โรคอหิวาตกโรค “อหิวาตกโรค” เป็นโรคติดต่อที่เกิดข้ึนจาก เชื้อแบคทีเรีย สาเหตุเกิดจากการกินอาหารหรือน�้ำท่ีมี เชอ้ื อหิวาตกโรค ปะปนอยู่ เช่น อาหารที่มแี มลงวนั ตอม อาหารทะเล อาหารสุกๆ ดิบๆ รับประทานอาหารหรือ ด่ืมนำ้� ทมี่ กี ารใชภ้ าชนะหรือมือไม่สะอาด อาการของโรค ผู้ท่ีได้รับเช้ือจะเกิดอาการได้ตั้งแต่ 24 ช่ัวโมง ถงึ 5 วนั แตโ่ ดยเฉล่ยี แลว้ จะเกิดอาการภายใน 1 - 2 วนั มอี าการถา่ ยเหลวเปน็ นำ�้ คลา้ ยนำ�้ ซาวขา้ ว รวมถึง มีอาการปวดท้อง คลนื่ ไสอ้ าเจยี นได้ ถา้ อาการไม่รุนแรง มกั หายภายใน 1-5 วัน แตห่ ากถา่ ยเป็นจำ� นวนมากรวม ถึงมีมูกหรอื มูกเลอื ด จะทำ� ใหเ้ กดิ ภาวะการขาดน้�ำ ช๊อก ซ่ึงส่งผลให้เสียชวี ติ ได้ 51หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค
ข้อควรปฏิบัติเมื่อเกดิ อาการท้องเสีย 1. ให้ผู้ป่วยดื่มน้�ำ / น้�ำตาลเกลือแร่โออาร์เอสบ่อยครั้ง ให้จ�ำนวนทดแทน กับท่เี สยี ไป 2. หากมีอาการมากขึ้น เช่น ถ่ายเหลวบ่อยครั้งมากข้ึน มีมูกเลือด อาเจียน ไข้สูง ชัก หรอื ซมึ ควรรีบพาไปพบแพทย์ 3. งดอาหารทีม่ รี สจัดหรือเผด็ รอ้ นหรือของหมกั ดอง การปอ้ งกนั 1. รับประทานอาหารท่ีปรงุ สุกใหม่ๆ และดืม่ น้�ำสะอาด เชน่ นำ�้ ตม้ สกุ ภาชนะ ท่ีใส่อาหารควรล้างให้สะอาดทุกคร้ังก่อนใช้ หลีกเลี่ยงอาหารหมักดอง สุกๆ ดิบๆ อาหารที่ปรุงทงิ้ ไว้นาน ๆ อาหารที่มแี มลงวนั ตอม 2. ล้างมือฟอกสบู่ให้สะอาดทุกครั้งก่อนกินอาหาร หรือก่อนปรุงอาหาร และ หลงั เข้าสว้ ม 3. ถ่ายลงในส้วมท่ีถูกสุขลักษณะ ไม่เทอุจจาระ ปัสสาวะและสิ่งปฏิกูลลงใน แม่น้ำ� ลำ� คลอง หรือทงิ้ เรีย่ ราด 4. ระวงั ไม่ให้น�้ำเข้าปาก เมือ่ ลงเล่นหรอื อาบน�้ำในล�ำคลอง 5. การรบั วคั ซนี ปอ้ งกนั อหวิ าตกโรคเปน็ ทางเลอื กหนง่ึ ในการปอ้ งกนั โรคเทา่ นนั้ สง่ิ ทสี่ ำ� คญั ทส่ี ดุ ในการปอ้ งกนั คอื ควรเนน้ การปรบั ปรงุ สขุ าภบิ าล มสี ขุ อนามยั ที่ดี สอบถามข้อมูลเพ่ิมเติมได้ท่ี สำ� นักโรคตดิ ต่อท่ัวไป โทรศัพท์ 0-2590-3180 52
โรคหูดับ “โรคหดู บั ” หรอื เรยี กเปน็ ภาษาองั กฤษวา่ Sudden Hearing Loss (SHL) เป็นภาวะสญู เสียการได้ยินอย่างกะทนั หัน โดยผเู้ ป็น โรคหดู บั จะมอี าการทห่ี ู จะไดย้ นิ เสยี งนอ้ ยลง หรอื ไมไ่ ดย้ นิ เสยี งเลย อาจเป็นข้างเดียวหรือท้ังสองข้างก็ได้ แต่ส่วนใหญ่มักจะเป็นเพียง ขา้ งเดยี ว สว่ นในทางทฤษฎแี ลว้ นน้ั โรคหดู บั หมายถงึ ระดบั การไดย้ นิ ลดลงมากกวา่ 30 เดซเิ บล เปน็ เวลานานเกินกว่า 72 ชว่ั โมง แต่ อาการมกั จะปรากฏเดน่ ชดั ในชว่ ง 2-3 ชว่ั โมงแรก อาการจะรนุ แรง มากน้อยแตกต่างกัน และระดบั เสยี งท่ไี มไ่ ด้ยินอาจเป็นระดับเสียง ทคี่ วามดงั เทา่ ใดกไ็ ด้ และอาการของโรคหดู บั อาจเปน็ เพยี งชวั่ คราว หรือเกิดข้นึ ไดอ้ ย่างถาวร สาเหตุ 1. โรคหูดับ หรือ เส้นประสาทหูเสื่อม สาเหตุเกิด จากเชอื้ ไวรสั บางชนดิ ซง่ึ พบมากถงึ รอ้ ยละ 60 โดยสามารถ ตรวจพบการเปลี่ยนแปลงทางน้�ำเหลืองในห้องปฏิบัติการ ไวรสั ทเี่ ปน็ สาเหตุ ไดแ้ ก่ ไวรสั ไขห้ วดั ใหญ่ Influenza type B, ซัยโตเมกาโลไวรัส CMV, ไวรัสคางทมู mumps, รูบโิ อลา rubeola, ไวรัสสุกใส-งูสวัด varicella-zoster ซึ่งไวรัส เหล่านีจ้ ะไปทำ� ใหห้ ูช้ันในอกั เสบได้ 53หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค
2. โรคหูดับเกิดจากการรับประทานอาหาร สกุ ๆ ดบิ ๆ ทมี่ เี ชอื้ แบคทเี รยี ชอ่ื สเตรพ็ โตคอ็ กคสั ซอู สิ ปนเปอ้ื นอยู่ เชน่ ลาบดบิ กว๋ ยเตยี๋ วนำ้� ตก ท่ีปรุงโดยใช้เลือดดิบ จากสถิติพบว่าจังหวัด ภาคเหนอื พบผปู้ ว่ ยโรคหดู บั มากขนึ้ เนอื่ งจาก ยังมีคนบางกลุ่มนิยมกินลาบ ลู่ ซ่ึงท�ำจาก หมดู ิบ ๆ โดยเฉพาะการนำ� มาแกลม้ เหลา้ 3. จากการไดย้ นิ เสยี งดงั มากๆ ในทนั ที เชน่ เสยี งระเบดิ เสยี งฟา้ ผา่ กท็ ำ� ใหห้ ดู บั ได้ จนสญู เสยี การ ไดย้ นิ ในทนั ที นอกจากนยี้ งั พบวา่ ผู้ป่วยบางรายเปน็ โรคหูดบั เพราะ ความเครยี ด ไมไ่ ดน้ อนพกั ผอ่ นอยา่ งเพยี งพอ อดหลบั อดนอน เพราะโหมทำ� งานหนกั มากเกินไป ก็เปน็ สาเหตุใหเ้ กดิ โรคหดู ับไดเ้ ชน่ กัน 4. จากการผิดปกติของเลือด เป็นโรคหลอดเลือด เช่น ความดันสูง การ ไหลเวียนกระแสโลหิตบกพร่อง หลอดเลือดอักเสบ หรืออุดตัน การติดเช้ือไวรัส แบคทีเรีย การฉีกขาดของเย่ือปิดหน้าต่างของหูชั้นใน เช่น ไอ หรือจามรุนแรง เกิดจากการผ่าตดั หู จากความผิดปกติทางฮอร์โมนและตอ่ มไร้ท่อ เชน่ โรคไทรอยด์ จากการผิดปกติของการเผาผลาญ เช่น โรคเบาหวาน รวมท้ังการได้รับแรงกระทบ กระแทกของศีรษะ เปน็ ต้น ท้ังนีย้ งั มโี รคหูดับเฉยี บพลนั (Sudden Sensorineural Hearing Loss) ทีอ่ ย่ๆู 54
ผู้ป่วยเกิดไม่ได้ยินเสียงขึ้นมาเฉยๆ จนหูดับไปจนเกือบไม่ได้ยินเลยในเวลาไม่เกิน 3 วัน ซึง่ อาการหดู ับเฉยี บพลนั น้ี อาจเกิดจากเน้อื งอกของประสาทสมองที่ 8 กดทบั เสน้ เลอื ดไปเล้ยี งหูช้ันใน ส่วนโรคของหูชั้นในที่มีการค่ังของ น้�ำในหูชั้นใน อาจท�ำให้หูดับได้ทันที แต่ อาการจะเป็น ๆ หาย ๆ หลายครงั้ และมี กล่มุ อาการร่วมเป็นชดุ คือ หอู ือ้ เวียนหวั มีเสียงซ่า ๆ รบกวนในหูเป็นอีกโรคหนงึ่ ท่ี เรียกว่า โรคเมเนียร์ (Maniere’s Disease) โดยมักพบในผู้หญิงท่ีมีอายุ 40 - 60 ปี มากกวา่ กล่มุ อ่นื ๆ อาการและอาการแสดง จากสถิติพบว่าผู้ป่วย โรคหูดับหน่ึงในสามมักจะมีอาการ หูดับ ในช่วงเช้า โดยเฉพาะหลังต่ืนนอนใหม่ ๆ และมีอาการอื่นร่วมด้วย เช่น ปวดศีรษะ เวียนหัว อาเจยี น บา้ นหมุน มีเสยี งดังในหรู ว่ มด้วย การรักษา การรกั ษาทส่ี ำ� คญั คอื ตอ้ งใหผ้ ปู้ ว่ ยพกั ผ่อนให้มากที่สุด เพื่อให้ประสาทหู ฟื้นตัวโดยเร็ว โดยท่ัวไปแพทย์จะส่ังให้ พกั ผอ่ นอยา่ งนอ้ ย 1 สปั ดาห์ โดยระหวา่ งนี้ หา้ มฟงั หรอื เขา้ ใกลเ้ สยี งดงั มาก ๆ และหาก หยุดท�ำงานได้จะดีทสี่ ดุ เพือ่ จะไดพ้ ักผอ่ น อยู่กบั บา้ น 55หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค
ทั้งน้ีอาการของโรคหูดับ จะดีขึ้นหรือหายได้เองได้ราวร้อยละ 70 ของผู้ป่วย ทั้งหมด เชน่ นัน้ แล้วใครท่ีเปน็ โรคหดู ับไม่รนุ แรง แพทย์อาจพจิ ารณาตดิ ตามอาการ เท่าน้นั ไม่ตอ้ งรบั การรกั ษามากมาย นอกจากนี้ยังมีการรักษาโรคหูดับด้วยการใช้ยาต้านไวรัส ชื่อ อะซัยโคลเวีย (Acyclovir) สำ� หรบั โรคทเ่ี กดิ จากไวรสั HSV-1 และจะยงิ่ ไดผ้ ลดขี นึ้ เมอ่ื ใหย้ าตา้ นไวรสั ร่วมกับยาสเตียรอยด์ ส่วนยาลดปฏิกิริยาอักเสบ กลุ่มสเตียรอยด์ corticosteroids ก็ไดผ้ ลดเี ช่นกัน การปอ้ งกนั การปอ้ งกันโรคหูดบั ท่ีดที ่ีสุด คือไม่รับประทานอาหารทีป่ รุงสุกๆ ดบิ ๆ เพอ่ื ไม่ ให้เชอ้ื สเตร็พโตคอ็ กคัส ซอู ิส เขา้ สรู่ ่างกายได้ รวมท้งั หลีกเลีย่ งเสียงดงั เช่น ไม่ควร เปดิ ฟงั เพลงจากเครอื่ งเลน่ MP3 ระดบั เสยี งทดี่ งั จนเกนิ ไป และฟงั เปน็ ระยะเวลานาน ติดตอ่ กันควรหลีกเลยี่ งสถานทหี่ รอื สภาวะแวดลอ้ มทมี่ ีเสยี งดงั มาก ๆ สอบถามขอ้ มูลเพมิ่ เติมไดท้ ่ี ส�ำนักโรคตดิ ต่อท่วั ไป โทรศพั ท์ 0-2590-3183, 0-2590-3187 56
โรค มือ เทา้ ปาก “โรคมือ เท้า ปาก” เป็นกลุ่มอาการหน่ึงของ โรคติดเชื้อคอคแซคคี (Coxsackie Virus A-16) หรือ เอนเทอโรไวรัส (Enterovirus) โรคนี้พบบ่อยในเด็กทารก และเด็กเล็กอายุต่�ำกว่า 5 ปี โดยเฉพาะในศูนย์เด็กเล็ก ทม่ี เี ดก็ อยรู่ วมกนั จำ� นวนมาก พบการระบาดทงั้ ในประเทศไทย และหลายประเทศในภูมิภาค โรคเกิดประปรายตลอดปี แตจ่ ะเพมิ่ มากขนึ้ หนา้ ฝน ซงึ่ อากาศมกั เยน็ และชน้ื โดยทว่ั ไป โรคน้ีมีอาการไม่รุนแรง โรคนี้พบน้อยลงในเด็กอายุต่�ำกว่า 10 ปี และน้อยมากในเดก็ วยั รนุ่ สาเหตุและการแพรต่ ดิ ตอ่ เกิดจากการติดเชื้อไวรัสล�ำไส้หรือเอนเทอโรไวรัส ซ่ึงมีหลายชนิด การติดต่อส่วนใหญ่เกิดจากการได้รับ เช้ือไวรัสเข้าสู่ปากโดยตรง โดยเชื้อไวรัสจะติดมากับมือ หรือของเล่นท่ีเปื้อนน้�ำลาย น�้ำมูก น้�ำจากแผลตุ่มพอง หรอื อจุ จาระของผปู้ ว่ ย และอาจเกดิ จากการ ไอ จามรดกนั ติดตอ่ กันได้ง่ายโดยเฉพาะในชว่ งสปั ดาหแ์ รก และถึงแม้ จะอยู่จะทเุ ลาลงแล้ว ก็อาจแพรเ่ ช้ือได้บ้าง เนอื่ งจากเชื้อ จะถูกขับออกมากับอจุ จาระได้นานถึง 6 - 8 สปั ดาห์ 57หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค
อาการของโรคมือ เท้า ปาก หลงั จากไดร้ บั เชอ้ื 3-6 วัน ผตู้ ดิ เชอ้ื จะเร่ิมแสดงอาการป่วย เร่ิมด้วยมีไข้ต่�ำๆ ออ่ นเพลยี ตอ่ มาอีก 1-2 วัน เป็นสาเหตุ ให้เด็กไม่ยอมดูดนม ไม่ยอมรับประทาน อาหาร เนอื่ งจากมตี มุ่ แดงทลี่ นิ้ เหงอื ก และ กระพุ้งแก้ม ตุ่มน้ีจะกลายเป็นตุ่มพองใส ซง่ึ บรเิ วณรอบ ๆ จะอกั เสบและแดง ตอ่ มา ตมุ่ จะแตกออกเป็นแผลหลุมตน้ื ๆ จะพบ ตุ่มหรือผน่ื (มักไม่คัน เวลากดจะเจบ็ ) ทบ่ี ริเวณฝ่ามือ นิว้ มอื และฝ่าเท้า และอาจพบ ทกี่ น้ ดว้ ย อาการจะทเุ ลาและหายเป็นปกติภายใน 7-10 วนั การรักษา โรคนี้ไม่มียารักษาโดยเฉพาะ แพทย์จะให้ยารักษาตามอาการ เช่น ยาลดไข้ ยาชาแก้เจ็บแผลในปาก ควรนอนพักผ่อนมากๆ เช็ดตัวเพ่ือลดไข้เป็นระยะ และให้ ผู้ป่วยรับประทานอาหารออ่ น ๆ ไม่ร้อนจัด ด่ืมนำ�้ นม และนำ้� ผลไม้แช่เยน็ เพ่ือชว่ ย ลดอาการเจบ็ แผลในปากและรบั ประทานอาหารไดม้ ากข้ึน ถา้ เป็นเด็กอ่อน อาจตอ้ ง ป้อนนมให้แทนการดูดจากขวด ตามปกตโิ รคมกั ไมร่ นุ แรงและไมม่ อี าการแทรกซอ้ น แตเ่ ช้อื ไวรัสบางชนดิ เช่น เอนเทอโรไวรสั 71 อาจทำ� ใหม้ อี าการรนุ แรงได้ จงึ ควรสงั เกตอาการของเดก็ อยา่ งใกลช้ ดิ 58
หากพบมีไขส้ งู ซึม ไมย่ อมดม่ื นมหรือทานอาหาร อาเจยี นบ่อย หอบ แขนขาออ่ นแรง ชกั อาจเกดิ ภาวะสมองอกั เสบหรอื น้�ำทว่ มปอด ซง่ึ อาจรนุ แรงถงึ ขนั้ เสยี ชวี ติ ไดต้ อ้ งรบี พาไปโรงพยาบาลทนั ที การปอ้ งกันและควบคุมโรคมอื เทา้ ปาก โรคนย้ี งั ไมม่ วี คั ซนี ปอ้ งกนั แตป่ อ้ งกนั ได้ โดยการรกั ษาสขุ อนามยั สว่ นบคุ คล ผปู้ กครอง ควรแนะนำ� บตุ รหลานและผเู้ ลย้ี งดเู ดก็ ใหร้ กั ษา ความสะอาด ตดั เลบ็ ใหส้ น้ั หมนั่ ลา้ งมอื บอ่ ย ๆ (ด้วยน�้ำและสบู่) โดยเฉพาะก่อนรับประทาน อาหาร หลังการขับถ่าย หลงั ไอ จาม และหลัง สัมผัสสารคัดหลัง่ ของผ้ปู ่วย เช่น หลังเปลี่ยน ผา้ ออ้ ม หลงั เชด็ ตัว เปน็ ตน้ สถานรับเลี้ยงเด็กและโรงเรียน ควรจัด ใหม้ ีอา่ งล้างมือและส่งเสริมให้มีการล้างมอื ให้ ถูกต้องอย่างสม่�ำเสมอ หมั่นรักษาความ สะอาดของเล่นอปุ กรณเ์ คร่อื งใช้ สถานที่ และ ส้วมอยู่เสมอ รวมถึงการก�ำจัดอุจจาระให้ถูกต้องด้วย ควรเปิดห้องให้อากาศถ่ายเท และแสงแดดส่องในบางชว่ งของวนั หากพบเหน็ เดก็ ปว่ ย ตอ้ งรบี ปอ้ งกนั ไมใ่ หเ้ ชอื้ แพรไ่ ปยงั เดก็ คนอนื่ ๆ ควรแนะนำ� ผู้ปกครองให้รีบพาเด็กไปพบแพทย์ และหยุดรักษาตัวที่บ้านประมาณ 7 วัน หรือ จนกวา่ จะหายเปน็ ปกติ ระหวา่ งนไี้ มค่ วรพาเดก็ ไปในสถานทแ่ี ออดั หรอื สนามเดก็ เลน่ หากมีเด็กป่วยจ�ำนวนมาก อาจจ�ำเป็นต้องพิจารณาการปิดชั้นเรียน ประมาณ 1 สปั ดาหเ์ พอ่ื ทำ� ความสะอาดและฆา่ เชอื้ โดยใชน้ ำ�้ ยาฟอกขาว หรอื นำ้� ยาซกั ลา้ งทวั่ ไป ทม่ี สี ่วนผสมของคลอรนี ,โซเดยี มไฮโปรคลอไรด์, ฟอรม์ าลดีไฮด์ เปน็ ต้น สอบถามข้อมลู เพมิ่ เติมได้ท่ี ส�ำนักโรคตดิ ต่ออุบตั ใิ หม่ โทรศพั ท์ 0-2590-3275 59หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค
โรคพิษสนุ ัขบ้า “โรคพษิ สนุ ขั บา้ ” (Rabies หรอื Hydrophobia) หรอื โรคกลวั นำ�้ หรอื ในภาษาอสี านเรยี กวา่ โรคหมาวอ้ เป็นโรคติดต่อร้ายแรง ซึ่งสาเหตุหลักเกิดข้ึนจากการ ถูกกัด หรือข่วน โดยสัตว์เล้ียงลูกด้วยนม เช่น สุนัข แมว หนู เป็นตน้ ท่เี ป็นโรคน้มี ีสาเหตุจากเช้อื เรบีส์ ไวรสั (Rabies Virus) ซง่ึ จะออกมากบั นำ�้ ลายของสตั ว์ ปว่ ยทเ่ี ปน็ โรคนเี้ ปน็ ระยะ ๆ ในประเทศไทยมสี นุ ขั เปน็ ตัวน�ำโรคหลัก ร้อยละ 95 ของผู้เสียชีวิตมีสาเหตุ มาจากสุนัข รองลงมาเป็นแมว สัตว์เล้ียงลูกด้วยนม ทุกชนิดเป็นโรคน้ไี ด้ สนุ ขั ท่เี ปน็ โรคพษิ สนุ ัขบา้ จะขบั เช้ือออกมากับน้�ำลายก่อนท่ีสุนัขจะมีอาการของโรค 1-7 วนั และขณะมอี าการจนกระทัง่ สุนขั ตาย ระยะ เวลาตง้ั แตไ่ วรสั ถกู ขบั ออกมากบั น้�ำลายจนถงึ สนุ ขั ตาย รวมแล้วจะไม่เกิน 10 วัน 60
การตดิ ตอ่ โรคพิษสุนัขบ้าติดต่อสู่คนได้โดยการถูกสัตว์ท่ีมีเช้ือกัด หรือข่วน หรือน�้ำลาย กระเด็นเขา้ บาดแผล หรอื ผิวหนงั ทีม่ รี อยถลอก หรอื ถูกเลียเยือ่ เมอื ก ปาก จมูก ตา การตดิ ตอ่ วธิ อี น่ื ในธรรมชาตเิ ปน็ ไปไดย้ าก เชอื้ จะเขา้ สรู่ า่ งกายทางปลายประสาทเดนิ ทางเข้าสูร่ ะบบประสาทสว่ นกลาง เช้ือจะเพิ่มจ�ำนวนข้ึนมากท่ีสมอง ทำ� ใหเ้ กดิ สมอง หรือไขสันหลงั อักเสบ จะปรากฏอาการหลังจากไดร้ ับเชื้อต้ังแต่ 7 วัน จนถึงหลายปี แต่ส่วนใหญ่จะอยู่ระหว่าง 1-6 เดือน ผู้ใดได้รับเชื้อปล่อยไว้จนเกิดอาการของโรค แลว้ ต้องเสียชีวติ ทุกราย อาการของโรคในคน อาการแสดงของโรค มักเป็นการอักเสบสมองและเย่ือสมอง ในระยะ 2-3 วนั แรก ผปู้ ว่ ยจะปวดเมื่อยตามเน้ือตัว มไี ข้ คนั หรือปวดบริเวณรอยท่ถี ูกกัด ทั้งๆ ท่ี แผลอาจหายเป็นปกติแล้ว ต่อมาจะหงุดหงิด กระสับกระส่าย ต่ืนเต้น ไวต่อสิ่งเร้า รอบกาย ไม่ชอบแสง ลม มีนำ้� ลายไหล กล้ามเน้ือคอกระตุก เกร็งขณะพยายามกลืน อาหารหรอื น้�ำ ทำ� ให้เกดิ อาการ “กลัวนำ�้ ” ต่อมาจะเริ่ม เพ้อคล่ัง สลบั กับอาการสงบ ชกั ผ้ปู ว่ ยบางรายอาจเป็นอมั พาต โดยมอี าการแขนขาออ่ นแรง หมดสติ และเสียชวี ิต ในท่สี ุด เนือ่ งจากส่วนท่ีสำ� คญั ของสมองถกู ทำ� ลายไปหมด 61หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค
อาการของโรคในสนุ ัขและแมว มี 2 แบบ แบ่งอาการเปน็ 2 ระยะ 1. ระยะแรกสนุ ขั /แมวจะมนี สิ ยั เปลยี่ น ไปจากเดิม 2. ระยะท่ี 2 เป็นระยะต่ืนเต้นจะมี อาการกระวนกระวาย ต่นื เตน้ ดุรา้ ย ไล่กดั คนและสตั วอ์ น่ื ทข่ี วางหนา้ แมก้ ระทงั่ กรงหรอื โซท่ ล่ี ามไว้ กลนื อาหารและนำ้� ผดิ ไป ลกั ษณะ การเคี้ยวอาหารผดิ ปกติ 3. ระยะอัมพาตจะมีน้�ำลายไหล ขากรรไกรห้อย บางตัวท�ำท่าเหมือนอะไร ติดคอ เสยี งเห่าหอนผดิ ไป เปน็ อมั พาต ลม้ ลงตาย 4. ระยะเวลาแสดงอาการไม่เกิน 10 วัน สุนัขบ้าแบบดุร้ายจะแสดงอาการ ระยะที่ 2 ยาวนาน สุนัขบา้ แบบซึมจะแสดงอาการระยะที่ 2 สัน้ มาก ทำ� ใหส้ ังเกตยากต้องระวังและนึกถงึ โรคนใี้ นกรณี สุนัขท่ีแสดงอาการ โรคพิษสุนัขบา้ แบบซมึ ไวด้ ว้ ย การรักษา ปัจจุบันยังไม่มีทางรักษาหาย แต่สามารถ ป้องกันได้ ผู้ป่วยมีชีวิตอยู่ได้นานไม่เกิน 1 สัปดาห์ และเสียชวี ิต เนอื่ งจากอัมพาตของกลา้ มเนื้อ และระบบ ทางเดนิ หายใจการรกั ษาจงึ ทำ� ไดเ้ พยี งการดแู ล ประคบั ประคอง และรกั ษาตามอาการ เทา่ ท่จี ะท�ำไดเ้ ทา่ นนั้ วิธีการดแู ลผปู้ ่วย ทำ� ได้ดงั นี้ 1. แยกผู้ปว่ ยใหป้ ราศจากสิง่ เร้าตา่ ง ๆ เช่น ห้องที่สงบ ปราศจากเสียงรบกวน แตไ่ มจ่ ำ� เปน็ ต้องปดิ ไฟ 2. ใหส้ ารอาหารแบบนำ้� เขา้ ทางเสน้ เลอื ด เนอื่ งจากผปู้ ว่ ยมกั จะกนิ อาหารไมไ่ ด้ 3. ผู้ให้การดูแล ควรใส่เส้ือผ้ามิดชิด ควรใส่แว่นตา ผ้าปิดจมูก เพื่อป้องกัน การตดิ เชือ้ จากผูป้ ่วย 62
การปอ้ งกัน การป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าที่ส�ำคัญที่สุด คือ การเสริมภูมิคุ้มกันในสุนัขซ่ึงเป็นสัตว์น�ำโรคหลัก คอื การฉดี วคั ซนี ปอ้ งกนั โรคในสนุ ขั และระวงั อยา่ ให้ ถกู สุนัขกัดหรอื แมวกดั เพราะการติดเช้อื ส่วนใหญ่ จะมาจากนำ�้ ลายสตั ว์ทีเ่ ป็นโรคอย่แู ลว้ รวมทั้งการ ควบคุมจ�ำนวนสุนัข ซ่ึงการป้องกันโรคสามารถ ทำ� ไดด้ งั น้ี 1. คนเลี้ยงสุนัขควรน�ำสุนัขทุกตัวไปรับการ ฉดี วคั ซนี ปอ้ งกนั โรคพษิ สนุ ขั บา้ เปน็ วธิ กี ารปอ้ งกนั โรค ทดี่ ที สี่ ดุ ถา้ สนุ ขั ในพน้ื ทไี่ ดร้ บั การฉดี วคั ซนี อยา่ งนอ้ ย รอ้ ยละ 75 จงึ จะปอ้ งกนั โรคพษิ สนุ ขั บา้ ในพนื้ ทไี่ ด้ 2. ให้ความรู้แก่ประชาชนท่ัวไป โดยเฉพาะ อยา่ งยงิ่ บดิ า มารดา หรอื ผปู้ กครองอย่าปล่อยให้ เด็กเล็กอยู่กับสุนัขตามล�ำพังและสอนเด็กให้รู้จัก ระมัดระวัง เมื่ออยู่ใกล้สุนัขอย่ารังแก อย่าแกล้ง อยา่ ทำ� ใหส้ นุ ขั ตกใจ สำ� หรบั ผเู้ ลยี้ งสนุ ขั ตอ้ งมคี วาม รับผิดชอบ ไม่ให้สุนัขไปกัดคน และไม่ก่อความ เดือดรอ้ น หรืออันตรายแก่ผอู้ ่นื 3. ควบคุมจ�ำนวนสุนัขไม่ให้เพ่ิมขึ้น ผู้เล้ียง สนุ ขั ควรนำ� สนุ ขั ไปรบั การคมุ กำ� เนดิ หรอื นำ� สนุ ขั ไปทำ� หมนั และไมน่ ำ� สนุ ขั ทไ่ี มต่ อ้ งการ ไปปล่อย 4. คนที่ถูกสัตว์ท่ีเสี่ยงต่อโรคพิษสุนัขบ้ากัดหรือข่วน ต้องรีบล้างแผลใส่ยา ไปหาหมอโดยเร็ว สนุ ัขท่ีกัดคนหรอื สตั วอ์ ่ืนแลว้ ตายลงภายใน 10 วัน ตอ้ งส่งหัวไป ตรวจท่ีหอ้ งปฏบิ ตั หิ รือติดต่อปศุสตั ว์ในพน้ื ที่ สอบถามข้อมูลเพม่ิ เติมไดท้ ่ี ส�ำนกั โรคตดิ ต่อท่วั ไป โทรศพั ท์ 0-2590-3183, 0-2590-3187 63หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค
โรคเลปโตสไปโรสิส “โรคเลปโตสไปโรสิส” (Leptospirosis) โรคฉีห่ นู หรอื ไข้ฉห่ี นู เป็นโรคติดตอ่ จากสตั วส์ ู่คน สามารถตดิ โรคได้ในสตั ว์หลายชนิด เชน่ สุนัข หนู โค กระบือ สุกร แพะ แกะ สัตวเ์ ลย้ี งในบา้ น เปน็ ตน้ แตพ่ บมากใน หนู ซึ่งเป็นแหล่งรงั โรคและเป็นแหล่ง แพร่กระจายเชื้อ ส่วนมากสัตว์ท่ีไวต่อการรับเชื้อ มักจะเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีอายุ น้อย หรือ ลูกสัตว์ท่ีไม่เคยได้รับภูมิคุ้มกันจากแม่มาก่อน สัตว์ที่ตงั้ ท้องมกั จะมอี าการแทง้ สาเหตขุ องโรค โรคเลปโตสไปโรสิสมีสาเหตจุ ากการตดิ เชอ้ื แบคทีเรีย ชอื่ เลปโตสไปรา่ อินเทอ โรแกนส์ (Leptospira interrogans) ซ่งึ เช้ือชนิดนี้อาศยั อยู่ในท่อหลอดไตของสตั วไ์ ด้ หลายชนดิ โดยมหี นเู ปน็ แหลง่ รงั โรคทสี่ ำ� คญั ทสี่ ดุ และสตั วอ์ น่ื ๆ ไดแ้ ก่ กระรอก กวาง และสัตว์เล้ียง เช่น สุกร หนู สนุ ขั โค กระบือ เป็นตน้ สัตวเ์ หล่าน้อี าจไม่แสดงอาการ ใด ๆ แตจ่ ะมกี ารตดิ เชอ้ื ทท่ี อ่ ไต และถกู ขบั ออกทางเยยี่ วจากสตั วท์ ม่ี เี ชอื้ ไดน้ านหลาย สัปดาห์ หลายเดอื น หรอื อาจตลอดชีวติ สัตว์ เช้อื ท่ถี ูกขบั ออกมาจะมชี วี ิตอยไู่ ดน้ าน หรอื ไม่ขนึ้ อยู่กบั ความเหมาะสมของส่ิงแวดลอ้ มต่อเชอื้ โรคน้ี มกั จะพบการระบาดใน เดือนตุลาคม ถงึ พฤศจกิ ายน เนือ่ งจากเปน็ ฤดฝู นต่อหนาว และมนี ้�ำขัง 64
การติดต่อ การติดต่อมาสคู่ น อาจตดิ ต่อโดยตรง จากการสัมผัสกับเยีย่ วหรอื อวัยวะทป่ี น เป้ือนเชื้อของสตั วน์ ำ� โรคโดยตรง หรอื ตดิ ตอ่ ทางอ้อมโดยคนไปสมั ผัสกบั นำ้� หรือดนิ ที่ ปนเปื้อนเช้อื เช้ือไชเข้าทางผิวหนังหรือเย่ือบทุ ่มี ีรอยแผล ซ่ึงคนทเ่ี สยี่ งตอ่ การตดิ เชื้อ ไดแ้ ก่ เกษตรกรผเู้ ลยี้ งสตั ว์ ชาวนา ชาวไร่ คนงานโรงฆา่ สตั ว์ กรรมกรขดุ ลอก คู คลอง สตั วแพทย์ เป็นตน้ ผู้ท่ีอยู่ในชมุ ชนแออัดการสุขาภบิ าลไมด่ ี นักท่องเที่ยวหรอื ผ้ทู ี่เดนิ ลยุ นำ้� วา่ ยน�ำ้ และล่าสตั ว์กม็ โี อกาสสัมผัสกบั โรคน้ไี ด้ อาการของโรค อาการในคนอาจแตกต่างกันออกไป ขึ้นกับ ชนดิ และปรมิ าณของเชอื้ ระยะฟกั ตวั ของโรคอาจเรว็ ภายใน 2 วัน หรอื นานถึง 26 วนั หรอื อยใู่ นชว่ ง 5- 14 วนั ผ้ทู ่ตี ดิ เช้ือหรอื ได้รบั เช้ือ อาจไมม่ อี าการ หรือมีอาการเลก็ น้อยจนกระทั่งรนุ แรง เรม่ิ ดว้ ยมไี ข้ เฉยี บพลนั หนาวสนั่ ปวดเมอ่ื ยกลา้ มเนอื้ ปวดศรี ษะ ตาแดง คล่ืนไส้ และปวดท้อง ถ้าปล่อยท้ิงไว้อาจ มอี าการ มจี ดุ เลอื ดออกตามเพดานปากหรอื ผวิ หนงั ได้ อาการปวดศรี ษะในผปู้ ว่ ยเลปโตสไปโรสสิ นนั้ มกั จะมอี าการปวดทร่ี นุ แรงและเฉยี บพลนั อาจมอี าการ ปวดเบา้ ตาและกลวั แสงรว่ มดว้ ยได้ อาการปวดเมอื่ ย กลา้ มเนือ้ มกั จะรุนแรง โดยเฉพาะที่หลังต้นขาและ น่อง บางรายอาจพบภาวะแทรกซ้อนอื่นๆตามมา ได้แก่ 65หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค
1. ตาและตวั เหลอื ง 2. ไตวาย 3. ภาวะเลือดออก ท่พี บไดบ้ ่อย ไดแ้ ก่ เลือดออกใต้ผิวหนงั เยื่อบตุ า เยื่อบุใน ทางเดินอาหาร ส่วนภาวะเลือดออกที่พบน้อยแต่รุนแรง ได้แก่ เลือดออก ในปอดหรือสมอง 4. ปอดอักเสบ 5. กล้ามเนอื้ หวั ใจอกั เสบ 6. มา่ นตาอักเสบ 7. เยอ่ื หมุ้ สมอง / สมอง / เส้นประสาทอกั เสบ และอาการทางจิต 8. ในผปู้ ่วยหญงิ มคี รรภ์ อาจทำ� ใหแ้ ท้งบุตร หรือทารกในครรภ์เสียชีวติ ได้ ผู้ป่วยที่มีพฤติกรรมเสี่ยงหลังจากย่�ำน�้ำลุยโคลนแล้วมีอาการปวดหัว ตัวร้อน ปวดเมื่อยตามตัว ให้รีบไปพบแพทย์ โดยเร็วก่อนที่เช้ือจะ ลกุ ลามไปอวยั วะสว่ นอนื่ การปอ้ งกันโรค เนื่องจากการก�ำจัดเชื้อโรคให้หมดไปจากส่ิงแวดล้อม หรือการก�ำจัดสัตว์ที่เป็นพาหะให้หมดไปเป็นไปได้ยาก ดังน้ันแนวทางการควบคุมป้องกันโรคโดยการลดโอกาส การสัมผสั กบั สง่ิ แวดล้อมทป่ี นเปื้อนเช้ือโดยตรง และการ ปรบั สภาพแวดลอ้ ม รวมถงึ การลดจำ� นวนสตั วท์ เี่ ปน็ แหลง่ รงั โรค จงึ เปน็ สง่ิ สำ� คญั การปอ้ งกนั การเกดิ โรคเลปโตสไป โรสิสอาจท�ำไดโ้ ดย 66
1. ก�ำจดั หนูพรอ้ ม ๆ กัน 2. หากจ�ำเป็นควรสวมชุดป้องกันไม่ให้เช้ือโรค เลปโตสไปโรสสิ ไชเขา้ ผวิ หนงั เชน่ รองเทา้ บูต๊ ถุงมอื ถงุ เทา้ เสอ้ื ผา้ ปิดมดิ ชดิ 3. หลีกเลยี่ งการสมั ผัสกบั สัตวท์ ่ีเปน็ พาหะของ โรคดงั กล่าว 4. หลีกเลียงการว่ายน้�ำท่ีอาจจะมีเชื้อโรค ปนเปื้อนอยู่ 5. หลีกเล่ียงไม่ไปสัมผัสเย่ียวโค กระบือ หนู สุกร และไม่ใช้แหล่งน้�ำที่สงสัยว่าอาจ ปนเปอ้ื นเชอื้ หลกี เลยี่ งอาหารทปี่ ลอ่ ยคา้ งคนื โดยไม่มภี าชนะปกปิด เป็นตน้ 6. หลกี เลยี่ งการทำ� งานในนำ�้ หรอื ตอ้ งลยุ นำ้� ลยุ โคลนเป็นเวลานาน ๆ 7. รีบอาบน�้ำ ท�ำความสะอาดร่างกายโดยเร็ว หากแชห่ รอื ยำ�่ ลงไปในแหลง่ นำ้� ทสี่ งสยั วา่ อาจ ปนเป้อื นเชอ้ื 8. กินอาหารสุกใหม่ อาหารที่เหลือใส่ภาชนะ ปดิ มดิ ชดิ ผักผลไม้ ควรล้างใหส้ ะอาดหลาย ครัง้ กอ่ นน�ำมารับประทาน สอบถามขอ้ มลู เพ่ิมเตมิ ได้ท่ี ส�ำนักโรคติดต่อทวั่ ไป โทรศพั ท์ 0-2590-3183, 0-2590-3187 67หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค
โรคเร้อื น “โรคเรอื้ น” เป็นโรคติดตอ่ เร้อื รงั ท่เี กดิ จากเชอ้ื แบคทเี รยี Mycobacterium Leprae เชื้อนี้ชอบอาศัยอยู่ในเส้นประสาท และ ผิวหนัง เมื่อร่างกายพยายามก�ำจัดเช้ือน้ี เส้นประสาทจึงถูกท�ำลายและท�ำให้เกิด อาการทางผิวหนังตามไปด้วย หากไม่รีบ รักษาท�ำให้เกดิ ความพกิ ารของมือ เท้า และ ใบหนา้ ได้ การตดิ ต่อ โรคเรื้อนสามารถติดต่อได้โดยทางเดินหายใจแต่ติดต่อได้ยาก และสามารถ ตดิ ต่อไดท้ างผวิ หนังที่แตกเป็นแผลผู้ทม่ี โี อกาสเสี่ยงสูงในการติดเชื้อโรคเรอ้ื น คือ ผทู้ ่ี สัมผัส คลกุ คลี ใกลช้ ดิ กบั ผปู้ ่วยทีย่ งั ไม่ไดร้ ับการรักษาการตดิ ต่อเชอ้ื แตห่ ากผปู้ ่วย ได้รับการรกั ษาอย่างถูกตอ้ งภายใน 7 วัน จะไมส่ ามารถแพรเ่ ช้ือไปสูผ่ อู้ น่ื อกี อาการของโรค อาการเรมิ่ แรกจะเป็นรอยโรคทางผวิ หนงั สีจางกว่าผวิ หนงั ปกติ อาจพบขนรว่ ง เหงือ่ ไม่ออก ทส่ี ำ� คัญคอื ในรอยโรคทางผวิ หนงั เหล่านจ้ี ะมอี าการชา หยิกไมเ่ จบ็ โรค เร้ือนชนิดท่ีเป็นมากจะมีผื่นนูนหนา หรือมีตุ่มขึ้นทั้งตัว โดยเฉพาะท่ีใบหูจะนูนหนา อาจมขี นควิ้ รว่ ง ไมว่ า่ ผปู้ ว่ ยในระยะเรมิ่ ตน้ หรอื ระยะทเ่ี ปน็ มากแลว้ กต็ าม ผปู้ ว่ ยเหลา่ 68
น้ีจะไม่มีอาการคัน หรือเจ็บปวดเลย ซ่ึงเป็นสาเหตุให้ผู้ป่วยชะล่าใจ คิดว่าไม่ใช่โรค รา้ ยแรง จึงไมร่ ีบมารบั การรกั ษา ลักษณะอาการทางผิวหนัง ท่ีสังเกตได้งา่ ยคือ 1. เป็นวงสีซีดจางหรือเข้มกว่าผิวหนังปกติ มีอาการชา ผวิ หนงั แหง้ เหงอื่ ไม่ออก 2. เ ป ็ น ผื่ น รู ป ว ง แ ห ว น ห รื อ แ ผ ่ น นู น แ ด ง ขอบเขตผ่ืนชัดเจน มีอาการชา บางผื่นมี สเี ขม้ เปน็ มนั บรเิ วณทพี่ บมาก คอื แขน ขา หลัง และสะโพก 3. เปน็ ตมุ่ และผน่ื นนู แดงหนา ผิวหนงั อม่ิ ฉ่�ำ เปน็ มนั ไมค่ นั ผนื่ มจี ำ� นวนมาก รปู รา่ งและ ขนาดแตกต่างกัน กระจายไปทั่วตาม สว่ นตา่ งๆ ของรา่ งกาย เชน่ ใบหนา้ ลำ� ตวั แขน และขา การด�ำเนินของโรคจะเป็นไปอย่างช้าๆ ใชเ้ วลาเปน็ ปี หากไมร่ กั ษาตงั้ แตเ่ รม่ิ เปน็ เมอื่ เสน้ ประสาทถกู ทำ� ลาย จะทำ� ใหเ้ กดิ ความพกิ ารท่ตี า มือ และเทา้ การรกั ษาโรค โรคเรอ้ื นสามารถรกั ษาใหห้ ายขาดได้ โดยกนิ ยาติดตอ่ กนั เป็นเวลา 6 เดือน หรอื 2 ปี แลว้ แต่ ระยะ และความรนุ แรงของโรค หากพบวา่ มรี อยโรค ทผี่ วิ หนงั มอี าการชา และสงสยั วา่ อาจเปน็ โรคเรอื้ น ควรรีบพบแพทย์ 69หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค
การปอ้ งกนั โรค ประชาชนทุกคนควรหม่ันดูแลผิวหนัง ถ้าเป็นโรคผิวหนังท่ีไม่คันและรักษาไม่ หายภายในเวลา 3 เดือน ให้สงสยั ไวก้ ่อนวา่ จะเป็นโรคเร้อื น โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ถ้ามี อาการชารว่ มดว้ ย ใหร้ บี ไปพบแพทยท์ ส่ี ถานบรกิ ารใกลบ้ า้ นทา่ นเพอื่ รบั การรกั ษา หรอื เมื่อพบผสู้ งสยั วา่ เป็นโรคเรอื้ น เชน่ - ผวิ หนงั เป็นวงดา่ งสีจางหรอื เข้มกว่าสีผิวปกติ ควรแนะน�ำใหไ้ ปรับการตรวจ รกั ษาใหห้ ายจากโรค ซง่ึ จะชว่ ยปอ้ งกนั ไมใ่ หเ้ กดิ ความพกิ าร และไมแ่ พรเ่ ชอื้ ไปสผู่ ้อู นื่ ดว้ ย - ผู้ปว่ ยโรคเรอ้ื นท่ีมคี วามพกิ ารเกิดขน้ึ แล้ว เมือ่ ได้รับการรักษา ก็จะสามารถ ปอ้ งกนั ไมใ่ ห้มีความพกิ ารเพ่มิ มากไปกว่าเดมิ ได้ - ส�ำหรับผู้ที่อยู่ร่วมบ้านกับผู้ป่วยจะมีโอกาสสัมผัสโรคได้ง่าย ควรไปรับการ ตรวจร่างกายปีละคร้ัง ความจริงเกยี่ วกับโรคเร้อื นทค่ี วรทราบ - ผวิ หนังเปน็ วงดา่ ง มอี าการชา ผน่ื ตุ่ม ไมค่ นั ควรรบี ไปรับการตรวจ - ผู้สัมผัสโรคร่วมบ้านกับผู้ป่วย ควรไปรับการ ตรวจรา่ งกายปีละครั้ง - ผปู้ ว่ ยทรี่ บั ประทานยาสมำ่� เสมอ จะหายจากโรค และไมแ่ พรเ่ ช้อื ไปส่ผู ู้อ่ืน - ความพิการจากโรคเร้ือนบางอย่าง ถึงแม้จะ รกั ษาโรคเรือ้ นหายแลว้ กไ็ มส่ ามารถแกไ้ ขได้ สอบถามขอ้ มลู เพม่ิ เติมไดท้ ่ี สถาบันราชประชาสมาสยั โทรศัพท์ 0-2588-3720-4 70
โรคจากมลพษิ สง่ิ แวดลอ้ ม “มลพิษ” ในความหมายของนักวิชาการด้านส่ิงแวดล้อมคือ สถานการณ์ที่ “ส่งิ แวดลอ้ ม” เปล่ียนแปลงไปจากปกติ ซ่งึ มักจะหมายถงึ การเปลย่ี นแปลงไปในทางทไ่ี มด่ ี โดยมสี าเหตจุ ากการทม่ี ี “สงิ่ แปลกปลอม” เข้าไป “ปนเป้อื น” อย่ใู นส่ิงแวดล้อม เช่น กา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ ที่มี ปรมิ าณมากในอากาศ ท�ำให้เกิดภาวะโลกรอ้ น สารตวั ท�ำละลาย ระเหย ส่งกลิน่ ฟุ้ง ภายในตกึ ทีเ่ พงิ่ ทาสีเสร็จใหม่ ๆ “สงิ่ แปลกปลอม” ทป่ี นเปอ้ื น “สง่ิ แปลกปลอม” ทป่ี นเปอ้ื นใน ในส่ิงแวดล้อม ซึ่งคนทั่วไปรู้จักดี ส่ิงแวดล้อม ท่ีคนท่ัวไปไม่ค่อยรู้จัก ได้แก่ สารเคมีท่ีใช้ในบ้าน เช่น เพราะมองไม่เห็นจับต้องไม่ได้ได้แก่ ยาฆ่าแมลง น�้ำยาล้างห้องน�้ำ เสียงดัง ขยะอันตราย เชื้อโรคสารเคมี ฝ่นุ ละออง ควันไฟ กองขยะ ในโรงงานอตุ สาหกรรม โลหะหนกั เชน่ ตะกวั่ แคดเมียม และอนื่ ๆ 71หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค
มลพิษในส่ิงแวดล้อมมีทั้งมลพิษ ในอากาศ ในน�้ำและมลพษิ ทางเสียง มลพิษในอากาศ เช่น ปัญหาจากหมอกควัน ไฟป่า ฝุ่นละอองในอากาศ ไอเสียจากรถยนต์ มลพิษทางน้�ำ เช่น ปัญหาขยะตาม ล�ำคลองต่าง ๆ ท�ำให้น�้ำในคลองมีปริมาณ ออกซิเจนต�ำ่ กว่ามาตรฐาน มีแบคทีเรียและ สารตะก่ัวเกินกว่ามาตรฐาน ปัญหาน้�ำเสียท่ีปล่อยลงแม่น�้ำโดยไม่ได้บ�ำบัดก่อนจาก โรงงานต่างๆ ริมฝั่งแม่น�้ำ น�้ำเสียเหล่าน้ีจะไหลลงสู่แม่น้�ำและทะเลเกิดการสะสม เปน็ พษิ นอกจากจะเปน็ ภยั โดยตรงตอ่ ผบู้ รโิ ภคแลว้ ยงั ทำ� ใหส้ ตั วน์ ำ�้ ตายจนอาจถงึ ขน้ั สูญพันธุ์ และคนท่ีจับสัตว์น้�ำหรือสัตว์ทะเลที่ได้รับสารพิษน้ันมาบริโภค ก็อาจเป็น อันตรายดว้ ย (ดังท่เี คยเกิดข้นึ แล้วในญีป่ นุ่ และเป็นทท่ี ราบกันในวงการแพทยท์ วั่ โลก ทพ่ี บเนือ้ ปลามพี ษิ จากสารปรอทที่ปลอ่ ยจากโรงงาน) มลพษิ ทางเสียง เช่น เสยี งจากรถยนตบ์ น ทอ้ งถนน เสยี งจากเรอื หางยาว และเสยี งในสถาน เริงรมยห์ ลายๆแหง่ ท่ีมีเสียงดงั ระดบั 108–120 เดซิเบล ซึง่ เปน็ เสยี งท่ดี ังเกินมาตรฐาน และเปน็ อนั ตรายตอ่ ประสาทหู ทำ� ใหห้ งดุ หงดิ เครยี ด เปน็ อนั ตรายตอ่ ระบบประสาท กลา้ มเนอื้ หลอดเลอื ด เลก็ ๆ บรเิ วณมอื และเท้า ซึง่ องคก์ ารอนามัยโลก กำ� หนดมาตรฐานเสียงไม่ควรดงั เกิน 85 เดซิเบล 72
อาการ “มลพษิ ” อาจทำ� ใหค้ นเจบ็ ปว่ ยได้ ทงั้ เฉยี บพลนั และเรอ้ื รงั สง่ิ แปลกปลอมทก่ี อ่ มลพษิ กับสิ่งแวดลอ้ ม สามารถเข้าสูร่ ่างกายผู้คนทั่วไปได้ 3 วิธี ได้แก่ • กนิ หรอื ดม่ื (ทางปาก) เชน่ ดม่ื นำ�้ จากลำ� คลองทม่ี ตี ะกวั่ ปนเปอ้ื นเปน็ ปรมิ าณ มาก กนิ อาหารทไี่ มไ่ ดล้ า้ งเอายาฆา่ แมลงหรือเชอื้ โรคออกกอ่ น • หายใจ (ทางจมูกและปาก) เช่น สูดหายใจเอาอากาศที่มีควันไฟ และ ฝ่นุ ละอองขนาดจ๋วิ เข้าสูป่ อด • ดูดซึมเข้าทางผิวหนัง เช่น พ่นสีรถยนต์โดยไม่ใส่ถุงมือ ใช้มือเปล่ากวน ยาฆ่าแมลงในกระป๋องกอ่ นน�ำไปฉีดพ่น เดนิ เท้าเปล่าบนถนนที่ถมดว้ ยซาก แบตเตอร่ีเกา่ ซง่ึ เปน็ แหลง่ สะสมตะกัว่ ปรมิ าณมาก ความเจ็บป่วยจากมลพิษจะค่อยๆเกิดข้ึนตามล�ำดับ สิ่งแปลกปลอมท่ีอยู่ใน สิ่งแวดล้อมมีจ�ำนวนมาก แม้กระทั่งในบ้านเรือนหรือชุมชนบริเวณใกล้โรงงาน ผู้ท่ี อาศัยอยู่ในอาคาร ก็สามารถรับสิ่งแปลกปลอมเข้าสู่ร่างกายได้ ไม่ว่าทางปาก การหายใจ หรอื ซมึ เขา้ ทางผวิ หนงั สงิ่ แปลกปลอมทเ่ี ขา้ สรู่ า่ งกายคนเราอาจมไี ดห้ ลาย รูปแบบอาทิเช่น 1. ส่งิ แปลกปลอม ทีเ่ ร่มิ สะสมในรา่ งกาย แตย่ งั ไม่ทำ� ใหเ้ จ็บป่วย 2. รา่ งกายพยายามขบั สิง่ แปลกปลอมออกไป แต่ยงั ไมม่ อี าการเจบ็ ปว่ ยใหเ้ ห็น 3. ร่างกายไมส่ ามารถขบั สง่ิ แปลกปลอมออกได้ แล้วเกิดอาการ “เป็นพษิ ” 4. มอี าการเจ็บปว่ ยมาก จนเหน็ ได้ชัด บางครงั้ อาจถึงขั้นเสยี ชีวติ 73หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค
นอกจากน้ีความเจ็บป่วยจากมลพิษ อาจเกิดขึ้นในระยะเวลาไม่นานหลังจาก สงิ่ แปลกปลอมทปี่ นเปอ้ื นอยใู่ นสง่ิ แวดลอ้ มเขา้ สรู่ า่ งกาย เรยี กวา่ เกดิ “พษิ เฉยี บพลนั ” หรอื ความเจบ็ ปว่ ยจากมลพษิ อาจเกดิ ขน้ึ อกี นานหลงั จากสง่ิ แปลกปลอมเขา้ สรู่ า่ งกาย เรียกวา่ “พิษเรื้อรัง” โดยทั่วไปแลว้ “มลพิษ”อาจทำ� ใหเ้ กิด - พษิ เฉยี บพลัน อย่างเดียว แตไ่ มเ่ กิดพิษเรอื้ รงั - พษิ เรอื้ รงั อยา่ งเดยี ว แตไ่ มเ่ กดิ พษิ เฉยี บพลนั หรอื มอี าการนอ้ ยมากจนไมท่ นั รสู้ กึ - พษิ เฉียบพลนั ในช่วงแรก และพษิ เรื้อรงั ในเวลาอีกนาน มลพิษในสิ่งแวดล้อมมีอยู่หลายประเภท เมื่อรุนแรงก็ก่อให้เกิดความเจ็บป่วย รนุ แรงและจำ� นวนมาก แตใ่ นระดบั ทไ่ี มร่ นุ แรง กจ็ ะทำ� ใหเ้ กดิ ความเจบ็ ปว่ ยเรอื้ รงั หรอื ประปราย ตอ้ งใชก้ ารสงั เกตและติดตามรวบรวมขอ้ มูลเปน็ เวลานาน จงึ จะเหน็ ความ ผิดปกติในชุมชนที่ได้รับผลกระทบ เราจึงควรตระหนักและใส่ใจ ช่วยกันลดมลพิษ ในสง่ิ แวดลอ้ มทุกทางอยา่ งสมำ่� เสมอ สอบถามขอ้ มูลเพมิ่ เตมิ ได้ที่ ส�ำนกั โรคจากการประกอบอาชพี และส่ิงแวดลอ้ ม โทรศัพท์ 0-2590-4393 74
โรคจากเชอ้ื รา “เช้ือรา” เป็นเชื้อท่ีพบในธรรมชาติสามารถพบ ได้ท้ังในบ้านและนอกบ้าน หน้าที่ส�ำคัญของเช้ือรา นอกบา้ นคอื การสลายของเสยี เชน่ ใบไม้ ตน้ ไม้ หรอื ขยะ ส่วนเช้ือราท่ีมักพบในบ้าน เช่น ผนัง ฝ้าเพดาน พ้ืนไม้ ใต้พรม วอลล์เปเปอร์ ดา้ นในของท่อแอร์ โครงผนังเครือ่ งปรบั อากาศ ตู้เสื้อผ้า เสื้อผ้า หนังสือ ฟูก เตียง หมอน เครอ่ื งหนงั ในหอ้ งนำ�้ หอ้ งครวั รอ่ งยาแนวกระเบอื้ ง ม่านพลาสติก กระจกเงา ซิลิโคน ยาแนวต่าง ๆ ปลอกไฟเบอร์ เสื่อน�้ำมัน กระเบื้อง ยาง ผ้าม่าน เป็นต้น ซึ่งเชื้อราท่ีพบเหล่านี้สามารถสร้าง สารพิษ Toxin หรือตวั เชื้อราสร้างสปอรท์ �ำใหเ้ กิดโรค ภมู ิแพ้ เชน่ โรคหอบหดื ไซนสั อักเสบเป็นต้น ผลเสยี ต่อสขุ ภาพจากเช้ือรา ส�ำหรับผู้ที่แพ้เช้ือราเม่ือได้สัมผัสเชื้อราท้ังทางสัมผัส การสูดดมหากไม่ก�ำจัด อาจกอ่ ใหเ้ กดิ ผลเสยี ต่อสขุ ภาพและอาจจะก่อให้เกดิ ปฏกิ ิริยาภูมิแพต้ า่ งๆ เช่น • แพห้ ญ้า Hay fever หอบหืด ผื่นแพ้ ตาอักเสบ เจบ็ คอ น�้ำมกู ไหล • ปฏกิ ริ ยิ าภมู แิ พ้ Allergic Reactions เมอ่ื ไดร้ บั สปอรไ์ ดแ้ ก่ อาการ ไข้ บางคน มอี าการจาม นำ้� มกู ไหล หากสมั ผสั บอ่ ย ๆ กอ็ าจจะเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าภมู แิ พห้ นกั ถงึ กบั เสยี ชวี ิต 75หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค
• โรคหอบหดื • ปอดอักเสบจากภูมแิ พ้ Hypersensitivity Pneumonitis • กอ่ ให้เกิดระคายเคอื งตอ่ ตา จมูก หลอดลม ท�ำให้เกิดอาการปวดแสบปวดร้อน • ก่อใหเ้ กดิ การแพแ้ ละเป็นผนื่ ลมพิษ การปอ้ งกนั และก�ำจัดเชื้อรา เนื่องจากเราจะพบเช้ือราได้ตามธรรมชาติ เราไม่สามารถก�ำจัดได้หมด แตเ่ ราสามารถปอ้ งกนั มใิ หเ้ ชอื้ เจรญิ เตบิ โตโดยการควบคมุ ความชน้ื ในบา้ น เมอ่ื พบเชอื้ ราในบา้ น ตอ้ งรบี กำ� จดั และหาสาเหตโุ ดยเฉพาะความชนื้ หากไมแ่ กไ้ ขกจ็ ะเกดิ เชอื้ รา ข้นึ ใหม่ การป้องกนั ตัวเองระหวา่ งการก�ำจัดเชือ้ รา 1. สวมหนา้ กากอนามยั ซ้อนทับกนั 2 ชัน้ หรอื สวมหนา้ กากอนามยั ชนดิ N95 เพ่ือป้องกันการหายใจเอาเชื้อราเข้าไป หน้ากากผ้าหรือฟองน้�ำไม่เพียงพอ ต่อการป้องกนั 2. ใสถ่ งุ มอื ยาง รองเทา้ ยาง เพอ่ื ปอ้ งกนั เชอื้ มาสมั ผสั โดยเฉพาะคนทมี่ บี าดแผล ทมี่ อื และเท้า 3. ใสแ่ วน่ ตาปอ้ งกนั เชอื้ กระเดน็ เขา้ ตา ควรเปน็ แวน่ ชนดิ ครอบตาทไี่ มม่ รี รู ะบาย อากาศ 76
หลกั การและวิธีท�ำความสะอาด 1. แยกพื้นที่ที่จะท�ำความสะอาดให้อยู่ใน วงจ�ำกัดในมุมหน่ึงของบ้านและควรท�ำนอกอาคาร ถา้ เป็นไปได้ 2. ในกรณีท่ีวัสดุนั้นๆ ยากแก่การท�ำความ สะอาดหรอื มรี พู รนุ มาก มเี ชอื้ รามาก ใหค้ ดั แยกวสั ดุ นั้นท้งิ ไปตัวอยา่ งเช่น กระดาษ ฉนวน พรม รองพ้นื พรม ฝา้ เพดานยิบซมั ฝา้ ผนัง ผลติ ภณั ฑ์ไมท้ ีบ่ ดอัด ขน้ึ รปู เปน็ ตน้ ในการทงิ้ ตอ้ งหอ่ ดว้ ยพลาสตกิ กนั การ ฟงุ้ กระจายของสปอรร์ าด้วย 3. พงึ ตระหนกั วา่ การเชด็ ลา้ งเปน็ การทำ� ความ สะอาดพื้นผิว แต่อาจจะยังไม่สามารถท�ำให้เชื้อรา ตายได้ จึงควรใช้สารฆ่าเชื้อราเพ่ือให้ม่ันใจในการ หยุดย้ังการท�ำอันตรายต่อสุขภาพ เชื้อราท่ีตายไป แลว้ ยงั คงสามารถก่อใหเ้ กดิ ปัญหาสขุ ภาพเชน่ กันซงึ่ เป็นผลจากการผลติ สารพษิ ของเชอ้ื รา 4. เฝ้าระวงั การเกิดราใหม่เสมอ ท�ำซ้�ำหากผล ยงั ไมเ่ ปน็ ทพ่ี อใจ และตอ้ งลดกจิ กรรมใด ๆ ทจ่ี ะทำ� ให้ มคี วามชนื้ อยใู่ นอากาศนาน ๆ เชน่ การตากผา้ ในบา้ น การต้มน้�ำ ท�ำกับข้าวภายในบ้านการปิดเครื่อง ปรบั อากาศแลว้ เปิดหนา้ ต่างทันที เป็นต้น 5. กรณีพน้ื ผวิ วัสดทุ ่ีขน้ึ รา มีสภาพแหง้ และรา มลี ักษณะฟู เหน็ เส้นใยโผลอ่ อกมา ต้องระวังห้ามใช้ ผา้ แหง้ เช็ด เพราะสปอรข์ องราจะฟุ้งกระจายได้ และ ไม่ควรเปิดพดั ลม เพราะแรงลมจะยง่ิ ทำ� ให้สปอรข์ อง ราฟงุ้ กระจายไดง้ า่ ยขนึ้ ใหใ้ ชก้ ระดาษทชิ ชเู นอื้ เหนยี ว แผน่ หนาและขนาดใหญ่ ๆ จะดีมากพรมนำ้� ให้เปียก เลก็ นอ้ ย (หรอื ใชก้ ระดาษหนงั สอื พมิ พก์ ไ็ ด)้ ชบุ นำ้� พอ หมาด ๆ เชด็ พน้ื ผวิ โดยใหเ้ ชด็ จากลา่ งขนึ้ บน หรอื จาก 77หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค
ซ้ายไปขวา หรือขวาไปซ้ายก็ได้ แต่ต้องเช็ด ไปทางเดยี วเท่านน้ั ห้ามเชด็ ยอ้ นไปมา เชด็ แล้วทิ้งเลย ไม่เช็ดซ�้ำถูไปถูมา ไม่ต้อง ประหยดั เพราะจะทำ� ใหม้ นั หลดุ ออกไมห่ มด (หลุดไปแลว้ กลบั มาตดิ ใหม)่ กระดาษท่เี ช็ด นี้ควรรวบรวมใส่ถุงขยะขนาดใหญ่ และ ระมัดระวังในการขยับปากถุงอย่างแผ่วเบา เพอ่ื ไมใ่ หส้ ปอรข์ องราฟงุ้ กระจายงา่ ยจากลม กระพอื ขณะเปิดปิดปากถงุ 6. ผสมนำ้� กบั สบู่ แลว้ เชด็ ซำ้� แบบเดมิ อกี ไมแ่ นะนำ� ใหใ้ ช้ ผงซักฟอกเพราะหลังการซักล้างจะสร้างปัญหาน้�ำเสียตามมา เนื่องจากส่วนผสมในผงซักฟอกจะมีแป้งและซัลเฟตท่ีเป็น อาหารของเช้อื รา 7. การเชด็ ครัง้ ที่ 3 น้ีให้ผสมน้�ำยาฆ่าเชื้อราเชด็ จะเช็ด ซำ้� ไปมากไ็ ด้ นำ�้ ยาทมี่ ฤี ทธใิ์ นการฆา่ เชอื้ ราไดม้ หี ลายชนดิ ควร ใช้ใหถ้ กู ชนดิ กับวัสดุ สอบถามข้อมลู เพิ่มเติมไดท้ ่ี สำ� นกั โรคจากการประกอบอาชพี และส่ิงแวดล้อม โทรศพั ท์ 0-2590-4393 78
ปญั หาหมอกควนั “หมอกควัน” หมายถึง การสะสมของควันหรือฝุ่น ละอองในอากาศ สาเหตสุ ำ� คญั ทท่ี ำ� ใหเ้ กดิ ปญั หาหมอกควนั คือการบุกรุกเผาท�ำลายป่าไม้เพื่อประโยชน์ของบุคคลและ กลุ่มบุคคล และการเผาท่ีมีมากเกินไปจนควบคุมไม่ได้ ประกอบกบั การเผาเศษวสั ดทุ างการเกษตรเพอ่ื เตรยี มพนื้ ท่ี ในการท�ำการเกษตรในฤดูกาลต่อไป รวมทั้งการเผาเพ่ือ ก�ำจัดขยะบริเวณชานเมืองและในตัวเมืองก็มีส่วนส�ำคัญที่ ทำ� ให้เกดิ ปญั หาหมอกควันได้เชน่ กนั ในพ้ืนท่ีภาคเหนือโดยเฉพาะในพ้ืนที่จังหวัดเชียงใหม่และล�ำพูนที่มีลักษณะ ภมู ปิ ระเทศเปน็ แอง่ กระทะ เมอื่ เกดิ การสะสมของมลพษิ ประจวบกบั ความกดอากาศ สูงหรือมวลอากาศเย็นค่อนข้างแรงจากประเทศจีนแผ่ลงมาปกคลุม อุณหภูมิและ ความชื้นท�ำให้เกิดหมอกในตอนเช้า เม่ือหยดน�้ำในอากาศรวมตัวกับฝุ่นละอองและ 79หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค
สารมลพษิ ในอากาศจงึ เกดิ หมอกควนั หรอื smog (smoke+ fog) ขนึ้ ทำ� ใหเ้ กดิ สภาพ ฟ้าหลัวเหมอื นมหี มอกควนั ปกคลุมไปท้งั เมือง ผลกระทบต่อสุขภาพจากปัญหาหมอกควนั หมอกควันจัดเป็นมลพิษทางอากาศ อย่างหนึ่ง ซ่ึงมีผลกระทบต่อสุขภาพของ ประชาชน โดยเฉพาะผู้ที่มีภูมิต้านทานต�่ำ เช่น ผู้สูงอายุ เดก็ เลก็ และผปู้ ่วยโรคระบบ ทางเดินหายใจ ความเป็นอันตรายของฝุ่น ละอองต่อสุขภาพข้ึนอยู่กับขนาดของฝุ่น ละอองที่เกิดจากการเผาไหม้ ความเข้มข้น และระยะเวลาทสี่ มั ผสั รวมทง้ั สภาพรา่ งกาย ของผรู้ บั แต่ละคนด้วย ฝุ่นควนั หรอื ฝุน่ ขนาด ทเี่ ลก็ กวา่ 10 ไมครอนทเ่ี กดิ จากการเผาไหม้ จะสง่ ผลกระทบ ทำ� ใหม้ อี าการทางระบบทาง เดินหายใจ ทางผวิ หนัง อาการทางตา ท�ำให้ เกดิ โรคหวั ใจมากขนึ้ ดว้ ย โดยฝนุ่ จะเขา้ ไปยงั ปอดในถงุ ลม เมอ่ื สง่ิ แปลกปลอมเขา้ ไป ทำ� ใหเ้ มด็ เลอื ดขาวเขา้ ไปกำ� จดั สง่ิ แปลกปลอม น้ี และเกดิ การอกั เสบในหลอดเลอื ดได้ กอ่ ให้เกิดอันตรายตอ่ ปอด เชน่ การอักเสบ ของถงุ ลมปอด และบางรายอกั เสบมากจนท�ำใหเ้ กดิ การหายใจล�ำบากจนถงึ ขนั้ วกิ ฤต หรอื อาจท�ำใหห้ ลอดเลอื ดหัวใจอักเสบได้ ซึ่งฝนุ่ ควันที่เกดิ จากการเผาไหม้ในบรเิ วณ ภาคเหนอื กท็ �ำใหเ้ กิดอาการไดเ้ ช่นเดียวกันกับฝนุ่ ควันจากท่อไอเสียรถยนต์ใน กทม. 80
คำ� แนะนำ� การปฏิบัตติ นเพื่อลดผลกระทบต่อสขุ ภาพ 1. ควรปิดประตู หน้าต่าง เพ่อื ปอ้ งกันไมใ่ หห้ มอกควันลอยเข้าสู่บ้าน 2. หลกี เลย่ี งการออกจากบ้านโดยไมจ่ �ำเป็น 3. ก่อนออกจากบ้านควรสวมแวน่ ตา เพื่อปอ้ งกันการระคายเคืองตา 4. สวมหน้ากากอนามัยหรือใช้ผ้าชุบน้�ำหมาด ๆ ปิดจมูกและปาก เพื่อ หลีกเล่ียงการสูดดมละอองควันไฟเข้าสู่ร่างกายโดยตรง และลดปริมาณ การสดู ดมควันพิษจากฝุ่นละอองเขา้ สู่รา่ งกาย 5. หากมอี าการผดิ ปกตหิ ลงั จากสดู ดมฝนุ่ ละอองหมอกควนั เชน่ แนน่ หนา้ อก หายใจติดขดั แสบตา ให้รีบไปพบแพทย์ทันที 6. ในช่วงที่มีสถานการณ์หมอกควัน ควรงดการรองน้�ำฝนมาใช้เพื่อการ อปุ โภคบรโิ ภคชัว่ คราว 7. หลีกเล่ียงการเผาขยะหรอื วสั ดุใด ๆ รวมถงึ การสบู บุหรที่ ่ีจะเป็นการเพมิ่ ปญั หาควนั มากข้นึ 8. หลีกเลี่ยงการออกก�ำลังกายหรือกิจกรรมที่ต้องออกแรงมากในบริเวณ กลางแจง้ 9. หากขับข่ียานพาหนะในช่วงที่มีหมอกควันควรเปิดไฟหน้ารถเพ่ือป้องกัน อบุ ัติเหตุ 10. ประชาชนกลมุ่ เสย่ี งหรอื มโี รคประจ�ำตวั เรือ้ รัง ควรเตรยี มยาประจ�ำตัวให้ เพยี งพอ และหากเกดิ ปัญหาสขุ ภาพควรพบแพทย์ สอบถามข้อมลู เพิ่มเตมิ ได้ท่ี สำ� นกั โรคจากการประกอบอาชพี และส่ิงแวดลอ้ ม โทรศัพท์ 0-2590-4393 81หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค
ปัญหาจากการประกอบอาชีพและการทำ� งาน “โรคจากการประกอบอาชพี ” (Occupational Diseases) หมายถึง โรคหรอื ความเจบ็ ปว่ ยทเี่ กดิ ขนึ้ กบั ผปู้ ฏบิ ตั งิ าน โดยมสี าเหตหุ ลกั มาจาก การสัมผัสสิ่งคุกคาม หรือสภาวะแวดล้อมในการท�ำงานที่ไม่เหมาะสม โดยท่ีอาการของความเจ็บปว่ ยนน้ั ๆ อาจเกดิ ขึน้ กบั ผู้ปฏบิ ตั งิ านในขณะ ท�ำงาน หรือหลังจากการท�ำงานเป็นเวลานานเช่น โรคพิษตะก่ัว โรคซลิ โิ คสสิ โรคพษิ สารตวั ทำ� ละลาย โรคผวิ หนงั จากการประกอบอาชพี และการบาดเจบ็ จากการทำ� งาน เป็นต้น “โรคจากการทำ� งาน” (Workrelated Diseases) หมายถงึ โรคหรอื ความเจบ็ ปว่ ยทเ่ี กดิ ขนึ้ กบั ผปู้ ฏบิ ตั งิ าน โดยมสี าเหตุปจั จยั หลายอยา่ งประกอบกนั และสาเหตุ ทีเ่ กยี่ วข้องกับงานเป็นปัจจัยหนึ่งของการเกิดโรค ได้แก่ สภาวะแวดล้อมการท�ำงานท่ีไม่เหมาะสม ลักษณะ ท่าทางการท�ำงานท่ีไม่ถูกต้อง สภาพของงานที่ต้อง ปฏิบัติอย่างไม่เหมาะสม โดยปัจจัยท่ีเกี่ยวกับงาน อาจจะเป็นสาเหตุเริ่มต้น หรือท�ำให้อาการรุนแรง มากขึ้น เช่น โรคกระเพาะอาหาร โรคหัวใจขาดเลือด โรคทางเดินหายใจอุดตันเรื้อรัง โรคความดันโลหิตสูง 82
การบาดเจบ็ ของกลา้ มเนอ้ื เปน็ ตน้ โรคทเ่ี กดิ จากการทำ� งานสว่ นมากไมส่ ามารถรกั ษา ไดแ้ ละอาจทำ� ให้มคี วามพกิ ารหลงเหลืออยูห่ ลังการรกั ษา อนั ตรายของโรคจากการประกอบอาชีพและแนวทางป้องกนั 1. อันตรายจากปจั จัยทางเคมี จากการใชส้ ารเคมี โดยเฉพาะสารเคมีกำ� จัดศัตรูพืช ซึ่งจะส่งผลกระทบตอ่ สขุ ภาพทงั้ ในระยะสนั้ และระยะยาว อาการทเี่ กดิ ขนึ้ แตกตา่ งกนั ตงั้ แตอ่ าการเลก็ นอ้ ย จนรนุ แรงถงึ แกช่ วี ิต ข้ึนอยู่กบั ชนิดปรมิ าณ และทางเข้าสู่รา่ งกายของสารเคมี การปอ้ งกนั ไดแ้ ก่ การไมใ่ ชส้ ารเคมที มี่ พี ษิ รา้ ยแรง การลดหรอื หลกี เลย่ี งการ ใชส้ ารเคมโี ดยไมจ่ ำ� เปน็ ศกึ ษาวธิ กี ารใชส้ ารเคมใี หเ้ ขา้ ใจกอ่ น และใชอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งตาม ค�ำแนะน�ำ สวมอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสมเมื่อใช้สารเคมี ฯลฯ ขณะทำ� งานควรหลีกเลยี่ งการสูดหายใจฝุ่นต่าง ๆ โดยการสวมอปุ กรณป์ อ้ งกนั ระบบ ทางเดินหายใจ 2. อันตรายจากปจั จัยทางชีวภาพ อันตรายจากปัจจัยทางชีวภาพและมี ความเสยี่ งสงู ตอ่ โรคตดิ ตอ่ จากสตั วส์ คู่ นยกตวั อยา่ ง เชน่ โรคฉห่ี นหู รอื เลปโตสไปโรซสิ ซง่ึ มรี ายงานการ ปว่ ยสงู เม่อื เทยี บกบั โรคอ่นื ไข้หวดั นกซง่ึ เป็นโรคท่ี มีอัตราการป่วยตายสูงเช่นกัน นอกจากน้ียังมีโรค อน่ื ๆ เช่น โรคแอนแทรกซ์ พยาธิ การตดิ เชื้อโรค ท่วั ไป รวมถงึ การบาดเจ็บจากการถกู สัตวร์ ้ายกัด งูหรอื สัตว์มีพษิ กดั ตอ่ ย 83หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค
การป้องกัน ได้แก่ การปรับเปลี่ยน พฤติกรรมเสี่ยง หลีกเล่ียงการสัมผัสโดยตรง และสวมอปุ กรณป์ อ้ งกนั เชน่ หนา้ กาก แวน่ ตา ปอ้ งกนั ละออง เสอ้ื คลมุ ถงุ มอื และรองเทา้ บตู๊ ฯลฯ ทุกคร้ังที่ต้องสัมผัสกับสัตว์ท่ีเป็นพาหะ ไมเ่ ขา้ ไปในบรเิ วณทมี่ สี ตั วป์ ว่ ยหรอื สงสยั วา่ จะ ปว่ ยเปน็ โรค ลา้ งมอื ทนั ทแี ละอาบนำ้� ภายหลงั การทำ� งาน รวมทงั้ การควบคมุ สตั ว์เลย้ี งไมใ่ ห้ เป็นพาหะของโรค 3. อันตรายจากปจั จัยทางกายภาพและเออร์โกโนมคิ ส์ ทา่ ทางและสภาพการทำ� งานทไี่ มเ่ หมาะสมอาจทำ� ใหเ้ กดิ ปวดหลงั ปวดกลา้ มเนอ้ื และอาการบาดเจบ็ ของกลา้ มเนอื้ และขอ้ อน่ื ๆ ซง่ึ เปน็ ปญั หาสขุ ภาพทม่ี กั เกดิ ขน้ึ กลมุ่ ผใู้ ชแ้ รงงานเปน็ สว่ นใหญ่ การทำ� งานในที่มีอากาศรอ้ นท�ำใหเ้ กดิ การเสยี นำ�้ จากเหง่ือ ออกมากเกนิ ไป อ่อนเพลยี เปน็ ลมและหมดสตไิ ด้ การปอ้ งกนั ได้แก่ การหลกี เลย่ี งหรือไม่ท�ำงานในทา่ ก้ม หรอื เอี้ยวตวั มาก ๆ ทจี่ ะทำ� ใหเ้ กดิ อนั ตรายได้ ไมค่ วรยกของหนกั เกนิ ไปและควรหาคนหรอื อปุ กรณช์ ว่ ยยก การดื่มน้�ำให้เพยี งพอเพือ่ ป้องกนั การสูญเสียน้�ำจากอากาศรอ้ น ฯลฯ 84
4. อันตรายจากปัจจยั ทางจติ วิทยาสงั คม ความเครยี ดจากการประกอบอาชพี มกั เกดิ จากปัจจัยทางเศรษฐกิจ เช่น จากราคาผลผลิต ตกต�่ำ ไม่ได้ผลผลิตตามที่คาดหวังไว้จนเป็นหน้ี ท้งั ในและนอกระบบ ซึ่งอาจเป็นสาเหตุท�ำใหเ้ กดิ อาการซึมเศร้าหรือพยายามฆ่าตัวตาย หรือส่ง ผลกระทบต่อสุขภาพร่างกาย เช่น อาจป่วยเป็น โรคกระเพาะ โรคความดันโลหติ สูง เป็นต้น การป้องกัน ได้แก่ การจัดการปัญหาด้าน สังคมเศรษฐกิจ โดยรัฐบาลควรมีการก�ำหนด นโยบายที่เอ้ือท้ังในด้านการผลิต และการตลาด ให้เกษตรกรหรือผู้ใช้แรงงานมีรายได้เพียงพอ สำ� หรับการเลย้ี งชพี ของครอบครวั โรคจากการทำ� งานและแนวทางการป้องกัน (1) การป้องกนั เพ่อื ไม่ให้เกดิ โรค (disease prevention) ท�ำไดโ้ ดยการกำ� จดั สง่ิ คกุ คามออก การทดแทนสงิ่ คกุ คามดว้ ยสง่ิ ทป่ี ลอดภยั กวา่ การลดการใช้ การแกไ้ ข ท่ีสิ่งแวดล้อมในงาน โดยการควบคุมท้ังท่ีแหล่งก�ำเนิด หรือควบคุมท่ีทางผ่าน หรือ ควบคมุ ที่ตวั บุคคล จะโดยการแก้ไขดว้ ยวธิ กี ารทางวิศวกรรมหรอื ดว้ ยวิธีการทางการ บริหารจดั การ (administrative control) ก็ได้ (2) การส่งเสริมสุขภาพหรือการสร้าง เสรมิ สขุ ภาพ (health promotion) ท�ำได้โดยการ ใชว้ ธิ ีการต่าง ๆ เพ่ือท�ำให้คนนัน้ มีสุขภาพแข็งแรง ยงิ่ ขนึ้ ไปอกี ตวั อยา่ ง เชน่ การออกกำ� ลงั กายในคน ทำ� งานยกของหนกั คนกลมุ่ นม้ี โี อกาสเกดิ การบาด เจบ็ ตอ่ กระดกู และกลา้ มเนอื้ ไดม้ าก โดยหวงั จะให้ เพ่ิมความแข็งแรง ทนทาน ยืดหยุ่น และท�ำให้มี ขนาดมัดกล้ามเน้ือที่ใหญ่ขึ้น จะช่วยท�ำให้ความ เสย่ี งตอ่ การเปน็ โรคกระดกู และกลา้ มเนอื้ จากการ ท�ำงานลดลงได้ นอกจากการออกก�ำลังกายแล้ว 85หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค
การกนิ อาหารทส่ี ะอาดและมปี ระโยชน์ การใหพ้ กั อาศยั อยใู่ นสง่ิ แวดลอ้ มทม่ี อี ากาศดี ก็จดั วา่ เปน็ การสง่ เสรมิ สขุ ภาพได้เช่นกัน (3) การตรวจหาความผดิ ปกตใิ หพ้ บ (early detection) โรคจากการทำ� งานบาง อย่างน้ัน แม้ว่าจะยังไม่มีอาการและอาการแสดงของโรคเกิด แต่หากสามารถตรวจ พบตง้ั แตร่ ะยะแรก และรบี เขา้ ไปดำ� เนนิ การแกไ้ ข กจ็ ะทำ� ใหส้ ามารถปอ้ งกนั ไมใ่ หป้ ว่ ย จนมอี าการได้ ตวั อยา่ งเชน่ การตรวจสมรรถภาพการไดย้ นิ ในคนทที่ ำ� งานสมั ผสั เสยี งดงั หากตรวจพบวา่ ความผดิ ปกตติ ง้ั แตร่ ะยะแรก กจ็ ะชว่ ยนำ� ไปสกู่ ารปรบั ปรงุ เพอ่ื ลดการ สัมผัสเสียงดังในท่ที ำ� งาน ท�ำให้ป้องกันอาการหูตงึ จากการทำ� งานสมั ผสั เสยี งดงั ได้ (4) การวนิ จิ ฉยั และรกั ษาอยา่ งรวดเรว็ (early treatment) เมอื่ เกดิ มอี าการของ โรคเกดิ ขน้ึ แลว้ การตรวจพบและวนิ ิจฉยั ตงั้ แต่ระยะเริ่มแรกน้นั ทำ� ให้สามารถรกั ษา โรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ โอกาสการรักษาหายก็มักจะมีมากกว่าการตรวจพบใน ระยะรุนแรง ความยงุ่ ยาก ผลแทรกซอ้ น การเกิดภาวะทพุ พลภาพ และค่าใชจ้ า่ ยใน การรักษาก็มักจะน้อยกว่า เราจึงถือว่าการตรวจวินิจฉัยโรคและรักษาให้ได้อย่าง รวดเรว็ น้นั กเ็ ปน็ การป้องกันเช่นกนั กลา่ วโดยสรุป กค็ ือ โรคจากการประกอบอาชพี เปน็ โรคหรอื ความเจ็บป่วยทม่ี ี สาเหตุมาจากปัจจัยภายนอก แต่ถ้ามีสาเหตุจากปัจจัยส่วนตัวร่วมกับสภาพและ สงิ่ แวดลอ้ มจากการท�ำงานทท่ี ำ� ใหอ้ าการของโรคมากขนึ้ หรอื เกดิ ความผดิ ปกตชิ ดั เจน ยงิ่ ขึ้น ถอื เปน็ กล่มุ โรคจากงาน สอบถามขอ้ มูลเพ่ิมเติมไดท้ ่ี ส�ำนกั โรคจากการประกอบอาชพี และสงิ่ แวดล้อม โทรศัพท์ 0-2590-4393 86
โรคพษิ จากสารกำ� จัดศัตรูพืช “โรคพิษจากสารก�ำจัดแมลงศัตรูพืช” ถือเป็นโรคและการเจ็บ ป่วยที่เกิดจากการประกอบอาชีพอย่างหนึ่ง เกิดจากการได้รับสัมผัส สารปอ้ งกนั ก�ำจัดแมลงศัตรูพืชเขา้ สู่ร่างกาย ท้งั ทางปาก ผิวหนัง และ การหายใจ ปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นเนื่องจากสารเคมีก�ำจัดศัตรูพืช เป็น ปญั หาใหญแ่ ละรนุ แรงมากของสงั คมไทย ซงึ่ หนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งและ สังคมไทยยังขาดความตระหนักร่วมกันอย่างเพียงพอ โดยเฉพาะ ผลกระทบต่อเกษตรกรและประชาชนท่ัวไป ผลกระทบด้านสุขภาพจากสารเคมี กำ� จดั ศัตรูพชื เนอ่ื งจากปจั จบุ นั มกี ารนำ� สารเคมปี อ้ งกนั กำ� จัดแมลงศตั รูพชื มาใช้อย่างแพรห่ ลาย ทำ� ให้ เกดิ ผลกระทบต่อสุขภาพดงั น้ี 1. ผลกระทบที่เป็นพิษเฉียบพลัน ซึ่งผู้ ป่วยจะมีอาการในทันทีหลังจากสัมผัสสารเคมี เช่น คลืน่ ไส้ อาเจยี น ปวดหวั ปวดกลา้ มเนือ้ ท้องรว่ ง หายใจติดขดั ตาพรา่ เป็นตน้ 87หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค
2. ผลกระทบท่ีเปน็ พิษเรื้อรงั ซงึ่ เกิดจากพษิ สะสมทีก่ อ่ ให้เกิดโรคหรือปัญหา อื่นๆ เช่น มะเร็ง เบาหวาน อัมพฤกษ์ อัมพาต โรคผิวหนังต่างๆ การเป็นหมัน การพิการของทารกแรกเกิด หรือการเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ เป็นต้น สารเคมีก�ำจัดศัตรูพืชตกค้าง : วิกฤตในระบบอาหารไทย นอกจากนปี้ ญั หาและพษิ ภยั จาก สารเคมีก�ำจัดศัตรูพืชมิได้ส่งผลต่อ เกษตรกรเท่าน้ัน แต่ยังรวมถึงผู้บริโภค ด้วย เน่ืองจากการบรโิ ภคผักและผลผลิตทมี่ ี สารเคมตี กคา้ ง ดงั เคยมรี ายงานการตรวจเลอื ด ในเกษตรกรและผู้บริโภคในจังหวัดเชียงใหม่ พบวา่ เกษตรกรและแมบ่ า้ นมสี ารเคมตี กคา้ งในระดบั ไมป่ ลอดภยั และเสยี่ งรวม 75 % สว่ นในกลมุ่ ผบู้ รโิ ภคทีร่ วมถึงนักเรียน บคุ ลากรในมหาวทิ ยาลยั ขา้ ราชการ น้นั มีสูง ถงึ 89.22 % ซงึ่ สาเหตหุ ลกั ของความแตกตา่ งนอี้ าจเปน็ เพราะวา่ เกษตรกรมตี วั เลอื ก ในการบรโิ ภคอาหารทปี่ ลอดภยั มากกว่าผู้บรโิ ภคทว่ั ไป 88
การปอ้ งกนั เมอ่ื ตอ้ งทำ� งานเกย่ี วขอ้ งกบั สารเคมกี ำ� จดั ศตั รพู ชื 1. ก่อนที่จะใช้สารเคมีก�ำจัดศัตรูพืช ควรอ่านฉลากที่ติดมากับภาชนะบรรจุ ใหเ้ ข้าใจเกี่ยวกับวธิ ีใช้ การป้องกนั อนั ตรายและวิธีแกพ้ ิษ 2. ผสมสารเคมกี ำ� จดั ศตั รพู ชื ใหถ้ กู ตอ้ งตามอตั ราสว่ นทร่ี ะบใุ นฉลากและเตรยี ม น้�ำสะอาดไว้เพียงพอส�ำหรับการช�ำระล้างในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินข้ึน เช่น สารเคมีกระเด็นเข้าตา หรือหกเปรอะเปอ้ื นรา่ งกาย เปน็ ตน้ 3. ขณะผสมสารเคมี ไมค่ วรใชม้ ือเปล่ากวน ควรใช้ไม้หรือวสั ดุอ่ืนแทนและควร สวมถงุ มอื ทุกคร้งั ในขณะตวงหรือรนิ สาร 4. สารเคมกี ำ� จดั ศตั รพู ชื ทกุ ชนดิ ควรบรรจใุ นภาชนะทบ่ี รรจมุ าแตเ่ ดมิ ถา้ จะถา่ ย ใสภ่ าชนะใหม่ ต้องปดิ ปา้ ยบอกชัดเจนว่าเปน็ สารเคมอี ะไร ป้องกนั การหยบิ ผดิ และตอ้ งแนใ่ จว่าปิดฝาสนทิ ไมม่ กี ารรั่วซึมออกนอกภาชนะภายนอก 89หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค
5. สารเคมีก�ำจัดศัตรูพืชที่ผสมให้พอดีหมดในคร้ังเดียว หากใช้ไม่หมดควร จัดเก็บให้มิดชิดห่างไกลจากเด็ก สัตว์เลี้ยงและไม่ปนเปื้อนแหล่งน�้ำหรือ อาหาร 6. ตรวจเชค็ อปุ กรณก์ ารฉดี พน่ ใหอ้ ยใู่ นสภาพทดี่ ไี มช่ ำ� รดุ กอ่ นจะนำ� ไปใช้ หา้ มใช้ เครอื่ งมอื หรอื อปุ กรณท์ ม่ี กี ารรว่ั ซมึ ของสารไดท้ ำ� การฉดี พน่ ในกรณที ห่ี วั ฉดี เกิดการอุดตันห้ามใช้ปากเป่าหัวฉีดพ่นน้ันแต่ให้ถอดหัวฉีดออกมาท�ำ ความสะอาดโดยใชก้ ารแช่ในน�้ำ หรอื ใช้ไม้เข่ยี แลว้ ลา้ งนำ้� 7. สวมเสื้อผ้ามิดชิด เช่น กางเกงขายาว เสื้อแขนยาว สวมอุปกรณ์ป้องกัน อนั ตรายสว่ นบุคคล เช่น หน้ากากท่ีมีไส้กรองอากาศ ถุงมอื หมวก กระบงั ครอบหนา้ หรือแว่นตา เปน็ ตน้ 8. ห้ามกินอาหาร น้�ำ หรือสูบบุหรี่ในขณะท�ำการ ผสมสารเคมี 9. ในกรณีที่เกษตรกรมีการสัมผัสสารเคมีทาง ผวิ หนงั ใหท้ ำ� การชำ� ระลา้ งดว้ ยนำ�้ สะอาดนานๆ อยา่ งนอ้ ย 15 นาที รีบอาบนำ�้ ฟอกสบู่ เปลย่ี นเสือ้ ผ้า 10.ไมค่ วรฉีดพน่ ในขณะที่ลมแรง หรอื ฝนตก และ ควรยนื อย่เู หนอื ลมเสมอ สอบถามขอ้ มูลเพ่มิ เตมิ ไดท้ ่ี สำ� นักโรคจากการประกอบอาชีพและส่ิงแวดลอ้ ม โทรศัพท์ 0-2590-4393 90
91หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค
โรคไขห้ วดั นก “โรคไข้หวัดนก” (Avian Influenza) โรคทเ่ี กดิ จาก การติดเชอื้ ไวรสั Avian Influenza virus type A ลกั ษณะ ของเชอ้ื ไวรสั ในกลุ่ม Avian Influenza virus type A นีจ้ ะ ถูกท�ำลายได้ด้วยน้�ำยาฆ่าเชื้อทั่วไป เช่น แอลกอฮอล์ คลอโรฟอรม์ และไขห้ วัดนกที่ติดมาสู่คนมกั จะเปน็ ไวรสั ชนิด H1N1 เชื้อโรคหวัดนกจะมีระยะฟักตัวในสัตว์อาจจะส้ันเพียงไม่กี่ช่ัวโมงหรือยาวถึง 3 วัน อาการที่แสดงนั้นมีความผันแปรตั้งแต่ระดับท่ีไม่รุนแรง ไปจนถึงขั้นเสียชีวิต ขน้ึ อยกู่ บั ชนดิ ของเชอ้ื ไวรสั และสตั วท์ ไ่ี ดร้ บั เชอื้ สตั วอ์ าจจะไมแ่ สดงอาการปว่ ย แตจ่ ะมี ระดับภมู ิคุ้มกนั สงู ขึน้ ภายใน 10-14 วัน จึงสามารถวนิ จิ ฉัยว่าเป็นโรค สัตว์อาจจะ แสดงอาการดงั น้ี ไกจ่ ะซูบผอม ซมึ มาก ไมก่ นิ อาหาร ขนยงุ่ ไขล่ ด ไอ จาม หายใจ ล�ำบาก นำ�้ ตาไหลมาก หน้าบวม หงอนและเหนียงบวม มีสีคลำ�้ ตาปดิ เนือ่ งจากหนัง ตาบวม อาจมีอาการของระบบประสาท และท้องเสีย ส่วนที่รนุ แรงจะตายกะทันหัน โดยไม่แสดงอาการ ซ่งึ มอี ัตราตายสงู 100 % ไวรัสชนิดนีอ้ าจท�ำให้สตั ว์ปกี ชนิดอืน่ ๆ ปว่ ยดว้ ย เช่น เปด็ นกกระทา ไก่งวง เปน็ ต้น การตดิ ต่อของโรค คนสามารถตดิ เชอื้ จากสตั วไ์ ด้ โดยการสัมผัสใกลช้ ิดกบั สตั ว์ปกี ท่ีปว่ ยหรือตาย ดว้ ยโรคไขห้ วดั นก หรอื จากการกนิ อาหารหรอื นำ�้ ที่ มกี ารปนเปอ้ื นเชอ้ื ไขห้ วดั นก ทาง อ้อมคือการสมั ผสั กบั ดนิ น�้ำ อาหาร เสอ้ื ผ้า รองเทา้ พาหนะ และอนื่ ๆ ท่ีปนเปอื้ น 92
สารคัดหลง่ั ของสตั ว์ป่วย โดยเชอื้ อาจตดิ มากบั มือและเข้าสู่รา่ งกายทางเยือ่ บจุ มกู ตา และปาก ขณะน้ียังไม่มีการติดต่อจากคนสู่คน และไม่พบการติดเชื้อจากการบริโภค สตั วป์ กี ท่ปี รงุ สกุ การรักษา หากผปู้ ว่ ยมอี าการคลา้ ยไขห้ วดั ใหญ่ และมปี ระวตั สิ มั ผสั สตั วป์ กี ทป่ี ว่ ยหรอื ตาย หรืออยู่ในพ้ืนท่ีที่มีโรคไข้หวัดนกระบาดอยู่ ต้องรีบไปพบแพทย์ที่โรงพยาบาลทันที เพราะต้องได้รับยาตา้ นไวรสั โดยเร็ว หลังจากเริ่มมีไข้ รวมทงั้ ตอ้ งไดร้ บั ยารกั ษาตาม อาการ ภายใตก้ ารรกั ษาดแู ลใกลช้ ิดจากแพทย์เท่านนั้ แนวทางการปอ้ งกันโรคสำ� หรับกลุม่ เส่ยี งต่างๆ ประชาชนผูบ้ ริโภคสัตวป์ กี และผลติ ภณั ฑ์จากสตั ว์ปีก 1. ส�ำหรับเนื้อไก่/เป็ด ท่ีมีขายอยู่ตาม ทอ้ งตลาดในขณะนี้ ถอื วา่ มคี วามปลอดภยั สามารถบรโิ ภคไดต้ ามปกติ แต่ตอ้ งปรุงให้ สุกก่อนรับประทาน 2. ประชาชนผู้บริโภคสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์ จากสัตว์ปีก ควรรับประทานเนื้อท่ีปรุงสุก เทา่ นน้ั งดการประทานเนอื้ ไก/่ เปด็ ทก่ี ง่ึ สกุ ก่ึงดิบ เน่ืองจากเช้ือโรคต่าง ๆ ท่ีอาจ ปนเปื้อนมา ไม่ว่าจะเป็นไวรัส แบคทเี รยี หรือพยาธิ แต่เชื้อเหล่าน้ีจะถูกท�ำลายได้ ด้วยความรอ้ น 93หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค
3. ส่วนไข่ไก่ก็ควรเลือกฟองท่ีสดใหม่ และไม่มีมูลไก่ติดเปื้อนท่ีเปลือกไข่ ก่อนปรุงควรนำ� มาล้างให้สะอาด และปรงุ ใหส้ กุ ก่อนรับประทาน 4. หม่ันลา้ งมอื บอ่ ยๆ ไมค่ วรใชม้ อื ท่ีเป้ือนมาจับจมกู ตา และปาก โดยเฉพาะ อยา่ งย่ิงหลังจบั ต้องเนอ้ื สตั ว์ เครอ่ื งในสัตว์ ผปู้ ระกอบอาหาร ทง้ั เพอ่ื การจำ� หนา่ ยและแมบ่ า้ นทเี่ ตรยี มอาหารในครวั เรอื น ผู้ประกอบอาหารท้ังเพ่ือการจ�ำหน่าย และแม่บ้านท่ีเตรียมอาหารในครัวเรือน เป็นผู้มีบทบาทส�ำคัญในการป้องกันโรค ติดต่อจากอาหาร กระทรวงสาธารณสุขขอ เนน้ การปอ้ งกนั ดงั นี้ 1. ควรเลือกซื้อไก่ เป็ดสดท่ีไม่มีลักษณะบ่งชี้ว่าอาจตายด้วยโรคติดเชื้อ เช่น เนอื้ มสี คี ลำ�้ มจี ดุ เลอื ดออก เปน็ ตน้ สำ� หรบั ไข่ ควรเลอื กฟองทด่ี สู ดใหมแ่ ละ ไม่มีมูลไกต่ ิดเปอื้ นทีเ่ ปลอื กไข่ ก่อนปรุง ควรน�ำมาล้างให้สะอาดกอ่ น 2. ไม่ใช้มือท่ีเปื้อนมาจับต้องจมูก ตา และปาก และหมั่นล้างมือบ่อย ๆ โดยเฉพาะอย่างย่ิงหลังจับต้องเน้ือสัตว์ เคร่ืองในสัตว์และเปลือกไข่ท่ีมี มูลสตั วเ์ ปือ้ น 3. แยกเขยี งสำ� หรบั หน่ั อาหารทป่ี รงุ สกุ แลว้ หรอื ผกั ผลไม้ โดยเฉพาะไมใ่ ชเ้ ขยี ง เดียวกนั 94
ผ้ชู �ำแหละไก่ ผู้ช�ำแหละไก่อาจมีความเส่ียงจาก การติดโรคจากสัตว์จึงควรระมัดระวังขณะ ปฏบิ ตั ิงาน ดงั น้ี 1. ต้องไม่ซื้อไก่ท่ีมีอาการผิดปกติ จากการติดเช้ือ เช่น ซึมหงอย ขนฟู หนา้ หงอน หรอื เหนยี งบวม คล้�ำ มนี ำ�้ มกู หรือขีไ้ หล เป็นตน้ หรือไก่ทีต่ ายมาช�ำแหละขาย 2. ไมข่ งั สตั วป์ กี จำ� พวก ไก่ เปด็ หา่ น ฯลฯ ที่รอช�ำแหละไว้ในกรง ใกล้ๆ กัน เพราะจะเป็นปัจจัย เสยี่ งใหเ้ ชอ้ื โรคกลายพนั ธ์ุ จนอาจ เกิดเช้ือสายพันธุ์ใหม่ๆ ที่เป็น อนั ตรายทั้งตอ่ คนและสัตว์ได้ 3. ควรทำ� ความสะอาดกรง และอปุ กรณอ์ ยา่ งสมำ่� เสมอดว้ ยนำ้� ผงซกั ฟอก และ น�ำไปผ่ึงกลางแดดจัดๆ นอกจากนั้นอาจราดด้วยน�้ำยาฆ่าเชื้อเดือนละ 1 - 2 ครั้ง 4. หากสัตวท์ ีช่ �ำแหละมลี กั ษณะผดิ ปกติ เช่น มีจดุ เลอื ดออกมีน้�ำ หรือเลือดคง่ั หรือจดุ เนื้อตายสีขาวท่เี คร่ืองใน หรือเนอื้ มีสีผดิ ปกติ ต้องไมน่ �ำไปจำ� หน่าย และรีบแจ้งเจา้ หน้าท่ปี ศสุ ตั วม์ าตรวจสอบทันที เพราะอาจเปน็ โรคระบาด 5. ต้องล้างบริเวณช�ำแหละสัตว์ให้สะอาดด้วยน้�ำผงซักฟอกหลังเสร็จส้ินการ ช�ำแหละไก่ และควรราดนำ้� ยาฆา่ เชือ้ โรคเดอื นละ 1 - 2 ครัง้ 6. ผูช้ ำ� แหละไกค่ วรดแู ลระมัดระวงั ตนเองอยา่ งถูกต้อง โดยใช้อุปกรณป์ อ้ งกนั รา่ งกาย เชน่ พลาสตกิ หรอื ผา้ กนั เปอ้ื น ผา้ ปดิ ปากจมกู ถงุ มอื แวน่ ตา รองเทา้ บตู๊ และตอ้ งหมนั่ ลา้ งมือบ่อย ๆ 7. รีบอาบนำ�้ ช�ำระรา่ งกายด้วยนำ้� และสบูใ่ ห้สะอาด และตอ้ งเปลี่ยนเสอ้ื ผ้าทกุ ครั้งหลังปฏิบัติงานเสร็จ ส่วนเส้ือผ้าชุดเดิม พลาสติกหรือผ้ากันเปื้อน ผ้า ปดิ ปากจมกู ถงุ มอื แวน่ ตาควร นำ� ไปซกั หรอื ลา้ งใหส้ ะอาด และผง่ึ กลางแดด ให้แห้งสนทิ ก่อนน�ำมาใชอ้ ีกครัง้ 95หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค
ผู้ขนย้ายสัตว์ปีก 1. งดซื้อสตั ว์จากฟารม์ ที่มสี ตั วต์ ายมากผดิ ปกติ 2. เมอ่ื ขนสง่ สตั วเ์ สรจ็ ในแตล่ ะวนั ตอ้ งรบี ลา้ งทำ� ความสะอาดรถใหส้ ะอาดดว้ ย นำ�้ ผงซกั ฟอก ส�ำหรับกรงขังสัตว์ควรราดด้วยนำ�้ ยาฆ่าเช้ือซำ�้ อกี ครง้ั หนง่ึ 3. ควรดูแลระมัดระวังตนเอง โดยใช้อุปกรณ์ป้องกันร่างกาย เช่น ผ้าปิดปาก จมกู ถงุ มอื รองเท้าบ๊ทู และต้องหมัน่ ลา้ งมอื บ่อย ๆ 4. รบี อาบนำ�้ ชำ� ระรา่ งกายดว้ ยนำ้� และสบใู่ หส้ ะอาด และตอ้ งเปลย่ี นเสอ้ื ผา้ ทกุ ครั้งหลังปฏิบัติเสร็จ ส่วนเสื้อผ้าชุดเดิม พลาสติกหรือผ้ากันเปื้อน ผ้าปิดปากจมูก ถุงมอื แว่นตา ควรน�ำไปซกั หรือลา้ งให้สะอาด และผ่ึงกลางแดดให้แหง้ สนิท กอ่ นน�ำ มาใช้อกี ครั้ง เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่/เป็ด 1. หากมไี ก่ เปด็ ปว่ ยหรอื ตายไมว่ า่ ดว้ ย สาเหตุใด ให้รีบปรึกษาเจ้าหน้าที่ปศุสัตว์ใน พ้นื ทที่ นั ที ต้องไม่น�ำไก่ เป็ด ท่ีป่วยหรือตายออก มาจำ� หนา่ ย และทำ� ลายตามคำ� แนะนำ� ของเจา้ หนา้ ที่ ปศสุ ตั วอ์ ยา่ งเครง่ ครดั เพอื่ ปอ้ งกนั การ แพร่เชือ้ มาสูส่ ตั วอ์ น่ื หรอื คน 2. เกษตรกรผู้เล้ียงสัตว์ ต้องป้องกัน สตั วป์ กี ของตนเองไมใ่ หต้ ดิ เชอื้ ไขห้ วดั นก โดย ปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำของเจ้าหน้าที่ปศุสัตว์ และเจา้ หน้าที่สาธารณสขุ อย่างเคร่งครัด การป้องกนั โรคให้แก่เด็ก 1. เนื่องจากเด็กมักมีนิสัยชอบเล่นคลุกคลีกับสัตว์เลี้ยง รวมทัง้ ไกแ่ ละนก และหากตดิ เชื้อไข้หวดั นกมักปว่ ยรนุ แรง ดัง น้นั ในช่วงท่มี ีโรคระบาดในสัตว์ปีก มีสตั วต์ ายมากผิดปกติ พ่อ แม่ ผปู้ กครองควรระมัดระวงั ดแู ลเดก็ ใหใ้ กล้ชิด และเตือนไม่ให้ เดก็ จบั อมุ้ ไกห่ รอื นก หรอื จบั ตอ้ งซากสตั วป์ กี ทตี่ าย และตอ้ งฝกึ สขุ นสิ ัยทด่ี ีให้เด็ก โดยเฉพาะการลา้ งมือทุกคร้ังหลงั จบั ต้องสตั ว์ 96
2. หากเด็กมีอาการป่วยสงสัยเป็นโรคติดเช้ือทางเดินหายใจ ต้องรีบพาไปพบ แพทยเ์ พอื่ รบั การรกั ษาโรคเรว็ ทส่ี ดุ โดยทว่ั ไปเมอื่ ไดร้ บั การรกั ษาและดแู ลอยา่ งถกู ตอ้ ง เดก็ จะค่อย ๆ มีอาการดขี นึ้ ภายใน 2 ถงึ 7 วัน แตค่ วรสังเกตอาการอย่างใกลช้ ดิ หากมีอาการรนุ แรงขึน้ เช่น มีอาการหอบ ต้องรบี พาไปโรงพยาบาลทันที ขอ้ แนะนำ� กรณีพบสัตว์ปกี ตายผดิ สังเกต สัตว์ที่ตายผิดสังเกต อาจมีสาเหตุมาจากโรค ระบาดหลายโรค รวมทงั้ โรคไข้หวดั นกดว้ ย หรอื อาจ เกดิ จากสาเหตอุ น่ื ผทู้ พ่ี บเหน็ ควรปฏบิ ตั โิ ดยเรว็ ดงั นี้ 1. สัตว์ท่ีตายผิดสังเกต อาจมีสาเหตุมาจาก โรคระบาดหลายโรค รวมทงั้ โรคไขห้ วดั นกด้วย หรือ อาจเกิดจากสาเหตอุ นื่ ผู้ที่พบเหน็ ควรปฏิบัติโดยเร็ว ดังน้ี - กรงุ เทพมหานคร แจง้ สำ� นกั งานเขตทพี่ บสตั ว์ ตาย หรือศูนย์ปฏิบัติการไข้หวัดนก กทม. โทร. 0 2354 1836 หรอื 0 2245 8106 (จนั ทร์ - ศกุ ร์ 08.00 - 20.00 น., เสาร-์ อาทติ ย์ 08.00 - 12.00 น.) หรอื สายด่วน 1555 และนอกเวลาดังกล่าวโทรสาย ดว่ นสำ� นักอนามยั กทม. โทร. 0 2245 4964 หรอื - กรมปศสุ ตั ว์ โทร. 0 2653 4551-4 ต่อ 101 - 105 - ต่างจังหวัด แจ้งปศุสัตว์อ�ำเภอหรือจังหวัด/อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) เจา้ หน้าทสี่ ถานีอนามัย/ก�ำนัน/ผใู้ หญบ่ า้ น/เทศบาล/อบต. 2. เกบ็ ซากสตั ว์ใส่ลงในถงุ พลาสตกิ รัดปากถงุ ให้แน่น ตอ้ งไมจ่ ับซากสัตว์ดว้ ย มอื เปลา่ ควรสวมถงุ มอื ยาง ถา้ ไมม่ ีอาจใชถ้ งุ พลาสตกิ หนา ๆ สวมมือ เจา้ หน้าท่ีอาจ น�ำซากบางส่วนไปตรวจชันสูตรหาสาเหตุการตาย ส่วนซากที่เหลือต้องรีบน�ำไปเผา หรอื ฝัง หากใชว้ ิธีฝงั ควรราดด้วยนำ้� ยาฆา่ เช้ือหรือโรยปูนขาว หรืออาจใช้น้�ำเดอื ดราด ท่ีซากก่อนกลบดนิ ใหแ้ นน่ สอบถามข้อมูลเพม่ิ เติมไดท้ ่ี สำ� นกั โรคตดิ ตอ่ อบุ ัตใิ หม่ โทรศัพท์ 0-2590-3167 97หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค
โรคไขป้ วดขอ้ ยุงลาย (โรคชคิ ุนกนุ ยา) “โรคไข้ปวดข้อยงุ ลาย หรอื โรคชิคุนกนุ ยา” เปน็ โรค ติดเชื้อไวรัสชิคุนกุนยาที่มียุงลายสวนและยุงลายบ้านเป็น พาหะน�ำโรค มอี าการคลา้ ยไข้เลือดออก แต่ตา่ งกันที่ไม่มี การรั่วของพลาสมาออกนอกเส้นเลือด จึงไม่พบผู้ป่วยที่มี อาการรุนแรงมากจนถึงมีการช็อก โรคชิคุนกุนยาพบคร้ัง แรกทีป่ ระเทศแทนซาเนยี ในปี พ.ศ. 2495 ชอ่ื โรคนีม้ า จากภาษาสวาฮิลี ซ่ึงเป็นภาษาท้องถิ่นของทวีปแอฟริกา หมายถงึ “เจบ็ จนตัวงอ” ซึ่งสะทอ้ นใหเ้ ห็นถึงสภาพคนไข้ท่ี เจ็บปวดจากโรคนี้น่นั เอง การตดิ ตอ่ ของโรค โรคชคิ นุ กนุ ยาตดิ ตอ่ กันไดโ้ ดยมยี งุ ลายสวน (Aedes albopictus) และยุงลาย บา้ น (Aedes aegypti) เป็นพาหะน�ำโรค เมอ่ื ยุงลายตวั เมยี กดั และดดู เลอื ดผปู้ ว่ ยท่ี อยใู่ นระยะไขส้ งู ซง่ึ เปน็ ระยะทม่ี ไี วรสั อยใู่ นกระแสเลอื ด เชอ้ื ไวรสั จะเขา้ สกู่ ระเพาะยงุ และเพม่ิ จำ� นวนมากขน้ึ แลว้ เดนิ ทางเขา้ สู่ต่อมนำ�้ ลาย เมือ่ ยุงทมี่ ีเชอื้ ไวรสั ชคิ ุนกุนยา ไปกัดคนอ่ืนกจ็ ะปลอ่ ยเชอื้ ไปยงั คนทถ่ี ูกกดั ท�ำให้คนนนั้ ตดิ โรคได้ อาการและอาการแสดง ผปู้ ่วยจะมอี าการไข้สงู อย่างฉับพลนั มผี น่ื แดงขนึ้ ตามรา่ งกายและอาจมอี าการ คนั รว่ มดว้ ย พบมตี าแดง (conjunctival injection) แตไ่ มค่ อ่ ยพบจดุ เลอื ดออกในตาขาว ส่วนใหญ่แล้วในเด็กจะมีอาการไม่รุนแรงเท่าในผู้ใหญ่ ในผู้ใหญ่อาการที่เด่นชัดคือ อาการปวดข้อ ซึง่ อาจพบข้ออักเสบได้ ส่วนใหญจ่ ะเป็นทข่ี ้อเลก็ ๆ เช่น ขอ้ มือ ขอ้ เทา้ 98
อาการปวดขอ้ จะพบไดห้ ลายๆ ขอ้ เปลย่ี นตำ� แหนง่ ไปเรื่อยๆ (migratory polyarthritis) อาการจะ รุนแรงมากจนบางครัง้ ขยับขอ้ ไม่ได้ อาการจะหาย ภายใน 1 - 12 สปั ดาห์ ผปู้ ว่ ยบางรายอาจมอี าการ ปวดข้อเกิดขน้ึ ไดอ้ ีกภายใน 2 - 3 สปั ดาห์ต่อมา และบางรายอาการปวดข้อจะอยู่ได้นานเป็นเดือน หรอื เปน็ ปี ไม่พบผูป้ ่วยที่มีอาการรนุ แรงถึงช็อก ซ่ึงแตกต่างจากโรคไข้เลือดออก อาจพบ tourniquet test ให้ผลบวก และจุดเลือดออก (petichiae) บริเวณผิวหนังได้ การรักษา โรคนมี้ กั หายเองและยงั ไมม่ ยี ารกั ษาเฉพาะโรค การรกั ษาทใ่ี หผ้ ลดที ส่ี ดุ ในตอนนี้ คือ การรักษาตามอาการ เชน่ ให้ยาลดอาการไข้ ปวดข้อ การป้องกนั ไม่ใหถ้ กู ยุงกัด ในชว่ งท่มี ไี ข้ โดยเฉพาะเวลาต้งั พระอาทิตย์ขึ้นถึงพระอาทติ ย์ตก เพอ่ื ลดโอกาสแพร่ เชอ้ื ไปสู่คนอื่น การปอ้ งกัน ปัจจุบันวัคซีนส�ำหรับโรคน้ียังอยู่ในขั้นตอนของการพัฒนา มาตรการในการ ป้องกันโรคจึงเน้นหนัก ในเร่ืองการป้องกันไม่ให้ยุงกัดโดยการใช้สารทาป้องกันยุง การใชม้ ุ้ง การค้นหาและท�ำลายแหลง่ เพาะพนั ธุท์ ส่ี �ำคัญของยงุ ลาย การก�ำจัดลกู น้�ำ ยงุ ลายและการกำ� จัดยงุ ลายตวั เต็มวยั ทง้ั ทางด้านกายภาพ เชน่ การปิด ฝาโอง่ ให้สนิท การปรบั ปรงุ สิง่ แวดล้อมไม่ให้เปน็ แหลง่ เพาะพนั ธแ์ุ ละ เกาะพักของยุง ทางชีวภาพ เช่น การปล่อยปลากินลกู น้�ำ และ เคมภี าพ เชน่ การใชท้ รายกำ� จดั ลกู นำ�้ ทมี ฟี อส กำ� จดั ลกู นำ้� ยุงลาย การใช้น�้ำผสมฟองสบู่หรือสารเคมีพ่นฆ่ายุงตัว เตม็ วยั และการใชค้ รีมทากันยุง สอบถามข้อมลู เพ่มิ เติมไดท้ ่ี ส�ำนักโรคติดต่อน�ำโดยแมลง โทรศพั ท์ 0-2590-3103-5, 0-2590-3114 99หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค
โรคคอตบี “โรคคอตบี ” (Diphtheria) หรอื ดิพทเี รีย เป็นโรคตดิ เชอ้ื เฉยี บพลันของระบบ ทางเดนิ หายใจ มสี าเหตมุ าจากการตดิ เชอ้ื แบคทเี รยี Corynebacterium diphtheriae ซึ่งมีรูปทรงแท่งและย้อมติดสีแกรมบวก ซึ่งท�ำให้เกิดการอักเสบ มีแผ่นเยื่อเกิดขึ้น ในลำ� คอในรายที่รุนแรงจะมกี ารตีบตนั ของทางเดนิ หายใจ จงึ ได้ชือ่ วา่ โรคคอตีบ และ จากพษิ (exotoxin) ของเชื้อจะทำ� ให้มีอนั ตรายตอ่ กล้ามเนื้อหวั ใจ และเสน้ ประสาท ส่วนปลายซึ่งถ้าเปน็ รุนแรงจะทำ� ใหเ้ ป็นอมั พาตและเสียชวี ติ ได้ การตดิ ตอ่ ของโรค เชอ้ื จะพบอยใู่ นคนเทา่ นนั้ โดยจะพบอยใู่ นจมกู หรอื ลำ� คอ ของผปู้ ว่ ยหรอื ผตู้ ดิ เชื้อ โดยไมม่ อี าการ และสามารถตดิ ตอ่ กัน ได้ง่าย โดยการได้รับเช้ือจากการไอ จามรดกัน หรือพูดคุย ในระยะใกลช้ ดิ เชอื้ จะเขา้ สผู่ สู้ มั ผสั ทางปากหรอื ทางการหายใจ บางครง้ั อาจตดิ ตอ่ กนั ไดโ้ ดยการใชภ้ าชนะรว่ มกนั เชน่ แกว้ นำ้� ชอ้ น หรือ การดูดอมของเลน่ รว่ มกนั ในเด็กเลก็ ระยะฟักตัวของโรคอยู่ระหว่าง 2-5 วัน อาจจะนาน กว่าน้ีได้ เช้ือจะอยู่ในล�ำคอของผู้ป่วยท่ีไม่ได้รับการรักษาได้ ประมาณ 2 สัปดาห์ แต่บางคร้ังอาจนานถึงหลายเดือนได้ ผทู้ ไ่ี ดร้ บั การรกั ษาอยา่ งถกู ตอ้ งเชอื้ จะหมดไปภายใน 1 สปั ดาห์ อาการของโรคคอตีบ หลังจากรับเช้ือผู้ป่วยจะเร่ิมมีอาการไข้ต่�ำๆ มีอาการ คลา้ ยหวดั ในระยะแรก มอี าการไอเสยี งกอ้ ง เจบ็ คอ เบอ่ื อาหาร ในเดก็ โตอาจจะบ่นเจบ็ คอคลา้ ยกบั คออักเสบ บางรายอาจจะ พบตอ่ มนำ้� เหลอื งทค่ี อโตดว้ ย เมอื่ ตรวจดใู นคอพบแผน่ เยอ่ื สขี าว 100
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160