูกฝงระเบยี บวินยั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา นยิ มทพ่ี งึ ประสงค ยุทธศาสตรที่ 4 ดานการสรางโอกาสความเสมอภาคและเทาเทียมกันทางสังคม เพ่ือเรง กระจายโอกาสการพัฒนา และสรางความมน่ั คงใหท ว่ั ถึง ลดความเหลอ่ื มลํา้ ไปสสู งั คมทเ่ี สมอภาคและเปนธรรม 4.1 การสรา งความม่นั คงและการลดความเหล่ือมล้าํ ทางดา นเศรษฐกิจและสงั คม 4.3 การสรา งสภาพแวดลอมและนวตั กรรมท่ี เออ้ื ตอการดาํ รงชีวิตในสงั คมสูงวยั ยทุ ธศาสตรท่ี 5 ดานการสรา งการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรตอส่ิงแวดลอม เพื่อเรง อนุรักษฟนฟูและสรางความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติ และมีความมั่นคงดานนํ้า รวมท้ัง มีความสามารถในการปองกันผลกระทบและปรับตัวตอการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติ ธรรมชาติ และพฒั นามงุ สูก ารเปนสังคมสเี ขยี ว 5.4 การพฒั นาเมืองอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศและเมอื งทเี่ ปนมติ รกับส่งิ แวดลอม ยุทธศาสตรท่ี 6 ดานการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการภาครัฐ เพือ่ ให หนวยงานภาครัฐมีขนาดที่เหมาะสมกับบทบาทภารกิจ มีสมรรถนะสูง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล กระจายบทบาทภารกจิ ไปสูทองถิน่ อยา งเหมาะสม มธี รรมาภิบาล 6.1 การปรบั ปรุงโครงสราง บทบาท ภารกจิ ของหนวยงานภาครัฐ ใหมขี นาดท่เี หมาะสม 6.3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการกาํ ลังคนและพัฒนาบคุ ลากรภาครฐั 6.4 การตอ ตา นการทจุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบ 6.5 การปรบั ปรุงกฎหมายและระเบยี บตาง ๆ ใหท นั สมยั เปน ธรรมและเปนสากล 4แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของสํานักงาน กศน.

แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) การพัฒนาประเทศในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 เปน 5 ปแรก ของการขับเคลื่อนยุทธศาสตรชาติ 20 ป (พ.ศ.2560 - 2579) สูการปฏิบัติโดยแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสงั คมแหง ชาติ ฉบับท่ี 12 โดยมหี ลักการท่สี าํ คัญ คอื หลักการ 1. ยึด “หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง” เพื่อใหเกิดบรู ณาการการพัฒนาในทุกมิติ อยางสมเหตุสมผล มีความพอประมาณ และมีระบบภูมิคุมกันและการบริหารจัดการความเสี่ยงท่ีดี ซึ่งเปนเง่ือนไขที่จําเปนสําหรับการพัฒนาท่ีย่ังยืนซ่ึงมุงเนนการพัฒนาคนมีความเปนคนที่สมบูรณ สังคมไทยเปนสังคมคุณภาพ มีที่ยืนและเปดโอกาสใหกับทุกคนในสังคมไดดําเนินชีวิตท่ีดี มีความสุข และอยูรวมกนั อยางสมานฉนั ท 2. ยึด “คนเปนศูนยกลางการพัฒนา” มุงสรางคุณภาพชีวิตและสุขภาวะที่ดีสําหรับ คนไทย พัฒนาคนใหมีความเปนคนท่ีสมบูรณ มีวินัย ใฝรู มีความรู มีทักษะ มีความคิดสรางสรรค มีทัศนคติที่ดี รับผิดชอบตอสังคม มีจริยธรรมและคุณธรรม พัฒนาคนทุกชวงวัยและเตรียมความพรอม เขาสูสังคมผสู งู อายุอยางมีคณุ ภาพ รวมถงึ การสรางคนใหใชประโยชนและอยูกับสิ่งแวดลอมอยา งเก้ือกูล อนุรักษ ฟน ฟู ใชป ระโยชนทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอมอยางเหมาะสม 3. ยึด“วิสัยทัศนภายใตยุทธศาสตรชาติ 20 ป” มาเปนกรอบของวิสัยทัศนประเทศไทย ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบบั ท่ี 12 วิสัยทศั น “ประเทศไทยมีความม่ันคง ม่ังคั่ง ยัง่ ยืน เปนประเทศพัฒนาแลว ดวยการพัฒนาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” หรือเปนคติพจนประจําชาติ วา “มน่ั คง ม่ังคง่ั ยั่งยืน” 4. ยึด “เปาหมายอนาคตประเทศไทยป 2579” ท่ีเปนเปาหมายในยุทธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป มาเปน กรอบในการกําหนดเปาหมายทจ่ี ะบรรลุใน 5 ปแรกและเปาหมายในระดับยอยลงมา ควบคูกบั กรอบเปา หมายท่ียั่งยืน (SDGs) 5. ยึด “หลักการนําไปสูการปฏิบัติใหเกิดผลสัมฤทธิ์อยางจริงจังใน 5 ปที่ตอยอดไปสู ผลสัมฤทธ์ทิ เ่ี ปน เปาหมายระยะยาว” เปาหมายรวม ประกอบดวย 6 เปา หมาย โดยมีเปาหมายทเี่ ก่ียวของกับสาํ นักงาน กศน. ดังน้ี 1. เปาหมายที่ 1 คนไทยมีคุณลักษณะเปนคนไทยท่ีสมบูรณ มีวินัย มีทัศนคติ และพฤติกรรมตามบรรทัดฐานที่ดีของสังคม มีความเปนพลเมืองต่ืนรู มีความสามารถในการปรับตัวได อยางรูเทาทันสถานการณ มีความรับผิดชอบและทําประโยชนตอสวนรวม มีสุขภาพกายและใจท่ีดี มีความเจรญิ งอกงามทางจิตวญิ ญาณ มีวิถชี ีวติ ทพ่ี อเพยี ง และมคี วามเปนไทย 5แผนปฏิบัตกิ ารประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2560 ของสํานักงาน กศน.

2. เปาหมายที่ 2 ความเหลื่อมล้ําทางดานรายไดและความยากจนลดลง เศรษฐกิจฐานราก มีความเขมแข็ง ประชาชนทุกคนมีโอกาสในการเขาถึงทรัพยากร การประกอบอาชีพ และบริการทางสังคม ทม่ี คี ุณภาพอยางทั่วถงึ และเปนธรรม 3. เปาหมายท่ี 6 มีระบบบริหารจัดการท่ีมีประสิทธิภาพ ทันสมัย โปรงใส ตรวจสอบได กระจายอํานาจและมีสวนรว มจากประชาชน วตั ถปุ ระสงค 1. เพื่อใหคนไทยทุกชวงวัยมีทักษะความรูความสามารถ สามารถพัฒนาตนเองได ตอ เนอื่ งตลอดชวี ิต 2. เพ่ือใหระบบเศรษฐกจิ มีโครงสรา งท่เี ขม แข็ง มเี สถยี รภาพ แขงขนั ได ยั่งยืน 3. เพ่ือรักษาทุนธรรมชาติและคณุ ภาพสิง่ แวดลอ มสูความสมดุลของระบบนเิ วศน 4. เพอ่ื สรางความมั่นคงภายในประเทศ ปอ งกันและลดผลกระทบจากภัยคุกคามขา มชาติ 5. เพ่ือใหการทํางานเชิงบูรณาการในลักษณะเช่ือมโยงระหวางหนวยงานท่ียึดหนาท่ี และพืน้ ท่ี ทําใหภ าครฐั มปี ระสิทธภิ าพและปราศจากคอรรปั ชน่ั ยุทธศาสตรของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 ประกอบดวย 10 ยุทธศาสตร โดยมสี าระสาํ คญั ทเ่ี ก่ยี วขอ งกับสํานกั งาน กศน. ดังนี้ ยุทธศาสตรท่ี 1 การเสริมสรางและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย พัฒนาคนทุกชวงวัย เพ่ือใหคนไทยเปนคนดี คนเกง มีระเบียบวินัย และมีคุณภาพชีวิตท่ีดี โดยเฉพาะการพัฒนาและดูแล ผูสูงอายุท่ีจะมีสัดสวนสูงข้ึนในสังคมสูงวัยทั้งการสรางงานที่เหมาะสม การฟนฟูและดูแลสุขภาพ เพื่อชะลอความทุพพลภาพและโรคเรื้อรัง การสรางสภาพแวดลอมและนวัตกรรมท่ีเอื้อตอสังคมสูงวัย มุ งเน น ก าร พั ฒ น าศั ก ย ภ าพ ค น เพื่ อ เป น ฐ าน ก าร เพิ่ ม ขี ด ค วาม ส าม ารถ ใน ก ารแ ข งขัน ข อ งป ร ะ เท ศ และรองรับการลดลงของขนาดกําลังแรงงาน โดยการยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู ที่สอดคลองกับการเรียนรูในศตวรรษท่ี 21 การปองกันและควบคุมปจจัยทางสังคมท่ีกําหนดสุขภาพ เพื่อสรางสุขภาวะที่ดี การสรางความอยูดีมีสุขใหครอบครัวไทย รวมท้ังการเสริมสรางบทบาทของสถาบัน ทางสงั คมและทนุ ทางวัฒนธรรมในการสง เสรมิ คุณธรรมจริยธรรมในสังคม ยุทธศาสตรที่ 2 การสรางความเปนธรรมลดความเหล่ือมลํ้าในสังคม มุงเนนการ ลดความเหล่ือมล้ําในทุกมิติเพ่ือสรางความปรองดองในสังคม การสรางโอกาสใหทุกคนในสังคมไทย สามารถเขาถึงทรัพยากร แหลงทุนในการประกอบอาชีพ เพื่อยกระดับรายไดและขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ฐานราก การเขาถึงบริการทางสังคมของรัฐอยางมีคุณภาพ ทั่วถึงและเปนธรรม ซึ่งจะนําไปสูการลด ความยากจนและความเหลือ่ มล้ําอนั จะนาํ ไปสูการลดความขัดแยงในสงั คมไทย 6แผนปฏิบตั ิการประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของสาํ นักงาน กศน.

ยทุ ธศาสตรท่ี 5 การเสริมสรา งความม่ันคงแหง ชาติ เพื่อการพฒั นาประเทศสูความม่ังค่ัง และย่ังยืน ใหความสําคัญกับความมั่นคงท่ีสงผลกระทบตอการพัฒนาในทุกมิติท้ังมิติเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดลอม ตลอดจนการพัฒนาศกั ยภาพใหประเทศ สามารถรับมือกับภัยคุกคามทุกรูปแบบที่จะเกิดข้ึน ในอนาคต ยุทธศาสตรท่ี 6 การบริหารจัดการในภาครัฐ การปองกันการทุจริตประพฤติมิชอบ และธรรมาภิบาลในสังคม เพ่ือใหการบริหารจัดการภาครัฐ มีความโปรงใส มีประสิทธิภาพ มีความ รับผิดชอบและตรวจสอบไดอยางเปนธรรม รวมทั้งประชาชนมีสวนรวม มีการกระจายอํานาจ และแบง ภารกจิ รบั ผดิ ชอบทเ่ี หมาะสมระหวางสว นกลาง ภูมิภาคและทอ งถิ่น แผนการศกึ ษาแหง ชาติ (พ.ศ. 2560 - 2579) สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษาไดจัดทําแผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 เพื่อใชเปน แผนยุทธศาสตรระยะยาวสําหรับหนวยงานที่เกี่ยวของกับการศึกษาของประเทศ ไดนําไปใชเปนกรอบ แนวทางการพัฒนาการศึกษาสําหรับพลเมืองทุกชวงวัยตั้งแตแรกเกิดจนตลอดชีวิต โดยไดกําหนด สาระสําคญั ไวด ังน้ี วิสัยทัศน : “คนไทยทุกคนไดรับการศึกษาและเรียนรูตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพ ดํารงชีวิต อยางเปนสุข สอดคลองกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปลย่ี นแปลงของโลกศตวรรษที่ 21” เปาหมายของการจดั การศึกษา (Aspirations) 5 ประการ 1. ประชากรทุกคนเขาถึงการศึกษาท่ีมีคุณภาพและมีมาตรฐานอยางท่ัวถึง (Access) มีตัวช้ีวัดท่ีสําคัญ เชน ประชากรกลุมอายุ 6 - 14 ปทุกคนไดเขาเรียนในระดับประถมศึกษาและ มัธยมศึกษาตอนตนหรือเทียบเทาที่รัฐตองจัดใหฟรี โดยไมเก็บคาใชจาย ผูเรียนพิการไดรับการพัฒนา สมรรถภาพหรือบริการทางการศึกษาท่ีเหมาะสมทุกคน และประชากรวัยแรงงานมีการศึกษาเฉลี่ย เพิ่มขน้ึ เปนตน 2. ผูเรียนทุกคน ทุกกลุมเปาหมายไดรับบริการการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน อยางเทาเทียม (Equity) มีตัวชี้วัดที่สําคัญ เชน ผูเรียนระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานทุกคนไดรับการ สนับสนนุ คาใชจา ยในการศกึ ษา 15 ป เปนตน 3. ระบบการศึกษาที่มีคุณภาพ สามารถพัฒนาผูเรียนใหบรรลุขีดความสามารถ เต็มตามศักยภาพ (Quality) มีตัวชี้วัดที่สําคัญ เชน นักเรียนมีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O - NET) แตละวิชาผานเกณฑคะแนนรอยละ 50 ขึ้นไปเพิ่มข้ึน และคะแนนเฉลี่ย ผลการทดสอบโครงการประเมินผลนักเรียนรวมกับนานาชาติ (Programme for International Student Assessment : PISA) ของนกั เรยี นอายุ 15 ปส งู ข้นึ เปนตน 7แผนปฏิบตั กิ ารประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2560 ของสํานักงาน กศน.

4. ระบบการบริหารจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ เพื่อการลงทุนทางการศึกษาที่คุมคา และบรรลุเปาหมาย (Efficiency) มตี ัวชว้ี ดั ท่สี ําคัญ เชน รอยละของสถานศกึ ษาขนาดเล็กท่ีไมผ านเกณฑ การประเมินคุณภาพภายนอกลดลง มีระบบการบริหารงานบุคคล ครู และบุคลากรทางการศึกษาท่ีมี ประสิทธิภาพและเปนไปตามเกณฑมาตรฐาน รวมท้ังมีกลไกสงเสริมใหทุกภาคสวนสนับสนุนทรัพยากร เพ่อื การจัดการศกึ ษา เปนตน 5. ระบบการศึกษาท่ีสนองตอบและกาวทันการเปลี่ยนแปลงของโลกที่เปนพลวัต และบริบทท่ีเปลี่ยนแปลง (Relevancy) มีตัวช้ีวัดที่สําคัญ เชน อันดับความสามารถในการแขงขัน ของประเทศดานการศึกษาดีขึ้น สัดสวนผูเรียนอาชีวศึกษาสูงข้ึนเม่ือเทียบกับผูเรียนสามัญศึกษา และจํานวนสถาบนั อุดมศึกษาทตี่ ิดอันดับ 200 อันดบั แรกของโลกเพม่ิ ขน้ึ เปนตน ปจจัยและเงอ่ื นไขความสําเร็จ (Key Success Factors) การดําเนินการตามวัตถุประสงค เปาหมายของแตละยุทธศาสตรตามท่ีกําหนดไว ในแผนการศกึ ษาแหงชาตจิ ะประสบผลสําเร็จตามท่ีระบไุ วใ นแตละยุทธศาสตรและแนวทางการพัฒนาได หนวยงานทั้งระดับนโยบายและระดับปฏิบัติการ ทั้งในสวนกลาง สวนภูมิภาค จังหวัด เขตพ้ืนที่ การศึกษา และสถานศึกษาตองยึดถือเปนแนวทางในการดําเนินงาน และมีการทบทวน ปรับปรุง มาตรการ เปาหมายความสําเร็จใหทันตอการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนในแตละพื้นท่ี เพื่อการพัฒนา ศกั ยภาพผูเรียนในทกุ ชวงวยั ซ่ึงตอ งดําเนินการ ดังน้ี 1. การสรางการรับรู ความเขาใจ และการยอมรับจากผูมีสวนไดสวนเสียและประชาสังคม ในการสงเสริม สนับสนุนการพัฒนาการศึกษาในลักษณะตางๆ อยางกวางขวาง มุงเนนที่การจัดระบบ การศกึ ษาทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ โปรง ใส ตรวจสอบได และมงุ เนน การพฒั นาคุณภาพของผเู รียนในทกุ ระดบั 2. การสรา งความเขาใจในเปาหมายและยทุ ธศาสตรก ารดําเนินงานของแผนการศกึ ษา แหงชาติของผูปฏิบัติทุกหนวยงาน ทุกระดับ เพ่ือใหการขับเคล่ือนแผนการศึกษาแหงชาติไปสู การปฏิบัติ มีการบริหารจัดการและการเชื่อมโยงยุทธศาสตรและแนวทางการพัฒนาใหบรรลุเปาหมาย และวิสัยทัศนของการจัดการศึกษา มีคณะกรรมการกํากับดูแลแตละยุทธศาสตรใหเกิดการนําไปปฏิบัติ โดยมีระบบงบประมาณเปนกลไกสนับสนุนใหบรรลุผลอยา งเปน รปู ธรรม 3. การปรับเปล่ียนกระบวนทัศนของการจัดการศึกษา จากการเปนผูจัดการศึกษาโดยรัฐ มาเปนการจัดการศึกษาโดยทุกภาคสวนของสังคม ที่มุงการจัดการศึกษาเพื่อความเทาเทียมและท่ัวถึง (Inclusive Education) ตลอดจนการสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตสําหรับทุกคน ซ่ึงสอดคลองกับ เปาหมายการพัฒนาทย่ี งั่ ยนื (Sustainable Development Goals) 4. การจัดใหแผนการศึกษาแหงชาติเปนเสมือนแผนงบประมาณดานการจัดการศึกษา ของรัฐ ระบบการจัดสรรงบประมาณประจําปใหยึดแผนงาน โครงการ และเปาหมายการพัฒนา ท่ีกําหนดไวในยุทธศาสตรและแนวทางการพัฒนาของแผนการศึกษาแหงชาติ เปนหลักในการพิจารณา เพื่อใหการดําเนินงานพัฒนาการศึกษาเปนไปในทิศทางและเปาหมายการพัฒนาผูเรียนแตละชวงวัย 8แผนปฏิบตั กิ ารประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของสาํ นักงาน กศน.

และการพัฒนากําลังคนตามความตองการของตลาดงานและประเทศ เพื่อการจัดการศึกษาบรรลุผล ตามยทุ ธศาสตร ตัวชวี้ ัดในชว งเวลาทก่ี าํ หนด 5. การปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐใหเกิดประสิทธิภาพ โดยปรับโครงสราง การบริหารงานใหมีความชัดเจนในดานบทบาทหนาท่ี และการกระจายอํานาจและการตัดสินใจ จากสวนกลางสูระดับภูมิภาคและสถานศึกษา รวมท้ังการปรับระบบการบริหารจัดการ และการบริหาร งานบุคคลในแตละระดับใหสงเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาในสถานศึกษาใหเปนไปอยางมีคุณภาพ ผูเรียนไดร บั บรกิ ารการศึกษาทม่ี ีมาตรฐานอยา งเสมอภาคและเทา เทยี ม 6. การสรางระบบขอมลู และสารสนเทศทบ่ี ูรณาการและเชื่อมโยงกับระบบการประกัน คุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอกผานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการรายงาน ตอสาธารณชนจะเปนกลไกในการสรางการรับรูของผูจัดการศึกษาและผูเรียน เพื่อการปรับปรุงประสิทธิภาพ การบริหารจดั การ และความรับผิดชอบตอผเู รยี น ผา นระบบการกํากับ ตรวจสอบตดิ ตามและประเมนิ ผล 7. การปฏิรูประบบทรัพยากรและการเงินเพื่อการศึกษา เพ่ือใหรัฐสามารถใชเครื่องมือ ทางการเงินในการกํากับการดําเนินงานของสถานศึกษาใหเปนไปตามแผนการศึกษาแหงชาติ และนโยบาย รฐั บาล นโยบายรัฐบาล นายกรัฐมนตรี (พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา) ไดแถลงนโยบายรัฐบาลตอสภานิติบัญญัติ แหง ชาติ เม่อื วันที่ 12 กนั ยายน 2557 ไว 11 ดาน โดยมนี โยบายสาํ คญั ทเ่ี กี่ยวของกับสาํ นักงาน กศน. ดงั น้ี นโยบายท่ี 1 การปกปองและเชดิ ชูสถาบันพระมหากษัตริย สถาบันพระมหากษัตริยเปนองคประกอบสําคัญของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ตามประเพณีการปกครองของไทย รัฐบาลจึงถือเปนหนาท่ีสําคัญย่ิงยวดในอันที่จะเชิดชูสถาบันน้ีไว ดวยความจงรักภักดี และปกปองรักษาพระบรมเดชานุภาพ โดยจะใชมาตรการทางกฎหมาย มาตรการ ทางสังคมจิตวิทยา และมาตรการทางระบบส่ือสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการดําเนินการ กบั ผูคะนองปาก ยามใจหรือประสงคราย มุงส่ันคลอนสถาบันหลักของชาติ โดยไมคํานึงถึงความรูสํานึก และความผูกพันภักดีของคนอีกเปนจํานวนมาก ตลอดจนเผยแพรความรูความเขาใจท่ีถูกตอง และเปนจริงเก่ียวกับสถาบันพระมหากษัตริยและพระราชกรณียกิจเพื่อประชาชน ท้ังจะสนับสนุน โครงการทั้งหลายอันเนื่องมาจากพระราชดําริ สงเสริมใหเจาหนาท่ีสถานศึกษา ตลอดจนหนวยงาน ท้ังหลายของรัฐเรียนรูเขาใจหลักการทรงงาน สามารถนําหลักดังกลาวมาประยุกตใชในการปฏิบัติ ราชการและการพัฒนา ตลอดจนเรงขยายผลตามโครงการและแบบอยางท่ีทรงวางรากฐานไวใหแพรหลาย เปน ทป่ี ระจกั ษแ ละเกดิ ประโยชนในวงกวา งอันจะชว ยสรา งความสมบรู ณพนู สุขแกประชาชนในที่สุด 9แผนปฏบิ ัติการประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2560 ของสาํ นักงาน กศน.

นโยบายท่ี 2 การรกั ษาความมัน่ คงของรัฐและการตางประเทศ 2.2 เรงแกไขปญหาการใชความรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต โดยนํายุทธศาสตร เขาใจ เขาถึง และพัฒนามาใชตามแนวทางกัลยาณมิตรแบบสันติวิธี สงเสริมการพูดคุยสันติสุข กับผูมีความคิดเห็นตางจากรัฐ สรางความเชื่อม่ันในกระบวนการยุติธรรมตามหลักนิติธรรมและหลัก สิทธิมนุษยชนโดยไมเลือกปฏิบัติ ควบคูกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมท่ีสอดคลองกับความตองการ ของประชาชนในพ้ืนท่ีซึ่งเปนพหุสังคม ขจัดการฉวยโอกาสกอความรุนแรงแทรกซอน เพื่อซํ้าเติมปญหา ไมวาจากผูมีอิทธิพลในทองถิ่นหรือเจาหนาที่ฝายบานเมือง ทั้งจะเพ่ิมระดับปฏิสัมพันธกับตางประเทศ และองคการระหวา งประเทศทอ่ี าจชว ยคลค่ี ลายปญหาได นโยบายที่ 4 การศึกษาและเรยี นรู การทะนบุ ํารุงศาสนา ศิลปะและวฒั นธรรม 4.1 จัดใหมีการปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู โดยใหความสําคัญทั้งการศึกษา ในระบบและการศึกษาทางเลือกไปพรอมกัน เพ่ือสรางคุณภาพของคนไทยใหสามารถเรียนรู พัฒนาตน ไดเต็มตามศักยภาพ ประกอบอาชีพและดํารงชีวิตไดโดยมีความใฝรูและทักษะที่เหมาะสม เปนคนดี มีคุณธรรม สรางเสริมคุณภาพการเรียนรู โดยเนนการเรียนรูเพื่อสรางสัมมาชีพในพื้นท่ี ลดความเหลื่อมลํ้า และพฒั นากําลังคนใหเปน ท่ีตองการเหมาะสมกบั พนื้ ท่ี ทั้งในดานการเกษตร อตุ สาหกรรม และธุรกจิ บรกิ าร 4.2 ในระยะเฉพาะหนา จะปรับเปลี่ยนการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการศึกษา ใหสอดคลองกับความจําเปนของผูเรียนและลักษณะพื้นที่ของสถานศึกษา และปรับปรุง และบูรณาการ ระบบการกูยืมเงนิ เพ่ือการศึกษาใหมีประสิทธิภาพเพื่อเพ่ิมโอกาสแกผยู ากจนหรือ ดอยโอกาส จัดระบบ การสนับสนุนใหเยาวชนและประชาชนทั่วไปมีสิทธิเลือกรับบริการการศึกษา ทั้งในระบบโรงเรียน และนอกโรงเรียน โดยจะพจิ ารณาจัดใหม คี ปู องการศึกษาเปนแนวทางหนง่ึ 4.3 ใหองคกรภาคประชาสังคม ภาคเอกชน องคกรปกครองสวนทองถ่ิน และประชาชนทั่วไปมีโอกาสรวมจัดการศึกษาท่ีมีคุณภาพและท่ัวถึง และรวมในการปฏิรูปการศึกษา และการเรียนรู กระจายอํานาจการบริหารจัดการศึกษาสูสถานศึกษา เขตพ้ืนท่ีการศึกษา และองคกร ปกครองสว นทอ งถนิ่ ตามศกั ยภาพและความพรอม โดยใหสถานศึกษาสามารถเปนนิติบคุ คล และบริหาร จัดการไดอ ยา งอสิ ระและคลอ งตัวขนึ้ 4.4 พัฒนาคนทุกชวงวัยโดยสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต เพื่อใหสามารถมีความรู แ ล ะ ทั ก ษ ะ ใ ห ม ที่ ส า ม า ร ถ ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ ได ห ล า ก ห ล า ย ต า ม แ น ว โ น ม ก า ร จ า ง ง า น ใ น อ น า ค ต ปรับกระบวนการเรียนรูและหลักสูตรใหเช่ือมโยงกับภูมิสังคม โดยบูรณาการความรูและคุณธรรม เขาดวยกันเพ่ือใหเอื้อตอการพัฒนาผูเรียนทั้งในดานความรู ทักษะ การใฝเรียนรู การแกปญหา การรับฟงความเห็นผูอ่ืน การมีคุณธรรม จริยธรรม และความเปนพลเมืองดี โดยเนนความรวมมือ ระหวางผเู ก่ียวขอ งทัง้ ในและนอกโรงเรยี น 10แผนปฏบิ ตั กิ ารประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2560 ของสํานักงาน กศน.

4.6 พัฒนาระบบการผลิตและพัฒนาครูที่มีคุณภาพ และมีจิตวิญญาณของความเปนครู เนนครูผูสอนใหมีวุฒิตรงตามวิชาที่สอนนําเทคโนโลยีสารสนเทศและเครื่องมือที่เหมาะสมมาใชในการเรียน การสอนเพ่ือเปนเคร่ืองมือชวยครูหรือเพ่ือการเรียนรูดวยตนเอง เชน การเรียนทางไกล การเรียนโดยระบบ อิเล็กทรอนิกส เปนตน รวมท้ังปรับระบบการประเมินสมรรถนะท่ีสะทอนประสิทธิภาพการจัดการเรียน การสอนและการพัฒนาคุณภาพผูเรยี นเปนสาํ คญั นโยบายที่ 10 การสงเสริมการบริหารราชการแผน ดินที่มีธรรมาภิบาล และการปองกัน ปราบปรามการทจุ รติ และประพฤติมชิ อบในภาครัฐ 10.1 ปรับปรุงระบบราชการในดานองคกรหรือหนวยงานภาครัฐ ท้ังในระดับประเทศ ภูมิภาค และทองถ่ิน ทบทวนการจัดโครงสรางหนวยงานภาครัฐที่มอี ํานาจหนาที่ซํ้าซอนหรอื ลดหล่ันกัน หรือมีเสนทางการปฏิบัติงานท่ียืดยาว ปรับปรุงวิธปี ฏิบัติราชการใหทันสมัยโดยนําเทคโนโลยีมาใชแกไข กฎระเบียบใหโปรงใส ชัดเจน สามารถบริการประชาชนไดอยางมีประสิทธิภาพ ตลอดจนจัดระบบ อัตรากําลังและปรับปรุงคาตอบแทนบุคลากรภาครัฐใหเหมาะสมและเปนธรรม ยึดหลักการบริหาร กิจการบานเมืองท่ีดีการบริหารจัดการภาครัฐแบบใหม การตอบสนองความตองการของประชาชน ในฐานะที่เปนศนู ยกลาง และการอาํ นวยความสะดวกแกผูใชบรกิ ารเพ่ือสรางความเชอื่ ม่ันวางใจในระบบ ราชการลดตนทุนดําเนินการของภาคธุรกิจ เพิ่มศักยภาพในการแขงขันกับนานาประเทศ และการรักษา บุคลากรภาครัฐที่มีประสิทธิภาพไวในระบบราชการ โดยจะดําเนินการต้ังแตระยะเฉพาะหนา ไปตามลําดับความจําเปนและตามท่กี ฎหมายเออ้ื ใหส ามารถดําเนนิ การได 10.5 ใชมาตรการทางกฎหมาย การปลูกฝงคานิยม คุณธรรม จริยธรรม และจิตสํานึก ในการรักษาศักดิ์ศรีของความเปนขาราชการและความซ่ือสัตยสุจริต ควบคูกับการบริหารจัดการภาครัฐ ท่ีมีประสิทธิภาพ เพื่อปองกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบของเจาหนาท่ีของรัฐ ทุกระดับอยางเครงครัด ยกเลิกหรือแกไขกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับตางๆ ที่ไมจําเปน สรางภาระ แกประชาชนเกนิ ควร หรอื เปดชองโอกาสการทุจริต เชน ระเบียบการจัดซอื้ จัดจาง การอนุญาต อนุมัติ และการขอรับบริการจากรัฐ ซ่ึงมีข้ันตอนยืดยาวใชเวลานาน ซํ้าซอน และเสียคาใชจายทั้งของภาครัฐ และประชาชน ยุทธศาสตรก ารจดั สรรงบประมาณรายจา ยประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2560 ยุทธศาสตรการจัดสรรงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560 จัดทําข้ึนเพื่อให หนวยงานของรัฐนําไปใชเปนแนวทางในการกําหนดลําดับความสําคัญของภารกิจหนวยงานและ ใชเปนเครื่องมอื ในการจดั สรรงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ใหเกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและเปนการวางรากฐาน เพื่อรองรับการพัฒนาท่ีย่ังยืนของประเทศในระยะยาวตอไป ยุทธศาสตรการจดั สรรงบประมาณรายจา ยประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2560 ไดกําหนดไว 6 ยทุ ธศาสตร และ 1 รายการคา ดาํ เนินการภาครัฐ คอื 11แผนปฏิบตั กิ ารประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของสาํ นักงาน กศน.

1. ยุทธศาสตรดา นความมัน่ คงและการตางประเทศ 2. ยทุ ธศาสตรด านการสรา งความสามารถในการแขง ขนั ของประเทศ 3. ยทุ ธศาสตรดา นการพฒั นาและเสริมสรา งศักยภาพของคน 4. ยทุ ธศาสตรดานการแกปญ หาความยากจน ลดความเหลอ่ื มลํา้ และสรางการเติบโตจากภายใน 5. ยุทธศาสตรดานการจัดการน้ําและสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรกับส่ิงแวดลอม อยา งยงั่ ยืน 6. ยุทธศาสตรด านการปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบริหารจดั การภาครฐั 7. รายการคา ดําเนนิ การภาครัฐ องคประกอบระดับแผนงาน ยุทธศาสตร 6 ดาน และ 1 รายการคาดําเนินการภาครัฐ นํามาจัดทํา เปนกรอบการดําเนินงาน โดยแบงออกเปน 1) แผนงานพื้นฐาน เปนแผนงานที่ดําเนินภารกิจตามหนาที่ ความรับผิดชอบเปนปกติประจําตามกฎหมายฯ โดยจําแนกตามยุทธศาสตร 6 ดาน จํานวน 6 แผนงาน และแผนงานรอง จําแนกตามโครงสรางแผนงาน จํานวน 46 แผนงานรอง 2) แผนงานยุทธศาสตร เปนแผนงานที่ดําเนินภารกิจตามหนาท่ีความรับผิดชอบที่ไดรับมอบหมายในเชิงนโยบายฯ โดยกําหนดให การจัดการงบประมาณเปนลักษณะ Project based จํานวน 46 แผนงาน (เปนแผนงานบูรณาการ เชิงยุทธศาสตรจํานวน 25 แผนงาน) 3) รายการคาดําเนินการภาครัฐ จํานวน 4 แผนงาน เปนคาใชจาย เกี่ยวกับบุคลากรภาครัฐ จํานวน 1 แผนงาน จําแนกตามแผนงานรอง 46 ดาน งบกลาง 5 รายการ และคา ใชจา ยดาํ เนินการภาครฐั อื่น ๆ จํานวน 3 แผนงาน โดยมสี วนทเี่ กย่ี วขอ งกับสาํ นักงาน กศน. ดังน้ี 1. ยุทธศาสตรด า นความม่ันคงและการตา งประเทศ 1.3 แผนงานบรู ณาการขับเคลือ่ นการแกไ ขปญ หาในจังหวัดชายแดนภาคใต 1.9 แผนงานพน้ื ฐานดานความม่นั คงและการตางประเทศ 3. ยทุ ธศาสตรด านการพฒั นาและเสริมสรา งศกั ยภาพคน 3.1 แผนงานบูรณาการพัฒนาศกั ยภาพคนตามชว งวยั 3.2 แผนงานบูรณาการยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาและการเรียนรูต ลอดชีวิต 3.5 แผนงานพ้นื ฐานดานการพฒั นาและเสรมิ สรางศักยภาพคน 5. ยุทธศาสตรดานการจัดการนํ้าและสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรกับ สิง่ แวดลอมอยา งย่งั ยนื 5.1 แผนงานบูรณาการบรหิ ารจดั การขยะและส่ิงแวดลอ ม 7. รายการคาดําเนินการภาครัฐ 7.1 แผนงานบุคลากรภาครัฐ 7.1.9 แผนงานรองบุคลากรภาครัฐยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู ตลอดชีวิต 12แผนปฏิบัตกิ ารประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของสาํ นักงาน กศน.

รายละเอียดสาระสําคัญของยุทธศาสตรการจัดสรรงบประมาณรายจายประจําป พ.ศ. 2560 ทีเ่ กีย่ วของกับสํานกั งาน กศน. มีดังนี้ 1. ยุทธศาสตรดานความม่ันคงและการตา งประเทศ 1.3 การขับเคล่อื นการแกไ ขปญหาจังหวัดชายแดนภาคใต เปา หมายเชิงยทุ ธศาสตร - พน้ื ที่มีระบบเฝาระวงั ดูแลความปลอดภัยทัง้ ในเขตพืน้ ท่เี มืองชมุ ชนและหมบู านเปาหมาย - เศรษฐกจิ ขยายตวั ตอ เนื่อง ประชาชนมีรายไดเ พม่ิ ข้นึ และมคี ุณภาพชวี ิตที่ดีข้นึ - ประชาชนและชุมชนสามารถดาํ เนนิ ชีวติ ท่ีมีความหลากหลายทางวฒั นธรรม - ภาคสวนตา ง ๆ มีความเขาใจและสนับสนนุ ภาครฐั แกไ ขความขดั แยงโดยสันตวิ ธิ ี ตัวชีว้ ดั - จํานวนเหตุการณความไมสงบลดลงจากคาเฉล่ีย 3 ปย อนหลัง ไมนอยกวา รอยละ 30 - รายไดเฉลี่ยของครัวเรือน/ประชาชน ในพื้นที่จังหวัดชายแดนใตเพิ่มขึ้น ไมนอยกวา รอ ยละ 10 - ผูเรียนระดับมัธยมศึกษาหรือเทียบเทา ที่เขารับการศึกษาในสถานศึกษาของภาครัฐ ตอ ประชากรกลมุ เปา หมาย ไมนอ ยกวารอ ยละ 25 - ชมุ ชนท่มี กี ารจัดกิจกรรมรว มกันแบบสงั คมพหวุ ฒั นธรรม ไมน อ ยกวา รอยละ 50 - จาํ นวนผูเ ห็นตางทก่ี ลบั ใจมาสนับสนุนฝายรฐั ไมน อ ยกวา รอ ยละ 20 - จาํ นวนโครงการ/กิจกรรมที่เพม่ิ ขึ้น จากนอกภาครัฐที่สนบั สนนุ การแกไขปญหาจังหวัด ชายแดนภาคใต นโยบายการจดั สรรงบประมาณ 1.3.1 สนับสนุนการบูรณาการของหนวยงานภาครัฐใหเปนระบบและมีเอกภาพ และเปดโอกาสใหภาคประชาชนมีสวนรวม โดยนอมนําแนวทางพระราชทาน “เขาใจ เขาถึง พัฒนา” ตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เปนหลักในการปฏิบัติ เพอ่ื ประโยชนและการอยรู วมกนั อยา งสนั ติภายใตพ หุวฒั นธรรม 1.3.2 สนับสนุนการเพ่ิมประสิทธิภาพดานการรักษาความปลอดภัยในชีวิต และทรัพยสิน พัฒนางานดานการอํานวยความยุติธรรม และชวยเหลือเยียวยาผูไดรับผลกระทบ จากเหตกุ ารณความไมสงบอยา งทว่ั ถงึ และเปน ธรรม 1.3.3 สนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมตามศักยภาพของพ้ืนที่ การพัฒนา วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ตลอดจนการพัฒนาที่มุงสรางความมั่นคงในสายอาชีพ การสรางรายได และการยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ของประชาชน 13แผนปฏิบตั กิ ารประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2560 ของสาํ นักงาน กศน.

1.3.4 พัฒนาการศึกษาใหไดมาตรฐานสอดคลองกับตลาดแรงงานในพ้ืนที่และ การเสริมสรางความม่ันคงของชาติ รวมท้ังสงเสริมการเรียนรูในลักษณะทวิภาษา ตลอดจนสนับสนุน กจิ กรรมหลกั ทางศาสนาและการเผยแพรศลิ ปวฒั นธรรมทสี่ ง เสริมสงั คมพหุวัฒนธรรมทเี่ ขม แข็ง 1.3.5 สงเสริมสภาวะแวดลอมที่เอ้ือตอการลดความรุนแรง โดยยึดม่ันแนวทาง สันติวิธี ทั้งการพูดคุยเพ่ือสันติสุขกับผูท่ีเห็นตางจากรัฐ และสรางความเขมแข็งของหมูบานและชุมชน ในการปองกันและแกไ ขปญ หาความไมสงบ รวมทง้ั พัฒนาทกั ษะและขดี ความสามารถ 3. ยุทธศาสตรด านการพฒั นาและเสรมิ สรา งศกั ยภาพคน 3.1 การพัฒนาศกั ยภาพคนตามชวงวัย เปา หมายเชงิ ยุทธศาสตร - คนไทยทุกชวงวัยมีศักยภาพ ความมั่นคงในชีวิต พึ่งพาตนเองได และมีครอบครัว ท่เี ขมแขง็ อบอุน ตวั ช้วี ัด - เด็กมีพฒั นาการสมวยั ไมน อยกวา รอยละ 85 - ความรนุ แรงในครอบครัวทีก่ ระทาํ ตอ เด็กลดลง - เดก็ ไทยมี IQ เฉล่ียไมตํา่ กวา 100 และมี EQ ไมตํา่ กวา เกณฑม าตรฐานรอ ยละ 70 - เดก็ ปว ยและดอ ยโอกาสทส่ี ามารถศึกษาตอในระดบั ปกติ รอยละ 80 - เยาวชนไดร บั โอกาสทางการศึกษาระดบั สูงเพิม่ ขึน้ - จํานวนแรงงานทผี่ านการอบรมตามเกณฑร ะบบประกนั คณุ ภาพไมต ํ่ากวา รอ ยละ 70 - สัดสวนประชากรกลุมเปาหมายอยูในระบบประกันสังคม และระบบสวัสดิการสังคม รอยละ 80 - ขอ มลู ความจาํ เปนพ้ืนฐาน (จปฐ.) ดชั นกี ารไดรบั ความอบอุน ในครอบครวั - ผสู ูงอายุเขา ถึงสทิ ธิและบริการทางสงั คม รอยละ 80 นโยบายการจดั สรรงบประมาณ 3.1.1 สง เสรมิ ใหเด็กปฐมวัยมีการเกิดอยางมีคุณภาพ มพี ัฒนาการสมวัย มคี วามมั่นคง ในชีวิตและไดรับความอบอุนในครอบครัว ตลอดจนการเพิ่มคุณภาพ มาตรฐาน และความปลอดภัย ในการใหบ รกิ ารของศนู ยพฒั นาเด็กเลก็ ในสถานท่ีทาํ งานและชุมชน 3.1.2 พัฒนากลไกชวยเหลือเด็กในวัยเรียนท่ีมีความเสี่ยงในการหลุดจากระบบ การศึกษาใหสามารถจบการศึกษาภาคบังคับและมีโอกาสศึกษาตอในระดับท่ีสูงข้ึน รวมทั้งวางรากฐาน จรยิ ธรรม คุณธรรมใหเ ดก็ วัยเรยี น 3.1.3 สงเสริมการพัฒนาทักษะของวัยรุน/นักศึกษา ทั้งในดานทักษะชีวิตใหมี คุณธรรม จริยธรรม มีภมู ิคุมกันตอความเสี่ยง และทกั ษะอาชพี ใหเพียงพอในการวางรากฐานความม่ันคง ในชีวิตพรอ มสูการเปนผใู หญท่ีมคี ณุ ภาพ 14แผนปฏิบัติการประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของสํานักงาน กศน.

3.1.4 สงเสริมแรงงานนอกระบบเขาสูระบบประกันสังคมและการออมมากข้ึน เรงรัด สงเสริมใหมีระบบการออมของประชาชนท่ีหลากหลายเพ่ือสรางความม่ันคงในชีวิตใหกับแรงงาน รวมทั้งสงเสริมความอบอนุ ในครอบครัวของแรงงาน 3.1.5 สงเสริมผูสูงอายุใหมีการพัฒนาทักษะความรู ความสามารถในการดํารงชีวิต สรางความมั่นคงในชวี ติ และสง เสริมการสรา งคุณคา และความอบอุนในครอบครัว 3.2 การยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษาและการเรียนรูต ลอดชวี ิต เปาหมายเชิงยทุ ธศาสตร - ผูเรียนไดรับการศึกษาท่ีมีคุณภาพ มาตรฐาน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงข้ึน มที กั ษะในการคิดวเิ คราะห และการเรยี นรูตลอดชวี ิตอยา งทวั่ ถึง - คนไทยทุกคนไดเรียนรูตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพและมีศักยภาพท่ีสอดคลอง กับทิศทางการพัฒนาของประเทศ ตวั ชว้ี ัด - คาเฉล่ียผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนระดับชาติ (O-NET, V-NET, N-NET, I-NET) เพิ่มขนึ้ รอยละ 3 จากป 2559 ยกเวนวิชาภาษาอังกฤษ เพ่ิมขึ้นรอ ยละ 2 จากป 2559 - อตั ราการเขาเรียนของเด็กปฐมวัย (3 - 5 ป) เพ่ิมข้นึ รอ ยละ 80 - จํานวนนักศึกษาท่ีเขารวมการจัดการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทํางาน (Work - integrated Learning) เพม่ิ ข้ึนรอ ยละ 10 - ครูและบุคลากรทางการศึกษาที่เขารับการพัฒนาใหเปนผูสนับสนุนการเรียนรู ผกู ระตนุ แรงจงู ใจ ผูสรางแรงบันดาลใจ ผใู หคําปรกึ ษาและชแ้ี นะผา นเกณฑทกี่ ําหนด รอ ยละ 80 - หนวยงานทางการศึกษามีระบบประเมินคุณภาพการศึกษาซึ่งมีการบูรณาการ ท้ังการประกันคุณภาพภายในและประเมินคุณภาพภายนอก โดยเช่ือมโยงกับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน และนักเรียนมสี ว นรวมในการประเมนิ - นักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 3 ทุกสังกัด ไดรับการประเมินความสามารถพื้นฐาน ในดานการอาน ดานคํานวณ และดานเหตุผล ดวยเคร่ืองมือมาตรฐานเทียบเทานานาชาติ ตามแนว PISA - Like และนักเรียนทุกสังกัดมีขอมูลการประเมินผล การประเมินคุณภาพท่ีเทียบเคียงกัน ไดรอ ยละ 100 - ผูเรียนในสถานศึกษาที่มีการจัดการเรียนการสอนโดยใช DLTV และ DLIT มผี ลการเรยี นเฉลยี่ สงู ขึน้ รอ ยละ 60 - ผูสาํ เรจ็ การศกึ ษาทมี่ งี านทาํ เปนทยี่ อมรบั ของผปู ระกอบการ รอ ยละ 80 - ประชาชนไดใชบรกิ ารแหลง เรยี นรูเ ปรยี บเทยี บกบั เปาหมาย รอยละ 80 15แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของสํานักงาน กศน.

นโยบายการจัดสรรงบประมาณ 3.2.1 สงเสริมการสรางกระบวนการเรียนรูและพัฒนาหลักสูตรท่ีเอ้ือตอการเรียนรู ตลอดชีวิต มุงเนนการเรียนรูจากการปฏิบัติจริง ยกระดับคุณภาพการเรียนรูภาษาไทยและภาษาอังกฤษ พัฒนาผูเรียนใหมีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงคและคานิยมของคนไทย 12 ประการ ตลอดจนพัฒนาเด็กปฐมวัยอยางมีคุณภาพ รวมทั้งเพ่ิมจํานวนปการศึกษาเฉลี่ยของคนไทยควบคูกับการเพิ่ม สัดสว นผูเรยี นระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลายประเภทอาชวี ศึกษา 3.2.2 สงเสริมการพัฒนาศกั ยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาใหสามารถรองรับ การเรียนการสอนในสาขาท่ีขาดแคลน และสอดคลองกับทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรมเปาหมาย รวมทัง้ สามารถใชภาษาอังกฤษในการจัดการเรียนการสอนได 3.2.3 สนับสนุนการพัฒนาระบบตรวจสอบและประเมินคุณภาพทางการศึกษา ใหสอดคลองกับมาตรฐานอาชีพและมาตรฐานนานาชาติ และนักเรียนมีขอมูลการประเมินคุณภาพ ที่เทียบเคียงกนั ได 3.2.4 สงเสริมการผลิตและพัฒนาส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมท้ังบูรณาการ ฐานขอมูลสารสนเทศและโครงขายส่ือสารโทรคมนาคม เพื่อสนับสนุนการศึกษาและการเรียนรู ตลอดชีวิต มีมาตรฐานและใหบริการครบทุกสาระการเรียนรูตามหลักสูตร มุงเนนการจัดการศึกษา ทางไกลใหค รอบคลมุ ทกุ พื้นท่ี ตลอดจนลดความซ้ําซอนในการใชเ ทคโนโลยี 3.2.5 ยกระดับคุณภาพสถาบันการศึกษา ในสาขาท่ีมีความเช่ียวชาญสูความเปนเลิศ สงเสริมและพัฒนาแหลงเรียนรูท่ีเอื้อตอการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิต พัฒนาสถาน ศึกษา อาชวี ศึกษาใหไดมาตรฐานระดับนานาชาติ ตลอดจนเสริมสรา งสมรรถนะกําลังคนเพื่อรองรบั การพัฒนา อุตสาหกรรมเปาหมายของประเทศ รวมท้ังสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาจากทุกภาคสวน โดยมีระบบการติดตามและประเมินคุณภาพผูจบการศกึ ษาที่เปนปจจบุ นั และไดมาตรฐาน 5. ยุทธศาสตรดานการจัดการนํ้าและสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตร กับสง่ิ แวดลอ มอยางยั่งยนื 5.1 การบริหารจดั การขยะและสิง่ แวดลอม เปาหมายเชิงยทุ ธศาสตร - ขยะไดรับการจัดการอยา งถูกตอ งและมีประสทิ ธภิ าพ - ประชาชนอยใู นสภาพแวดลอ มทมี่ คี ุณภาพอากาศอยูใ นเกณฑม าตรฐานดีข้นึ - ขยะมูลฝอย ของเสียอันตรายชุมชน มูลฝอยติดเช้ือ และกากอุตสาหกรรมไดรับ การจดั การอยา งถกู ตอง 36.9 ลานตอ ป - คาเฉล่ยี สารอินทรียระเหยงา ยลดลงรอ ยละ 1 - จาํ นวนวนั ทฝ่ี นุ ละอองอยใู นเกณฑมาตรฐานเพม่ิ ข้ึนรอยละ 1 - คุณภาพอากาศอยูในเกณฑมาตรฐานเพิ่มขึน้ ไมน อ ยกวา รอยละ 1 16แผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของสํานักงาน กศน.

นโยบายการจัดสรรงบประมาณ 5.1.1 สงเสริมการลดการเกิดขยะมูลฝอยท่ีตนทาง เสริมสรางขีดความสามารถ ขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในการจัดการขยะมูลฝอยของเสียอันตราย และการนําขยะไปใชประโยชน รวมถงึ การจดั พนื้ ทตี่ นแบบในการลดและคัดแยกขยะ ดแู ลคุณภาพชีวิตประชาชนที่ไดรบั ผลกระทบ 5.1.2 สงเสริมการเพ่ิมศักยภาพการจัดเก็บ ขนสง และกําจัดขยะมูลฝอยตกคาง และทีเ่ กดิ ขึน้ ใหม กากอตุ สาหกรรม ของเสียอันตราย และขยะติดเชื้อไดอยางเปนระบบและมปี ระสิทธภิ าพ 5.1.3 สงเสริมการเพิม่ ศกั ยภาพการจัดการกากอุตสาหกรรมและของเสียอเิ ล็กทรอนกิ ส เรงแกไขปญ หาในพ้ืนท่ีวกิ ฤตซึง่ เปน ฐานอุตสาหกรรมหลักของประเทศ 5.1.4 สงเสริมการพัฒนา กฎ ระเบียบ มาตรการ แนวทางปฏิบัติ และกํากับดูแล บังคบั ใชกฎหมายในการจัดการขยะและสิ่งแวดลอ มอยางเครงครดั 5.1.5 สงเสริมการกํากับ ดูแล ตรวจสอบ ควบคุม ติดตาม เฝาระวังมลพิษ โดยเฉพาะ อยา งย่งิ คา สารอินทรยี ร ะเหยงาย และคุณภาพอากาศ ในพ้ืนทีเ่ ขตควบคุมมลพษิ 5.1.6 สงเสริมการกํากับ ดูแล ตรวจสอบ ควบคุมมลพิษในเขตเมืองกรุงเทพมหานคร และปรมิ ณฑล นโยบายความมัน่ คงแหงชาติ (พ.ศ. 2558 - 2564) นโยบายความมั่นคงแหงชาติเปนนโยบายระดับชาติ กําหนดขึ้นเพื่อเปนกรอบในการดําเนินการ ดานความม่ันคงของภาครัฐในระยะ 7 ป โดยไดประเมินสภาวะแวดลอมทางภูมิรัฐศาสตร สถานการณ และความเปลี่ยนแปลงของบริบทความมั่นคง นําไปสูการกําหนดทิศทางหลักในการดําเนินการเพ่ือรักษา ผลประโยชนและความม่ันคงของประเทศ ท้ังน้ี ไดพิจารณาความเส่ียงและผลกระทบตอความม่ันคง ที่เปนแกนหลักของชาติ ซ่ึงสงผลตอความอยูรอดปลอดภัยของชาติ และสงผลกระทบตอความม่ันคง ในดานตางๆ และภูมิคุมกันของชาติในภาพรวมเปน “เกณฑสําคัญ” แบงเปน 2 สวน คือ สวนท่ี 1 นโยบาย เสริมสรางความม่ันคงที่เปนแกนหลักของชาติ และสวนที่ 2 นโยบายความมั่นคงแหงชาติทั่วไป ซ่ึงการจัดสรร ทรัพยากรจะใหนํ้าหนักตอนโยบายเสริมสรางความม่ันคงท่ีเปนแกนหลักของชาติเปนลําดับสําคัญในระดับ ตน โดยท้ังสองสวนตองไดรับการขับเคลื่อนไปพรอมกัน เพ่ือใหเกิดภาพแหงความสําเร็จโดยรวมและสามารถ รักษาผลประโยชนแหงชาติไดอยางครบถวน ทั้งเสถียรภาพ ความเปนปกแผนของประเทศ และการมีจุดยืน ที่ชดั เจนเหมาะสม ซ่งึ จะทาํ ใหป ระเทศมีเกียรติ และศักดศิ์ รี ในประชาคมโลก กรอบความคิดหลัก ในการกําหนดนโยบายไดคํานึงถึงคานิยมหลักของชาติซ่ึงเปนสิ่งท่ี คนในชาติจะตองยึดถือและพึงรักษาไวรวมกัน และผลประโยชนแหงชาติ ซ่ึงเปนความมุงประสงค ของชาติ ที่จะทําใหคานิยมหลักของชาติดํารงอยูไดอยางม่ันคงตอเนื่อง คานิยมหลักของชาติ ไดแก 1) มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย 2) ซื่อสัตย เสียสละ อดทน มีอุดมการณในส่ิงที่ดีงาม เพื่อสวนรวม 3) กตัญูตอพอแม ผูปกครอง ครูบาอาจารย 4) ใฝหาความรู หมั่นศึกษาเลาเรียน 17แผนปฏิบัตกิ ารประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2560 ของสาํ นักงาน กศน.

ทงั้ ทางตรงและทางออม 5) รกั ษาวฒั นธรรมประเพณีไทยอันงดงาม 6) มศี ลี ธรรม รักษาความสตั ย หวังดี ตอ ผอู ื่น เผื่อแผและแบงปน 7) เขาใจเรยี นรกู ารเปนประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปน ประมุข ทถี่ ูกตอ ง 8) มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผูนอยรูจักการเคารพผูใหญ 9) มีสติรูตัว รูคิด รูทํา รูปฏิบัติ ตามพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว 10) รูจักดํารงตนอยูโดยใชหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงตามพระราชดาํ รัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รูจกั อดออมไวใชเ ม่ือยามจําเปน มีไวพอกิน พอใช ถาเหลือก็แจกจายจําหนายและพรอมท่ีจะขยายกิจการเม่ือมีความพรอม เมื่อมีภูมิคุมกันท่ีดี 11) มคี วามเขมแข็งท้ังรา งกาย และจิตใจไมยอมแพตออํานาจฝา ยตํ่า หรือกิเลส มีความละอายเกรงกลัว ตอบาปตามหลักของศาสนา 12) คํานึงถึงผลประโยชนของสวนรวม และของชาติมากกวาผลประโยชน ของตนเอง ผลประโยชนแหงชาติ ไดแก 1) การมีเอกราช อธิปไตย และบูรณภาพแหงเขตอํานาจรัฐ 2) การดํารงอยูอยางม่ันคง ย่ังยืนของสถาบันหลักของชาติ 3) การดํารงอยูอยางม่ั นคงของชาติ และประชาชนจากภัยคุกคามทุกรูปแบบ 4) การอยูรวมกันในชาติอยางสันติสุข เปนปกแผน ม่ันคง ทางสังคม ทามกลางพหุสังคมและการมีเกียรติและศักดิ์ศรีของความเปนมนุษย 5) ความเจริญเติบโต ของชาติความเปนธรรม และความอยูดีมีสุขของประชาชน 6) ความยั่งยืนของฐานทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดลอมความม่ันคงทางพลังงาน อาหาร 7) ความสามารถในการรักษาผลประโยชนของชาติภายใต การเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดลอมระหวางประเทศ 8) การอยูรวมกันอยางสันติ ประสานสอดคลองกัน ดานความมัน่ คงในประชาคมอาเซียน และประชาคมโลกอยา งมีเกียรติและศกั ดิ์ศรี วสิ ยั ทัศน “ชาติมีเสถยี รภาพและเปนปกแผน ประชาชนมีความมั่นคงในชีวิต ประเทศมีการพัฒนา อยางตอเนื่อง ปลอดภัยจากภัยคุกคามขามพรมแดน พรอมเผชิญวิกฤติการณ มีบทบาทเชิงรุกในประชาคม อาเซียนและดําเนินความสัมพันธกบั นานาประเทศอยา งมีดุลยภาพ” วตั ถุประสงค 1) เพื่อสงเสริมและรักษาไวซึ่งการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริย ทรงเปน ประมุข 2) เพื่อเสริมสรางจติ สาํ นกึ ของคนในชาติใหมคี วามจงรกั ภกั ดี และธาํ รงรักษาไวซึ่งสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย 3) เพ่ือสงเสริมและสนับสนุนการสรางความปรองดอง ความเปนธรรม และความ สมานฉันทในชาติเพ่ือลดการเผชิญหนา และการใชความรุนแรงในทุกรูปแบบ 4) เพื่อใหจังหวัดชายแดน ภาคใตมีความปลอดภัย ปราศจากเงื่อนไขของการใชความรุนแรง 5) เพ่ือพัฒนาศักยภาพของภาครัฐ และสงเสริมบทบาทและความเขมแข็งของทุกภาคสวนในการรับมือกับภัยคุกคามทุกรูปแบบที่กระทบกับ ความม่ันคง 6) เพื่อใหการจัดการฐานทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม พลังงาน และอาหาร มีความม่ันคง ความยั่งยืนและมีความสมดุลกับการขยายตัวของการพัฒนาประเทศ รวมถึงลดความเสี่ยงจากผลกระทบ ของกระแสโลกาภิวัตน 7) เพื่อพัฒนาศักยภาพการเตรียมความพรอมของชาติในการเผชิญกับภาวะสงคราม และวิกฤติการณความม่ันคง อยางมีเอกภาพและประสิทธิภาพ 8) เพื่อเสริมสรางศักยภาพของกองทัพ ในการปองกนั ประเทศ สนบั สนุนภารกิจที่ไมใชการสงคราม และสามารถผนกึ กําลังของกองทัพกบั ทุกภาคสวน ในการเผชิญกับภัยคุกคามดานการปองกันประเทศในทุกรปู แบบ 9) เพ่ือสงเสริมสภาวะแวดลอมท่ีสรางสรรค 18แผนปฏบิ ัติการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของสํานักงาน กศน.

และสันติในการอยูรวมกับประเทศเพ่ือนบาน กลุมประเทศอาเซียน ประชาคมโลก บนพื้นฐานของการรักษา ผลประโยชน และการดาํ รงเกียรติภูมิของชาติ นโยบายความมั่นคง ในสว นท่ีเกยี่ วขอ งกับสํานกั งาน กศน. มดี งั น้ี สวนท่ี 1 นโยบายสําคัญเพ่ือเสริมสรางความมั่นคงท่ีเปนแกนหลักของชาติ (กระทรวง ศกึ ษาธกิ ารเปน หนวยหลกั ) ไดแก นโยบายท่ี 1 เสริมสรางความม่ันคงของสถาบันหลักของชาติ และการปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ทรงเปนประมขุ 1.1 เสริมสรางความรู ความเขาใจทถ่ี ูกตองเกี่ยวกบั สถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย นโยบายท่ี 2 สรา งความเปน ธรรม ความปรองดอง และความสมานฉันทใ นชาติ 2.4 สงเสริมใหประชาชนเกิดความรูสึกเปนสวนหน่ึงของชาติ อยูรวมกันอยางสันติสุข มคี วามรัก ความภาคภมู ิใจ ในความเปนชาตแิ ละเปน สงั คมพหวุ ัฒนธรรมที่เขม แข็ง สว นท่ี 2 นโยบายความมัน่ คงแหงชาตทิ ว่ั ไป (ศธ. เปนหนว ยรวม) ไดแก นโยบายท่ี 4 จดั ระบบการบรหิ ารจัดการชายแดนเพ่ือปองกันและแกไขปญหาขา มพรมแดน 4.3 สงเสริมการใชมิติทางสังคมและวัฒนธรรมในการเสริมสรางความสัมพันธอันดี ทกุ ระดบั กบั ประเทศเพอื่ นบา น นโยบายท่ี 8 เสรมิ สรา งความเขมแข็งและภมู ิคมุ กนั ความม่ันคงภายใน 8.1 ปกปองความมนั่ คงของชาติจากภยั ยาเสพตดิ นโยบายท่ี 10 เสริมสรา งความม่นั คงทางเทคโนโลยสี ารสนเทศและไซเบอร 10.3 พฒั นาศกั ยภาพทางดานเทคโนโลยสี ารสนเทศ นโยบายรฐั มนตรีวาการกระทรวงศึกษาธกิ าร (พลเอก ดาวพ งษ รัตนสวุ รรณ) (19 สงิ หาคม พ.ศ. 2558 - 6 ธนั วาคม พ.ศ. 2559) รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ (พลเอก ดาวพงษ รัตนสุวรรณ) ไดกําหนดยุทธศาสตร ตามกรอบปฏิรปู การศกึ ษา ใหท ุกสวนราชการ/หนวยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ โดยมีรายละเอียด ดังน้ี วิสยั ทศั น “ยกระดับคุณภาพการศึกษาท่ีดีข้ึน มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และลดความเหลื่อมลํ้า อยา งทั่วถึงผลิตและพฒั นากําลงั คนใหส อดคลองกบั ความตองการและรองรับการพัฒนาประเทศ” พันธกจิ 1. ยกระดบั คณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษาเพ่ือรองรับการพัฒนาประเทศ 2. เสริมสรางโอกาสทางการศึกษาแกป ระชาชนอยา งเสมอภาค 3. พัฒนาระบบบรหิ ารจดั การตามหลักธรรมาภบิ าล 19แผนปฏบิ ัติการประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของสํานักงาน กศน.

ประเดน็ ยทุ ธศาสตร 1. ผลิตและพฒั นากําลังคนใหส อดคลองกบั ความตองการและรองรบั การพัฒนาประเทศ 2. หลักสูตรและกระบวนการเรียนรู 3. ระบบงบประมาณและทรัพยากรเพื่อการศกึ ษา 4. ระบบตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษา 5. ระบบสอื่ สารและเทคโนโลยเี พ่ือการศกึ ษา 6. พฒั นาระบบการผลติ การสรรหา และการพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา 7. ระบบการบริหารจัดการ 8. สรางโอกาสทางการศกึ ษา 9. พฒั นาการศึกษาจังหวดั ชายแดนภาคใต 10. การวจิ ยั เพื่อพัฒนาและเพม่ิ ขดี ความสามารถในการแขง ขันของประเทศ เปา ประสงค 1. กาํ ลงั คนมคี ณุ ภาพและมาตรฐาน สอดคลองกับยุทธศาสตรพ ฒั นาประเทศ 2. ผูเรียนและผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษา มีสมรรถนะตรงความตองการของตลาดแรงงาน ตามกรอบคณุ วฒุ ิวชิ าชีพ 3. การจดั การอาชวี ศกึ ษาใหไ ดต ามมาตรฐานสากล 4. ผเู รยี นจบแลวมีงานทํา 5. ผเู รยี นไดร ับการศกึ ษาและการเรียนรูตลอดชีวิตอยา งมคี ุณภาพ มาตรฐาน 6. ผูเรียนและประชาชนไดรับการพัฒนาทักษะ และพัฒนาการเหมาะสมตามวัย สามารถ แสวงหาความรไู ดส อดคลอ งกับบริบทในปจ จบุ ัน 7. นกั เรยี น นกั ศึกษา ประชาชนมีความรูความเขาใจในประวัติศาสตรไ ทย มีคานิยมที่ถกู ตอง ตามคานิยมหลักของคนไทย 12 ประการ และมีภูมคิ ุมกัน ปลอดภัยจากยาเสพติด 8. สถานศึกษาไดรับการจัดสรรทรัพยากรอยางทั่วถึงและเปนธรรม สอดคลองกับนโยบาย การผลติ และพัฒนากาํ ลังคน 9. สถานศกึ ษามีการเบกิ จาย งบประมาณเปนไปอยางมีประสทิ ธิภาพ โปรง ใส และตรวจสอบได 10. ผูเรยี นไดร บั การศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิตอยา งมคี ุณภาพและมาตรฐาน 11. ระบบและกลไกการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษามีประสทิ ธิภาพ 12. สถานศกึ ษาทกุ ระดับทุกประเภทผา นการรบั รองมาตรฐานทางการศึกษา 13. หนวยงานมีระบบสื่อสารและเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว และทันสมยั 14. ระบบ ICT มีการบูรณาการเช่ือมโยงกับหนวยงานท่ีเกี่ยวของทั้งภายในและภายนอก อยา งครอบคลมุ มคี ณุ ภาพ รวดเรว็ และทว่ั ถงึ 20แผนปฏบิ ัติการประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2560 ของสํานักงาน กศน.

15. นําระบบ ICT เขา มาใชจดั การเรียนรูและบริหารจัดการอยางเปน รปู ธรรม และกวางขวาง 16. หนวยงานที่เก่ียวของรวมกันจัดทําแผนการผลิต การสรรหา และการพัฒนาครู และบุคลากรทางการศกึ ษา 17. ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาไดร ับการพัฒนาตามเสน ทางวชิ าชีพทัง้ ระบบตามศกั ยภาพ เพ่ือยกระดับการประกอบวิชาชพี ตามระดับคุณภาพของมาตรฐานในการประกอบวชิ าชพี 18. ครูและบุคลากรทางการศึกษามีคุณภาพและจรรยาบรรณของวิชาชีพสอดคลอง กบั ความตองการของสถานศกึ ษาและทองถิน่ 19. หนว ยงานมรี ะบบบรหิ ารจดั การทค่ี ลองตวั และมีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล 20. มีกลไกการบริหารและการประสานงานการจัดการศึกษาสวนกลางและในพื้นที่ อยางมีประสิทธิภาพ 21. มนี โยบาย แผน มาตรฐานและการติดตามประเมินผลการจัดการศึกษาท่ีหนวยงาน ปฏบิ ตั สิ ามารถนาํ ไปบริหารจดั การไดอยางมปี ระสิทธิภาพ 22. นักเรยี น นักศกึ ษาทุกกลมุ ไดร บั โอกาสทางการศึกษาขั้นพ้นื ฐานตามสิทธทิ ี่กําหนดไว 23. ประชากรทุกกลุมทุกวัยไดรับโอกาสในการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิตอยางท่ัวถึง และเปนธรรม 24. ประชากรวัยเรยี นในพ้นื ทจี่ งั หวดั ชายแดนภาคใตเ ขา ถงึ การศึกษาอยางเสมอภาค 25. ประชาชนในพืน้ ท่จี ังหวดั ชายแดนภาคใตไดรบั การพัฒนาศักยภาพและยกระดบั คณุ ภาพชวี ิต 26. ครมู คี วามปลอดภัย มขี วัญกําลงั ใจในการปฏิบตั ิงาน 27. การบริหารจดั การเงนิ อุดหนนุ การศึกษาเปน ไปดว ยความถกู ตอง 28. มีหนว ยงานรับผดิ ชอบขับเคลื่อนการศึกษาในจงั หวัดชายแดนภาคใตอยา งเปนรูปธรรม 29. มีงานวิจยั ที่นาํ ไปใชป ระโยชนไ ดจ ริงในเชงิ สาธารณะและเชงิ พาณิชย 30. งานวิจัยและบรกิ ารวิชาการตอบสนองตอโจทยปญหาหรือความตองการของชุมชน ทอ งถ่นิ และประเทศ 31. มีนวัตกรรม องคความรู และฐานขอมูลดานการศึกษาท่ีสามารถนําไปใชเปนแนวทาง ในการบรกิ ารจัดการเพ่ือพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา จุดเนน การปฏริ ปู การศึกษา รวม 6 ยทุ ธศาสตร ดังน้ี 1. หลกั สูตรและกระบวนการเรยี นรู 2. การผลิตและพฒั นาครู 3. การทดสอบการประเมิน การประกันคุณภาพ และการพฒั นามาตรฐานการศึกษา 4. ผลติ พฒั นากําลังคนและงานวจิ ยั ทส่ี อดคลอ งกบั ความตองการของการพฒั นาประเทศ 5. ICT เพอ่ื การศึกษา 6. การบริหารจดั การ 21แผนปฏิบัตกิ ารประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2560 ของสํานักงาน กศน.

จุดเนน เชงิ นโยบายรฐั มนตรีวาการกระทรวงศกึ ษาธิการ (นายธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศลิ ป) (15 ธนั วาคม พ.ศ. 2559 – ปจ จุบนั ) รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ (นายธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป) ไดมอบจุดเนนเชิงนโยบาย โดยมสี าระสาํ คัญ ดงั นี้ 1. นอมนําแนวพระราชดําริ สืบสานพระราชปณิธานและพระบรมราโชบายดานการศึกษา ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระเจาอยูหัวมหาวชิราลงกรณ บดินทร- เทพยวรางกูร มาขับเคล่ือนงานดานการศึกษาใหเกิดเปนรูปธรรม เพราะพระราชปณิธานของพระองคทาน ถือเปนพรอนั สูงสดุ และมอบเปน นโยบายเพ่อื เปนแนวทางในการปฏบิ ตั แิ กห นว ยงานในสังกดั ดังนี้ 1.1 พระบรมราโชบายดานการศึกษาของสมเด็จพระเจาอยูหัวมหาวชิราลงกรณ บดินทร- เทพยวรางกูร มีใจความสําคัญวา 1) \"การศึกษาตองมุงสรางพ้ืนฐานใหแกผูเรียนใน 2 ดาน คือ สงเสริม ใหนักเรียนมีทัศนคติ ท่ีถูกตอง 2) การศึกษาตองมุงสรางพ้ืนฐานชีวิตหรืออุปนิสัยที่ม่ันคงเขมแข็ง อาทิ การสรางบคุ ลิกและอุปนสิ ัย ท่ีดงี าม (Character Education)\" 1.2. สืบสานพระราชปณิธานดานการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล- อดุลยเดช ทที่ รงมีแนวพระราชกระแสฯ ทรงพระราชทานในวโรกาสตาง ๆ เก่ยี วกับนักเรียน ครู และการศกึ ษา 1.2.1 นกั เรียน - “ครูตองสอนใหเด็กนักเรียนมีน้ําใจ เชน คนเรียนเกงชวยสอนเพ่ือนท่ีเรียน ลาหลัง มิใชสอนใหเด็กคิดแตจะแขงขัน (Compete) กับเพ่ือน เพื่อใหคนเกงไดลําดับดี ๆ เชน สอบได ทหี่ น่งึ ของชัน้ แตต อ งใหเ ดก็ แขง ขันกับตนเอง” (11 มิ.ย. 2555) - “ครูไมจําเปนตองมีความรูทางเทคโนโลยีมาก แตตองมุงปลูกฝงความดี ใหน กั เรยี น ช้นั ตน ตอ งอบรมบม นิสยั ใหเ ปน พลเมอื งดี เดก็ โตกต็ องทําเชนกนั ” (6 ม.ิ ย. 2555) - “เราตองฝกหัดใหนักเรียนรูจักทํางานรวมกันเปนกลุม เปนหมูคณะมากขึ้น จะไดมีความสามัคคี รูจักดูแลชวยเหลือซึ่งกันและกัน เอื้อเฟอเผื่อแผความรู และประสบการณแกกัน” (5 ก.ค. 2555) - “ทําเปนตัวอยางใหนักเรียนเปนคนดี นักเรียนรักครู ครูรักนักเรียน” (9 ก.ค. 2555) 1.2.2 ครู - “เร่ืองครูมีความสําคัญไมนอยกวานักเรียน ปญหาหน่ึง คือ การขาดครู เพราะจํานวนไมพอ และครูยายบอย ดังน้ัน กอนคัดเลือกเด็กที่จะพัฒนาตองพัฒนาครูกอน ใหพรอม ที่จะสอนเด็กใหไดผลตามท่ีตองการ จึงจะตองคัดเลือกครูและพัฒนาครู ตองตั้งฐานะในสังคมของครู ใหเหมาะสม และปลูกจิตสํานึกโดยใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง วิธีการคือ การใหทุนและอบรม กลาวคือ ตองมีความรทู างวิชาการในสาขาที่เหมาะสมที่จะสอน ตองอบรมวิธกี ารสอนใหมีประสิทธิภาพ 22แผนปฏิบตั กิ ารประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของสํานักงาน กศน.

มีความเปนครูที่แทจริง คือ มีความรักความเมตตาตอเด็ก ควรเปนครูทองท่ีเพ่ือจะไดมีความผูกพัน และคดิ ท่ีจะพฒั นาทอ งถน่ิ ทเี่ กิดของตน ไมค ดิ ยายไปยายมา” (11 มิ.ย. 2555) - “ตองปรับปรุงครู ครูจะอายุ 40 - 50 ป ก็ตองเรียนใหม ตองปฏิวัติครู อยางจริงจงั ” (6 ม.ิ ย. 2555) - “ปญหาปจจุบันคือ ครูมุงเขียนงานวิทยานิพนธ เขียนตําราสงผูบริหาร เพ่ือใหไดตําแหนงและเงินเดือนสูงขึ้น แลวบางทีก็ยายไปท่ีใหม สวนครูท่ีมุงการสอนหนังสือกลับไมได อะไรตอบแทน ระบบไมยุติธรรม เราตองเปลี่ยนระเบียบตรงจุดนี้ การสอนหนังสือตองถือวา เปน ความดี ความชอบหากคนใดสอนดี ซ่ึงสว นมากคอื มีคณุ ภาพและปรมิ าณ ตอ งมี reward” (5 ก.ค. 2555) - “ครูบางสวนเวลาสอนนักเรียนจะสอนไมหมดแตเก็บไวบางสวน หากนักเรียน ตองการรูท้ังหมดวิชา ก็ตองเสียเงินไปสมัครเรียนพิเศษกับครูทานนั้น จะเปนการสอนในโรงเรียนหรือสวนตัว กต็ าม” (5 ก.ค. 2555) 2. การดาํ เนินการตามแผนยทุ ธศาสตรช าติ ระยะ 20 ป 2.1 กระทรวงศึกษาธิการจะดําเนินการตามแผนยุทธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560 - 2579) ภายใตวิสัยทัศน “ประเทศมีความม่ันคง ม่ังคั่ง ย่ังยืน เปนประเทศพัฒนาแลว ดวยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ซ่ึงไดกําหนดไวในรัฐธรรมนูญฯ โดยยึดยุทธศาสตรชาติ เปนจุดเนนดา นการศกึ ษา ท่จี ะดาํ เนินการ 6 ดาน คอื 1) ความมน่ั คง 2) การสรา งความสามารถในการแขงขัน 3) การพัฒนาและเสริมสรา งศกั ยภาพคน 4) การสรา งโอกาสความเสมอภาคและความเทาเทียมกันทางสงั คม 5) การสรางการเตบิ โตบนคณุ ภาพชวี ติ ที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม 6) การปรบั สมดุลและพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การภาครัฐ 3. จุดเนน การดาํ เนนิ งานของกระทรวงศึกษาธิการ 3.1 ดําเนนิ การอยูภายใตกรอบยุทธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560 - 2579) 3.2 ทุกโครงการของกระทรวงศึกษาธิการตองเนนความโปรงใส และตอตานการทุจริต คอรปั ชั่น 3.3 กระทรวงศึกษาธิการ ตองมีคณุ ลักษณะ MM = Modernized MOE มีการดําเนินการ สอดคลอ งกับรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2560 3.4 ดําเนินการเรงดวนตามขอสั่งการของนายกรัฐมนตรีใหเห็นผลการดําเนินการ เปนรปู ธรรม 23แผนปฏบิ ตั กิ ารประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2560 ของสํานักงาน กศน.

4. จุดเนนสําคัญ นโยบาย แนวทางหลักการดําเนินงานและโครงการสําคัญของกระทรวง ศกึ ษาธกิ าร (ในสวนที่เกย่ี วขอ งกบั สาํ นักงาน กศน.) นายธีระเกียรติ เจรญิ เศรษฐศิลป รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธกิ าร ไดมอบจุดเนน เชิงนโยบาย แนวทางการดําเนินงาน และโครงการสําคัญของกระทรวงศึกษาธิการโดยยึดกรอบ ยทุ ธศาสตรช าติ 6 ดาน เปนหลักในการดาํ เนินการใหเ ปนรูปธรรม ดังนี้ 1. ดานความมัน่ คง แนวทางหลกั 1.1 พฒั นาหลกั สูตร กระบวนการเรยี นการสอน 1.1.1 การเสริมสรางความมั่นคงของสถาบันหลัก นอมนําพระราชปณิธาน และพระราชกระแสดานการศึกษา พัฒนาหลักสูตร การเรียนการสอนวิชาที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับประวัติศาสตร และสถาบันพระมหากษตั ริย 1.1.2 พฒั นากระบวนการเรียนการสอน เพ่ือความปรองดองและสมานฉันท เชน กิจกรรมเพอ่ื นชว ยเพ่อื น 1.2 การบรหิ ารจัดการ 1.2.1 การศกึ ษาจังหวดั ชายแดนภาคใตและพื้นทชี่ ายขอบ/ชายแดน 1.2.2 ปอ งกนั และแกไขปญ หายาเสพตดิ ในสถานศกึ ษา 2. ดา นการผลิต พัฒนากาํ ลังคนและสรา งความสามารถในการแขง ขนั แนวทางหลกั : ผลติ พัฒนากาํ ลงั คน และงานวิจยั ทส่ี อดคลอ งกับการพฒั นาประเทศ 2.1 การยกระดับมาตรฐาน พัฒนาหลักสูตร สอื่ และครูดานภาษา 2.1.1 ยกระดั บวิชาภาษาอั งกฤษรองรับ Thailand 4.0 การอบรม โดย Boot Camp ตลอดจนพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของประชาชนในรูปแบบตาง ๆ อาทิ หลักสูตร ภาษาองั กฤษระยะสัน้ Application และสือ่ ตางๆ ที่หลากหลาย 3. ดานการพัฒนาและเสรมิ สรางศักยภาพคน แนวทางหลัก 3.1 การพฒั นาหลกั สูตร กระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมนิ ผล 3.1.1 การสง เสรมิ ปลกู ฝงคุณธรรม จริยธรรม 1) เร่ืองคุณธรรม จริยธรรมเนนการพัฒนาคุณลักษณะท่ีพึงประสงค ในเด็ก เยาวชน และตอยอดการสรางความดี ซึ่งโมเดลการสรางความดีมีหลายทาง ทั้งกระบวนการ ลูกเสือ-เนตรนารี รวมท้งั รปู แบบโรงเรียนคณุ ธรรม โรงเรียนวิถีพุทธ และโครงการยวุ ทูตความดี 2) ใหเ ด็ก “เกลียดความไมซ่อื สตั ย” 24แผนปฏิบัติการประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2560 ของสํานักงาน กศน.

3.1.2 การพัฒนา ปรบั ปรงุ หลกั สตู ร การเรยี นการสอน 1) หลักสูตรมีความยืดหยุน ชุมชนทองถิ่นสามารถออกแบบ หลกั สตู รเองได 3) แกไขปญหาอานไมออกเขียนไมได เนนกิจกรรมการอาน โดยเฉพาะการอา น ใหเ ดก็ อนุบาลฟงและการปรบั ปรงุ หอ งสมุด 3.1.3 การวดั และประเมินผล 4. ดา นการสรางโอกาสความเสมอภาคและการลดความเหล่ือมลาํ้ ทางการศึกษา แนวทางหลกั : โอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษา 4.2 เพ่ิมโอกาสทางการศึกษาผานเทคโนโลยีดิจิทัล โดยบูรณาการเทคโนโลยี ดิจิทัลเพื่อการศึกษา ใหสามารถใชประโยชนรวมกัน ท้ังดานโครงสรางพื้นฐานและระบบเครือขาย ดานระบบขอมูลสารสนเทศ เพื่อการศึกษาดานสื่อและองคความรู รวมถึงการพัฒนาบุคลากร ใหใ ชเทคโนโลยีดิจิทัลอยางสรางสรรคแ ละรเู ทา ทนั การเปลีย่ นแปลง 5. ดานการเสริมสรางคุณภาพชีวิตประชาชนท่ีเปน มติ รกับส่งิ แวดลอม แนวทางหลัก : พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน 5.1 โครงการธนาคารขยะ โดยโรงเรียนและชมุ ชนรวมคดั แยกขยะ นํากลบั มา ใชประโยชน 6. ดานการพัฒนาระบบและการบริหารจดั การ แนวทางหลกั : พฒั นาระบบบริหารจดั การ 6.1 เร่อื งกฎหมาย เตรียมความพรอมเก่ียวกับกฎหมายการศึกษา เพื่อรองรับ รฐั ธรรมนญู พ.ศ. 2560 6.1.2 กฎหมายรอง ใน พ.ร.บ. ปฏิรปู การศกึ ษา 7) พ.ร.บ. การศึกษาตลอดชวี ิต พ.ศ. .... 6.5 บริหารจัดการโรงเรียนแมเหลก็ และโรงเรยี นขนาดเล็ก แผนพัฒนาการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ.2560 - 2564) กระทรวงศึกษาธิการ ไดจัดทําแผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) โดยไดนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใชเปนกรอบ ในการดําเนินงาน และสอดคลองกับทิศทางการพัฒนาประเทศในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหง ชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) โดยกําหนดสาระสําคญั ดังนี้ วิสัยทัศน “มุงพัฒนาผูเรยี นใหม คี วามรคู ูคุณธรรม มีคุณภาพชวี ติ ท่ีดี มีความสขุ ในสังคม” - “ผูเรียน” หมายถึง เด็ก เยาวชน นักเรียน นักศึกษา และประชาชน ท่ีไดรับบริการ จากกระทรวงศึกษาธิการ 25แผนปฏบิ ัติการประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของสาํ นักงาน กศน.

- “มีความรูคูคุณธรรม” หมายถึง รอบรู รอบคอบ ระมัดระวัง ซ่ือสัตยสุจริต ขยัน อดทน สตปิ ญญา แบง ปน ซึ่งเปน 2 เงอื่ นไขตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง - “มีคุณภาพชวี ิตทีด่ ี” หมายถึง มีอาชพี มคี วามมน่ั คง ม่งั ค่งั และย่ังยนื ในการดํารงชีวติ - “มีความสุข” หมายถึง ความอยูดีมีสุข สามารถอยูรวมกันอยางเอื้ออาทร มีความสามัคคี ปรองดอง - “สงั คม” หมายถึง สงั คมไทย ภูมภิ าคอาเซียน และสงั คมโลก พันธกจิ 1. ยกระดบั คณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษาทกุ ระดบั /ประเภทสูส ากล 2. เสรมิ สรางโอกาสการเขาถึงบรกิ ารทางการศึกษาของประชาชนอยางทวั่ ถึง เทา เทียม 3. พัฒนาระบบบริหารจดั การการศึกษาตามหลกั ธรรมาภิบาล เปา หมายหลกั (Extreme Goals) 1. คุณภาพการศึกษาของไทยดีข้ึน คนไทยมคี ุณธรรมจริยธรรม มีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง และการพฒั นาประเทศในอนาคต 2. กําลังคนไดรบั การผลิตและพฒั นา เพอื่ เสริมสรางศักยภาพการแขง ขนั ของประเทศ 3. คนไทยไดร บั โอกาสในเรยี นรอู ยา งตอเน่ืองตลอดชวี ติ 4. มีองคค วามรู เทคโนโลยี นวตั กรรม สนับสนุนการพัฒนาประเทศอยา งยง่ั ยนื 5. มีระบบบริหารจดั การการศึกษาท่มี ีประสิทธภิ าพตามหลักธรรมาภบิ าล โดยการมสี ว นรว ม จากทุกภาคสว น ตัวชวี้ ดั ตามเปา หมายหลกั 1. ผลคะแนนสอบ PISA ในแตละวชิ าไมตํ่ากวา 500 2. รอยละท่ีเพ่ิมข้ึนของคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาหลักระดับการศึกษา ขัน้ พน้ื ฐานจากการทดสอบระดบั ชาติ 3. รอยละคะแนนเฉลี่ยของผูเรียนทกุ ระดบั การศกึ ษามีคุณธรรม จรยิ ธรรม 4. รอ ยละคะแนนเฉลีย่ ของผูเรียนทกุ ระดับการศกึ ษามีความเปนพลเมืองและพลโลก 5. สัดสวนผูเ ขาเรียนระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลายประเภทอาชวี ศึกษาตอสายสามัญ 6. รอยละความพึงพอใจของนายจาง ผูประกอบการ ท่ีมีตอผูสําเร็จการศึกษาระดับ อาชีวศึกษาและระดบั อดุ มศกึ ษา 7. รอยละของผูสําเร็จการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและระดับอุดมศึกษาไดงานทํา หรือประกอบอาชีพอสิ ระภายใน 1 ป 8. รอยละของผลงานวิจัย นวัตกรรม งานสรางสรรค ส่ิงประดิษฐที่ไดรับการเผยแพร และตีพมิ พ 9. รอ ยละขององคค วามรแู ละสง่ิ ประดิษฐท นี่ าํ ไปใช หรือแกไขปญ หาชมุ ชนทองถ่ิน 26แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2560 ของสํานักงาน กศน.

10. จาํ นวนปการศึกษาเฉล่ยี ของคนไทยอายุ 15 – 59 ป 11. รอ ยละของกําลงั แรงงานที่สาํ เรจ็ การศกึ ษาระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตนขึน้ ไป 12. รอ ยละของนักเรียนตอประชากรวยั เรียนระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย (อายุ 15 – 17 ป) 13. สดั สว นผูเ รียนในสถานศกึ ษาทุกระดับของรฐั ตอเอกชน 14. จาํ นวนภาคีเครอื ขายทเี่ ขา มามีสว นรวมในการจัด/ พฒั นา/ สง เสริมการศกึ ษา ยทุ ธศาสตร 1. ยทุ ธศาสตรพัฒนาหลกั สูตร กระบวนการเรยี นการสอน การวดั และประเมนิ ผล 2. ยุทธศาสตรผลติ พฒั นาครู คณาจารยและบคุ ลากรทางการศกึ ษา 3. ยุทธศาสตรผลิตและพัฒนากําลังคน รวมท้ังงานวิจัยที่สอดคลองกับความตองการ ของการพฒั นาประเทศ 4. ยุทธศาสตรขยายโอกาสการเขาถึงบริการทางการศึกษา และการเรียนรูอยางตอเน่ือง ตลอดชวี ิต 5. ยุทธศาสตรสง เสรมิ และพฒั นาระบบเทคโนโลยีดจิ ิทัลเพ่อื การศกึ ษา 6. ยุทธศาสตรพัฒนาระบบบริหารจัดการ และสงเสริมใหทุกภาคสวนมีสวนรวม ในการจัดการศึกษา แผนพัฒนาการศกึ ษาของสาํ นักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ.2560 - 2564) สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการไดจัดแผนพัฒนาการศึกษาของสํานักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 - 2564) เพ่ือใชเปนกรอบแนวทางในการพัฒนาการศึกษาของสํานักงาน ปลดั กระทรวงศึกษาธิการในระยะ 5 ป โดยกาํ หนดสาระสาํ คญั ดงั นี้ วิสยั ทัศน การบรหิ ารจัดการมปี ระสิทธิภาพ ผเู รียนไดรบั การเรยี นรตู ลอดชีวิตที่มีคณุ ภาพ โดยยึด หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง พันธกิจ 1. พัฒนาระบบบริหารจดั การใหมีประสทิ ธิภาพ 2. สงเสริม สนับสนุน และพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัย โดยการมสี ว นรว มจากทุกภาคสวน 3. พัฒนาระบบบริหารงานบคุ คลของขา ราชการ ครู และบุคลากรทางการศึกษา เปาประสงครวม 1. ระบบบรหิ ารจดั การมปี ระสิทธภิ าพ 2. ผูเรียนไดรับโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิตที่มีคุณภาพอยางทั่วถึง และเทาเทยี ม 27แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2560 ของสาํ นักงาน กศน.

ประเด็นยทุ ธศาสตร 1. พัฒนาระบบบรหิ ารจดั การใหมปี ระสทิ ธภิ าพ 2. พัฒนาและสงเสริมการนําระบบเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชในการบริหาร การบริการ และการเรียนรอู ยางมีประสทิ ธภิ าพ 3. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษา ตามอัธยาศัย 4. สง เสริมการมีสวนรวมจากทุกภาคสวนในการกระจายโอกาสทางการศึกษาและการเรยี นรู ตลอดชวี ิต 5. พัฒนาระบบบริหารงานบุคคลของขาราชการ ครู และบุคลากรทางการศึกษาใหมี ประสิทธภิ าพ เปาประสงคต ามประเด็นยุทธศาสตร 1. หนว ยงานมีระบบบริหารจดั การทม่ี ีประสิทธิภาพ 2. ผูรับบริการมีและใชระบบเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีประสิทธิภาพในการบริหาร การบริการ และการเรยี นรู 3. ผูเรียนไดร บั การศึกษาทีม่ คี ุณภาพ 4. ผูเรยี นไดร ับโอกาสทางการศึกษาอยา งทั่วถงึ และเทา เทียม 5. ขาราชการ ครู และบุคลากรทางการศึกษามีความกาวหนาในวิชาชีพมีศักยภาพ ในการปฏิบัตงิ านและการจดั การศกึ ษาท่ีมคี ุณภาพ แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2560 ของกระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศึกษาไดก ําหนดสาระสําคัญของแผนปฏิบัตริ าชการประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของกระทรวงศกึ ษาธิการ ดงั นี้ วสิ ยั ทัศน “ยกระดับคุณภาพการศึกษาท่ีดีขึ้น มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และลดความเหล่ือมลํ้า อยา งทวั่ ถงึ ผลติ และพัฒนากาํ ลงั คนใหส อดคลอ งกบั ความตองการและรองรบั การพัฒนาประเทศ” พนั ธกิจ 1. ยกระดบั คุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษาเพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ 2. เสรมิ สรางโอกาสทางการศกึ ษาแกป ระชาชนอยา งเสมอภาค 3. พฒั นาระบบบริหารจดั การตามหลกั ธรรมาภบิ าล ยทุ ธศาสตร 1. พัฒนาหลักสตู ร กระบวนการเรียนการสอน การวดั และประเมนิ ผล 2. ผลติ พัฒนาครู คณาจารยและบคุ ลากรทางการศกึ ษา 28แผนปฏบิ ัตกิ ารประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2560 ของสํานักงาน กศน.

3. ผลิตและพัฒนากําลังคน รวมท้ังงานวิจัยที่สอดคลองกับความตองการของการพัฒนา ประเทศ 4. ขยายโอกาสการเขาถงึ บริการทางการศึกษาและการเรยี นรูอยา งตอเน่ืองตลอดชีวติ 5. สงเสรมิ และพัฒนาระบบเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เพื่อการศกึ ษา 6. พฒั นาระบบบริหารจัดการและสงเสริมใหทุกภาคสว นมีสว นรวมในการจดั การศึกษา เปา ประสงคห ลกั 1. คุณภาพการศึกษาของไทยดีขน้ึ คนไทยมคี ุณธรรมจริยธรรม มีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาประเทศในอนาคต 2. กาํ ลงั คนไดร ับการผลติ และพฒั นา เพอื่ เสรมิ สรา งศักยภาพการแขงขนั ของประเทศ 3. มีองคความรู เทคโนโลยี นวตั กรรม สนับสนุนการพฒั นาประเทศอยางยง่ั ยนื 4. คนไทยไดรับโอกาสในเรยี นรูอยา งตอ เนอื่ งตลอดชีวิต 5. ระบบบริหารจัดการการศึกษามีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล โดยการมีสวนรวม จากทุกภาคสวน กลยุทธ 1. พัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีคุณภาพ และจัดกิจกรรมเสริมทักษะพัฒนา ผูเรยี นในรูปแบบทีห่ ลากหลายสอดคลองกบั ทกั ษะทีจ่ ําเปนในศตวรรษท่ี 21 2. พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร การวัดและประเมินผลการศึกษาทุกระดับ/ประเภท การศึกษาใหท นั สมัย สอดคลองกับความกา วหนาทางวิทยาการและการเปลยี่ นแปลงของสังคมโลก 3. สงเสริมการพัฒนาเน้ือหาสาระท่ีทันสมัยในทุกระดับ/ประเภทการศึกษา เพ่ือการผลิต สือ่ การเรยี นการสอน ตาํ ราเรยี นท่ีมคี ุณภาพ รวมทงั้ ตาํ ราเรียนอิเลก็ ทรอนกิ ส 4. ปรับปรุงระบบทดสอบทางการศึกษาแหงชาติใหสอดคลองกับหลักสูตรและกระบวนการ จดั การเรยี นการสอน 5. สงเสริมคุณธรรม จริยธรรม และความเปนพลเมืองและพลโลก ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงในระบบการศึกษาอยางเขมขน 6. วางแผนการผลิต และพฒั นาครู คณาจารย อยางเปนระบบใหสอดคลอ งกับความตอ งการ ในการจัดการศกึ ษาทกุ ระดบั /ประเภทการศกึ ษา 7. ปรบั ระบบการผลิตครู คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษาใหมีประสิทธิภาพ 8. เรงรดั พัฒนาผูบริหารสถานศกึ ษา รวมท้ังครูประจาํ การท่ีสอนไมต รงวฒุ ิ ครทู ่สี อนคละช้ัน และครูในสาขาวชิ าที่ขาดแคลน 9. สรา งขวญั กําลังใจ สรา งแรงจงู ใจใหก ับครู คณาจารยแ ละบุคลากรทางการศกึ ษา 10. พัฒนาระบบบริหารงานบุคคลของครู คณาจารยและบุคลากรทางการศึกษาใหมี ประสิทธิภาพ 29แผนปฏิบัตกิ ารประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของสํานักงาน กศน.

11. เรง ผลิตและพฒั นากําลงั คนสาขาที่จําเปนตอการพัฒนาประเทศ อาทิ ดา นวิทยาศาสตร เทคโนโลยี แพทย และพยาบาล 12. เรง ผลติ และพัฒนาสมรรถนะกําลังคนดานอาชวี ศึกษาใหทนั กับความเปลี่ยนแปลง ของเทคโนโลยี และรองรับพนื้ ทีเ่ ขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ 13. สงเสริมภาพลักษณการอาชีวศึกษา เรงปรับคานิยม และวางรากฐานทักษะอาชีพ ใหแ กผเู รยี นต้งั แตวัยการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน 14. สง เสรมิ สนบั สนนุ การพัฒนาผมู ีความสามารถพิเศษอยา งตอ เน่ืองทุกระดบั 15. เสริมสรางความเขมแข็งของกระบวนการผลิตและพัฒนากําลังคน โดยสรางเครือขาย ความรว มมอื ตามรปู แบบประชารัฐ ทง้ั ระหวางองคก รภายในและตางประเทศ 16. สง เสรมิ งานวจิ ยั และนวตั กรรมทสี่ ามารถนาํ ไปใชป ระโยชนไ ดจ ริง 17. ประกันโอกาสการเขาถึงบริการทางการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานใหแกผูเรียน ในทกุ พืน้ ท่ี ครอบคลุมถงึ คนพกิ าร ผดู อ ยโอกาส และผมู คี วามตอ งการพเิ ศษ 18. สงเสริมการจัดการศึกษานอกระบบ และการเขาถึงแหลงเรียนรูที่สอดคลองกับ ความสนใจและวถิ ชี ีวติ ของผเู รียนทุกกลมุ เปา หมาย 19. เรงสรางความเขมแข็งของระบบการเทียบโอนความรูและประสบการณใหเกิดผล เปน รูปธรรมอยา งกวางขวาง 20. จดั หาทุนและแหลง ทุนทางการศกึ ษา 21. เรงพัฒนาแหลง เรยี นรูที่เอือ้ ตอการศึกษาและการเรยี นรูตลอดชวี ิตอยางมีคุณภาพ มคี วามหลากหลาย และสามารถใหบริการไดอยางท่วั ถึง 22. พัฒนาระบบเครือขา ยเทคโนโลยีดิจิทัลเพอ่ื การศึกษาและการบริหารจัดการท่ีทันสมัย และไมซ้ําซอ น ใหผรู ับบรกิ ารสามารถเขา ถึงไดอยางท่ัวถึงและมีประสทิ ธิภาพ 23. พฒั นากระบวนการจัดทําระบบฐานขอมูลกลางทางการศึกษาของประเทศ ระบบ การรายงานผลของฐานขอมูลโดยเชื่อมโยงขอมูลการศึกษาทุกระดับ/ประเภทการศึกษาใหเปนเอกภาพ เปนปจจุบนั และมีมาตรฐานเดียวกัน 24. ผลิตและพัฒนาโปรแกรมประยุกต หรือส่ือการเรียนรูอิเล็กทรอนิกสใหผูเรียน สถานศึกษาและหนวยงานทางการศึกษาทุกระดับ/ประเภทการศึกษา นํามาใชเพ่ิมคุณภาพการเรียนรู อยางเปนระบบ 25. จัดหาอุปกรณ/ทรัพยากรพ้ืนฐานดานเทคโนโลยีสารสนเทศใหกับผูเรียนอยางเพียงพอ ท่วั ถงึ และเหมาะสมกบั การแสวงหาความรูดวยตนเองอยา งตอเนื่อง 26. ปรับปรุงกลไกการบริหารจัดการการศึกษาใหเปนไปตามหลักธรรมาภิบาล โดยเนน ดา นคณุ ธรรม ความโปรง ใส ทง้ั ในระดับสวนกลาง และในพื้นทีร่ ะดบั ภาค/จังหวดั 27. พฒั นาระบบบรหิ ารงานงบประมาณ/การเงนิ ใหม ปี ระสิทธภิ าพ 30แผนปฏิบัตกิ ารประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2560 ของสาํ นักงาน กศน.

28. ยกระดับคุณภาพการศึกษาตอบสนองการสรางอาชีพและเพ่ิมคุณภาพชีวิต ลดความเหลื่อมล้ํา สรา งความสมานฉนั ท และเสริมสรางความมน่ั คงในจงั หวดั ชายแดนภาคใต 29. เรงสงเสริมใหทุกภาคสวนมีสวนรวมรับผิดรับชอบในการจัดการศึกษา รวมท้ัง สนับสนนุ ทรพั ยากรเพอ่ื การศึกษา 30. เสริมสรา งภาพลักษณหนวยงานใหเกิดความรวมมือ และสรา งเครือขาย/ความเปนภาคี หนุ สวนกับองคกรท้ังภายในและตางประเทศ 31. สงเสริมและขยายผลใหสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีความพรอม พฒั นาเปนสถานศกึ ษานติ ิบุคคลในกํากับ แผนปฏิบัติราชการประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของสาํ นักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาไดกําหนดสาระสําคัญของแผนปฏิบัติราชการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของสํานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ดังน้ี วิสยั ทศั น การบริหารจัดการมีประสิทธิภาพ ผูเรียนไดรับการเรียนรูตลอดชีวติ ท่ีมีคุณภาพ โดยยึดหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง พนั ธกจิ 1. พฒั นาระบบบริหารจัดการทม่ี ปี ระสิทธิภาพ 2. สงเสริม สนับสนุน และพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย โดยการมีสวนรวมจากทุกภาคสว น 3. พฒั นาระบบบริหารงานบุคคลของขาราชการ ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา คา นยิ ม TEAMWINS T = Teamwork การทํางานเปน ทีม E = Equality of Work ความเสมอภาคในการทํางาน A = Accountability ความรบั ผดิ ชอบ M = Morality and Integrity การมศี ีลธรรมและมีความซื่อสตั ย W = Willingness ความมงุ มั่นต้ังใจทํางานอยา งเต็มศักยภาพ I = Improvement การพัฒนาตนเองอยา งตอ เนอ่ื งสมํา่ เสมอ N = Network and Communication การเปนเครือขา ยท่ีมีปฏสิ ัมพนั ธทด่ี ตี อ กนั S = Service Mind การมีจติ มุงบรกิ าร 31แผนปฏบิ ตั ิการประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2560 ของสาํ นักงาน กศน.

เปาประสงคร วม 1. ระบบบรหิ ารจัดการมปี ระสทิ ธิภาพ 2. ผูเรียนไดรับโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิตท่ีมีคุณภาพ อยางทั่วถึง และเทา เทียม ตัวชวี้ ัดเปาประสงครวม (ในสว นที่เกี่ยวของกับสํานักงาน กศน.) ตวั ช้วี ดั เปา ประสงคร วม คา เปาหมาย (เจา ภาพหลกั ) 3. รอ ยละของกาํ ลงั แรงงานที่สาํ เรจ็ การศกึ ษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน รอยละ 57 ขนึ้ ไป (กศน.) 5. รอยละคะแนนเฉลี่ยของผูเรียนที่มีคุณธรรม จริยธรรม ความเปน X พลเมอื งและพลโลก (สกก./สช./กศน.) (สรางเครื่องมือ + วัดประเมิน) ประเดน็ ยุทธศาสตร 1. พัฒนาระบบบริหารจดั การใหม ีประสทิ ธิภาพ 2. พัฒนาและสงเสริมการนําระบบเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชในการบริหาร การบริการ และการเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพ 3. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษา ตามอธั ยาศัย 4. สงเสริมการมีสวนรวมจากทุกภาคสวนในการกระจายโอกาสทางการศึกษา และการเรยี นรตู ลอดชีวิต 5. พัฒนาระบบบริหารงานบุคคลของขาราชการ ครู และบุคลากรทางการศึกษาใหมี ประสิทธิภาพ เปา ประสงคตามประเด็นยทุ ธศาสตร 1. หนวยงานมรี ะบบบรหิ ารจัดการทมี่ ีประสทิ ธภิ าพ 2. ผูรับบริการมีและใชระบบเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีประสิทธิภาพในการบริหาร การบริการ และการเรยี นรู 3. ผูเรยี นไดรบั การศึกษาท่ีมีคณุ ภาพ 4. ผูเ รียนไดรบั โอกาสทางการศึกษาอยา งทัว่ ถึงและเทาเทยี ม 5. ขาราชการ ครู และบุคลากรทางการศึกษามีความกาวหนาในวิชาชีพมีศักยภาพ ในการปฏิบัติงานและการจัดการศึกษาท่มี คี ุณภาพ 32แผนปฏิบตั ิการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของสาํ นักงาน กศน.

ตัวชี้วัดเปาประสงคตามประเด็นยุทธศาสตรและคาเปาหมาย (ในสวนที่เกี่ยวของ กับสาํ นักงาน กศน.) ตวั ชีว้ ัดเปาประสงค คาเปาหมาย (เจา ภาพหลกั ) 7. รอ ยละทเี่ พ่มิ ขนึ้ ของคะแนนเฉลีย่ ผลการทดสอบทางการศกึ ษา เพิม่ ขน้ึ รอยละ 3 ระดับชาตกิ ารศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) (กศน.) ของปท่ีผา นมา 9. รอยละคะแนนเฉล่ียของผูเรียนท่ีมีคุณธรรม จริยธรรม ความเปน X พลเมืองและพลโลก (สกก./สช./กศน.) (สรา งเครอื่ งมือ + วดั ประเมนิ ) 11. รอยละของผูเรียนในเขตพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตที่ไดรับ รอยละ 80 การพัฒนาศักยภาพ หรือทักษะดานอาชีพ สามารถมีงานทําหรือ นาํ ไปประกอบอาชีพได (ศปบ.จชต/สช./กศน.) รอยละ 80 13. รอยละของประชาชนกลุมเปาหมายที่ลงทะเบียนเรียนในทุก หลกั สูตร/กิจกรรมการศกึ ษาตอเน่อื งเทียบกับเปา หมาย (กศน.) รอยละ 80 14. รอ ยละของผรู บั บริการแหลง เรยี นรูเทียบกบั เปาหมาย (กศน.) รอ ยละ 57 15. รอ ยละของกําลังแรงงานทสี่ ําเร็จการศึกษาระดับมธั ยมศกึ ษา รอ ยละ 60 ตอนตน ข้ึนไป (กศน.) รอยละ 100 16. รอยละของผูผานการฝกอบรม/พัฒนาทักษะอาชีพระยะสั้น สามารถนําความรูไปใชในการประกอบอาชีพหรอื พัฒนางานได (กศน.) 3,045 ภาคเี ครือขาย 17. รอยละของผูเรียนที่ไดรับการสนับสนุนการจัดการศึกษา ขัน้ พื้นฐานเทยี บกบั คาเปา หมาย (กศน./สช) 18. จํานวนภาคีเครือขายท่ีเขามามีสวนรวมในการจัด/พัฒนา/ สงเสริมการศึกษา (ภาคีเครือขาย : สถานประกอบการ องคกร หนวยงานท่มี ารวมจัด/พฒั นา/สงเสริมการศกึ ษา) (สต./กศน.) กลยุทธภ ายใตประเดน็ ยทุ ธศาสตร ประเดน็ ยทุ ธศาสตร 1 พัฒนาระบบบรหิ ารจดั การใหม ีประสทิ ธภิ าพ กลยุทธ 1.1 พฒั นากลไกการบรหิ ารจดั การศึกษาใหม ปี ระสทิ ธิภาพ 1.2 เรง รดั ปรับปรงุ แกไขกฎหมาย กฎ ระเบยี บ และขอบังคับใหเ อ้ือตอ การปฏบิ ตั งิ าน แนวทางการพัฒนา 1) ปรับปรุงโครงสรางและอํานาจหนาท่ีของหนวยงานสวนกลางและภูมิภาค ใหเ หมาะสม และเอื้อตอ การบรหิ ารจดั การทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพ 33แผนปฏบิ ตั ิการประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของสํานักงาน กศน.

2) ปรับปรุงกลไกการบริหารจัดการการศึกษาใหมีประสิทธิภาพ และเปนไปตาม หลักธรรมาภบิ าล โดยเนน คุณธรรม ความโปรง ใส 3) พัฒนาหนวยงานทางการศึกษาในภูมิภาคใหเปนกลไกการประสานงานการบริหาร จดั การการศกึ ษาแบบมสี วนรว มกระจายทว่ั ประเทศ 4) ปรบั ปรุง แกไ ข กฎหมาย กฎ ระเบียบ และขอ บังคบั ที่เกี่ยวของกับการจัดการศึกษา ใหมีความทนั สมัย เหมาะสมและเอือ้ ตอ การปฏิบตั ิงาน ประเด็นยุทธศาสตร 2 พัฒนาและสงเสริมการนําระบบเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช ในการบริหาร การบรกิ ารและการเรยี นรูอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพ กลยุทธ 2.1 พัฒนาระบบเครือขายอินเทอรเน็ตเพื่อการศึกษาใหครอบคลุมและมีเสถียรภาพ ตอบสนองความตองการใชง าน 2.2 พัฒนาระบบฐานขอมูลกลางดา นการศกึ ษาของประเทศใหเปน เอกภาพ เปน ปจจุบัน และทนั ตอการใชงาน 2.3 สรางส่ือ คลงั ส่ือและแหลงเรียนรูด ิจทิ ลั ทีส่ ามารถเขา ถงึ ไดงา ยและสะดวก 2.4 พัฒนาและสงเสริมการใชเทคโนโลยีดิจิทัลในกระบวนการทํางานและการบริการ ใหม ปี ระสิทธภิ าพ 2.5 จัดหาทรพั ยากรพ้ืนฐานดานเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือใชในการบริหาร การบริการ และการเรยี นรู อยางพอเพียง ทัว่ ถงึ และเหมาะสมกับการแสวงหาความรูและจัดการองคความรูอยางตอเนื่อง ประเด็นยุทธศาสตร 3 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาในระบบ นอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั กลยุทธ 3.1 พัฒนาหลักสูตร เน้ือหาสาระ ส่ือการเรียนการสอน กระบวนการจัดการเรียน การสอน การนิเทศ การวัด ประเมินผลใหทันกับความกาวหนาและการเปลี่ยนแปลงทางวิทยาการ สอดคลอ งกบั ความตองการของกลมุ เปา หมาย และทศิ ทางการพัฒนาประเทศ 3.2 สงเสริมคุณธรรม จริยธรรม ความเปนพลเมืองและพลโลก ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี ง 3.3 ยกระดบั คุณภาพการศึกษา สรางอาชีพ สรางความสมานฉันท และเสริมสราง ความม่นั คงในจงั หวัดชายแดนภาคใต 3.4 พัฒนางานวิจยั เพื่อสรา งองคความรูส กู ารพฒั นาการศึกษา แนวทางการพฒั นา 1) ปรับปรงุ หลกั สูตร เนือ้ หาสาระ สอ่ื การเรียนการสอนใหท ันสมัย ยดื หยุน หลากหลาย เหมาะสมกบั ผเู รยี นแตละชวงวยั และบรบิ ทของประเทศ 34แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2560 ของสํานักงาน กศน.

2) พัฒนารูปแบบและบูรณาการการจัดการเรียนรูการนิเทศการวัดประเมินผล เพ่อื พัฒนาทักษะที่จาํ เปน สําหรบั ผูเรยี นในศตวรรษท่ี 21 3) ลดวิชาเรียนในชั้นเรียน เพ่ือใหผูเรียนมีเวลาพัฒนาทักษะการเรียนรูนอกหองเรียน ใหเ หมาะสมกบั ผเู รยี นแตละชว งช้นั 4) สงเสริมและบูรณาการการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรูใหผูเรียนมีคุณธรรม จรยิ ธรรม ความเปนพลเมอื ง และพลโลก ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 5) จัดสรรทุนการศึกษาใหกับนักเรียน นักศึกษาท่ีไดรับผลกระทบจากเหตุการณ ความไมส งบในจังหวัดชายแดนภาคใตตามหลกั เกณฑท ี่กําหนด 6) พัฒนาทักษะดานอาชีพใหผูเรียนสามารถประกอบอาชีพใหเหมาะสมกับพ้ืนที่ ในจังหวดั ชายแดนภาคใต 7) สงเสริมการเรียนรูการอยูรวมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม สงเสริมสันติศึกษา ปลูกฝงจิตสํานกึ ดานความมน่ั คงในพนื้ ทจี่ ังหวดั ชายแดนภาคใต 8) เสริมสรางความเขมแข็งทางวิชาการแกครูและบุคลากรทางการศึกษาในพ้ืนที่ จังหวดั ชายแดนภาคใต 9) สงเสริม สนับสนุน และพัฒนาการวิจัยเชิงนโยบาย การจดั การเรียนรู เพ่ือสราง องคความรูและพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ประเด็นยทุ ธศาสตร 4 สง เสริมการมีสวนรวมจากทุกภาคสวนในการกระจายโอกาส ทางการศึกษาและการเรียนรูต ลอดชวี ิต กลยุทธ 4.1 สงเสรมิ ใหท กุ ภาคสวนมีสวนรว มในการจดั และสนบั สนุนการจดั การศึกษา 4.2 สนับสนนุ ใหผูเรยี นไดรับการศึกษาข้ันพน้ื ฐานท้ังในระบบและนอกระบบใหผูเรียน ตามสิทธิทก่ี าํ หนดไว 4.3 เพ่ิมและกระจายโอกาสทางการศึกษาในระบบ นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ใหผ ูเรยี นสามารถเขา ถงึ โอกาสทางการเรียนรูไดอยางหลากหลาย ครอบคลมุ ทุกพน้ื ที่ และเปาหมาย แนวทางการพัฒนา 1) สงเสริม สนบั สนุนใหท กุ ภาคสว นมสี วนรวมในการจัด พัฒนา และสง เสริมการศึกษา 2) สนับสนุนคาใชจายในการจัดการศึกษาตง้ั แตร ะดบั อนบุ าลจนจบการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน 3) สง เสรมิ สนบั สนุนการจดั การศึกษานอกระบบ ดวยรูปแบบ วธิ ีการที่หลากหลาย สอดคลอ งกับความตอ งการและความจําเปน ของกลมุ เปาหมาย 4) พัฒนาแหลงเรียนรูเชิงสรางสรรค และมีชีวิตดวยรูปแบบที่หลากหลายใหสามารถ เขาถงึ ไดงายและครอบคลุมทุกพน้ื ท่ี 5) สนับสนนุ ทนุ การศกึ ษาเพือ่ เพ่มิ และกระจายโอกาสทางการศึกษา 35แผนปฏบิ ตั กิ ารประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2560 ของสาํ นักงาน กศน.

6) พัฒนาระบบและกลไกการเทียบโอนผลการเรียนรูระหวางการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ การศกึ ษาตามอัธยาศยั และประสบการณจากการทาํ งาน ประเด็นยุทธศาสตร 5 พัฒนาระบบบริหารงานบุคคลของขาราชการ ครู และบุคลากร ทางการศกึ ษาใหมีประสทิ ธิภาพ กลยทุ ธ 5.1 พัฒนากฎ ระเบียบ หลักเกณฑการบริหารงานบุคคลของขาราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาใหสอดคลอ งกบั บรบิ ททเ่ี ปล่ยี นแปลงไป 5.2 ปรับปรุงระบบการประเมินวิทยฐานะและสมรรถนะครูใหสัมพันธกับผลสัมฤทธิ์ ของผูเรยี น 5.3 พัฒนาขาราชการ ครู และบุคลากรทางการศึกษาใหมีประสิทธิภาพดวยรูปแบบ ที่หลากหลายรวมท้ังนําเทคโนโลยีมาใชในกระบวนการพัฒนา แนวทางการพฒั นา 1) ปรับปรุงแกไขกฎ ระเบียบหลักเกณฑท่ีเก่ียวของกับระบบบริหารงานบุคคล ของขา ราชการครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาใหท ันสมยั สอดคลอ งกับสภาวการณ 2) ปรับปรุงและพัฒนาเกณฑมาตรฐานอัตรากําลังครูและบุคลากรทางการศึกษา ในสถานศึกษาใหส ัมพนั ธกบั การพัฒนาผูเรียนท่เี หมาะสมกบั ระดับและประเภทการศึกษา 3) ปรับปรุงและพัฒนาฐานขอมูลกลางของครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกสังกัด ใหค รอบคลมุ และเปน ปจ จุบนั 4) พัฒนาระบบเงินเดือนและคาตอบแทน สําหรับครูท่ีมีสมรรถนะสูง ครูท่ีปฏิบัติงาน ในพื้นท่ีหางไกล ทุรกันดาร เสยี่ งภยั พ้ืนท่ีพิเศษ 5) ปรับปรุงหลักเกณฑและวิธีการประเมินครูเพ่ือใหมีและเล่ือนวิทยฐานะใหสอดคลอง กบั ผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน 6) สงเสริมและพัฒนาขาราชการ ครู และบุคลากรทางการศึกษาใหมีประสิทธิภาพ มมี าตรฐาน และสอดคลองกบั สมรรถนะวชิ าชีพ เพอ่ื ใหเ อือ้ ตอการปฏบิ ัติงานและคุณภาพผูเรยี นเปนสําคญั 7) สงเสริมการนําเทคโนโลยีดิจิทัลเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการพัฒนาขาราชการ ครู และบุคลากรทางการศึกษา รวมถึงการพัฒนาดวยรูปแบบที่หลากหลายสอดคลองกับความตองการ จาํ เปน และสมรรถนะวชิ าชีพ 36แผนปฏิบัตกิ ารประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของสํานักงาน กศน.

อํานาจหนา ที่ของสํานักงาน กศน. ตามพระราชบัญญัติสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 มาตรา 14 ใหมีสํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยข้ึน ในสํานักงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เรียกโดยยอวา “สํานักงาน กศน.” โดยมีเลขาธิการสํานักงานสงเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เรียกโดยยอวา “เลขาธิการ กศน.” ซึ่งมีฐานะเปนอธิบดีและ เปนผบู งั คบั บัญชาขาราชการ พนกั งานและลูกจา ง และรับผดิ ชอบการดําเนินงานของสํานักงาน 1. เปนหนวยงานกลางในการดําเนินการสงเสริม สนับสนุน และประสานงานการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยและรับผดิ ชอบงานธรุ การของคณะกรรมการ *1 2. จัดทําขอเสนอแนะนโยบาย ยุทธศาสตร แผน และมาตรฐานการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศยั ตอคณะกรรมการ 3. สงเสริม สนับสนุน และดําเนินการพัฒนาคุณภาพทางวิชาการ การวิจัย การพัฒนา หลักสูตรและนวัตกรรมทางการศึกษา บุคลากรและระบบขอมูลสารสนเทศท่ีเกี่ยวของกับการศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย 4. สงเสริม สนับสนุน และดําเนินการเทียบโอนผลการเรียน การเทียบโอนความรู และประสบการณ และการเทียบระดับการศึกษา 5. สงเสริม สนับสนุน และประสานงานใหบุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคกร ปกครองสวนทองถ่ิน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และองคกรอ่ืน รวมกันเปนภาคีเครือขายเพ่ือเสริมสรางความเขมแข็งในการดําเนินงานการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัย 6. จัดทําขอเสนอแนะเกย่ี วกับการใชประโยชนเครือขา ยสารสนเทศและการสื่อสาร สถานีวิทยุ โทรทัศนเพ่ือการศึกษา วิทยุชุมชน ศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษา หองสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ ศูนยการเรียนชุมชน และแหลงการเรียนรูอ่ืน เพื่อสงเสริมการเรียนรูและการพัฒนาคุณภาพชีวิต อยา งตอเนื่องของประชาชน 7. ดําเนินการเกี่ยวกับการติดตามตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนินงานการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 8. ปฏิบัติงานอื่นใดตามพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นบัญญัติใหเปนอํานาจหนาท่ี ของสาํ นักงาน หรือตามท่ีรฐั มนตรีมอบหมาย 1 * คณะกรรมการ คือ คณะกรรมการสง เสริม สนับสนุน และประสานความรว มมอื การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั 37แผนปฏบิ ัติการประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2560 ของสาํ นักงาน กศน.

2 สาระสําคัญสว นท่ี ของแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2560 ของสาํ นักงาน กศน. จากภารกิจของชาติดานการศึกษา และบรบิ ทตางๆ ท่ีเกยี่ วขอ ง สํานักงาน กศน. จึงไดกําหนด กรอบแนวทางในการปฏิบัติงานในแผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560 สํานักงาน กศน. โดยมีสาระสําคญั ดงั น้ี ปรชั ญา “ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และ ปรชั ญาคิดเปน” วิสยั ทศั น “กศน. รว มสรางสงั คมแหง การเรียนรตู ลอดชีวติ เพื่อโอกาสและคณุ ภาพทางการศึกษา ของประชาชนทุกชว งวยั ” พนั ธกจิ 1. จัดและสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ เพ่ือยกระดับการศึกษา พัฒนาทักษะการเรียนรูของประชาชนทุกกลุมเปาหมายใหเหมาะสมทุกชวงวัย และพรอมรับการเปลยี่ นแปลงบริบททางสงั คม และสรางสังคมแหง การเรียนรูตลอดชีวติ 2. สงเสริมสนับสนุน และประสานการมีสวนรวมของภาคีเครือขาย ในการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรูตลอดชีวิต ของชุมชน รวมทั้งการดําเนินกิจกรรม ของศูนยก ารเรียนและแหลง การเรียนรอู ื่น ในรปู แบบตางๆ 3. สงเสริมและพัฒนาการนําเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช ใหเ กดิ ประสิทธิภาพในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหกับประชาชนอยางทัว่ ถึง 4. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู เทคโนโลยี สื่อและนวัตกรรม การวัดและประเมนิ ผลในทุกรปู แบบใหส อดคลองกับบรบิ ทในปจ จุบนั 5. พัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจัดการใหมีประสิทธิภาพ เพื่อมุงจัดการศึกษา ทม่ี คี ณุ ภาพโดยยึดหลกั ธรรมาภบิ าล เปา ประสงค 1. ประชาชนผูดอย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมท้ังประชาชนท่ัวไปไดรับ โอกาสทางการศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน การศึกษาตอเน่ือง และการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีมีคุณภาพ อยางเทาเทียมและท่ัวถึง เปนไปตามสภาพ ปญหา และความตองการ ของแตล ะกลุมเปาหมาย

2. ประชาชนไดรับการศึกษาและการเรียนรูท่ีมีคุณภาพเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา อันนําไปสูการยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสรางความเขมแข็งใหชุมขน เพ่ือพัฒนาไปสูความม่ันคง และยงั่ ยืนทางดา นเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ประวตั ศิ าสตร และสงิ่ แวดลอ ม 3. ประชาชนไดรับการสงเสริมการอาน เพื่อสรางนิสัยรักการอานและการแสวงหาความรู ดว ยตนเองโดยมี กศน.ตําบล ศูนยก ารเรียนชุมชน และแหลงเรยี นรูอ ่ืนในชุมชนเปนกลไกในการจัดการเรียนรู 4. ประชาชนไดรับโอกาสในการเรียนรูและมีเจตคติทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ท่เี หมาะสม สามารถคิด วิเคราะห และประยุกตใชในชวี ิตประจําวัน รวมท้ังแกป ญหาและพฒั นาคุณภาพชีวิต ไดอยา งสรางสรรค 5. ชุมชนและทุกภาคสวน รวมเปนภาคีเครือขายในการจัด สงเสริม และสนับสนุน การดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้งมีสวนรวมในการขับเคลื่อน กิจกรรมการเรียนรูของชุมชนตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและปรัชญาคิดเปน 6. หนวยงานและสถานศึกษาพัฒนาและนําสื่อ เทคโนโลยีทางการศึกษา เทคโนโลยี สารสนเทศและการสอ่ื สาร มาใชใ นการเพ่มิ โอกาสและยกระดับคุณภาพในการจัดการเรยี นรู 7. หนวยงานและสถานศึกษาพัฒนาและจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อแกปญหาและพัฒนา คณุ ภาพชีวติ ทตี่ อบสนองกบั การเปลี่ยนแปลงบริบทดา นเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ประวัตศิ าสตร และสง่ิ แวดลอม รวมทง้ั ตามความตอ งการของประชาชน และชมุ ชนในรปู แบบทีห่ ลากหลาย 8. บุคลากรของหนวยงานและสถานศึกษาไดรับการพัฒนาเพื่อเพิ่มสมรรถนะในการ ปฏิบัติงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อยางทั่วถงึ 9. หนว ยงานและสถานศึกษามีระบบการบรหิ ารจดั การตามหลกั ธรรมาภิบาล ตัวช้ีวดั 1. จํานวนผูเรยี นการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พ้ืนฐานท่ีไดรับการสนับสนุน คา ใชจา ยตามสิทธิท่กี ําหนดไว 2. จํานวนของคนไทยกลุมเปาหมายตางๆ (กลุมเปาหมายท่ัวไป กลุมเปาหมายพิเศษ และกลุมคนไทยทั่วไป เปนตน) ท่ีเขารวมกิจกรรมการเรียนรู/ไดรับบริการกิจกรรมการศึกษาตอเน่ือง และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ทีส่ อดคลองกบั สภาพ ปญ หา และความตอ งการ 3. รอยละผูจบหลักสูตร/กิจกรรมการศึกษานอกระบบสามารถนําความรูความเขาใจ ไปใชไ ดตามจุดมุงหมายของหลกั สูตร/กจิ กรรมที่กาํ หนด 4. จํานวนแหลงเรียนรูในระดับตําบลท่ีมีความพรอมในการใหบริการการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศยั 5. จํานวนประชาชนกลุมเปา หมายที่เขารับการฝกอาชพี เห็นชอ งทางในการประกอบอาชพี 39แผนปฏิบตั ิการประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของสํานักงาน กศน.

6. รอยละของผูเขารวมกิจกรรมท่ีสามารถอานออกเขียนไดและคิดเลขเปนตามจุดมุงหมาย ของกิจกรรม 7. รอยละของประชาชนกลุมเปาหมายท่ีไดรับบริการเขารวมกิจกรรมแหลงเรียนรู ตามอธั ยาศยั มคี วามรูความเขาใจ เจตคติ ทกั ษะตามจุดมุงหมายของกจิ กรรมท่ีกาํ หนด 8. จํานวนผดู แู ลผูสงู อายุท่ผี า นการอบรมตามหลกั สูตรท่กี ําหนด 9. จํานวนองคกรภาคสวนตาง ๆ ท้ังในและตางประเทศ ที่รวมเปนภาคีเครือขาย ในการดาํ เนินงานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 10. จาํ นวนนักเรียน นักศึกษา และประชาชนท่ัวไปท่ีเขาถึงบริการการเรียนรูทางดาน วทิ ยาศาสตรในรปู แบบตาง ๆ 11. จาํ นวน/ประเภทของส่อื และเทคโนโลยที างการศกึ ษาท่ีมีการจัดทํา/พัฒนาและนําไปใช เพ่อื สงเสริมการเรยี นรูของผูเ รยี น/ผูรับบริการการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัย 12. จํานวนนักเรียน นักศึกษา และประชาชนท่ัวไปท่ีเขาถึงบริการความรูนอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ผา นชอ งทางสอื่ เทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีการส่อื สาร 13. รอยละของนักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท่ีไดรับบริการติวเขมเต็มความรู เพ่มิ สูงขึ้น 14. จาํ นวนบุคลากรของหนวยงานและสถานศึกษาไดรับการพัฒนาเพอ่ื เพ่ิมสมรรถนะ ในการปฏิบตั งิ านการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 15. รอยละของสถานศึกษาในสังกัดท่ีมีระบบประกันคุณภาพภายในและมีการจัดทํา รายงานการประเมนิ ตนเอง 16. รอยละของหนวยงาน และสถานศึกษา กศน. ท่ีมีการใชระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสารในการจัดทําฐานขอมูลชุมชนและการบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานการศึกษา นอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ขององคการ 17. รอยละของหนวยงาน และสถานศึกษา กศน. ท่ีสามารถดําเนินงานโครงการ/ กิจกรรมตามบทบาทภารกิจท่ีรับผิดชอบไดสําเร็จตามเปาหมายท่ีกําหนดไวอยางโปรงใส ตรวจสอบได โดยใชท รพั ยากรอยางคมุ คา/ตามแผนที่กาํ หนดไว ประเภทกลุม เปา หมาย 1. กลุมผูดอยโอกาส เปนกลุมที่มีโอกาสในการที่จะเขารับบริการทางการศึกษา/ รวมกิจกรรมการเรยี นรดู อ ยกวาคนปกติทว่ั ไป อันเน่ืองมาจาก 1) ขอ จํากดั ดานรา งกาย/จติ ใจ/สติปญญา หรือความสามารถในการเรียนรู 2) ขอ จาํ กัดดานฐานะทางเศรษฐกจิ หรอื ความยากจน หรือ 3) ขอจํากัด ดานการตดิ ตอสอื่ สารอนั เนอื่ งมาจากความตา งทางภาษา/วฒั นธรรม มี 3 กลุมยอ ย ไดแ ก 40แผนปฏิบัตกิ ารประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของสํานักงาน กศน.

1.1 กลมุ ผพู กิ าร 1.2 กลุมผูประกอบอาชีพแรงงานนอกระบบ 1.3 กลมุ ชาตพิ ันธุ (ชนกลุมนอ ย) 2. กลุมผูพลาดโอกาส เปนกลุมที่พลาดโอกาสในการท่ีจะเขารับบริการทางการศึกษา/ รวมกิจกรรมการเรียนรูอันเนื่องมาจาก 1) ความไมสามารถในการท่ีจะรับการศึกษา/การเรียนรู ไดอยางตอเนื่อง หรือไมมีความประสงคท่ีจะรับการศึกษา การเรียนรูจนจบหลักสูตรหรือระดับการศึกษาใดๆ ทีผ่ า นมา 2) การยา ยถ่นิ /เรรอน หรอื 3) เง่อื นไขขอจํากัดเกีย่ วกับอายุ มี 7 กลมุ ยอย ไดแ ก 2.1 กลมุ เดก็ /เยาวชนทอ่ี อกกลางคนั จากระดับการศึกษาภาคบังคบั 2.2 กลมุ ผูจ บการศกึ ษาภาคบังคับแตไมไดเ รียนตอ 2.3 กลมุ ทหารกองประจาํ การทีย่ งั ไมจ บการศึกษาภาคบังคับ 2.4 กลมุ เด็ก/เยาวชนเรรอน/ไรบาน 2.5 กลมุ เดก็ /เยาวชน/ลูกกรรมกรกอสรา ง 2.6 กลมุ เดก็ /เยาวชนท่มี ีความพรอ มแตไ มตอ งการรบั การศึกษาในระบบปกติ 2.7 กลุม ผูสูงอายุ 3. กลุมผูขาดโอกาส เปนกลุมท่ีไมสามารถเขาถึงโอกาสทางการศึกษา/รวมกิจกรรม การเรียนรูไดอันเนื่องมาจาก 1) การอยูในพ้ืนที่เส่ียงภัยจากการกอการราย/การกอความไมสงบ ในบริเวณชายแดน 2) การอยูในพื้นที่ชนบทหางไกล หรือยากลําบากในการคมนาคมติดตอส่ือสาร 3) การมีถ่ินพํานักอยูในตางประเทศ 4) การจําคุก คุมขัง หรือจํากัดบริเวณตามคําพิพากษา หรือ 5) การไมมี สิทธิภาพในฐานะพลเมืองไทยมี 7 กลุมยอย ไดแก 3.1 กลุมประชาชนในพ้ืนที่เสี่ยงภัยจากการกอการราย การกอความไมสงบในบริเวณ ชายแดน 3.2 กลมุ ประชาชนในพน้ื ที่ชนบทหางไกลหรอื ยากลําบากในการคมนาคมติดตอสอ่ื สาร 3.3 กลมุ คนไทยในตางประเทศ 3.4 กลมุ ผูต องขงั 3.5 กลุมเด็ก/เยาวชนในสถานพินจิ 3.6 กลมุ แรงงานตา งดา ว หรือแรงงานขามชาติ 3.7 กลุมบคุ คลที่ไมม ที ะเบียนราษฎร 4. กลุมประชาชนทวั่ ไป คอื กลุมอื่นๆ นอกเหนอื จากขอ ที่ 1 – 3 41แผนปฏิบตั ิการประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2560 ของสาํ นักงาน กศน.

จดุ เนนการดาํ เนนิ งาน กศน. ตามยุทธศาสตรข องกระทรวงศกึ ษาธิการ 1. พัฒนาหลักสตู ร กระบวนการเรียนการสอน การวดั และประเมนิ ผล จุดเนนการดําเนนิ งาน 1.1 จัดกระบวนการเรียนรูที่ตอบสนองกับการเปล่ียนแปลงบริบทดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ประวัติศาสตร และสิ่งแวดลอม รวมทั้งตามความตองการของประชาชน และชุมชนในรูปแบบทีห่ ลากหลาย ใหประชาชนคิดเปน วิเคราะหได ตดั สนิ ใจภายใตฐานขอมลู ท่ีถูกตอง เชน ความรูเร่ืองการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข/การเลือกตั้ง แนวทางและทิศทางการพัฒนาประเทศดานตาง ๆ ของรัฐบาล โดยประสานความรวมมือกับกระทรวง ตาง ๆ ท่ีเก่ียวของ รวมจัดทําเน้ือหาและส่ือประกอบการจัดกระบวนการเรียนรู รวมท้ังใหมีการจัดทํา แผนการเรยี นรูรายชมุ ชน เพอ่ื พฒั นาสูชุมชน/เมืองแหงการเรียนรู 1.2 สงเสริมใหมีการจัดการเรียนการสอนแบบ “สะเต็มศึกษา” (STEM Education) โดยบูรณาการความรูดาน วิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร และคณิตศาสตร เพ่ือประยุกตใช ในชีวิตประจําวัน พัฒนาทักษะชีวิตสูการประกอบอาชีพ และเปนแนวทางของการสรางแรงงานท่ีมีศักยภาพ ไดในอนาคต 2. การผลิต พฒั นา ครู คณาจารย และบคุ ลากรทางการศกึ ษา จดุ เนนการดาํ เนินงาน 2.1 จัดทําแผนพัฒนาอัตรากําลังลวงหนาระยะ 10 ป เพื่อใชเ ปนขอมูลสําหรับการขอ กรอบอตั รากําลังเพิ่มเติมใหเพียงพอตอขอบขายการดําเนินงานของ กศน. 2.2 เรงพัฒนาศักยภาพครู กศน. ทุกประเภท เพื่อใหสามารถเปนท้ังผูสอน ผูอ อกแบบ การเรียนรูรายบุคคล และจัดกระบวนการเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งจัดทําแผนพัฒนาครู กศน. ทกุ ประเภทและทุกระดับ ชวงระยะ 10 ป เพอ่ื พฒั นาสมรรถนะครู กศน. ใหไดเกณฑม าตรฐานทกี่ ําหนด 2.3 สํารวจขอมูล และทบทวนหลักเกณฑการจางลูกจางแบบจางเหมาบริการ และพนักงานราชการใหต รงตามความตองการของพื้นที่ 3. ผลิต และพัฒนากําลังคน รวมทั้งงานวิจัยที่สอดคลองกับความตองการของการ พฒั นาประเทศ จดุ เนนการดาํ เนนิ งาน 3.1 ยกระดับการศึกษาใหกับกลุมประชากรวัยแรงงาน (15 – 59 ป) ใหจบการศึกษา ภาคบังคับอยางมีคุณภาพ 3.2 จัดการศึกษาเพื่อเพิ่มอัตราการรูหนังสือใหคนไทยใหสามารถอานออกเขียนได โดยใชหลักสูตรการรูหนังสือไทย พุทธศักราช 2557 ของสํานักงาน กศน. และส่ือท่ีเหมาะสมกับสภาพ และพ้ืนที่ของกลุมเปาหมาย 42แผนปฏิบัติการประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2560 ของสํานักงาน กศน.

3.3 จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหสอดคลองและรองรับ กับความตองการของการพัฒนาตามบริบทของแตละพ้ืนที่ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ โดยมุงเนนผลิต กําลังคนใหสอดคลองกับความตองการของพ้ืนที่ พรอมท้ังสรางทักษะทางวิชาชีพ โดยเนนดานการบริหาร และการประกอบการ เพื่อใหประชาชนในพืน้ ท่ีไดรบั การพฒั นาศักยภาพในแนวทางท่ดี ีขึ้น 4. ขยายโอกาสในการเขาถึงบริการการศกึ ษาและการเรยี นรอู ยา งตอ เน่ืองตลอดชีวิต จุดเนน การดาํ เนนิ งาน 4.1 จัดและสงเสริมหนวยงานท่ีเก่ียวของในการจัดการศึกษาและการเรียนรูใหกับ กลุม เปา หมายเด็กออกกลางคัน/เด็กตกหลน และกลมุ คนพิการ 4.2 เรงสํารวจขอมูลการรูหนังสอื ของคนไทย โดยใหความสาํ คัญกับกลุมเปาหมาย นกั ศกึ ษา กศน. 4.3 พัฒนา กศน.ตําบล/แขวง ใหเปนฐานการขับเคลื่อนการจัดการศึกษา โดยเนน การประสานเช่ือมโยงระหวางชุมชนและภาคีเครือขาย ในการจัดการศึกษารูปแบบ กศน.ตําบล 4 ศูนย ไดแก (1) ศูนยเรยี นรูหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหมประจาํ ตําบล (2) ศูนยสงเสริมพัฒนา ประชาธิปไตยตําบล (3) ศูนยดิจิทัลชุมชน และ (4) ศูนยการศึกษาตลอดชีวิตชุมชน เพ่ือสนองตอบตอ ความตองการของประชาชนอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งสรางและกระจายโอกาสในการเรียนรูตลอดชีวิต ในชุมชน 4.4 จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตสําหรับประชาชนทุกชวงวัย “กศน. เพื่อประชาชน” เชน จัดการเรียนอาชีพระยะสั้น (โครงการศูนยฝกอาชีพชุมชน) ใหกับประชาชน ท่ีสอดคลอ งกับบรบิ ทของพื้นท่ี และการเขาสูสังคมเศรษฐกิจที่ขบั เคลื่อนดวยนวัตกรรม (Thailand 4.0) รวมทั้งจัดการศึกษาเพื่อเสริมสรางคุณภาพชีวิตใหกับกลุมผูสูงอายุ และการพัฒนาทักษะชีวิตในการ เตรยี มความพรอ มรบั มือกบั การเปลยี่ นแปลงทางเศรษฐกจิ สงั คม การเมือง ธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม 4.5 มงุ เนนการสงเสรมิ ใหเกดิ ชุมชนรกั การอาน “นัง่ ทไี่ หน อานที่นั่น” ในรูปแบบตาง ๆ เชน อาสาสมัครสงเสริมการอาน หองสมุดประชาชน บานหนังสือชุมชน หองสมุดเคล่ือนท่ีสําหรับชาวตลาด ตามพระราชดําริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี และหนงั สอื พิมพฝ าผนัง เปนตน 5. สงเสรมิ และพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารเพือ่ การศกึ ษา จุดเนน การดําเนนิ งาน 5.1 พัฒนา กศน. ตําบล ใหมีความพรอมเกี่ยวกับโครงสรางพื้นฐานดาน ICT และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอื่นท่ีเหมาะสมกับพื้นท่ี เพ่ือให กศน. ตําบลทุกแหงเขาถึงการใชบริการ ทางอินเทอรเน็ต มีความพรอมในการใหบริการการศึกษาและการเรียนรูที่เปนไปตามความตองการ ของประชาชนและชมุ ชน และสรางโอกาสในการเรยี นรไู ดอยางทัว่ ถึง 43แผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของสํานักงาน กศน.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook