Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โรคและภัยสุขภาพ-57

โรคและภัยสุขภาพ-57

Published by กศน.ตำบลบางเพรียง, 2019-07-11 21:37:19

Description: โรคและภัยสุขภาพ-57

Search

Read the Text Version

ปนเทาติดแน่นอยู่บริเวณทอนซิล และบริเวณลิ้นไก่ แผ่นเย่ือนี้เกิดจากพิษที่ออกมา ท�ำให้มีการท�ำลายเน้ือเย่ือ และท�ำให้มีการตายของเน้ือเยื่อทับซ้อนกันเกิดเป็น แผ่นเย่อื (membrane) ตดิ แน่นกับเย่อื บุในล�ำคอ การรกั ษาโรคคอตีบ เมื่อพบผู้ป่วยที่สงสัยว่าเป็นโรคคอตีบ ต้องรีบน�ำส่งโรคพยาบาลทันที เพราะ แพทยจ์ ะตอ้ งรบี ใหก้ ารรกั ษาโดยเรว็ ผลการรกั ษาจะไดผ้ ลหรอื ไมข่ นึ้ อยกู่ บั ระยะเวลา ทปี่ ว่ ยกอ่ นจะไดร้ ับการรกั ษา การป้องกนั โรคคอตีบ 1) ในเดก็ ทั่วไป การป้องกนั นับวา่ เปน็ วธิ ที ีด่ ี ท่ีสุด โดยการให้วัคซีนป้องกันคอตีบ 5 ครั้ง เม่ือ อายุ 2, 4, 6 และ 18 เดอื น และกระตนุ้ อกี ครงั้ หนง่ึ เมอื่ อายุ 4 ปี 2) ผทู้ ม่ี ีอาการของโรคจะมเี ชอื้ อยู่ในจมูก ล�ำคอ เปน็ ระยะเวลา 2-3 สปั ดาห์ ดงั นั้น จงึ ตอ้ งแยกผูป้ ว่ ยจากผอู้ ่นื อยา่ งน้อย 3 สปั ดาห์ หลังเรม่ิ มอี าการ หรือตรวจ เพาะเชื้อไม่พบเชอ้ื แล้ว 2 คร้งั ผปู้ ว่ ยท่หี ายจากโรคคอตบี แลว้ อาจไม่มีภมู ิคุม้ กนั โรค เกิดข้ึนเต็มท่ี จึงอาจเป็นโรคคอตีบซ�้ำอกี ได้ ดงั นนั้ จงึ ตอ้ งให้วคั ซนี ป้องกนั โรค (DTP หรอื dT) แก่ผปู้ ่วยท่หี ายแล้วทกุ คน 3) ผ้ใู กล้ชิดผู้ปว่ ยเนอื่ งจากโรคคอตบี ตดิ ตอ่ กนั ได้ง่าย ดังนัน้ ผสู้ ัมผัสโรคท่ีไม่มี ภมู คิ มุ้ กนั โรคจะตดิ เชอื้ ไดง้ า่ ย จงึ ควรไดร้ บั การตดิ ตามดอู าการอยา่ งใกลช้ ดิ โดยทำ� การ เพาะเชื้อจากล�ำคอ และตดิ ตามดอู าการ 7 วนั ในผทู้ ่สี ัมผสั โรคอยา่ งใกลช้ ดิ ทีไ่ ม่เคย ได้รับวัคซีนป้องกันโรคมาก่อน หรือได้ไม่ครบ ควรให้ยาปฏิชีวนะ benzathine penicillin 1.2 ลา้ นหนว่ ย ฉดี เขา้ กลา้ มเนอื้ หรอื ใหก้ นิ ยา erythromycin 50 มก./กก/วนั เป็นเวลา 7 วนั พร้อมทงั้ เร่มิ ให้วคั ซีน เมือ่ ตดิ ตามดู พบวา่ มอี าการ และ/หรือตรวจ พบเช้ือ ให้ยาปฏิชีวนะดังกล่าว พร้อมกับให้ diphtheria antitoxin เช่นเดียวกับ ผปู้ ่วย สอบถามข้อมูลเพม่ิ เติมได้ท่ี สำ� นักโรคติดต่อท่วั ไป โทรศัพท์ 0-2590-3183, 0-2590-3187 101หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

โรคคางทูม โรคคางทมู เปน็ โรคติดตอ่ สาเหตุมาจาก การติดเช้ือไวรัสท่ีมีช่ือว่ามัมปส์ (mumps) ซึ่งอยู่ในกลุ่ม Paramyxovirus ท�ำให้ผู้ติดเชื้อ มีการอักเสบของต่อมน้�ำลายท่ีอยู่บริเวณกกหู ท�ำให้ท่ีบริเวณคางบวม จึงได้ชื่อว่า “คางทูม” ส่วนใหญ่พบในเด็ก ถ้าเป็นในผู้ชายอาจมีการ อกั เสบของอัณฑะ ซ่ึงอาจทำ� ใหเ้ ป็นหมนั ได้ การตดิ ตอ่ ของโรค โรคน้ีติดต่อกันได้โดยตรงทางการหายใจและสัมผัสกับน�้ำลายของผู้ป่วย เช่น การกินนำ�้ และอาหารโดยใชภ้ าชนะรว่ มกัน เป็นกบั เดก็ ไดท้ ุกอายุ ถ้าเปน็ ในผู้ใหญจ่ ะ มอี าการรนุ แรง และมโี รคแทรกซอ้ นไดบ้ อ่ ยกวา่ ในเดก็ ระยะทต่ี ดิ ตอ่ กนั ไดง้ า่ ยคอื จาก 1 - 2 วัน (หรือถึง 7 วัน) กอ่ นมอี าการบวมของตอ่ มนำ้� ลาย ไปจนถึง 5 - 9 วัน หลงั จากมอี าการบวมของตอ่ มนำ้� ลาย ระยะฟกั ตัวของโรคคอื 16 - 18 วนั แต่อาจส้ัน เพยี ง 12 วัน และนานถึง 25 วัน หลังสัมผัสโรค อาการของโรค โรคนสี้ ว่ นมากจะเปน็ ในเดก็ วยั เรยี น ระยะเรม่ิ แรกผปู้ ว่ ยจะมอี าการไข้ ปวดศรี ษะ ปวดเมื่อยตามเน้ือตามตัว ปวดบริเวณหน้า หูหรือบางคร้ังรู้สึกคล้ายกับว่าปวดหู ข้างใดข้างหน่ึง เค้ียวอาหารจะปวดมากข้ึน กลืนอาหารก็จะเจ็บ จะมีอาการอยู่ 102

2 - 3 วัน ต่อมาส่วนหลงั ของแกม้ จะบวม และขยายไปหาดา้ นหลังของคาง มกั จะเป็น ขา้ งใดขา้ งหนงึ่ กอ่ น (ขา้ งทปี่ วดห)ู ประมาณ 48 ชว่ั โมงจะบวมเตม็ ท่ี และอกี วนั สองวัน ต่อมาคางอีกข้างหนึ่งมักจะบวมตามไปด้วย ในบางโอกาสอาการบวมอาจจะเกิดขึ้น พร้อมๆกันท้งั สองขา้ ง อาการบวมจะปรากฏอยปู่ ระมาณ 3 - 5 วัน แล้วจะคอ่ ยๆ ยุบลง ถ้าไม่มีภาวะแทรกซ้อน อาการต่างๆ จะหายไปภายใน 1 สปั ดาห์หรือไม่เกิน 10 วนั โรคน้อี าจจะมีภาวะแทรกซ้อนได้ คอื เยือ่ หมุ้ สมองและสมองอกั เสบ อัณฑะ หรอื รงั ไขอ่ กั เสบ ซง่ึ มกั จะพบในผปู้ ว่ ยวยั หนมุ่ สาว ซง่ึ อาจทำ� ใหเ้ ปน็ หมนั ได้ โดยเฉพาะ ในผู้ชาย ถา้ เกิดตับออ่ นอกั เสบ จะนำ� ไปสู่การเปน็ เบาหวานในภายหน้า นอกจากนี้ ยงั อาจก่อใหเ้ กิดอาการข้ออกั เสบ ถ่ายอุจจาระเป็นไขมนั ฯลฯ การรกั ษา - รักษาตามอาการ ใหย้ าแก้ปวดเป็นครั้งคราว - แยกผูป้ ่วย จนถึง 9 วนั หลังเร่มิ มอี าการบวมของตอ่ มน�้ำลาย การปอ้ งกันและควบคุมโรค - โดยฉดี วคั ซนี โรคคางทมู (mumps vaccine) ซงึ่ เปน็ วคั ซนี ชนดิ เชอื้ เปน็ ซงึ่ ออ่ นฤทธแิ์ ลว้ (Jerryl Lynn strain) อาจฉดี ใหเ้ ดก็ อายุ 1 ขวบขึน้ หรอื ฉีดให้แกเ่ ดก็ วยั เรยี นหรอื วยั รนุ่ ทย่ี งั ไมเ่ คยเปน็ โรคคางทมู โรคนเ้ี ปน็ แลว้ มกั จะไม่เป็นอีก สอบถามข้อมลู เพ่ิมเตมิ ได้ท่ี - หลกี เลยี่ งการสมั ผัสกบั ผู้ปว่ ย สำ� นักโรคติดตอ่ ทว่ั ไป โทรศพั ท์ 0-2590-3183, 0-2590-3187 103หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

โรคตับอักเสบบี โรคตบั อกั เสบบี (Hepatitis B) เปน็ การอกั เสบ ของตับซ่งึ เกิดจากไวรสั ตับอกั เสบบี โดยเชอื้ ไวรสั จะ บกุ รุกเขา้ สูเ่ ซลล์ตับและกอ่ ใหเ้ กิดการอกั เสบข้นึ ใน บางกรณีเชื้ออาจจะอยู่น่ิงเป็นปีๆ โดยผู้ที่มีเช้ือไม่ ทราบว่าตนเองมีเชื้ออยู่ในร่างกาย เช้ือนี้สามารถ แบง่ ตวั ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ในเซลลต์ บั ซง่ึ สง่ ผลกอ่ ใหเ้ กดิ การอกั เสบและทำ� ลายตบั การติดต่อของเช้อื ไวรัสตบั อกั เสบบี - มเี พศสมั พันธ์กบั คนท่ีมีเชื้อ โดยไม่ไดส้ วมถงุ ยาง - การจูบกันจะไม่ตดิ ต่อ ถ้าปากไมม่ ีแผล - ใชเ้ ขม็ ฉดี ยาร่วมกัน - ใช้เขม็ สกั ตามตัวหรือสีทใ่ี ช้สกั ตามตัวร่วมกัน และการเจาะหู - ใชแ้ ปรงสีฟนั ร่วมกัน มีดโกน ที่ตดั เล็บ รว่ มกนั - แมท่ ่ีมีเชอื้ สามารถตดิ ต่อไปยงั ลูกไดข้ ณะคลอด - ถ้าแมม่ เี ชอื้ และให้นมตวั เอง ลูกจะมโี อกาสตดิ เชือ้ ถงึ 90% - ถกู เขม็ ต�ำจากการทำ� งาน - รกั ร่วมเพศกบั ผ้ทู ม่ี ีเช้ืออยู่ - โดยการสัมผสั กบั เลอื ด น�ำ้ เลอื ด น้ำ� คัดหล่งั โดยผา่ นเขา้ ทางบาดแผล 104

อาการของผูป้ ว่ ยโรคตบั อักเสบ บี อาการของผปู้ ว่ ยโรคตบั อกั เสบ บี จะเกดิ หลังได้รับเช้ือประมาณ 45-90 วัน บางราย อาจจะนานถึง 180 วันผู้ป่วยท่ีเป็นแบบ เฉียบพลันจะมีอาการอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ปวดตามตัว มีไข้ แน่นท้อง ถ่ายเหลวเป็นอยู่ 4-15 วนั หลงั จากนนั้ จะมี ตวั เหลอื ง ตาเหลอื ง ปสั สาวะสเี ขม้ อาการตวั เหลืองตาเหลอื งจะหายไปภายใน 1-4 สปั ดาห์ บางรายอาจ เปน็ นานถงึ 6 สัปดาห์ จงึ สามารถทำ� งานไดป้ กติ การรกั ษาโรคตับอักเสบ บี ส่วนใหญ่หายเองได้โดยการพักผ่อน และรับประทานอาหารไม่มัน การให้ยา interferon หรอื lamivudine ควรอยู่ในความดแู ลของแพทย์ ผลของการปว่ ยเปน็ โรคตบั อักเสบ บี 90% ของผ้ปู ่วยจะหายขาด ภายใน 10 สปั ดาหก์ ารทำ� งานของตับกลบั สู่ปกติ และมีภมู ิคุม้ กนั โรค ผปู้ ว่ ยส่วนหน่ึงตรวจพบเชือ้ ไวรสั ตับอักเสบ บี HbAg + แตก่ าร ทำ� งานของตับปกติ พวกนสี้ ามารถตดิ ต่อสูผ่ อู้ น่ื เรยี กพาหะ (carrier) 5 - 10 % จะ เปน็ ตับอกั เสบเรื้อรงั (Chronic hepatitis) ผูป้ ่วยกลมุ่ นเ้ี จาะเลือดจะพบการท�ำงาน ของตบั ผดิ ปกตเิ ปน็ เวลาอยา่ งนอ้ ย 6 เดอื นและยงั ตรวจพบเชอื้ ตลอด ผปู้ ว่ ยกลมุ่ นจ้ี ะ มกี ารอกั เสบของตบั เป็นระยะ ๆ บางรายเป็นตับแขง็ บางรายเป็นมะเร็งตบั ดงั น้ผี ู้ท่ี ไมม่ อี าการกอ็ าจจะเปน็ ไวรัสตับอักเสบได้ ผทู้ ่เี ป็นพาหะของโรคนีจ้ ะไมแ่ สดงอาการใหเ้ ห็น ทำ� ให้ไมท่ ราบวา่ มเี ชอ้ื ตัวนีอ้ ยู่ ในร่างกาย ซึ่งอาจจะส่งผลเสียท�ำให้น�ำเช้ือไปสู่ผู้อ่ืน ดังนั้นก่อนที่จะแต่งงานหรือมี เพศสมั พนั ธค์ วรจะตรวจหาไวรสั ตบั อกั เสบกอ่ น การวนิ จิ ฉยั แพทยจ์ ะเจาะเลอื ดตรวจ การทำ� งานของตับและตรวจหาเชอื้ ไวรัสตบั อักเสบ 105หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

การป้องกนั โรคตับอักเสบบี การฉีดวัคซีนปอ้ งกนั ไวรัสตับอักเสบ บี หากทา่ นติดเช้ือไวรสั ตับอกั เสบ บี ท่าน จะปฏิบัติตัวอย่างไร เม่ือท่านตรวจพบเช้ือไวรัสตับอักเสบ บี ท่านควรจะขอรับค�ำ แนะนำ� จากแพทยใ์ นการดแู ลตวั เอง และตอ้ งคำ� นงึ ถงึ บคุ คลใกลช้ ดิ ดว้ ยเพราะทา่ นอาจ จะนำ� เช้ือไปสู่คนใกลช้ ดิ วิธีการปฏิบตั ติ วั หากทา่ นมเี ช้ืออยูใ่ นรา่ งกาย 1. หากท่านเป็นตับอักเสบ บี ท่านไม่ต้องกังวล เพราะผปู้ ว่ ยสว่ นใหญจ่ ะหายไดเ้ องและมภี มู คิ มุ้ กนั 2. รับประทานยาและปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำของ แพทย์ 3. รับการตรวจเลือดอย่างสม�่ำเสมอ เพราะการ ตรวจเลอื ดจะทำ� ใหท้ ราบวา่ ตบั ทา่ นมกี ารอกั เสบ มากหรือน้อย 4. บอกให้คนใกล้ชิดทราบ หากคนใกล้ชิดไม่มีภูมิ หรอื เชอ้ื ตอ้ งฉดี วคั ซนี เพอ่ื ปอ้ งกนั ไวรสั ตบั อกั เสบ 5. มีเพศสัมพนั ธ์อยา่ งปลอดภัยโดยการสวมถงุ ยาง 6. อยา่ บริจาคเลอื ด 7. ไมด่ ืม่ สุรา ของมนึ เมา 8. ไมใ่ ช้ยาโดยไม่ปรึกษาแพทย์ 9. พักผอ่ นใหเ้ พยี งพอ สอบถามขอ้ มูลเพิม่ เติมไดท้ ี่ ส�ำนักโรคตดิ ต่อทวั่ ไป โทรศัพท์ 0-2590-3183, 0-2590-3187 106

โรคตดิ เชอื้ ระบบทางเดินหายใจในเด็กเลก็ โรคตดิ เชอื้ ระบบทางเดนิ หายใจในเดก็ เลก็ (Acute Respiratory Infections in Children ; ARIC) เปน็ โรคตดิ ตอ่ ทมี่ กั พบในเดก็ ตวั เลก็ ๆ โดยเฉพาะเดก็ เลก็ กอ่ นวยั เรยี น ทอี่ ายุตำ�่ กวา่ 3 ปี กวา่ 70 เปอรเ์ ซ็นต์ของการเจ็บปว่ ยจากโรคระบบทางเดนิ หายใจ ในเด็กมาจากการตดิ เชือ้ ไวรัส เพราะช่วงอายุหลัง 4 - 6 เดือนไปแลว้ ภมู คิ ้มุ กนั โรค ต้ังต้นที่ได้รับจากแม่จะเริ่มลดลง ถ้าได้รับเชื้อโรคอาการเจ็บป่วยก็จะเกิดขึ้นได้ บางครอบครวั ทมี่ เี ดก็ อยรู่ ว่ มกนั หลายคน หรอื มพี ท่ี อ่ี ยใู่ นวยั เรยี นกม็ โี อกาสรบั เชอ้ื ได้ และยังพบว่าเช้ือแบคทีเรียก็มีส่วนท�ำให้เด็กเล็กเจ็บป่วยได้เช่นกัน สาเหตุเกิดจาก เดก็ ไดร้ บั เชอ้ื โรคผา่ นทางการหายใจ ผา่ นไปตามอวยั วะสำ� คญั ตา่ งๆ ของระบบหายใจ ต้งั แตจ่ มกู หลอดลม ลงไปทป่ี อดตามลำ� ดับ จึงเป็นสาเหตหุ ลกั ที่ทาํ ให้เด็กเจ็บป่วย โรคติดเชอื้ ระบบทางเดนิ หายใจในเด็กเล็ก โรคหลกั ๆ ท่ี ตอ้ งระวงั ไดแ้ ก่ ไขห้ วดั ไซนสั อกั เสบ หวดั เรอ้ื รงั คอหรอื ทอนซลิ อักเสบ หลอดลมอกั เสบ ปอดบวมหรือปอดอกั เสบ หอบหืด ไข้หวัด เป็นโรคติดเชื้อทางระบบทางเดินหายใจ ท่ีพบ ได้บ่อยและเกิดกับเด็กเล็กแทบทุกคน ซึ่งเกิดจากเชื้อไวรัส อาการมกั เรมิ่ ด้วยการมีนำ้� มูกใส ไอ จาม คดั จมกู หายใจเสียง ครืดคราด ไขไ้ มส่ ูง (ตัวรุมๆ) หากไอมาก กอ็ าจกินนมน้อยลง ในเบื้องต้นหากคุณพ่อคุณแม่ดูแลอย่างถูกวิธี อาการก็จะ หายดเี ปน็ ปกติ (ประมาณ 2 - 5 วนั ) เพราะรา่ งกายจะสามารถ กาํ จัดเชื้อออกไปเองตามธรรมชาติ 107หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

ไซนสั อกั เสบ เปน็ โรคแทรกซอ้ นของโรคหวดั จะเกดิ หลงั จากเป็นหวดั แตห่ ากเทียบกับโรคอน่ื ๆ โอกาสทจ่ี ะเกิดมีน้อย ตามปกติเด็กที่เป็นหวัดควรจะหายภายใน 1 สัปดาห์ ถ้ามี อาการคัดจมกู มีน้�ำมูกเป็นเวลานาน ควรพาไปหาหมอเพราะ อาการภายนอกใกล้เคยี งโรคภมู แิ พ้ หวดั เร้อื รงั ท่ีอาจสง่ ผลให้ เกิดโรคภูมิแพ้ เน่ืองจากการท่ีทางร่างกายมีปฏิกิริยาต่อ สิ่งแปลกปลอมท่ีไวเกิน ทําให้เย่ือบุทางเดินหายใจต้ังแต่จมูก ไปจนถงึ หลอดลม เกดิ การอักเสบ มนี ้�ำมกู ไหลเรอ้ื รัง บางคร้งั มีอาการหอบคล้ายหืดเพราะหลอดลมตีบ ออกซิเจนเข้าไป ไมพ่ อ เด็กกจ็ ะมีโอกาสเส่ยี งต่อการเปน็ โรคภูมแิ พ้ เกิดการตดิ เชอื้ และกลายเป็นโรค อืน่ ๆ ไดง้ า่ ย จึงควรหลกี เลี่ยงการอยู่ในแหล่งชมุ ชนท่มี ีคนอยรู่ วมกันมาก ๆ ควรอยู่ ในทท่ี ี่อากาศถา่ ยเทได้สะดวก คอหรือทอนซิลอักเสบ ในเด็กเล็กๆ จะไม่สามารถบอกได้ว่าเจ็บคอต้องใช้วิธี สังเกตอาการอย่างใกล้ชิด สัญญาณบ่งบอกอาจดูจากอาการมีไข้ กินอาหารน้อยลง หรือไม่ยอมกินอาหาร น�้ำลายไหล ร้องเสียงแหบหรือเสียงเปล่ียนไปจากเดิม ต่อมน้�ำเหลืองโตจนคล้�ำหรือมองเห็นไดบ้ ริเวณลาํ คอหรือใต้คาง มีอาการไข้และการ เจบ็ คอ หลอดลมอักเสบ คือ อาการติดเช้ือในหลอดลม ซึ่งเกิดจากเช้ือไวรัสหรือ แบคทเี รีย อาการทีพ่ บ คอื มีไข้ ไอมาก อาจจะไอแหง้ ๆ หรอื มีเสมหะ หายใจเร็ว บางรายมอี าการหอบเหนอ่ื ย หรอื เวลาหายใจไดย้ นิ เสยี งหายใจดงั ครดื คราด เนอ่ื งจาก มีเสมหะมากและเหนียว การรักษาบางครั้งจ�ำเป็นต้องให้ยาเพื่อลดอาการไอ เช่น ยาขยายหลอดลม ยาละลายเสมหะ และให้ด่ืมน�้ำมากข้ึน ควรลดการด่ืมน้�ำเย็น เนื่องจากกระตุ้นอาการไอมากขึ้น ปอดบวมหรอื ปอดอกั เสบ อาการของโรคท่พี บโดยทวั่ ไป เดก็ จะมีไข้สูง อาการ ไข้เกิดขึ้นก่อนหรือเกิดข้ึนพร้อมกับการมีปอดบวมก็ได้ ไอมาก ไอแหง้ ๆ หรอื ไอแบบมเี สมหะ หายใจเรว็ บางราย มอี าการหอบเหนอ่ื ยได้ หรอื เวลาหายใจจะเหน็ ปกี จมกู บาน บางรายไดย้ นิ เสยี งหายใจครดื คราด เนอื่ งจากมเี สมหะมาก และเหนยี ว กรณีทเี่ ชอ้ื รุนแรงหรือไม่ได้รับการรักษาอยา่ ง ทันทว่ งที อาจทําให้เสียชีวิตได้ 108

หอบหดื เกดิ จากหลอดลมหดตวั ผดิ ปกติ ในวนั แรก ๆ ทีไ่ ม่สบายเดก็ จะไอรุนแรง และหายใจเรว็ เกิดจากหลอดลม อุดกั้นหรืออุดตัน (หายใจเข้าได้ แต่หายใจออกไม่ค่อย สะดวก) ควรพาไปพบแพทย์ โรคนี้สามารถส่งผ่านทาง พันธุกรรมได้เช่นเดียวกับโรคภูมิแพ้ทั่วไป แต่ก็สามารถ เกดิ ขึ้นได้เองภายหลัง โดยไม่เกย่ี วขอ้ งกบั พันธุกรรม หากได้ รับสารกระตุ้นให้เกิดอาการ การปอ้ งกนั 1. น�ำเดก็ ไปฉีดวัคซีนปอ้ งกนั โรค ตามกำ� หนดของกระทรวงสาธารณสขุ 2. เดก็ อ่อนควรเลี้ยงด้วยนมแม่ และควรเพมิ่ ความต้านทานโรคด้วยการให้เดก็ รับอาหารครบ 5 หมอู่ ย่างเพยี งพอ 3. หลีกเลี่ยงการสัมผัสโรค เด็กเล็ก ๆ ไม่ควรคลุกคลีใกล้ชิดกับผู้ป่วยทุก ประเภท 4. หลกี เลีย่ งส่ิงแวดลอ้ มทีท่ �ำให้เดก็ เลก็ เสี่ยงตอ่ การเกดิ โรค เช่น ไม่นำ� เดก็ เล็ก ไปในสถานท่ีแออัด ควันไฟ ควันบุหร่ี ควันจากท่อไอเสียรถยนต์ อากาศ หนาวเยน็ 5. ฝึกให้เด็กล้างมือบ่อย ๆ ไม่ใช้มือขยี้ตา แคะจมูก ดูแลความสะอาดของ บา้ นเรือน ให้มีอากาศถ่ายเทได้สะดวก 6. เดก็ อายุตำ�่ กวา่ 3 ปี ควรเลีย้ งเองทบี่ า้ น ไมค่ วรส่งไปเลย้ี งตามสถานเลย้ี ง เด็ก ผปู้ ่วย ไอ จาม ควรใช้กระดาษหรือผา้ ปิดปาก ปดิ จมูก และใสห่ นา้ กาก อนามัยเมือ่ ต้องอยูใ่ กลช้ ิดเดก็ 7. หากเดก็ ไอและหายใจลำ� บาก หอบ หายใจเร็ว แรง จนชายโครงบุ๋ม หายใจ มีเสียงดัง ต้องรบี พาไปพบแพทย์หรอื เจ้าหนา้ ท่สี าธารณสขุ ทนั ที สอบถามขอ้ มูลเพม่ิ เติมได้ที่ สำ� นักโรคติดต่อทวั่ ไป โทรศพั ท์ 0-2590-3183, 0-2590-3187 109หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

โรคไขส้ มองอกั เสบ เจอี “โรคไข้สมองอักเสบ” เกิดจากการอักเสบของเนือ้ สมองท่ัว ๆ ไป หรอื เฉพาะบางสว่ น โรคนเ้ี มอื่ เปน็ แลว้ จะมอี ตั ราการตายสงู หากรอดชวี ติ มักมีความพิการหรือผิดปกติทางสมองตามมา สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจาก เชอื้ ไวรัส ซ่ึงจะแตกต่างกันไปตามภมู ิภาคตา่ ง ๆ ของโลก สภาวะอากาศ ฤดูกาล โอกาสในการสัมผัสกับสัตว์น�ำโรค และภูมิต้านทานของผู้ป่วย สำ� หรบั ประเทศไทย ประมาณร้อยละ 80 ของผู้ปว่ ยไข้สมองอักเสบเกิด จากเชื้อไวรัสท่ีช่ือ เจอี (Japanese B encephalitis-JE) โรคน้ีพบได้ ทุกภาคของประเทศไทย รวมทง้ั เขตชานเมอื งของกรุงเทพฯ การตดิ ตอ่ เชื้อไวรัสเจอีจะอยู่ในสัตว์ท่ีมีกระดูกสันหลังโดยเฉพาะลูกหมู เน่ืองจากลูกหมูที่หย่านมแม่นาน 1 เดือน ภูมิคุ้มกันจากแม่จะเร่ิม หมดไป โรคนต้ี ดิ ตอ่ กันไดโ้ ดยมยี งุ รำ� คาญเป็นพาหะน�ำโรค ยุงชนิดนี้ มักจะกัดเวลากลางคืน เมื่อยุงที่มีเชื้อกัดลูกหมู เชื้อสามารถอยู่ใน ลกู หมไู ดน้ าน โดยทลี่ กู หมจู ะไมม่ อี าการ เมอื่ ยงุ ตวั อน่ื กดั ลกู หมทู ม่ี เี ชอ้ื ยุงนั้นก็จะสามารถแพร่เชื้อต่อไปได้ ลูกหมูจึงเป็นตัวกระจายเชื้อท่ี ส�ำคญั นอกจากนี้ ววั ควาย ม้า ลา แพะ แกะ คา้ งคาว ก็เป็นแหลง่ แพร่เช้ือได้ ส่วนใหญ่จะพบโรคนี้ได้ในเด็ก ช่วงอายุท่ีพบบ่อยคือ 5 - 10 ปี หลังจากโดนยงุ ท่ีมีเชือ้ กดั จะมีเชอ้ื เข้าไปในร่างกายและ เพมิ่ จำ� นวนมากขนึ้ จนมากพอทจ่ี ะทำ� ใหเ้ กดิ อาการของโรค พบโรคน้ี ได้ชกุ ชมุ ในในชว่ งหน้าฝนราวเดือนพฤษภาคม ถงึ กนั ยายน 110

อาการ อาการของโรคคือท�ำให้สมองและเย่ือหุ้มสมองอักเสบ แต่ส่วนใหญ่ของผู้ท่ีติดเชื้อจะไม่มีอาการ ถ้ามีอาการจะเร่ิม ดว้ ยมไี ข้ ปวดเมอื่ ย ออ่ นเพลยี ตอ่ ไปอาการปวดศรี ษะจะมากขึน้ อาเจียน ง่วงซึมจนไม่รู้สึกตัว บางรายอาจมีอาการเกร็งชัก กระตุก อาจมีอาการหายใจไมส่ ม่�ำเสมอ ในรายทีเ่ ป็นรนุ แรง มากจะเสยี ชวี ติ ประมาณวนั ที่ 7 - 9 ของโรค ถา้ พน้ ระยะนแ้ี ล้ว จะผ่านเข้าระยะฟื้นตัว ระยะเวลาของโรคทั้งหมดประมาณ 4 - 7 สัปดาห์ เมือ่ หายแล้วประมาณรอ้ ยละ 60 ของผู้ป่วยจะมีความพกิ ารเหลืออยู่ เช่น อัมพาตแบบแขง็ เกรง็ ของแขนขา มพี ฤตกิ รรมเปลี่ยนแปลง สตปิ ญั ญาเสือ่ ม การรกั ษา ยงั ไมม่ ียาเฉพาะ เป็นการรักษาแบบประคบั ประคองตามอาการ การปอ้ งกัน โรคนเ้ี ราสามารถปอ้ งกนั ได้ โดยการควบคุมสัตวเ์ ลยี้ งท่ีเปน็ ตวั แพร่กระจายโรค เช่น เล้ยี งหมูในคอกท่อี ยูห่ ่างคน ไมค่ วรเล้ยี งหมใู นบรเิ วณใกล้บ้านท่ีอยู่อาศยั หรือมี มงุ้ ลวดกนั ยงุ และระวงั อยา่ ให้ยงุ กดั หรอื ฉีดวัคซนี ให้ลูกหมู ควบคุมยงุ ท่ีเปน็ พาหะน�ำ โรค และป้องกนั โดยการฉีดวคั ซีน ซงึ่ ปจั จุบันกระทรวงสาธารณสุขให้วคั ซนี นแ้ี ก่เด็ก อายุ 1 ปคี รึง่ เปน็ วคั ซีนท่ีปลอดภยั ให้ผลป้องกนั ไดด้ ี เป็นชนิดสายพนั ธน์ุ ากายามา่ (Nakayama) และไบจงิ (Beijing) ฉดี เขม็ ที่ 1 และ 2 ห่างกัน 4 สัปดาห์ หลังจาก นั้น 12 เดือนกระตนุ้ เข็มที่ 3 และอาจฉีดกระต้นุ อีกครั้งหลังจากนนั้ 3 - 4 ปี แต่ ไมค่ วรฉีดได้เกิน 5 ครั้ง เนอื่ งจากวัคซนี ทำ� จาก สอบถามข้อมูลเพ่ิมเตมิ ไดท้ ี่ สมองลูกหนูอาจมีปฏิกิรยิ าได้มาก สำ� นักโรคติดต่อทั่วไป โทรศัพท์ 0-2590-3183, 0-2590-3187 111หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

โรคโปลิโอ “โรคโปลโิ อ” (Poliomyelitis) เป็นโรคที่ท�ำให้มีการอกั เสบของไขสันหลังท�ำให้ มอี มั พาตของกลา้ มเนอื้ แขนขาและมคี วามพกิ ารตลอดชวี ติ ซง่ึ ในรายทอ่ี าการรนุ แรง จะท�ำให้เสียชีวิตได้ สาเหตุเกิดจากการติดเชื้อไวรัสโปลิโอแบบเฉียบพลันซ่ึงติดต่อ จากคนสู่คนทางอุจจาระ ปาก ช่ือนี้มาจากภาษากรีกว่า polios หมายถึง สีเทา, myelos หมายถงึ ไขสันหลัง และ itis หมายถึงการอกั เสบ เป็นโรคทีต่ ดิ ต่อกนั ไดง้ ่าย การตดิ ตอ่ คนที่ป่วยเป็นโรคโปลิโอจะแพร่เชื้อออกมาทางอุจจาระได้เป็นเวลานาน หลายสัปดาห์ คนท่ไี ด้รบั เชอ้ื แตไ่ มม่ อี าการ ก็สามารถแพรเ่ ช้ือออกมาทางอุจจาระได้ ระยะฟกั ตวั ของโรคจะมตี ง้ั แต่ 3 วนั จนถงึ 3 สปั ดาห์ เชอื้ จะเขา้ สรู่ า่ งกายทางปากจาก อาหารหรือน้�ำท่ีมีเชื้อน้ีอยู่ เมื่อเช้ือเข้าสู่ล�ำไส้ก็จะเข้าไปในเลือด แล้วไปอยู่ท่ีระบบ ประสาทสว่ นกลาง ทำ� ลายเซลลป์ ระสาทส่วนที่ควบคมุ การเคลือ่ นไหวของกลา้ มเน้ือ ท�ำให้เกิดอัมพาต ส่วนใหญ่เป็นที่ขา แต่อาจจะเป็นท่ีกล้ามเนื้อมัดใดก็ได้ ถ้าเป็นท่ี กล้ามเน้ือเก่ียวข้องกับการหายใจ หรือการกลืนอาจท�ำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ อาการ อมั พาตกลา้ มเนอื้ ออ่ นแรงเมอื่ ปลอ่ ยทงิ้ ไวโ้ ดยไมร่ กั ษา กลา้ มเนอ้ื บรเิ วณนน้ั จะคอ่ ยๆ ลบี ลง เน่ืองจากไมไ่ ดใ้ ชง้ าน อาการของโรคโปลโิ อ คนท่ีได้รับเช้ือโปลิโอกว่า 90% จะไม่ท�ำให้เกิดอาการใดๆ เลย แต่ส่วนน้อย อาจเปน็ มากจนกระทงั่ มอี าการอมั พาต ระยะฟกั ตวั ของผปู้ ว่ ยทม่ี อี มั พาต อยรู่ ะหวา่ ง 1-2 สปั ดาห์ แต่อาจนานถึง 5 สัปดาห์ ส�ำหรับผู้ปว่ ยท่ไี มม่ ีอาการ เช้อื ไวรสั โปลโิ อ ทเี่ ข้าไปจะเพมิ่ จำ� นวนในลำ� ไส้ และขับถ่ายออกมาเปน็ เวลา 1-2 เดอื น นบั เปน็ แหลง่ แพร่โรคทสี่ �ำคญั ในชุมชน 112

ผ้ตู ดิ เชอ้ื โปลิโอ อาจมอี าการได้หลายแบบ ผปู้ ว่ ยทม่ี ีอาการน้อยมาก จะมอี าการไข้ตำ�่ ๆ เจบ็ คอ อาเจยี น ปวดท้อง เบื่ออาหาร และอ่อนเพลยี อาการจะเป็นอยู่ 3 - 4 วัน ก็จะหายโดยไม่มีอาการอัมพาต ซึ่งท�ำให้วินิจฉัยโรคแยกจากโรค ตดิ เช้ือไวรสั อ่นื ไมไ่ ด ้ ผู้ป่วยท่ีมีอาการเย่ือหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อไวรัสโปลิโอ จะมอี าการเชน่ เดยี วกบั ทเ่ี กดิ จากเชอื้ ไวรสั อน่ื ๆ จะตรวจพบคอแขง็ ชัดเจน มีอาการปวดศีรษะ ปวดตามกล้ามเนื้อ เมื่อตรวจ นำ�้ ไขสนั หลงั กจ็ ะพบความผิดปกติแบบการตดิ เช้อื ไวรัส ผู้ป่วยที่เป็นอัมพาต มักพบลักษณะของอัมพาตของ โปลโิ อทขี่ ามากกวา่ แขน และจะเปน็ ขา้ งเดยี วมากกวา่ 2 ขา้ ง มกั จะเปน็ กลา้ มเนอ้ื ตน้ ขา หรือต้นแขนมากกว่าส่วนปลาย เป็นแบบอ่อนปวกเปียก โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลง ในระบบความรู้สึกในรายที่เป็นมากอาจมีอัมพาตของกล้ามเน้ือส่วนล�ำตัวที่หน้าอก และหนา้ ท้อง ซ่ึงมคี วามสำ� คญั ในการหายใจ ท�ำใหห้ ายใจเองไมไ่ ด้ อาจถงึ ตายได้ถา้ ชว่ ยไม่ทนั การรกั ษา การรักษาผู้ป่วยโรคโปลิโอจะเป็นการรักษาแบบประคับประคองในระยะแรกที่ มปี วดตามกลา้ มเนอื้ ใชผ้ า้ ชบุ นำ้� อนุ่ ประคบ ใหน้ อนพกั ดแู ลอยา่ งใกลช้ ดิ เมอื่ มอี มั พาต และมกี ารหายใจลำ� บากจะตอ้ งใชเ้ ครอื่ งชว่ ยหายใจ เมอื่ ไมม่ กี ลา้ มเนอื้ เปน็ อมั พาตเพมิ่ มากข้ึนและหายปวด จึงเร่ิมให้การนวดเพอ่ื ฟื้นฟสู มรรถภาพของกล้ามเนือ้ การปอ้ งกนั 1. ในเด็กท่ัวไป การให้วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอ (OPV) นับว่าเป็นวิธีที่ดีท่ีสุด ปัจจุบันกระทรวงสาธารณสุขให้วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอแก่เด็ก โดยการหยอดให้ ทางปาก 5 ครงั้ ได้แก่ เมือ่ อายุ 2, 4, 6 เดอื น 1 ปีครง่ึ และ 4 ปี และให้ไปรับวัคซนี ทุกคร้ังทีม่ ีการรณรงค์ให้วัคซนี ป้องกันโรคโปลโิ อ 2. ป้องกนั การติดเช้อื และการแพร่กระจายของเชือ้ โปลโิ อ ดว้ ยการรบั ประทาน อาหารและดม่ื นำ�้ ทสี่ ะอาด รวมทงั้ การถา่ ยอจุ จาระ สอบถามข้อมูลเพ่มิ เติมได้ท่ี ลงสว้ มที่ถูกสขุ ลกั ษณะทกุ ครั้ง สำ� นักโรคตดิ ต่อท่วั ไป โทรศพั ท์ 0-2590-3196 113หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

โรคไขก้ าฬหลงั แอ่น “โรคไข้กาฬหลังแอ่น” เป็นโรคติดเชื้อแบคทีเรียเฉียบพลันจากเชื้อแบคทีเรีย Neisseria meningitidis โรคนพ้ี บไดใ้ นทุกกลุ่มอายุ มักพบมากในกล่มุ คนท่ีอยู่รวม กันอย่างหนาแน่นและแออัด พ้ืนท่ีท่ีมีการเกิดโรคสูงติดต่อกันหลายปี ได้แก่ แอฟริกากลาง แถบทะเลทรายซาฮาราตอนใต้ มีการระบาดท่ีเอธิโอเปีย ซูดาน ประเทศอื่น ๆ ในทวีปแอฟริกา เนปาล อนิ เดยี ทวีปอเมรกิ า เชน่ คิวบา บราซลิ ชิลี อาร์เจนตินา โคลัมเบีย ชอ่ื ของโรคสามารถบอกถงึ อาการไดด้ ี คอื มไี ข้ และอาจมีอาการของเย่ือหุ้มสมองอักเสบ ได้แก่ อาการคอแข็ง ถ้าถึงกบั “หลังแอน่ ” แสดงว่าอาการ เยอ่ื หมุ้ สมองอกั เสบรนุ แรงมากแลว้ สว่ นคำ� วา่ “กาฬ” แปลว่า สีดำ� หมายถงึ โรคนรี้ า้ ยแรงถงึ ชีวิต การตดิ ตอ่ โรคน้ีสามารถติดต่อได้ ทางการไอจามรดกัน หรือ การสัมผัสน�้ำมูก น้�ำลาย เสมหะ น้�ำเหลือง ดังนั้น ผู้ท่ีอยู่ใกล้ชิดผู้ป่วยนานๆ จะมีโอกาสได้รับ เช้อื เพราะผู้ป่วยเหล่านั้นจะมีเชือ้ อยู่ในลำ� คอ ตัง้ แต่ กอ่ นมอี าการไข้ การกระจายของเชื้อโรคและอาการแบ่งได้ 2 แบบ คือ… 1. แบบแรก เชอื้ โรคกระจายไปที่ เยอ่ื หมุ้ สมอง ท�ำให้เยอื่ หุ้มสมองอกั เสบ มีอาการคอแขง็ หลงั แข็ง 114

ปวดศีรษะ อาเจยี น ผมู้ ีอาการเช่นนี้ ถ้าหากรบี ไปพบแพทยไ์ ด้เร็ว สามารถรักษาได้ ทันแลว้ ผู้ป่วยส่วนใหญจ่ ะหายดี 2. แบบทสี่ อง เชือ้ โรคกระจายไปสู่ อวัยวะอ่นื (ที่ไม่ใช่สมอง) เนือ่ งจากเชื้อโรค จะเขา้ สกู่ ระแสโลหติ ผปู้ ว่ ยสว่ นใหญจ่ ะปกตดิ ใี นระยะแรก อาการแสดงออกของอวยั วะ อื่นๆไม่ค่อยชัดเจน เนื่องจากอยู่ในระยะท่ีเช้ือโรคกระจายไปหลายแห่ง เช่น ปอด หวั ใจ ตอ่ มหมวกไต ชว่ งทอี่ าการของอวยั วะแตล่ ะระบบยงั ไมป่ รากฏชดั นี้ ทำ� ใหผ้ ปู้ ว่ ย คดิ วา่ เปน็ ไขห้ วดั ธรรมดา จงึ ไมไ่ ดร้ กั ษาในระยะแรก เมอื่ มอี าการแสดงออกมาใหเ้ หน็ แสดงวา่ มีเชอ้ื โรคอยมู่ ากมายในร่างกาย จนอาจทำ� ให้มอี าการช็อก และมเี ลอื ดออก ตามทวารหรือมีจุดเลือดออกที่ผิวหนัง อาการท่ีพบได้บ่อยในระยะแรก คือ ไข้สูง ปวดศรี ษะ ปวดต้นคอ คลน่ื ไส้ อาเจยี น การรกั ษา การดแู ลรกั ษาไมใ่ หเ้ ขา้ สกู่ ารตดิ เชอื้ รนุ แรงนนั้ ควร ไปพบแพทยต์ ้งั แต่วนั แรกๆ เมื่อมอี าการไข้ เจบ็ คอ เช้ือ โรคนี้จะถูกท�ำลายด้วย “ยาปฏิชีวนะ” พ้ืนๆ ท้ังหลาย เชน่ เพนนิซิลนิ , อีรโิ ทรมัยซิน การปอ้ งกัน 1. การป้องกนั โรคที่ดีทสี่ ดุ คอื การหลกี เล่ยี ง การ ไอ-จามรดกนั ไมด่ ม่ื นำ�้ แกว้ เดยี วกนั ลา้ งมอื ใหส้ ะอาดเมอื่ สมั ผสั นำ�้ มกู นำ�้ ลายของผปู้ ว่ ย และควรรกั ษาสขุ ภาพใหแ้ ขง็ แรงโดยการออกกำ� ลงั กาย อยา่ งสม�่ำเสมอ พกั ผอ่ นใหเ้ พยี งพอ ไมค่ วรเขา้ ไปอยใู่ นทแี่ ออดั ผคู้ นหนาแนน่ อากาศ ถา่ ยเทไม่สะดวก 2. การไดร้ บั “ยาปฏชิ วี นะ” เพอ่ื ป้องกนั โรคไขก้ าฬหลังแอ่น สว่ นใหญจ่ ะเป็น ผทู้ ส่ี มั ผสั หรอื ผใู้ กลช้ ดิ ผปู้ ว่ ยควร ซง่ึ ไดแ้ ก่ สมาชกิ ในครอบครวั ทอ่ี ยบู่ า้ นเดยี วกนั เพอ่ื น นักเรยี น ในชั้นเรยี นเดยี วกนั ทหารทป่ี ฏบิ ัตงิ านหรือนอนในค่ายเดียวกนั รวมท้ังเจา้ หน้าทที่ ด่ี แู ลผู้ปว่ ย 3. การฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้กาฬหลัง สอบถามข้อมลู เพมิ่ เตมิ ไดท้ ่ี ส�ำนักโรคตดิ ต่อทว่ั ไป แอน่ สว่ นใหญจ่ ะเปน็ ผทู้ จี่ ะเดนิ ทางไปท�ำพธิ ที าง โทรศัพท์ 0-2590-3232 ศาสนาในตะวันออกกลาง ซ่ึงต้องได้รับการฉีด วัคซนี ปอ้ งกันโรคตามทกี่ �ำหนด 115หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

โรคลชิ มาเนยี “โรคลชิ มาเนยี หรอื ลสี นาเนยี ซสิ ” (Leishmaniasis) เปน็ โรคตดิ ตอ่ ระหวา่ ง สตั วแ์ ละคน เปน็ โรคของสตั วแ์ ตแ่ พรส่ คู่ นได้ โดยมี “รน้ิ ฝอยทราย” เปน็ ตวั พาหะ น�ำโรค โดยริ้นฝอยทรายดูดเลือดสัตว์เป็นอาหาร ไปกัดสัตว์ท่ีมีเช้ือแต่ไม่แสดง อาการ จากน้ันน�ำเช้ือไปสู่คน ปกติพบโรคน้ีในประเทศแถบตะวันออกกลาง อนิ เดีย เนปาล บังคลาเทศ ปากสี ถาน ปัจจบุ นั ประเทศไทยพบโรคน้ปี ระปราย ปีละ 1-3 ราย มีสาเหตุจากเชอ้ื โปรโตซวั ในสกุล ลชิ มาเนีย (Leishmania) ซ่ึงอยู่ ในเซลล์เมด็ เลือดขาว (Macrophage) ของคน การติดต่อ โรคลชิ มาเนยี แพรส่ คู่ นอนื่ โดยผา่ นการกดั ของแมลง “ริน้ ฝอยทราย” ซงึ่ หลงั จากกินเลือดสัตว์ท่มี ีเชื้อแลว้ มากัด คนก็จะแพร่เช้ือสู่คนได้ โดยร้ินฝอยทรายมีขนาดเล็กกว่า ยงุ ประมาณ 1/3 เทา่ (ยาว 2 - 5 มม.) มขี นปกคลมุ ขายาว มีปีก 1 คู่ แต่บินได้ไม่ดี กระโดดได้สูงไม่เกิน 1 เมตร วงจรชวี ติ ของรน้ิ ฝอยทรายคอ่ นขา้ งสน้ั ประมาณ 60 วนั หากนิ หา่ งแหลง่ เพาะพนั ธป์ุ ระมาณ 100 – 300 เมตร ออกดูดเลือดตอนพลบค่�ำและกลางคืน มักชอบกัด นอกบา้ นมากกวา่ ในบา้ น วางไข่และอาศัยบนพน้ื ดนิ ในท่ีมืด เยน็ และมีความชื้น ไดแ้ ก่ กองอฐิ กองหิน ไม้ ฟนื จอมปลวกเกา่ รอยแตกของฝา ตอไม้ผุ มูลสตั ว์ ใน ปา่ ตามพน้ื ดนิ ทมี่ ใี บไมค้ ลมุ ใกลค้ อกสตั ว์ หรอื ใกลแ้ หลง่ อาหาร มีรายงานพบการกระจายตัวของร้ินฝอยทราย 116

ในพ้นื ที่หลายแหง่ ในประเทศไทย สัตว์รงั โรคเปน็ สตั ว์กดั แทะจ�ำพวก กระรอก กระแต หนชู นดิ ตา่ ง ๆ สตั วเ์ ลอื้ ยคลาน เชน่ จง้ิ จก ตกุ๊ แก สตั วเ์ ลยี้ ง สุนขั แมว สุนขั จิง้ จอก ปศุสตั ว์ เชน่ โค แพะ แกะ เปน็ ตน้ อาการ มีหลายลกั ษณะ 1. แผลตามผิวหนงั เช่น แขน ขา ใบหน้า และล�ำตัวบริเวณท่ีถูกริ้นฝอยทรายกัดจะเป็น ตุ่มนนู พองใส แดง เจ็บ (บางครงั้ ไมเ่ จ็บ) ต่อมา ตมุ่ ขยายใหญแ่ ลว้ แตกเปน็ แผล แผลอาจแหง้ หรอื มีน�้ำเลือดน�้ำเหลืองเย้ิม และอาจอยู่นานหลาย เดือนแล้วหายไปเอง แผลท่ีอยู่ใกล้กันสามารถ ลกุ ลามรวมกนั เปน็ แผลใหญ่ หรอื ภมู ติ า้ นทานตำ�่ แผลกก็ ระจายท่วั ตัวได้ 2. แผลตามเย่ือบุจมูกและริมฝีปากเกิด เป็นหนองและแผล กระดูกอ่อนจมูกอาจถูก ท�ำลายและหนองอาจลุกลามเข้าในปากถึง เพดานกับลำ� คอ 3. อวยั วะภายใน เชน่ ตบั และมา้ มโต ไขต้ ่�ำ อ่อนเพลีย ไมส่ บายในทอ้ ง ทอ้ งเดนิ เบ่อื อาหาร ปวดเม่ือยกล้ามเนอ้ื บางครัง้ ไข้สงู อาจเปน็ เวลา ไอแห้ง ๆ เลือดออกทางจมูก ไรฟัน ท้องอืด ทอ้ งโต คล่ืนไส้ อาเจียน ผิวหนังแหง้ ตกสะเกด็ เป็นสีเทา ๆ ท่ีบริเวณมือ หน้า ต่อมน้�ำเหลือง อาจโต ตับและม้ามโต น้�ำหนักลด ซึ่งหากการ รักษาไม่ถกู ตอ้ งหรอื ช้าอาจถึงแกช่ วี ติ ได้ 117หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

การรักษา การรักษาข้ึนอยู่กับประเภทและอาการของโรค มียารักษาเฉพาะโรค เช่น Pentaualent antimoniais หรอื Amphotericin B เป็นต้น หรอื ใชย้ าทา และผา่ ตดั รวมทั้งการรักษาตามอาการ อย่างไรก็ตาม ยารักษาเฉพาะโรคน้ันมักจะมีอาการ แทรกซ้อนมาก จึงต้องใช้อย่างระมัดระวัง และอยู่ในการดูแลของแพทย์ ปัจจุบันมี ยาเมด็ ชนดิ รบั ประทาน “Miltefosine” ซงึ่ องคก์ ารอนามยั โลกนำ� มาใชก้ ำ� จดั โรคลชิ มาเนยี ในประเทศอนิ เดีย เนปาลและบงั คลาเทศ การป้องกันและควบคุมโรคในคน 1. คน้ หาผู้ปว่ ยให้พบอยา่ งรวดเร็วเพ่อื ให้การรกั ษาผตู้ ดิ เชอ้ื โดยเรว็ 2. มกี ารเฝ้าระวังโรคทีเ่ ขม้ งวด เชน่ การตรวจรา่ งกายคนตา่ งชาตทิ เี่ ดนิ ทางเข้า มาในประเทศ และแรงงานไทยทีเ่ ดินทางกลับจากประเทศท่เี ปน็ แหล่งแพร่โรค 3. ทำ� ความสะอาดบรเิ วณบา้ นเรอื น ไมใ่ หม้ เี ศษอาหารตกคา้ ง ใหห้ นซู งึ่ เปน็ สตั ว์ รงั โรคทสี่ �ำคญั มากนิ ไมม่ โี พรงไม้ รหู นู กองขยะ กองไม้ กองหิน ทเ่ี ปน็ แหลง่ ท่อี ยู่ อาศัยของริ้นฝอยทราย ส�ำหรับสัตว์เล้ียงควรอยู่ในบริเวณที่ล้อมรอบด้วยตาข่ายกัน แมลงในเวลากลางคนื 4. ปอ้ งกนั ตนเอง จากการถกู รน้ิ ฝอยทรายกดั ดว้ ยการสวมใสเ่ สอื้ ผา้ อยา่ งรดั กมุ ขณะเขา้ ไปทำ� งานหรอื พกั ในพน้ื ทท่ี เี่ กดิ โรค ทายากนั แมลงในบรเิ วณผวิ หนงั ทอ่ี ยนู่ อก รม่ ผา้ นอนกางมงุ้ ทชี่ บุ ดว้ ยยากนั ยงุ หรอื ใชม้ งุ้ ทม่ี ขี นาดรตู าขา่ ยเลก็ ฉดี ยากนั ยงุ ภายใน บ้าน ตามผนงั หรือในท่ที รี่ น้ิ ฝอยทรายเกาะพกั หรือทำ� รังอยู่ 5. เฝ้าระวังโรคในพื้นท่ี โดยเฉพาะในผู้ป่วยที่มีไข้ขึ้นๆ ลงๆ เป็นเวลานาน หลายวัน ซีด ตบั มา้ มโต น้�ำหนกั ลด ผอมลงมาก สอบถามข้อมลู เพิม่ เตมิ ได้ท่ี ส�ำนกั โรคติดตอ่ นำ� โดยแมลง โดยไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งมปี ระวตั ไิ ปทำ� งานในตา่ งประเทศ โทรศพั ท์ 0-2590-3108 หรือให้การรกั ษาไปแล้วแตอ่ าการไมด่ ีข้ึน 118

โรคไขเ้ หลอื ง “โรคไข้เหลือง” (Yellow fever) เป็นโรคติดต่อท่ีมีสาเหตุมาจากการติดเช้ือ ไวรัสไข้เหลือง โดยมียุงลายเป็นพาหะน�ำเชื้อจากผู้ป่วยที่เป็นโรคไข้เหลืองไปสู่คน ปกติ เชน่ เดยี วกบั โรคไขเ้ ลอื ดออกเดงก่ี โรคนเ้ี ปน็ โรคประจำ� ถนิ่ ในทวปี แอฟรกิ าและ อเมริกาใต้ ค�ำวา่ “เหลือง” มาจากอาการตัวเหลอื งหรือดีซ่านท่มี ักพบในผู้ปว่ ย ใน ช่วงสองทศวรรษที่ผ่านมายังมีจ�ำนวนของผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้น ท�ำให้โรคไข้เหลืองเป็น ปัญหาสาธารณสุขทสี่ ำ� คญั ในปจั จบุ นั การตดิ ต่อ การตดิ เชอื้ เกดิ ในคนและลงิ โดยตดิ ตอ่ จากคนสคู่ น (horizontal transmission) และมียุง Aedes spp และ Haemogogus spp (พบในทวีปอเมริกาเท่าน้ัน) ซ่ึง สามารถปล่อยเชื้อผ่านไปยังไข่ที่จะกลายเป็นลูกยุงต่อไป (Vertical transmission) ดังนั้น ยุงจึงเป็นแหล่งรังโรคที่แท้จริงของไวรัสไข้เหลือง ยุงเหล่านี้มีทั้งยุงบ้านและ ยุงปา่ การตดิ เช้อื ในคนมีวงจรการตดิ ตอ่ ได้ 3 แบบคือในปา่ (sylvatic) กงึ่ ปา่ ก่งึ เมือง (intermediate) และในเมอื ง (urban) ทงั้ 3 วงจรพบในอัพรกิ า แตใ่ นอเมริกาใต้พบ เฉพาะ sylvatic กับ urban อาการ เช้ืออาศัยอยู่ในร่างกายของคน โดยมีระยะ ฟักตวั 3 - 6 วนั แบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะแรก (acutephase) จะมอี าการไข้ ปวดกลา้ มเนอ้ื รว่ มกบั ปวดหลงั ปวดศรี ษะ หนาวสน่ั เบอื่ อาหาร คล่นื ไส้ อาเจียน พบบ่อยว่าผู้ป่วยจะมีไข้สูงร่วมกับชีพจร 119หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

เต้นช้าผดิ ปกติ หลังจาก 3 - 4 วนั ผูป้ ว่ ยสว่ นใหญ่ จะมีอาการดขี ้นึ อย่างไรกต็ าม 15 % ของผู้ป่วย จะเขา้ สรู่ ะยะสอง (toxic phase) ภายใน 24 ชว่ั โมง จะมอี าการไข้กลับ ตัวเหลือง ปวดทอ้ ง อาเจยี น มี เลอื ดออกจากปาก จมกู ตา กระเพาะอาหาร ทำ� ให้ อาเจียน และถา่ ยเป็นเลือดจนถงึ ไตวาย มโี ปรตนี ปัสสาวะ (albuminuria) และปัสสาวะไม่ออก (anuria) ครึ่งหนึ่งของผู้ป่วยระยะโลหิตเป็นพิษ จะเสยี ชวี ติ ภายใน 10 - 14 วนั ทเี่ หลอื จะหายเปน็ ปกติโดยอวยั วะต่างๆ ไม่ถกู ทำ� ลาย การรักษา ไมม่ กี ารรกั ษาทจ่ี ำ� เพาะสำ� หรบั โรคไขเ้ หลอื ง เนน้ การรกั ษาตามอาการดว้ ยการ ใหย้ าลดไข้และสารน�้ำทางปาก เพอื่ ลดไขแ้ ละทดแทนภาวะขาดนำ�้ การปอ้ งกนั การฉดี วคั ซนี เปน็ มาตรการเดยี วทส่ี ำ� คญั ทส่ี ดุ ในการปอ้ งกนั ไขเ้ หลอื ง ในพนื้ ทที่ ี่ มีความครอบคลุมของวัคซีนต�่ำจะต้องมีการเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิดและมีการควบคุม โรคท่ีรวดเร็ว มาตรการก�ำจัดยุงยังจ�ำเป็นเพ่ือป้องกันการแพร่เช้ือไวรัส จนกว่าจะมี การฉีดวัคซีนได้ครอบคลุม วัคซีนไข้เหลืองเป็นวัคซีนที่มีความปลอดภัยและมี ประสทิ ธผิ ลสงู 95% ของผทู้ ไี่ ดร้ บั วคั ซนี จะสรา้ งภมู คิ มุ้ กนั โรคภายใน 1 สปั ดาห์ วคั ซนี 1 เขม็ สามารถปอ้ งกนั โรคได้ 10 ปี และอาจอยไู่ ดถ้ งึ ตลอดชวี ติ ผลขา้ งเคยี งของวคั ซนี พบนอ้ ยมาก และสว่ นใหญจ่ ะเกดิ ในเดก็ อายตุ ำ่� กวา่ 6 เดอื น จงึ ไมแ่ นะนำ� ใหฉ้ ดี วคั ซนี ในเด็กกลมุ่ นี้ มี 17 ประเทศในแอฟริกา ท่ีมีแผนการให้วัคซีนไข้เหลืองแก่เด็กทั่ว ประเทศตามค�ำแนะน�ำขององค์การ อนามัยโลก โดยฉีดให้แก่เด็กช่วงอายุ 9 เดอื น (ให้พร้อมกับวัคซนี หดั ) 120

สถานท่ใี ห้บรกิ ารฉัดวัคซนี ไขเ้ หลือง - ท่ที �ำการแพทยต์ รวจคนเขา้ เมือง ศนู ยร์ าชการฯ แจ้งวฒั นะ โทร. 0-2143-1466 - สถาบันบ�ำราศนราดูร กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ถ.ติวานนท์ อ.เมือง จ.นนทบรุ ี โทร. 0-2590 3430, 0-2590-3688 ดา่ นควบคมุ โรคตดิ ต่อระหวา่ งประเทศท่ใี ห้บริการ - ทา่ เรือกรุงเทพ (คลองเตย) โทร. 0-2240-2057 - ทา่ เรือแหลมฉบัง โทร. 0-3840-9344, 08-1996-1375 - ทา่ เรอื ภูเกต็ โทร. 0-7621-1075, 08-9726-8877 - ดา่ นฯ อ.สะเดา จ.สงขลา โทร. 0-7455-7260 สอบถามขอ้ มูลเพ่มิ เติมได้ท่ี ส�ำนกั โรคตดิ ต่อท่ัวไป โทรศพั ท์ 0-2590-3232 121หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

โรคกาฬโรค “โรคกาฬโรค” (Plague) เปน็ โรคตดิ ตอ่ จากสตั ว์ ส่คู นท่ีเกดิ จากเชือ้ แบคทเี รียทชี่ อ่ื Yersinia pestis มี หมัดหนเู ป็นพาหะน�ำโรค โรคเกิดจากหมัดหนูทมี่ ีเชือ้ กัด และปล่อยเชื้อเข้าสู่ผู้ที่ถูกกัด โดยท่ัวไปมีการ ระบาดของโรคในหนูก่อน เมื่อหนูตายหมัดหนูจะ กระโดดไปยงั สตั วอ์ ่ืนหรือคน จะกัดและปล่อยเช้อื ให้ สัตว์หรือผู้ท่ีถูกกัดต่อไป ส่วนใหญ่จะพบการเกิดโรค ในช่วงฤดูหนาว ในกลุ่มประชากรทอ่ี ยูก่ นั แออดั การ ดแู ลเร่ืองความสะอาด และควบคุมการแพรพ่ นั ธ์ุของ หนจู ะชว่ ยใหโ้ รคนมี้ กี ารระบาดนอ้ ยลง การติดต่อ 1. หมัดหนูมากัดคนแล้วปล่อยเชื้อกาฬโรคเข้าทางบาดแผล หรือเช้ือเข้าทาง ผวิ หนงั ท่ถี ลอกจากการเกาบรเิ วณที่ถกู หมดั หนกู ัด 2. โดยการหายใจเอาละอองเสมหะของผปู้ ่วยทไ่ี อ จาม หรือจากสตั ว์เลย้ี งที่มี เชื้อโรค เช่น แมว แลว้ หายใจเอาเชือ้ เขา้ ไปทางปาก/จมูก 3. ถา้ ตดิ เชอื้ ทางระบบหายใจจะทำ� ใหเ้ กดิ กาฬโรคปอดบวมแตก่ ารเกดิ กาฬโรค ปอดบวมจะต้องเริ่มจากการถูกหมัดกันและเชื้อเข้าไปเจริญในปอด การจะ ติดจากคนสู่คนโดยการหายใจ เกิดจากการคลุกคลีกับผู้ป่วยท่ีเป็นกาฬโรค ปอดบวม 122

อาการของโรคกาฬโรค อาการจะแสดงออกหลงั จากถกู หมดั หนกู ัดแล้ว 2 - 8 วัน เชอ้ื โรคจะเคลอื่ นไป ยังต่อมนำ�้ เหลืองทีใ่ กล้ที่สุด จะท�ำใหต้ ่อมน�้ำเหลืองโตขนาด 1 - 10 ซม. ลกั ษณะ ตอ่ มนำ�้ เหลอื งจะบวม แดง กดเจบ็ ซง่ึ อาจจะปวดมากจนขยบั แขนหรอื ขาไมไ่ ด้ ตำ� แหนง่ ที่เกิดมักจะเป็นบริเวณขาหนีบ หรือรักแร้ อาการที่ส�ำคัญได้แก่ ต่อมน�้ำเหลืองโต กดเจ็บ แดงไขส้ ูงหนาวสั่นปวดศรี ษะ ปวดกล้ามเนื้อ การรักษา เมอื่ สงสยั วา่ จะเปน็ โรคนี้จะตอ้ งแยกผ้ปู ่วยออกจากคนอื่นและแจ้งใหเ้ จ้าหนา้ ที่ สาธารณสขุ ทราบ ยาปฏชิ วี นะทใ่ี ชไ้ ดแ้ ก่ ดอ็ กซซิ ยั คลนิ , เตเตรา้ มยั ซนิ , สเตรปโตมยั ซิน ทง้ั นต้ี ้องอย่ใู นความดูแลของแพทย์ผู้ทำ� การรักษา 123หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

การปอ้ งกนั 1. โรคนไี้ มม่ วี ัคซนี ป้องกัน แต่ถา้ มีโอกาส เสย่ี งทจี่ ะเกดิ โรค เชน่ ใกลช้ ดิ กบั คนปว่ ยหรอื สตั ว์ ที่ป่วยเป็นโรคน้ี ถูกหมัดกัดในพ้ืนท่ีมีการระบาด ของโรค หรอื เมอ่ื ตอ้ งเดนิ ทางเขา้ แหลง่ ระบาด การ ใหย้ าจะสามารถป้องกันการติดเชอื้ ได้ เป็นต้น 2. การปรับส่ิงแวดล้อม ได้แก่ การจัดมี แหล่งท่ีท้ิงขยะและมีฝาปิดมิดชิด และมีระบบ ก�ำจัดขยะ ไม่มีการกองขยะซ่ึงเป็นแหล่งอาหาร ของหนู ก�ำจัดหนู ก�ำจัดแหล่งที่พักของหนู ไม่ สัมผัสสัตว์ป่วยหรือสัตว์ตาย หากจ�ำเป็นให้สวม ถุงมือยาง หากมีสัตว์เลี้ยงต้องใช้ยาฆ่าหมัดเป็น ระยะๆ ระวังเด็กหรือผู้ใหญ่เม่ือออกนอกบ้าน โดยเฉพาะในแหล่งที่มีการระบาดไม่ใกล้ชิดกับ สตั วฟ์ ันแทะท้ังหลาย และทายากนั หมัด 3. การให้ความรู้ประชาชน เพ่ือให้ความ ร่วมมือในการดูแลส่ิงแวดล้อม รอบที่พักอาศัย หรอื ภายในบ้านเรือน สอบถามข้อมูลเพ่มิ เติมได้ที่ สำ� นกั โรคตดิ ต่อท่ัวไป โทรศพั ท์ 0-2590-3183, 0-2590-3187 124

125หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

โรคไขไ้ รอ่อน “โรคไข้ไรออ่ นหรอื โรคไข้รากสาดใหญ่” (scrub typhus) เป็นโรคตดิ เช้ือที่เกดิ จากเช้ือแบคทีเรียชนดิ หนึ่ง ชื่อ O. tsutsugamushi โดยมตี วั ไรออ่ นซง่ึ อาศัยอยใู่ นหนู เปน็ พาหะ ตดิ ตอ่ ทางบาดแผลทถี่ กู ตวั ออ่ นของตวั ไรออ่ นกดั จงึ มกี ารเรยี กชอ่ื โรคนอ้ี กี ชอื่ วา่ “โรคไข้ไรอ่อน” โรคน้ีสว่ นใหญ่มกั พบในผ้ใู หญ่ต้ังแต่ 25 ปขี น้ึ ไป โดยมากมัก พบในกลุ่มเกษตรกร ชาวนา ชาวสวน ท่ีต้องออกไปท�ำงานในไร่ ในนา และทหาร ต�ำรวจชายแดนท่ีต้องออกลาดตระเวรท�ำให้มีโอกาสถูกไรอ่อนที่มีเชื้อกัด แล้วปล่อย เชือ้ เขา้ สรู่ า่ งกายทางรอยแผลหรือรอยถลอก โดยทัว่ ไป มรี ะยะฟักตวั 10 - 12 วนั แตอ่ าจแตกตา่ งกนั ได้ต้งั แต่ 6 – 21 วัน ท�ำให้ผู้ถูกกัดปว่ ย มีอาการไขร้ ่วมกับอาการ อน่ื สำ� หรบั ในเด็กมักพบในเด็กโตมากกว่าเด็กออ่ น อาการ หลงั ถูกไรออ่ นกัด 10-12 วัน ผ้ปู ่วยจะมีอาการปวดศรี ษะทขี่ มบั และหน้าผาก มีไขส้ ูงร่วมกับหนาวสน่ั ลกั ษณะไขส้ งู ตลอดเวลา (ไข้อาจเปน็ อยู่นาน 2 - 3 สัปดาห)์ หนา้ แดง ตาแดง คลนื่ ไสอ้ าเจยี น ปวดเมอื่ ยตามตวั บางรายมปี วดนอ่ ง ตอ่ มนำ้� เหลอื ง โตและเจบ็ โดยเฉพาะตอ่ มน�้ำเหลอื งทอ่ี ยใู่ กลแ้ ผลรอยกดั ผปู้ ว่ ยจะมอี าการออ่ นเพลยี เบอื่ อาหาร ตบั โต มา้ มโต บรเิ วณทถี่ กู กดั จะเจบ็ และมแี ผลบมุ๋ สดี ำ� รปู รา่ งกลมออกรี ขอบนูนเรียบ ลักษณะคล้ายแผลรอยไหม้จากบุหรี่จ้ี (Eschar) เส้นผ่าศูนย์กลาง ประมาณ 0.5 - 1.5 ซม. ซ่งึ พบอยนู่ านประมาณ 6 - 18 วนั อาจตรวจพบไดต้ ง้ั แต่ 5 วนั ก่อนมีไข้ บางรายอาจตรวจไมพ่ บ รอบ ๆ แผลจะมีอาการบวมแดง แต่ไมเ่ จบ็ มักจะพบ ท่รี ักแร้ ขาหนีบและรอบ ๆ เอว รว่ มกบั พบผน่ื แดงตามลำ� ตวั และแขนขาแตจ่ ะไมค่ ัน 126

พบไดป้ ระมาณวันที่ 3 - 8 หลังจากมไี ข้ และ ผนื่ จะคงอยปู่ ระมาณ 4 - 5 วนั ก่อนจะจาง ลงไป ผู้ท่ีได้รับเชื้อบางรายอาจไม่มีอาการ ดังกลา่ วขา้ งต้น ประมาณวนั ท่ี 5 - 7 หลังมี ไข้จะมีผื่นสีแดงคล้�ำขึ้นท่ีล�ำตัวก่อน แล้ว กระจายไปแขนขา ผน่ื จะมอี ยู่ 3 - 4 วนั กห็ าย ไปและอาจพบภาวะแทรกซอ้ นจากการไดร้ บั เชื้อ ได้แก่ ปวดอักเสบ เย่ือหุ้มสมองและ สมองอักเสบ ตับอักเสบ ไตวายเฉียบพลัน กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ และภาวะอวัยวะ ภายในลม้ เหลวหลายระบบ การรักษา รักษาโรคด้วยการให้ยาปฏิชีวนะท่ี สามารถฆ่าเชอ้ื O. tsutsugamushi เปน็ วธิ ี เดียวท่ีช่วยลดอาการของโรค ลดอัตราการ เจ็บป่วย อัตราตาย และการแพร่กระจายของโรคในผู้ป่วย โดยทั่วไปรักษาด้วยยา Tetracycline 500 mg วนั ละ 2 ครั้งและยา Doxycycline 100 mg วนั ละ 2 ครง้ั เปน็ เวลา 7 วนั หรอื ยา Chloramphenicol 50-75 mg/น้�ำหนกั ตวั 1 kg/วัน ซ่ึง จะให้ผลการรักษาดีพอกัน ถ้าผู้ป่วยคล่ืนไส้อาเจียนมากหรือในรายท่ีอาการรุนแรง อาจจะใชย้ าแบบฉีดกไ็ ด้ ส่วนใหญ่ไข้จะลดลงในเวลา 24 - 36 ชว่ั โมงหลังไดร้ บั การ รักษา ส�ำหรับการรักษาในผู้หญิงท่ีต้ังครรภ์ หรือเด็กจะไม่สามารถใช้ยากลุ่ม Tetracycline หรือ Chloramphenicol อาจให้ยา Azithromycin แทน 127หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

การป้องกนั 1. การปอ้ งกนั โรคในคน ซง่ึ เปน็ วธิ ที ด่ี ที สี่ ดุ โดยปอ้ งกนั ตนเองไมใ่ หถ้ กู ไรออ่ นกัด หรอื ไม่เข้าไปในพืน้ ที่ทส่ี งสัยเป็นทอ่ี ย่ขู องไรอ่อน หลกี เล่ยี งการเขา้ ไปสัมผสั แหล่งที่ อยอู่ าศยั ของไรออ่ น เชน่ กองฟางในทอ้ งนา ปา่ ไรส่ วน ใชย้ าทากนั แมลงกดั เมอ่ื จำ� เปน็ ตอ้ งเขา้ ไปในพ้ืนทเ่ี ส่ยี ง แต่งกายให้รัดกุม เชน่ เอาขากางเกงใส่เขา้ ไปในรองเทา้ และ ใสเ่ สอื้ ในกางเกง ใสร่ องเทา้ บตู๊ สว่ นทอี่ ยนู่ อกรม่ ผา้ ใหท้ ายากนั แมลงกดั หลงั จากออก จากพนื้ ทเี่ สย่ี งใหเ้ ปลยี่ นเสอื้ ผา้ อาบนำ้� ชำ� ระรา่ งกายทนั ที หลงั ออกจากพนื้ ทเ่ี สย่ี งและ มีอาการไขภ้ ายใน 2 อาทติ ย์ ใหพ้ บแพทย์ทนั ที 2. การป้องกันโดยการควบคุมก�ำจัดสัตว์พาหะและแมลงน�ำโรค ก�ำจัดและ ควบคุมตัวไรอ่อนและตัวไรโดยการพ่นยากลุ่ม Chlorinated hydrocarbon เช่น Lindane, Dieldrin หรอื Chlordane ไปบนพนื้ ดนิ และพมุ่ ไมร้ อบ ๆ ทพ่ี กั และบรเิ วณ ที่มีคนอาศัยในถิ่นที่มีการระบาดของโรค การควบคุมและก�ำจัดหนู (ควรก�ำจัดตัวไร ออ่ นก่อนการก�ำจัดหนู เพราะหนเู ปน็ สัตว์รังโรค เม่ือหนถู กู ก�ำจดั ไรอ่อนไม่มเี หยือ่ ก็ จะมากัดคน) 3. การป้องกันโดยการปรับปรุงสภาพแวดล้อม โดยถางหญ้ารอบบริเวณบ้าน เพอ่ื ไมใ่ หเ้ ปน็ ทอ่ี าศยั ของไรออ่ น และจดั เกบ็ หรอื ขดุ หลมุ ฝงั ขยะใหเ้ รยี บรอ้ ยเพอื่ ไมใ่ ห้ หนูมาอาศยั อยู่ในบรเิ วณบา้ น ส�ำหรับตัวไรอาจใชส้ ารเคมพี ่นรอบ ๆ บริเวณบ้าน สอบถามข้อมูลเพ่ิมเตมิ ไดท้ ี่ ส�ำนกั โรคตดิ ตอ่ ทัว่ ไป โทรศัพท์ 0-2590-3183, 0-2590-3187 128

แมงมุมพิษ “แมงมุมพิษ” มีเพียงไม่ก่ีชนดิ ทมี่ พี ษิ รา้ ยแรง โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ชนดิ ที่เรียก วา่ Latrodectus mactan หรือ “แมงมมุ แมห่ ม้ายดำ� ” (Black widow spider) ชนิด ท่ีมีพิษรุนแรง ซ่ึงจะพบกระจายอยู่ทั่วโลก ลักษณะล�ำตัวเป็นมัน ตัวเมียขนาด ประมาณ 30 - 40 มลิ ลิเมตร ตัวผขู้ นาด 16 - 20 มิลลเิ มตร มีลวดลายคลา้ ย รปู นาฬกิ าทรายสแี ดงสม้ อยดู่ า้ นใตส้ ว่ นทอ้ ง อาศยั อยใู่ นบา้ น ในทม่ี ดื อบั เฟอรน์ เิ จอร์ เสือ้ ผา้ หลังจากผสมพนั ธกุ์ ันแล้ว ตัวผ้อู าจถกู ตวั เมยี กิน หรอื จากไปผสมพันธก์ุ บั ตัวเมยี ตวั อนื่ แมงมุมตัวเมยี วางไข่ไดค้ รงั้ ละ 200 - 750 ฟอง อาการพษิ ของแมงมุมแมห่ มา้ ยดำ� พษิ ของแมงมมุ ชนดิ นจ้ี ะออกฤทธติ์ อ่ ระบบประสาท โดยเฉพาะ ระบบประสาทส่วนกลาง ท�ำให้ผิวหนังตาย หรือมีเลือดออกตาม อวยั วะภายในต่าง ๆ ต่อมน้�ำเหลืองบริเวณใกล้เคยี ง เช่น บริเวณ รกั แร้ ขาหนีบอักเสบ กดเจบ็ มเี หงอื่ ออก ขนลุก ความดันโลหิตสูง รอยกัดเขียวช้�ำ มีจุดแดง อาการเฉพาะของพิษคือ อ่อนแรง สนั่ ปวดกล้ามเนอ้ื กลา้ มเนือ้ เกร็ง ท้องแข็ง เป็นอมั พาต ซมึ และชกั ในราย ท่ีแพพ้ ษิ รนุ แรง 129หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

การรกั ษาอาการพษิ ของแมงมมุ แมห่ มา้ ยดำ� การรักษาอาการพิษของแมงมุมแม่หม้ายด�ำ ท�ำได้โดยการล้างแผลให้สะอาด ไม่ขยับแขนขา ทถ่ี กู กดั พนั ดว้ ยผา้ พนั แผลเพอื่ ลดการกระจายของพษิ ประคบบริเวณแผลด้วยน�้ำแข็ง อาจระงับอาการปวด ด้วยยาแก้ปวด ถ้าแสดงอาการรุนแรงใช้ยาต้านพิษ Lyovac ฉีดเข้าทางหลอดเลือดด�ำ ฉีดวัคซีนป้องกัน บาดทะยกั และอาจใหย้ าปฏชิ วี นะในกรณที ม่ี กี ารตดิ เชอื้ แทรกซ้อน การป้องกัน สามารถปอ้ งกนั โดยการใชส้ ารเคมกี ำ� จดั แมงมมุ ที่มีจ�ำหน่ายในท้องตลาด ได้แก่ azamethiophos, bendiocarb, diazinon และmalathion ควรฉีดพ่น ทกุ ๆ 2 - 3 อาทิตยต์ ่อครัง้ และการฉดี พ่นสารเคมี ตามมุมห้องหรือเพดาน ควรระวังแมงมุมหากตกใจ อาจตกลงมาจากเพดานหอ้ งและกัดได้ สอบถามขอ้ มูลเพม่ิ เติมได้ท่ี ส�ำนักโรคติดต่อนำ� โดยแมลง โทรศพั ท์ 0-2590-3103-5 130

เห็ดพษิ “เหด็ พิษ หรอื เห็ดเมา” เป็นเห็ดท่ีมีอันตรายตอ่ ผูบ้ รโิ ภค และความเปน็ พษิ อาจท�ำให้เป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตได้ เห็ดที่สามารถน�ำมาบริโภคได้อย่างปลอดภัย มอี ยเู่ ปน็ จำ� นวนมาก แตจ่ ะมเี หด็ พษิ หรอื เหด็ เมาอยไู่ มถ่ งึ 100 ชนดิ เหด็ พษิ ทจ่ี ดั ว่า รา้ ยแรงทสี่ ดุ ได้แก่ เห็ดในสกุล Amanita สกลุ Helvella ซง่ึ เหด็ เหลา่ นีส้ ามารถสร้าง สารพิษชีวภาพที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อมนุษย์ได้ สารพิษชีวภาพคือ สารท่ีเกิดจาก กระบวนการทางสรรี วิทยาของส่งิ มีชีวติ ตา่ ง ๆ เม่ือคนหรอื สตั ว์ไดร้ ับสารดังกลา่ วนี้ เข้าไปในรา่ งกายแล้ว ก่อให้เกดิ พยาธิสภาพทำ� ใหเ้ จบ็ ป่วยจนกระทงั่ ถงึ แก่ชวี ิตได้ อาการ เห็ดพิษแต่ละกลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่สร้างสารพิษ cyclopeptide มพี ิษตอ่ ตับ เชน่ เหด็ ไข่ตายซากหรอื เหด็ ระโงกหนิ อาการของสารพษิ ชนิดนจี้ ะปรากฏใน 6 - 8 ชวั่ โมง หลงั จากรบั ประทานเหด็ บางชนดิ อาจเรว็ มากเพยี ง 2 ชวั่ โมง และบางชนดิ อาจนานถงึ 12 ชวั่ โมง จะมอี าการ ตา่ ง ๆ คือ มนึ งง ปวดศีรษะ คลน่ื ไส้ อาเจยี น ท้องเสยี และเป็นตะคริวท่ีกล้ามเน้ือ เจ็บที่ท้อง ในรายที่รุนแรง จะพบการทำ� ลายตบั มไี ขส้ งู ชกั ไมร่ สู้ กึ ตวั และถงึ ตายได้ ภายใน 2 - 4 วนั 131หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

การรกั ษาเมือ่ รับประทานเหด็ พิษ 1. เม่ือพบอาการผิดปกติให้ไปพบแพทย์ทันทีและบรรเทาอาการเริ่มต้นด้วย การท�ำใหอ้ าเจยี นออกมาให้มากที่สุด โดยการให้ด่ืมน้�ำอนุ่ 1 ลิตร ผสมกบั เกลอื 1 ช้อนโตะ๊ (0.9 normal saline) หากผ้ปู ว่ ยหมดสตอิ าจตอ้ งใชว้ ธิ ี ปมั๊ เขา้ ทางจมกู แล้วล้วงคอ หา้ มใช้วธิ ีน้กี ับเดก็ ท่อี ายุต่�ำกว่า 5 ขวบ 2. รวบรวมเหด็ ทเี่ หลอื หรอื ทเ่ี กบ็ ไว้ เศษอาหารจากการปรงุ และสว่ นทอ่ี าเจยี นออก นำ� ส่งแพทยท์ ที่ ำ� การรักษา ขอ้ แนะนำ� การบรโิ ภคเหด็ ใหป้ ลอดภยั จากพษิ 1. ห้ามกินเห็ดดิบ และควรกินเฉพาะเห็ดท่ี เคย กิน 2. ต้องรู้แหล่งท่ีมาของเห็ด ไม่ควรเก็บเห็ด ในบริเวณท่ีมสี ารพษิ ตกค้างมารบั ประทาน 3. ควรสอบถามดูว่าเคยมีผู้บริโภคเห็ดนั้น มาก่อนหรอื ไม่ ไม่ควรลองกินโดยไมม่ ีข้อมลู 4. ไม่ควรปรุงอาหารโดยใช้เห็ดป่าหลายชนิด รวมกนั 5. หากไม่แน่ใจ ไม่มีข้อมูลเพียงพอ ไม่ควร บรโิ ภคเป็นอนั ขาด 6. อย่าน�ำเห็ดธรรมชาติไปปรุงอาหารจนหมด ควรเก็บไว้อย่างละ 1 ดอก เพอ่ื น�ำส่งแพทย์ เพ่ือใชว้ ิเคราะหใ์ น กรณเี กดิ ความผิดพลาด 7. การพสิ จู นเ์ หด็ พษิ จะใชช้ อ้ นเงนิ งาชา้ ง ขา้ วสาร หวั หอม หรอื รอยกดั ท�ำลายจากหนอนแมลง และสัตว์ไม่ได้ เพราะสารพิษในเห็ดมีหลาก หลายไม่เหมือนสารพิษสังเคราะห์ท่ีมี ธาตโุ ลหะหนกั ทั่วไป สอบถามขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ ไดท้ ี่ สำ� นักโรคติดต่อท่วั ไป โทรศัพท์ 0-2590-3183, 0-2590-3187 132

133หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

ในปัจจุบัน คนเรามีการเดินทางตามสถานท่ีต่างๆ ตลอดเวลาการ เดินทางแต่ละคร้ัง อาจเดินทางด้วยเท้า รถ เรือ หรือเครื่องบิน บางครั้ง อาจเดนิ ทางไดร้ าบรน่ื แตบ่ างครงั้ อาจพบเหตกุ ารณท์ ไ่ี มค่ าดคดิ ขณะเดนิ ทางได้ ซ่ึงอาจน�ำไปสกู่ ารสญู เสียทรพั ย์สิน ไดร้ บั บาดเจบ็ จนถึงเสยี ชีวิตได้ โดยทเ่ี รียก เหตกุ ารณน์ ี้วา่ “อบุ ัตเิ หตจุ ากการเดินทาง” “อุบตั เิ หตุจากการเดนิ ทางทางบก” เป็นอุบตั เิ หตุทเี่ กิดขึ้นขณะเดนิ ทางด้วยเทา้ ตามถนน หรือโดยสารรถต่าง ๆ เกิดข้ึนจากหลายสาเหตุ ได้แก่ จากความประมาท ความคึกคะนอง เช่น รถฝ่าไฟแดง จากการขาดความรู้ ความช�ำนาญ เช่น ผู้ขับข่ี ไมช่ �ำนาญทาง จากการไม่ปฏบิ ัตติ ามกฎจราจรและข้อบังคบั เรอ่ื งความปลอดภัย เช่น ขับรถด้วยความเร็วเกินอัตราที่ก�ำหนด จากสภาพร่างกายท่ีไม่พร้อมของผู้ขับข่ี เช่น ผู้ขับขี่เมาสรุ า จากสภาพภูมอิ ากาศและภมู ิประเทศที่ไมด่ ี เช่น ถนนล่นื ขอ้ ควรปฏิบตั ิขณะเดนิ ทางตามถนน 1. เดนิ บนทางเทา้ ชดิ ดา้ นใน แตถ่ า้ ไมม่ ที างเทา้ ควรเดนิ ชดิ ไหลท่ าง ด้านขวา เพอื่ ให้เหน็ รถท่ีสวนมา 2. ควรเดินข้ามถนนตรงบริเวณทางข้าม ได้แก่ ทางม้าลาย สะพานลอย และก่อนข้ามถนนมองถนนให้แน่ใจ โดยมองขวา มองซา้ ย มองขวา ว่าปลอดภัย แล้วจึงข้าม 3. สวมใสเ่ สื้อผ้าสีขาวหรอื สสี ว่างขณะเดินบนถนนกลางคืนเพอื่ ให้ ผ้ขู ับข่รี ถสามารถเหน็ ไดช้ ดั เจน 4. ไม่วิง่ เลน่ หรือผลักเพ่ือนขณะเดินทาง ตามถนน 134

ขอ้ ควรปฏิบัติขณะเดินทางดว้ ยรถโดยสารประจ�ำทางหรอื รถไฟ 1. ยืนคอยรถโดยสารต่าง ๆ ที่ป้ายหยุด รถโดยสารบนทางเท้าและห่างขอบทาง เขา้ ไปดา้ นใน 2. ถ้าเป็นรถไฟฟ้าควรยืนรอหลังเส้นเหลือง ทพ่ี น้ื ชานชาลา 3. เมื่อรถโดยสารมาจอดชิดขอบทางและ จอดสนทิ ควรรอใหผ้ โู้ ดยสารลงจากรถกอ่ น แลว้ จึงข้ึนไป 4. ขน้ึ หรอื ลงรถใหเ้ ปน็ ระเบยี บ ไมค่ วรผลกั กนั 5. เม่ือขึ้นรถแล้ว ควรหาท่ีนั่ง แต่ถ้ารถไม่มี ท่ีว่าง ควรจบั ราวหรือพนักพิงใหม้ ่ันคง 6. ไม่ควรยืนใกล้ประตูรถหรือยืนห้อยโหน อยู่ที่ประตรู ถ 7. ถา้ พบคนชรา ควรให้คนชราขึ้นรถก่อน หรือลกุ ใหน้ ่ัง 8. ถ้าต้องการลงจากรถโดยสารควรกดกร่ิงให้สัญญาณกับพนักงานขับรถ แลว้ ไปยืนคอยท่ปี ระตรู ถ 9. ลงรถเมอื่ รถจอดชดิ ขอบทางและหยุดสนทิ 10. ถา้ โดยสารรถไฟหรือรถไฟฟ้า ห้ามลงไปบนรางรถไฟ ข้อควรปฏิบตั ใิ นการขบั ขร่ี ถ 1. ปฏบิ ัตติ ามกฎจราจรเพือ่ ความปลอดภยั 2. สวมหมวกกันนอ็ กและคาดเขม็ ขัดนิรภัยขณะขบั ข่ีรถ 3. ให้สญั ญาณมอื หรอื สัญญาณไฟเลี้ยวก่อนเล้ียวทุกครงั้ 4. ไม่ขับขีต่ ัดหน้าคันอ่ืนอยา่ งกระชั้นชดิ หรอื แซงสวนเลน 5. ไม่ดื่มสุรา หรือเสพสารเสพติดขณะขับขีร่ ถ สอบถามขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ ไดท้ ี่ ส�ำนักโรคไม่ตดิ ตอ่ โทรศพั ท์ 0-2591-0402 135หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

เขม็ ขัดนิรภัยในรถยนต์ เข็มขัดนิรภัยในรถยนต์เป็นอุปกรณ์ชนิดหน่ึงท่ีช่วยเสริมสร้างความปลอดภัย ให้กับผขู้ ับขแี่ ละผโู้ ดยสารรถยนต์ ซง่ึ หากเกิดอบุ ตั ิเหตุ เข็มขดั นิรภยั จะชว่ ยรง้ั ผูข้ ับข่ี หรือผู้โดยสารให้ตดิ กับเบาะที่นัง่ ไม่กระเด็นออกนอกตัวรถหรือไปกระแทกกับส่วน ของรถยนต์ ก่อนจะมาเป็นเข็มขัดนิรภัยในรถยนต์ เข็มขัดนิรภัยได้ถูกน�ำมาใช้ในสมัย สงครามโลกครง้ั ที่ 1 โดยมจี ดุ มงุ่ หมายเพอื่ ปอ้ งกนั นกั บนิ ตกหลน่ ลงมาจากเครอื่ งบิน ในขณะบิน เพอ่ื ท�ำการต่อสู้ทางอากาศ ซ่ึงมีการบนิ โฉบเฉยี่ วไปมารวมทัง้ พลิกลำ� ตัว เครือ่ งบินและดว้ ยความปลอดภยั น้ีเอง เขม็ ขดั นิรภัยจึงถูกพฒั นามาเป็นเข็มขัดนริ ภัย ในรถยนต์เพ่ือป้องกันการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ ส�ำหรับในประเทศได้มีการประกาศ ใชก้ ฎหมายทบ่ี งั คบั ใหผ้ ขู้ บั ขร่ี ถยนต์ และผโู้ ดยสาร ทนี่ งั่ ตอนหนา้ ทกุ คน ตอ้ งคาดเขม็ ขดั นิรภยั ทงั้ ในกรงุ เทพฯ และต่างจังหวดั เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2540 อนั ตรายจากการไมค่ าดเขม็ ขดั นริ ภัย 1. แรงกระแทกจากการชนท่ีเกิดจากรถที่ว่ิงเร็ว 60 กโิ ลเมตรตอ่ ชวั่ โมง จะเทา่ กบั รถทตี่ กจากทส่ี งู 14 เมตร หรอื ความสงู ประมาณตกึ 5 ช้ัน 2. คนทอ่ี ยใู่ นรถถา้ ไมค่ าดเขม็ ขดั นริ ภยั จะเดนิ ทางดว้ ย ความเร็วเท่ากับรถ เมื่อรถชนและหยุดกะทันหัน ศีรษะ ใบหน้า และล�ำตัวของคนในรถจะถูกเหว่ียงไปกระแทกกับ พวงมาลยั กระจกหน้ารถ หรอื หลุดกระเด็นออกนอกตวั รถ 3. อวัยวะในร่างกาย เช่น ตับ ไต ล�ำไส้ สมองหรือ ไขสันหลังจะเคล่ือนไหวเท่ากับความเร็วของรถ เม่ือรถชน หรอื หยดุ อวยั วะภายในจะกระแทกกนั เองทำ� ใหต้ บั ไต ลำ� ไส้ หรือสมองฉกี ขาดได้ 136

ประโยชน์ของเขม็ ขัดนิรภัย ประโยชน์ของเข็มขัดนิรภัยคือจะช่วยลดความรุนแรงจาก อุบตั เิ หตุไดม้ ีการศึกษาวจิ ัยหลายประเทศ ผลการศกึ ษาตา่ งยนื ยันวา่ เขม็ ขดั นริ ภยั มบี ทบาทสำ� คญั ในการลดความรนุ แรงจากอบุ ตั เิ หตไุ ดจ้ รงิ โดยพบว่า เข็มขัดนิรภัยสามารถลดความเส่ียงจากการบาดเจ็บลงได้ รอ้ ยละ 40 - 50 ลดการบาดเจบ็ สาหสั ไดถ้ งึ ร้อยละ 43 - 65 และ ลดการเสยี ชวี ติ ไดร้ อ้ ยละ 40 - 60 และจากการทดสอบประสทิ ธภิ าพ ของเขม็ ขดั นริ ภยั ในการชนหลายๆประเภท พบวา่ รถทเ่ี กดิ การพลกิ คว่�ำ เข็มขดั นิรภยั จะมปี ระสทิ ธภิ าพมากทส่ี ุดถงึ ร้อยละ 77 รองลงมา คอื การชนด้านทา้ ย รอ้ ยละ 49 และอนั ดับสามชนด้านหนา้ ร้อยละ 43 ซง่ึ พบวา่ เข็มขดั นริ ภัยชว่ ยลดความรนุ แรงจากอบุ ตั เิ หตุได้จรงิ ประเภทของเข็มขดั นิรภยั ในรถยนต์ ประเภทท่ี 1 เปน็ เขม็ ขดั นริ ภยั แบบยดึ 4 จดุ มลี กั ษณะเปน็ สาย เข็มขดั ท่ียดึ ตดิ กบั บรเิ วณของพืน้ รถ 2 จดุ เพ่อื คาดบริเวณตกั และอกี 2 จดุ ยดึ จากโรลบาร์ผา่ นเบาะน่งั คนขับ มาบรรจบกบั 2 จดุ แรก เข็มขดั นิรภยั แบบ นนี้ ิยมใช้ในรถแขง่ เพราะให้ความปลอดภัยแก่นกั แข่งรถสูงสุด ประเภทที่ 2 เปน็ เขม็ ขัดนริ ภัยแบบยดึ 3 จุด มีลักษณะเปน็ สายเขม็ ขดั ทย่ี ึดจาก เสากลางหนึ่งจุด และยึดจากพื้นรถอีก 2 จุด เม่ือคาดเข็มขัดนิรภัยสายเส้นหน่ึง จะคาดผ่านบริเวณไหล่ของคนน่ัง ส่วนอีกเส้นหน่ึงจะคาดผ่านบริเวณตัก ซึ่งเข็มขัด นิรภัยแบบยึด 3 จุดนี้นิยมใช้ในรถยนต์ท่ัวไป โดยติดตั้งท่ีเบาะนั่งส�ำหรับผู้ขับข่ีและ ผู้โดยสารตอนหน้า ประเภทท่ี 3 เปน็ เขม็ ขัดนิรภยั แบบยดึ 2 จดุ มีลักษณะเป็นสายเข็มขัดทย่ี ดึ จาก พ้ืนรถดา้ นหนงึ่ ไปอกี ด้านหน่งึ โดยคาดผ่านบรเิ วณตกั เขม็ ขัดนิรภัยแบบยึด 2 จดุ มักจะใช้กบั ท่นี ัง่ ผ้โู ดยสาร ตอนหลงั แต่รถยนต์รุ่นใหมบ่ างรนุ่ ได้มีการเปล่ียนเขม็ ขัด นิรภยั สำ� หรบั ผู้โดยสารทีน่ ง่ั ตอนหลัง จาก 2 จดุ เปน็ 3 จุด ท้งั นี้เพอื่ ใหผ้ ้โู ดยสารท่ี นัง่ ตอนหลังมีความปลอดภยั มากย่งิ ขนึ้ ฉะนั้นเมื่อก้าวข้ึนรถไม่ว่าจะเป็นผู้ขับขี่ สอบถามขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ ไดท้ ่ี หรอื ผโู้ ดยสารควรคาดเขม็ ขดั นริ ภยั ทกุ ครงั้ โดย สำ� นักโรคไมต่ ดิ ต่อ ฝึกให้เกดิ ความเคยชนิ ทัง้ นเ้ี พื่อความปลอดภัย โทรศพั ท์ 0-2591-0402 ในการขบั ขีข่ องตัวคณุ เอง 137หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

ง่วงไมข่ บั การง่วงหลับในขณะขับรถเป็นอันตรายอย่างยิ่ง อาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุและ ทำ� ใหผ้ ู้ขบั ผโู้ ดยสาร ถงึ แกช่ วี ติ ได้ การหลบั ในเป็นการวูบหลบั ไปชว่ งสน้ั ๆ ซ่ึงอาจ เกิดขึน้ ไมร่ ตู้ ัว และเปน็ ส่ิงทบี่ งั คบั ไม่ได้ สมองจะหลับไปวบู หน่งึ ดงั น้นั คนหลบั ใน จงึ เสมอื นกบั คนหหู นวก ตาบอด เปน็ อมั พาต หรอื หมดสตไิ ปชว่ั ขณะหนง่ึ ถงึ จะเปน็ เวลาเพยี งไมก่ วี่ นิ าที แตก่ น็ านพอทจี่ ะทำ� ใหเ้ กดิ อบุ ตั เิ หตไุ ด้ ถา้ เกดิ ขนึ้ ในขณะขบั รถอยู่ สาเหตขุ องการงว่ งหลบั ใน...เกดิ ไดจ้ ากหลายปจั จัย ไดแ้ ก่ 1. การอดนอนหรือนอนไม่เพียงพอ คนส่วนใหญ่ต้องการนอนหลับวันละ 7 - 9 ชั่วโมง โดยเฉลย่ี ประมาณวันละ 8 ชั่วโมง การอดนอนหรือนอนหลบั ไมเ่ พียงพออาจเป็นผลมาจาก - จำ� นวนชั่วโมงในการนอนหลบั น้อยกวา่ ท่คี วรจะเปน็ ส�ำหรบั บคุ คลนั้น ๆ - การรบกวนโดยปจั จยั แวดลอ้ มตา่ ง ๆ เช่น แสง เสียงดัง เดก็ และกจิ กรรม ต่าง ๆ เป็นตน้ - การเปน็ โรคผดิ ปกตใิ นการนอน (Sleep disorder) ท่ไี มไ่ ดร้ ับการวินิจฉยั และการแกไ้ ข - การเปลี่ยนแปลงวงจรการตื่นและการหลับของแต่ละคนจากการท�ำงาน เปน็ ผลดั หรือเปน็ กะท่ีไม่แน่นอน 2. การกนิ ยาบางชนดิ เชน่ ยาแกแ้ พ้ ยาลดนำ้� มกู ยาแกห้ วดั ยาแกไ้ อ ยานอนหลบั ยาคลายเครียด ยาแกโ้ รคซึมเศร้า ยากันชกั เปน็ ตน้ 3. การดม่ื เครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอล์ เพราะแอลกอฮอลม์ ฤี ทธก์ิ ดประสาท ทำ� ใหเ้ กดิ การง่วงนอนได้เหมือนยานอนหลบั 4. ภาวะความเหนอ่ื ยลา้ จากการทำ� งานมากกวา่ 12 ชว่ั โมง ตดิ ตอ่ กนั หลายวนั โดยไมไ่ ดพ้ กั การเหนอื่ ยลา้ จากการขบั รถระยะทางไกล ๆ หรอื เปน็ เวลานาน หลายชัว่ โมงตดิ ต่อกนั 5. ภาวะการมรี ะดบั ออกซเิ จนในเลอื ดตำ�่ จากการไดร้ บั กา๊ ซคารบ์ อนมอนนอกไซด์ ทเ่ี กดิ จากรถยนตซ์ ึง่ อาจรว่ั เข้าไปในตัวรถ 138

สัญญาณเตือน “อาการงว่ ง...ในขณะขบั รถ” สญั ญาณเตอื นทจ่ี ะท�ำใหผ้ ู้ขบั ข่ีรู้ว่าตนเองมอี าการ “ง่วง” มดี ังนี้ 1. หาวบ่อยและหาวตอ่ เน่อื ง 2. ใจลอยไมม่ ีสมาธิ 3. รู้สกึ เหนื่อยลา้ หงดุ หงดิ กระวนกระวาย 4. จำ� ไม่ไดว้ า่ ขับรถผา่ นอะไรมาเมือ่ สองสามกโิ ลเมตรท่ีผา่ นมา 5. ร้สู ึกหนักหนงั ตา ตาปรือ ลมื ตาไมข่ น้ึ มองเห็นภาพไม่ชดั 6. ร้สู กึ มึน หนักศีรษะ 7. ขับรถสา่ ยไปมาหรอื ออกนอกเส้นทาง 8. มองข้ามสัญญาณไฟและป้ายจราจร ขอ้ ควรปฏิบตั เิ พ่อื หลีกเลีย่ งการงว่ ง...ในขณะขับรถ ก่อนเดนิ ทางควรมีการเตรียมตวั ดงั น้ี - นอนหลบั พกั ผ่อนในเวลากลางคนื ให้เพยี งพอ อยา่ งน้อย 7 - 9 ชว่ั โมง - หาเพ่อื นร่วมทางเพื่อพดู คยุ และผลดั เปลีย่ นกนั ขับรถ - วางแผนการหยดุ พกั การขบั รถทกุ ๆ ระยะทาง 150 กโิ ลเมตร หรอื ทกุ 2 ชว่ั โมง - หลกี เล่ยี งการดืม่ เคร่ืองด่มื ที่มีแอลกอฮอล์ หรอื ยาทอ่ี อกฤทธท์ิ �ำให้ง่วงซึม - ควรงบี หลับก่อนขบั รถถา้ รู้สึกออ่ นล้า - ถ้ามอี าการผดิ ปกติเกย่ี วกบั การนอน เช่น นอนหลับในตอนกลางวนั บอ่ ยๆ หรอื นอนหลบั ยากในเวลากลางคนื ฯลฯ ควรปรกึ ษาแพทย์ ขณะขับขีร่ ถ เมื่อคุณเรม่ิ มีอาการของสัญญาณเตอื นของการง่วง ควรจะ - อย่าฝืนขบั รถ - จอดรถในท่ีทป่ี ลอดภยั เพอ่ื งบี หลับประมาณ 15 นาที ก่อนขบั ต่อ - สลบั ให้ผู้อ่ืนขบั รถแทน - รบั ประทานของขบเคยี้ ว หรอื ดม่ื เครอ่ื งดมื่ ทชี่ ว่ ยใหร้ สู้ กึ สดชน่ื กระปรก้ี ระเปรา่ - เปดิ หน้าต่างรถเพื่อถ่ายเทอากาศ ให้ลมโชยปะทะหนา้ เปดิ เพลงดัง ๆ และ ร้องตามไปดว้ ย - ใช้อปุ กรณ/์ เครือ่ งมือส่งสัญญาณปลุก กรณีท่มี ีอาการสัปหงก การป้องกันสามารถท�ำได้ง่ายๆ ท่ีส�ำคัญคือการฝึกให้มีนิสัยการนอนหลับให้ เหมาะสมและเพียงพอ มกี ารวางแผนและเตรียม ตวั ใหพ้ รอ้ มกอ่ นการเดนิ ทาง และควรจำ� ไวเ้ สมอวา่ สอบถามขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ ไดท้ ่ี “ง่วงไมข่ บั จะไดก้ ลับอยา่ งปลอดภัย” สำ� นักโรคไมต่ ดิ ตอ่ โทรศพั ท์ 0-2591-0402 139หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

เมาไม่ขับ การเมาแล้วขับเป็นสาเหตุส�ำคัญท่ีท�ำให้เกิดอุบัติเหตุบนท้องถนนท่ีท�ำให้ คนไทยต้องตายปีละ 13,000 คน และบาดเจ็บอีกนับล้านคน ในจ�ำนวนน้ีหลาย แสนคนตอ้ งกลายเปน็ ผูพ้ ิการ การประเมนิ ความสูญเสยี ทางเศรษฐกิจทเี่ กดิ พบว่า มีมลู คา่ กว่าสองแสนล้านบาทต่อปี ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งระดบั ความเขม้ ขน้ ของแอลกอฮอลใ์ นเลอื ดและโอกาส เกดิ อุบตั เิ หตจุ ราจร ระดบั แอลกอฮอล์ สมรรถภาพ โอกาสเกิด ในเลอื ด ในการขับขี่รถ อบุ ัติเหตุจราจร (มลิ ลิกรัมเปอร์เซน็ ต)์ 20 มีผลเพยี งเล็กน้อย ใกลเ้ คยี งกบั คนไมด่ มื่ สรุ า เฉพาะบางคน มีผลท�ำให้ความสามารถ ในการขับรถลดลงเฉลี่ย โอกาสเกดิ อุบัติเหตุเป็น 50 8% เป็นระดับที่นักวิจัย 2 เท่า ของคนทีไ่ มด่ ่มื สุรา ท่ัวไปยอมรับว่าการขับรถ จะเปน็ อนั ตราย มีผลท�ำให้ความสามารถ ในการขับรถลดลงเฉล่ีย 80 12% มีผลต่อคนขับรถ โอกาสเกิดอบุ ัติเหตเุ ปน็ ทุกคนและระดับนี้ใช้เป็น 3 เท่า ของคนทไ่ี ม่ดื่มสุรา กฎหมายควบคุมในหลาย ประเทศ 140

ระดบั แอลกอฮอล์ สมรรถภาพ โอกาสเกดิ ในเลอื ด ในการขบั ขร่ี ถ อุบัติเหตจุ ราจร (มลิ ลกิ รัมเปอรเ์ ซ็นต์) ทำ� ใหค้ วามสามารถในการขบั โอกาสเกิดอุบตั เิ หตุเป็น รถลดลงเฉลี่ย 15% มผี ลตอ่ 6 เทา่ ของคนทีไ่ ม่ด่ืมสรุ า 100 คนขับรถทุกคน และการขับ มี ผ ล รถจะแย่ลงอย่างรวดเร็วเม่ือ ถงึ ระดบั นี ้ 150 มีผลท�ำให้ความสามารถใน โอกาสเกิดอบุ ัตเิ หตเุ ปน็ การขับรถลดลงเฉลีย่ 33 % 40 เทา่ ของคนทไ่ี มด่ ่ืมสรุ า มากกว่า 200 สมรรถภาพลดลงเปน็ ไม่สามารถวดั ได้ เนื่องจาก สดั สว่ นกบั ระดบั แอลกอฮอล ์ ควบคมุ การทดลองไมไ่ ด้ แต่ โอกาสเกดิ อุบัตเิ หตุสูงมาก ขอ้ แนะนำ� ในการหลีกเล่ียงการเกิดอบุ ัตเิ หตุจากการเมาแลว้ ขบั - ไมค่ วรด่ืมสุราหากต้องขบั ขร่ี ถ - หากดื่มสรุ าไม่ควรขับรถเอง ควรใหเ้ พ่ือนทไ่ี ม่ด่มื สุราขบั รถไปสง่ - ใชบ้ รกิ ารรถแท็กซ่แี ทนขบั เอง - หากดม่ื สุราควรหยดุ พักใหห้ ายเมากอ่ นขบั รถ โดยดมื่ นำ�้ อดั ลม ชา หรือ กาแฟ เพือ่ ให้ร่างกายขับถา่ ยแอลกอฮอล์ออกเร็วขึน้ กฎหมายวา่ ดว้ ยการหา้ มขับข่รี ถในขณะเมาสุรา ในประเทศไทยได้ก�ำหนดมาตรการในการตรวจจับผู้ขับขี่ที่เมาสุราโดยถือเอา ระดับแอลกอฮอลใ์ นเลอื ดทเี่ กิน 50 มิลลกิ รมั เปอร์เซ็นต์ “เปน็ ผ้ขู บั ข่ีท่ีเมาสรุ า” และ มีความผิดตามกฎหมาย 141หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

พระราชบญั ญตั ิจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ แก้ไขเพม่ิ เตมิ พ.ศ.๒๕๕๐ มาตรา 43 ห้ามมใิ ห้ผู้ขับขร่ี ถในขณะเมาสรุ า หรอื ของเมาอย่างอน่ื มาตรา 160 ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม ต้องระวางโทษ จำ� คุกไมเ่ กนิ 1 ปี หรอื ปรบั ต้ังแต่ 5,000 - 20,000 บาท หรือท้งั จ�ำท้งั ปรับ พกั ใชใ้ บ อนุญาตขับขี่น้อยกว่า 6 เดือน หรือเพิกถอนใบ อนญุ าตขบั ขี่ ถ้าเปน็ เหตุให้ผ้อู ่ืนได้รบั อนั ตรายแก่กายหรอื จิตใจ ต้องระวางโทษหรอื จำ� คกุ ตง้ั แต่ 1 - 5 ปี และ ปรับต้ังแต่ 20,000 - 100,000 บาท พักใช้ใบ อนุญาตขับข่ีไม่น้อยกว่า 1 ปี หรือเพิกถอนใบ อนุญาตขบั ข่ี ถ้าเป็นเหตุใหผ้ ู้อ่ืนได้รบั อันตรายสาหสั ต้อง ระวางโทษจ�ำคุกต้ังแต่ 2 - 6 ปี และปรับต้ังแต่ 40,000 - 120,000 บาท พกั ใชใ้ บอนญุ าตขบั ขไ่ี ม่ นอ้ ยกวา่ 2 ปี หรือเพกิ ถอนใบอนญุ าตขบั ข่ี ถา้ เปน็ เหตใุ หผ้ อู้ น่ื ถงึ แกค่ วามตาย ตอ้ งระวาง โทษจำ� คุกตัง้ แต่ 3 - 10 ปี และปรบั ตัง้ แต่ 60,000 - 200,000 บาท และเพิกถอนใบอนุญาตขบั ข่ี ปัจจุบันกระทรวงยุติธรรมได้น�ำระบบการคุมประพฤติมาใช้กับผู้ต้องหาในคดี เมาแลว้ ขบั โดยกรณที ถี่ กู ศาลตดั สนิ ใหร้ อลงอาญา จะตอ้ งเขา้ โครงการคมุ ประพฤตเิ ปน็ เวลา 1 ปี เพ่ือปรับเปลยี่ นพฤตกิ รรมไม่ให้กลบั มากระท�ำผดิ ซ้�ำอีก บางจงั หวดั ศาล ตดั สินโทษจำ� คกุ ใหก้ ักขังแทน สอบถามขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ ไดท้ ี่ ส�ำนักโรคไมต่ ิดต่อ โทรศพั ท์ 0-2591-0402 142

อบุ ตั เิ หตจุ ราจร : โทรศัพทม์ อื ถือ สถิติการเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนนในไทยนอกจากสาเหตุหลักๆ แล้ว เม่ือ หลายปที ผ่ี า่ นมาพบวา่ ตงั้ แตก่ ระแส “มอื ถอื ฟเี วอร”์ เขา้ มาตตี ลาดรากหญา้ หา้ งรา้ น บรษิ ทั ตา่ งๆ ลดแลกแจกแถมแยง่ สว่ นแบง่ พนื้ ทก่ี ารตลาดมเี งนิ ไมถ่ งึ พนั บาทสามารถ เป็นเจ้าของได้พร้อมโปรโมช่ันและลูกเล่นต่างๆ เพียบ จากน้ันมาสถิติการเกิด อุบัตเิ หตุเพราะการใชโ้ ทรศพั ทข์ ณะขบั รถเพ่ิมขึ้น จากผลการวจิ ยั ของนกั จติ วทิ ยาตา่ งชาตพิ บวา่ การคยุ โทรศพั ทข์ ณะขบั รถโดยใช้ มือเดียว จะท�ำให้เกิดความผิดพลาดได้ง่าย และการใช้มือถือขณะขับรถท�ำให้เกิด อาการ “การรับรลู้ ้นเกนิ ” (cognitive overload) ซึ่งเปน็ ผลให้เกิดอุบตั ิเหตุท่เี ทยี บเท่า หรือสูงกว่าความผิดพลาดจากการขับรถ หรือ “เมาแล้วขับ” การคุยและการถือ โทรศพั ทท์ ำ� ใหส้ มาธริ ะหวา่ งนน้ั ไขวเ้ ขว อกี ทงั้ ประโยคจากการสนทนากม็ ผี ลตอ่ สมาธิ และจะรบกวนการขับข่ี โดยเฉพาะการมองเห็นสมาธิจากการโทรศัพท์ถูกแบ่งไป ครง่ึ หนง่ึ ทำ� ใหส้ มาธใิ นการขบั ขเ่ี หลอื เพยี งครงึ่ เดยี วเสยี่ งตอ่ การเกดิ อบุ ตั เิ หตอุ ยา่ งมาก ขอ้ เทจ็ จรงิ จากงานวิจัย 1. ผู้ขับข่ีที่มีอายุมากกว่า 50 ปี มีความเส่ียงมากกว่าผู้ที่มีอายุน้อยกว่า 2-3 เทา่ และผู้ทม่ี ปี ระสบการณ์ในการขบั ขไี่ มว่ า่ จะมากหรอื นอ้ ยหากมกี าร ใชโ้ ทรศัพทข์ ณะขับรถแลว้ มโี อกาสเกิดอบุ ัตเิ หตไุ ดเ้ ชน่ เดียวกัน 2. การใช้ Hand held และ Hand free ท�ำให้เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุถึง 4 เทา่ ซึง่ เสยี่ งเท่ากบั ผูท้ ่มี ีแอลกอฮอลใ์ นเลือดปรมิ าณที่กฎหมายก�ำหนด 3. การคุยโดยใช้ speaker ท�ำให้เสียสมาธิมากกว่าการคุยโดยใช้มือถือหรือ แฮนด์ฟรี 4. การคุยโทรศัพท์ไม่ว่าจะเป็นการใช้มือ เพ่ือถือโทรศัพท์หรือการใช้แฮนด์ฟรีน้ัน ทำ� ใหร้ ะยะเวลาในการแตะเบรกชา้ ลงกวา่ การขับรถในสภาวะปกติ 143หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

5. การทดลองโดยให้ผู้ขับขีข่ ับรถในสภาวะปกติ ใชโ้ ทรศัพท์และมีแอลกอฮอล์ ในเลือดประมาณ 80 mg % (ตามกฎหมายสหรัฐกำ� หนด) พบว่าขณะคุย โทรศพั ทก์ ารแตะเบรกจะชา้ ลงและมกี ารเฉย่ี วชนเกดิ ขน้ึ ซงึ่ ผทู้ ดี่ ม่ื แอลกอฮอล์ กลบั ไมพ่ บการเฉย่ี วชนแตก่ ารขบั ขี่จะก้าวรา้ ว และเบรกในระยะกระชัน้ ชิด การบงั คบั ใช้กฎหมายในประเทศไทย ภาครัฐตระหนักถึงผลที่เกิดข้ึน สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีมติเห็นชอบ ร่างพระราชบัญญัติจราจรทางบกฉบับใหม่ออกกฎหมายบังคับใช้ห้ามโทรศัพท์ ขณะขบั รถ ตามพระราชบญั ญตั ิ (พ.ร.บ.) จราจรทางบก (ฉบบั ที่ 8) พ.ศ.2551 มาตรา 43 (9) ห้ามมิให้ผู้ขับรถใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ขณะขับเว้นแต่ใช้อุปกรณ์เสริมส�ำหรับ การสนทนา โดยท่ีผู้ขับขี่ไม่ต้องถือ หรือจับโทรศัพท์เคล่ือนท่ีน้ัน ตามมาตรา 157 ผู้ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามมาตรา 43 (9) ตอ้ งระวางโทษปรับตัง้ แต่ 400 - 1,000 บาท และจากผลการตรวจสอบพบว่าหลังจากที่ออกกฎหมายห้ามโทรศัพท์ขณะขับข่ี อบุ ตั เิ หตลุ ดลง การจราจรดขี น้ึ โดยใน พ.ร.บ.ดงั กลา่ วไดเ้ พม่ิ เตมิ ในมาตรา 43 วรรค 9 ไวด้ งั น้ี ข้อควรปฏิบัติหากจำ� เป็นตอ้ งใช้โทรศพั ทข์ ณะขบั รถ 1. ขณะขับรถและใช้โทรศพั ทน์ ้นั มอื ควรอย่ทู พี่ วงมาลัย ตาควรมองถนน 2. วางโทรศัพท์ไว้ในท่ีท่ีมองเห็นได้ง่าย เช่น ติดซองใส่โทรศัพท์ไว้กับเข็มขัด นิรภัย เปน็ ต้น 3. ไมค่ วรจดข้อความขณะกำ� ลงั ขบั รถ และหากมีความจ�ำเปน็ ตอ้ งจดข้อความ ควรหยุดรถกอ่ น 4. ใชก้ ารโทรด่วน (speed call) สำ� หรับเบอรท์ ่ีตอ้ งโทรออกบ่อยๆ 5. ให้ใช้ข้อความเสียงแทนการรับโทรศัพท์เพ่ือความสะดวกในการขับรถและ มสี ายเรียกเข้า สอบถามขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ ไดท้ ี่ สำ� นกั โรคไม่ตดิ ต่อ โทรศัพท์ 0-2591-0402 144

อุบัติเหตจุ ากการตกนำ้� จมน้�ำ ในเด็ก สถานการณก์ ารตกน้�ำ จมน�ำ้ ของเดก็ การจมน�้ำเป็นสาเหตกุ ารเสียชีวิตอันดับ 1 ของเด็กไทยอายุต�่ำกวา่ 15 ปี ซ่งึ สงู มากกวา่ การเสยี ชวี ติ จากโรคตดิ เชอ้ื และโรคไมต่ ดิ เชอ้ื โดยสงู มากกวา่ อบุ ตั เิ หตจุ าก การจราจรถึง 2 เทา่ ตัว ในแต่ละปีเด็กไทยอายตุ ำ�่ กวา่ 15 ปีเสยี ชีวิตจากการจมน้�ำ เกือบ 1,400 คนหรือเฉลี่ยวันละ 4 คน เด็กชายเสียชีวิตสูงมากกว่าเด็กหญิง ประมาณ 2 เทา่ ตัว กลุ่มอายทุ เี่ สยี ชวี ิตสงู สดุ คอื เด็กอายุ 5 - 9 ปี รองลงมาคอื แรกเกดิ - 4 ปี และ 10 - 14 ปี ช่วงเวลาทพ่ี บว่ามีการจมนำ�้ สูงคอื ชว่ งฤดรู อ้ น และช่วงปิดเทอมและช่วงบา่ ยของวนั หยุด สาเหตุ - เดก็ อายุตำ�่ กว่า 5 ปี มักเกิดจากการเผอเรอช่วั ขณะของผปู้ กครอง/ผ้ดู แู ลเด็ก เช่น รบั โทรศัพท์ เปดิ -ปิดประตูบา้ น ท�ำกบั ขา้ ว ซง่ึ บางคร้งั ไม่คิดวา่ แหล่งน�้ำในภาชนะ ในบา้ นจะทำ� ใหเ้ ดก็ จมนำ้� ได้ เนอ่ื งจากเดก็ เลก็ การทรงตวั ไมด่ ี จงึ ทำ� ใหล้ ม้ ในทา่ ศรี ษะ ทม่ิ ลงไดง้ า่ ย จงึ มกั พบเดก็ จมนำ�้ สงู ในแหลง่ นำ้� ภายในบา้ นหรอื รอบๆ บา้ น เชน่ ถงั นำ้� กะละมัง แอง่ นำ�้ บ่อนำ้� (เด็กสามารถจมนำ�้ เสียชวี ิตได้ ในแหลง่ นำ�้ ท่ีมีระดับน�ำ้ ที่สงู เพยี ง 1 - 2 น้ิว) - เด็กอายุต้ังแต่ 5 ปีขึ้นไป เด็กเร่ิมโตและซน จะเร่ิมออกไปเล่นนอกบ้าน การจมนำ�้ จึงมักเกิดจากความร้เู ท่าไมถ่ งึ การณข์ องเด็ก การทเี่ ดก็ วา่ ยนำ้� ไมเ่ ปน็ และ การช่วยเหลือที่ไม่ถูกวิธี โดยส่วนใหญ่จะเห็นว่าเด็กวัยนี้จะเสียชีวิตพร้อมกันครั้งละ หลายๆ คน เนื่องจากความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ของเด็ก พอเห็นเพื่อนหรือน้องตกน้�ำ คดิ วา่ ตนเองวา่ ยนำ้� เปน็ กก็ ระโดดลงไปชว่ ย แตส่ ดุ ทา้ ยกจ็ ะกอดคอกนั ตายหมู่ แหลง่ นำ�้ ทพี่ บเดก็ จมนำ�้ สงู คอื แหลง่ นำ้� ตามธรรมชาติ เชน่ บอ่ ขดุ เพอื่ การเกษตร คลอง แมน่ ำ้� บึง การป้องกนั เด็กอายุต�ำ่ กวา่ 5 ปี - ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กทุกคนควรดูแลเด็กอย่างใกล้ชิด ไม่ควรเผอเรอแม้ เพียงเส้ียววินาที โดยเด็กเล็กอายุต�่ำกว่า 5 ปี ต้องอยู่ในระยะที่มองเห็น ควา้ ถงึ และเขา้ ถงึ 145หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

- ไม่ปล่อยทิง้ ให้เดก็ เล่นน้�ำเองตามล�ำพงั แม้ใน กะละมัง ถังน�้ำ โอง่ - มีการจัดการส่ิงแวดล้อม เช่น เทน้�ำทิ้งภายหลังใช้งาน หาฝาปิด รวมถึง การจดั พ้นื ทเี่ ลน่ ทีป่ ลอดภัยสำ� หรบั เด็ก เดก็ อายตุ ้ังแต่ 5 ปขี ้นึ ไป - ไม่ปลอ่ ยใหเ้ ด็กไปเล่นน�้ำกันเองตามล�ำพังตอ้ งมผี ้ใู หญไ่ ปดว้ ย - สอนใหเ้ ด็กเรยี นรูก้ ฎแห่งความปลอดภยั เชน่ ไม่เลน่ ใกลแ้ หล่งนำ้� ไม่เล่นนำ้� คนเดยี ว ไมล่ งไปเกบ็ ดอกบวั /กระทงในแหลง่ นำ�้ ไมเ่ ลน่ นำ้� ตอนกลางคนื รจู้ กั แหล่งน�้ำเสีย่ ง รู้จกั ใชช้ ชู ีพหรืออุปกรณล์ อยน�้ำไดเ้ มอื่ ต้องโดยสารเรือ - ควรสอนให้เด็กรู้จักการเอาชีวิตรอดในน�้ำและวิธีการช่วยเหลือท่ีถูกต้อง เพราะหากเด็กไม่รู้จักวิธีการเอาชีวิตรอดในน�้ำ เมื่อตกน�้ำหรือจมน�้ำในจุด ที่ห่างไกลจากฝั่งมาก ๆ เด็กจะพยายามว่ายน้�ำเข้าหาฝั่งจนหมดแรงและ จมน้�ำก่อนท่ีจะว่ายน้�ำถึงฝั่ง แต่การเอาชีวิตรอดท่ีดีท่ีสุดส�ำหรับเด็กคือการ ลอยตัวอยู่ในน�้ำใหไ้ ด้นานท่สี ดุ เพื่อรอการชว่ ยเหลอื - สอนให้เด็กรู้จักวิธีการช่วยเหลือที่ถูกต้อง คือการไม่กระโดดลงน้�ำไปช่วย ควรตะโกนขอความชว่ ยเหลอื และหาอปุ กรณช์ ว่ ย เชน่ ไม้ เชอื ก ถงั แกลลอน พลาสตกิ เปล่า ขวดน้ำ� พลาสตกิ เปลา่ - จดั การสงิ่ แวดลอ้ มเพอ่ื ใหเ้ กดิ ความปลอดภยั แกเ่ ดก็ เชน่ สรา้ งรว้ั /หาฝาปดิ / ฝงั กลบหลมุ หรอื บอ่ ทไ่ี มไ่ ดใ้ ช้ ตดิ ปา้ ยคำ� เตอื น จดั ใหม้ อี ปุ กรณช์ ว่ ยคนตกนำ้� ที่หาได้ง่ายไว้บริเวณแหล่งน้�ำเสี่ยง (ถังแกลลอนพลาสติกเปล่า ขวดน�้ำ พลาสติกเปล่า ไม้ เชือก) - มีมาตรการทางด้านกฎหมาย/กฎระเบียบ/ข้อบังคับ เช่น ต้องใส่ชูชีพ เมื่อโดยสารเรอื ห้ามดมื่ สุรากอ่ นลงเล่นนำ�้ การช่วยเหลอื หลงั จากช่วยคนตกน�้ำ จมน�้ำขึ้นมาแลว้ หา้ มจบั อมุ้ พาดบ่า กระโดดหรอื ว่งิ รอบ สนามหรือวางบนกระทะคว�่ำแล้วรีดน�้ำออก เพราะจะท�ำให้ขาดอากาศหายใจนาน ยิง่ ขึ้น กรณเี ดก็ ไม่หายใจให้ช่วยดว้ ยการ เปา่ ปาก และควรน�ำสง่ โรงพยาบาลทกุ ราย สอบถามขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ ไดท้ ี่ สำ� นักโรคไม่ตดิ ต่อ โทรศพั ท์ 0-2591-0402 146

MEMORY บันทึก 147หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค






Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook