Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore #ONIE_Pol61-Web

#ONIE_Pol61-Web

Published by กศน.ตำบลบางเพรียง, 2019-09-02 23:32:35

Description: #ONIE_Pol61-Web

Search

Read the Text Version

บนเ ็วบไซ ์ต ํสฉาบันักบเงผายนแกพศ่รน.คาํ นาํ สํานักงาน กศน. โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการส่งเสริม สนับสนุน และประสานความร่วมมือ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้จัดทําเอกสาร นโยบายและจุดเน้นการดําเนินงาน สํานักงาน กศน. ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ ข้ึนตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อเป็นกรอบทิศทางและเคร่ืองมือในการดําเนินงาน ตามบทบาทหน้าท่ีในการส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย ในอันที่จะเพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างท่ัวถึงและมีคุณภาพ ภายใต้กรอบทิศทางการพัฒนา ตามแผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ นโยบาย แนวทางหลักในการดําเนินงาน และโครงการสาํ คญั ของกระทรวงศึกษาธกิ าร นโยบายและจุดเน้นฉบับน้ี ได้กําหนดการดําเนินงานภายใต้วิสัยทัศน์คือ “คนไทยได้รับโอกาส การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ สามารถดํารงชีวิตท่ีเหมาะสมกับช่วงวัย สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะท่ีจําเป็นในโลกศตวรรษที่ ๒๑” โดยประกอบด้วย ส่วนท่ี ๑ คือ นโยบายเร่งด่วนเพื่อร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ได้แก่ ๑) ยุทธศาสตร์ด้านความม่ันคง ๒) ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนากําลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพ่ือสร้าง ขดี ความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ ๓) ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนให้มี คุณภาพ ๔) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา ๕) ยุทธศาสตร์ด้าน ส่งเสริมและจัดการศึกษาเพ่ือเสริมสร้างคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ๖) ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนา ประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการ และส่วนที่ ๒ ภารกิจต่อเนื่อง ได้แก่ ๑) ด้านการจัดการศึกษาและ การเรียนรู้ ๒) ด้านหลักสูตร สื่อ รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล งานบริการทาง วิชาการ และการประกันคุณภาพการศึกษา ๓) ด้านเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ๔) ด้านโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดําริ หรือโครงการอันเก่ียวเน่ืองจากราชวงศ์ ๕) ด้านการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ้ืนท่ีเขต เศรษฐกิจพิเศษ และพ้ืนที่บริเวณชายแดน ๖) ด้านบุคลากร ระบบการบริหารจัดการ และการมีส่วนร่วมของ ทุกภาคส่วน สํานักงาน กศน. หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหน่วยงาน/สถานศึกษา สังกัดสํานักงาน กศน. จะนํา นโยบายและจุดเน้นการดําเนินงาน สํานักงาน กศน. ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ เป็นกรอบแนวทาง การขบั เคล่อื น กศน. อยา่ งเป็นรปู ธรรม เพ่อื บรรลวุ สิ ยั ทศั น์ที่กําหนดไวอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ต่อไป นายกฤตชยั อรุณรตั น์ เลขาธิการ กศน.

บนเ ็วบไซ ์ต ํสฉาบันักบเงผายนแกพศ่รน.สารบัญ หน้า ก คํานาํ ข สารบัญ ค ผังมโนทศั นน์ โยบายและจุดเน้นการดาํ เนนิ งาน สาํ นักงาน กศน. ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ ๑ นโยบายและจดุ เนน้ การดําเนนิ งาน สาํ นักงาน กศน. ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ ๑ ๑ วสิ ยั ทศั น์ ๑ พันธกิจ ๒ เปา้ ประสงค์ ๔ ตัวชว้ี ัด ๔ นโยบายเรง่ ดว่ นเพอ่ื รว่ มขบั เคล่ือนยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศ ๔ ๑. ยทุ ธศาสตรด์ า้ นความม่ันคง ๕ ๒. ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนากําลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพ่ือสร้างขีดความสามารถในการ ๖ ๗ แข่งขันของประเทศ ๗ ๓. ยทุ ธศาสตรด์ ้านการพัฒนาและเสริมสร้างศกั ยภาพคนให้มีคุณภาพ ๘ ๔. ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษา ๘ ๕. ยุทธศาสตรด์ ้านสง่ เสริมและจัดการศึกษาเพ่ือเสรมิ สร้างคุณภาพชีวิตท่เี ป็นมติ รกบั สิ่งแวดล้อม ๖. ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการพฒั นาประสทิ ธภิ าพระบบบริหารจัดการ ๑๐ ภารกจิ ต่อเนอื่ ง ๑๐ ๑. ด้านการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ ๑๑ ๒. ด้านหลักสูตร สื่อ รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล งานบริการทาง ๑๑ ๑๒ วิชาการ และการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา ๓. ดา้ นเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา ๔. ดา้ นโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาํ ริ หรือโครงการอนั เก่ียวเนอ่ื งจากราชวงศ์ ๕. ดา้ นการศกึ ษาในจังหวดั ชายแดนภาคใต้ พน้ื ท่เี ขตเศรษฐกิจพิเศษ และพื้นทบี่ รเิ วณชายแดน ๖. ด้านบุคลากร ระบบการบริหารจัดการ และการมีส่วนร่วมของทกุ ภาคส่วน

ผงั มโนทัศน์ยุทธศาสตรแ์ ละจดุ เนน้ การดําเนินงาน ส วสิ ยั ทัศน์ : “คนไทยไดร้ ับโอกาสการศึกษาและการเรียนรตู้ ลอดชวี ิตอย่างมคี ุณภาพ สามารถดํารงชีวติ ท่ีเห ๑. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่โครงการสําคัญตามพ.ร.บ.งบประมาณฯ ภารกิจ ่ตอเ ่ืนอง นโยบายเ ่รง ่ดวนเ ื่พอ ่รวมขับเค ่ืลอนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ เ ้ปาประสง ์ค ัพนธกิจ๒. ส่งเสริม สนับสนุน และประสานภาคีเครือข่าย ในการมีส่วนร่วม๓. สง่ เสริมและพฒั นาการนําเ มีคุณภาพ เพ่ือยกระดับการศึกษา พัฒนาทักษะการเรียนรู้ของ จดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย และการเรียนรู้ ดิจิทัลมาใช้ให้เกิดประสิท ประชาชนทกุ กลมุ่ เปา้ หมายใหเ้ หมาะสมทกุ ช่วงวัย ฯบนเ ็วบไซ ฉบับเผยตลอดชีวิต ฯ และการศึกษาตามอัธยาศัย ๑. ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมทั้ง ๕. ชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ร่วมจัด ส่งเสริม และ ๖. หน่วยงานและสถานศึก ประชาชนทวั่ ไปไดร้ ับโอกาสทางการศกึ ษา ฯ สนับสนุนการดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม เทคโนโลยีดิจิทัล มาใช้ใน อธั ยาศัย รวมทงั้ การขบั เคลอ่ื นกจิ กรรมการเรยี นรู้ของชมุ ชน เรยี นรแู้ ละเพ่ิมโอกาสการเร ๒. ประชาชนได้รับการยกระดับการศึกษา สร้างเสริมและปลูกฝัง คณุ ธรรม จริยธรรม และความเป็นพลเมือง ฯ ๔. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทาง ๒. ยุทธศาสตรด์ า้ นการพฒั น การศึกษา ๒.๒ พัฒนากาํ ลงั คนใหเ้ ปน็ ๓. ประชาชนได้รับโอกาสในการเรยี นรู้ และมีเจตคตทิ างวิทยาศาสตร์ ๔.๖ ประสานความรว่ มมือหนว่ ยงาน องคก์ ร หรือภาคสว่ นต่างๆ ทกั ษะด้านภาษาและท และเทคโนโลยที ีเ่ หมาะสม ฯ ที่มีแหล่งเรยี นรอู้ ื่นๆ ๓. ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒ ๔. ประชาชนได้รบั การสรา้ งและสง่ เสริมให้มนี สิ ยั รักการอ่าน ฯ ๑. ด้านการจดั การศึกษาและการเรยี นรู้ คุณภาพ ๖. ด้านบุคลากร ระบบการบริหารจัดการ และการมีสว่ นรว่ มของ ๓.๒ สง่ เสรมิ การจัดการเร ๑. ยุทธศาสตร์ด้านความม่ันคง เกษตรกรปราดเปรือ่ ง) ๑.๑ ส่ งเสริ มการจั ดการเรี ยนรู้ ตามพระบรมราโชบาย ทุกภาคสว่ น ด้านการศึกษาของ รัชกาลที่ ๑๐ ๑. ด้านการจัดการศึกษาและ ๑.๒ พั ฒนาการจั ดการศึ กษานอกระบบและการศึ กษา ๓. ด้านเทคโนโลยีเพอื่ การศกึ ตามอัธยาศยั ในเขตพนื้ ทพ่ี ิเศษ ๓. ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนให้มี คุณภาพ ๓.๑ เตรียมความพรอ้ มการเข้าสูส่ งั คมผู้สงู อายุอยา่ งมีคุณภาพ ๓.๔ เพิ่มอัตราการอา่ นของประชาชน ๓.๕ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน สู่ “วิสาหกิจชุมชน : ชุมชนพึ่งตนเอง ทําได้ ขายเปน็ ” ๔. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทาง การศึกษา ๔.๓ เพมิ่ อตั ราการรหู้ นงั สือและยกระดบั การรหู้ นังสือ ฯ ๔.๔ ยกระดบั การศึกษาให้กับกลมุ่ เปา้ หมายทหารกองประจําการ รวมทงั้ กลมุ่ เป้าหมายพเิ ศษอื่นๆ ๕. ยุทธศาสตร์ด้านส่งเสริมและจัดการศึกษาเพ่ือเสริมสร้าง คณุ ภาพชีวติ ทเี่ ปน็ มติ รกับส่ิงแวดล้อม ๕.๑ ส่งเสรมิ ใหม้ ีการให้ความรกู้ บั ประชาชน ๕.๒ สรา้ งความตระหนกั ถงึ ความสําคญั ของการสร้างสังคมสีเขียว ๑. ดา้ นการจัดการศกึ ษาและการเรยี นรู้ ๔. ด้านโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาํ ริ หรอื โครงการอัน เกีย่ วเนือ่ งจากราชวงศ์ ๕. ดา้ นการศกึ ษาในจงั หวัดชายแดนภาคใต้ พน้ื ที่เขตเศรษฐกิจ พิเศษ และพนื้ ทบี่ ริเวณชายแดน ๑. โครงการจัดการศึกษาสําหรับเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร โครงการจดั หลกั สูตรการดแู ลผสู้ งู อายกุ ระทรวงศึกษาธกิ าร (บรู ณาการ) ๑. โครงการตวิ เข้มเต็มความรู้ เพื่อสนองงาน ตามพระราชดําริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ๒. โครงการ Smart ONIE เพือ่ สยามบรมราชกุมารี (พ้นื ฐาน) ๓. โครงการภาษาองั กฤษเพอ่ื ก ๒. โครงการขยายผลโครงการหลวงเพ่ือแก้ปัญหาพื้นท่ีปลูกฝ่ินอย่าง ๔. โครงการพัฒนาสถานีวิท ยัง่ ยนื (พ้นื ฐาน) ศึกษาธิการ (ETV) เป็นสถาน ๓. โครงการศูนย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชน (บรู ณาการ) ๕. โครงการสรา้ งเครอื ขา่ ยดจิ ทิ ๔. สนับสนุนค่าใชจ้ ่ายการจัดการศกึ ษาต้งั แตป่ ฐมวยั จนจบการศกึ ษา ข้นั พืน้ ฐาน (บูรณาการ) ๕. โครงการบริหารจัดการขยะมูลฝอยโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน (บูรณาการ) ๖. จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในจังหวัด ชายแดนภาคใต้ (บูรณาการ)

สํานกั งาน กศน. ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ หมาะสมกับช่วงวัย สอดคล้องกบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และมีทักษะทีจ่ ําเป็นในโลกศตวรรษที่ ๒๑” าเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยี ๔. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและ ๕. พฒั นาบุคลากรและระบบการบริหารจดั การใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพเพื่อ ทธิภาพในการจัดการศึกษานอกระบบ นวัตกรรม การวัดและประเมินผลในทุกรูปแบบให้สอดคล้องกับ มุ่งจัดการศึกษาและการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ โดยยึดหลักธรรมา- ยฯ บริบทในปัจจบุ นั ภิบาล กษาพั ฒนาเทคโนโลยี ทางการศึ กษา ๗. หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนาส่ือและการจัดกระบวนการ ๘. บุคลากรของหน่วยงานและสถานศึกษาได้รับการพัฒนาเพื่อเพิ่ม ในการยกระดับคุณภาพในการจัดการ เรียนรู้ เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิต ที่ตอบสนองกับ สมรรถนะในการปฏิบัติงานการศึกษานอกระบบและการศึกษา รยี นร้ใู ห้กับประชาชน การเปล่ียนแปลงบริบทดา้ นเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ตามอัธยาศัยอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ประวัติศาสตร์ และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งตามความต้องการของ ประชาชนและชุมชนในรปู แบบทหี่ ลากหลาย ๙. หน่วยงานและสถานศึกษามีระบบการบริหารจัดการท่เี ป็นไปตาม ซ ์ต ํสานักงายนแกพศ่รน. หลักธรรมาภบิ าล นากาํ ลงั คน การวจิ ยั และนวตั กรรมฯ ๒. ยทุ ธศาสตรด์ ้านการพฒั นากําลงั คน การวิจยั และนวตั กรรมฯ ๕. ยุทธศาสตร์ด้านส่งเสริมและจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้าง น “Smart Digital Persons (SDPs)” ที่มี ๒.๑ ขับเคลื่อน กศน. สู่ “Smart ONIE” ในการจดั การศึกษาและ คณุ ภาพชวี ติ ที่เป็นมติ รกบั ส่งิ แวดล้อม ทกั ษะดิจิทัลฯ ฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนให้มี การเรียนรูฯ้ ๕.๓ ส่งเสริมให้หน่วยงานและสถานศึกษาใช้พลังงานที่เปน็ มิตร ๓. ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนให้มี กบั สิง่ แวดล้อม รยี นรูด้ า้ นเกษตรกรรม (Smart Farmer : คณุ ภาพ ๖. ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการพฒั นาประสทิ ธิภาพระบบบริหารจัดการ ๓.๓ ส่งเสริมให้มีการจัดการเรียนการสอนแบบ “สะเต็มศึกษา” ๖.๑ พฒั นาระบบฐานขอ้ มูลสารสนเทศดา้ นการศกึ ษา (STEM Education) ๖.๒ ส่งเสริมการใช้ระบบสาํ นักงานอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (E-office) ๖.๓ พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือช่วยในการบริหาร ๓.๖ จัดกระบวนการเรียนรู้ตามแนวทางเกษตรธรรมชาติสู่การ พฒั นาอาชพี เกษตรกรรมอยา่ งยั่งยืน จัดการอยา่ งเตม็ รปู แบบ ๓.๗ ยกระดับคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ๖.๔ ส่งเสรมิ การพฒั นาบุคลากรทกุ ระดบั ข้ันพื้นฐาน ๔. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทาง การศกึ ษา ๔.๑ ส่งเสรมิ การนาํ ระบบคูปองการศกึ ษามาใช้ ๔.๒ สร้างกระบวนการเรียนรใู้ นรปู แบบ E-learning ๔.๕ พลิกโฉม กศน. ตาํ บล สู่ “กศน.ตาํ บล ๔G” ะการเรียนรู้ ๒. ดา้ นหลกั สตู ร สอื่ รปู แบบการจัดกระบวนการเรยี นรู้ การวดั ๕. ดา้ นการศกึ ษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ พน้ื ทีเ่ ขตเศรษฐกิจ กษา และประเมนิ ผล งานบรกิ ารทางวชิ าการ และการประกัน พิเศษ และพืน้ ที่บรเิ วณชายแดน คณุ ภาพการศกึ ษา ๖. ด้านบุคลากร ระบบการบรหิ ารจัดการ และการมีสว่ นรว่ มของ ทกุ ภาคส่วน (พืน้ ฐาน) โครงการพัฒนาครู กศน. ต้นแบบการสอนภาษาอังกฤษเพ่ือการ ๑. โครงการความร่วมมือกับต่างประเทศด้านการพัฒนาส่งเสริมและ อสร้าง Smart Farmer (บูรณาการ) ส่ือสาร (บูรณาการ) เผยแพร่เกษตรธรรมชาติ (พื้นฐาน) การสื่อสารดา้ นอาชพี (บูรณาการ) ๒. โครงการพัฒนาบุคลากรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานใน ทยุโทรทัศน์ เพื่อการศึ กษากระทรวง จงั หวัดชายแดนภาคใต้ (พ้นื ฐาน) านีวิทยุโทรทัศนร์ ะบบดจิ ทิ ัล (บรู ณาการ) ๓. โครงการติดตามประเมินผลการพัฒนาการศึกษาจังหวัดชายแดน ทัลชมุ ชนระดบั ตาํ บล (บรู ณาการ) ภาคใต้ (พ้ืนฐาน)

บนเ ็วบไซ ์ต ํสฉา ับนักบเงผายนแกพศร่น.นโยบายและจุดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ วสิ ยั ทศั น์ คนไทยได้รับโอกาสการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ สามารถดารงชีวิตท่ีเหมาะสม กบั ชว่ งวยั สอดคล้องกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และมีทักษะท่ีจาเปน็ ในโลกศตวรรษท่ี ๒๑ พนั ธกิจ ๑. จัดและสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ทม่ี ีคณุ ภาพ เพื่อยกระดับการศึกษา พฒั นาทักษะการเรียนรู้ของประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมายให้เหมาะสมทุกช่วงวัย พร้อมรับการเปล่ียนแปลงบริบท ทางสงั คม และสรา้ งสงั คมแหง่ การเรียนรตู้ ลอดชีวติ ๒. ส่งเสริม สนับสนุน และประสานภาคีเครือข่าย ในการมีส่วนร่วมจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย และการเรียนรู้ตลอดชีวิต รวมทั้งการดาเนินกิจกรรมของศูนย์การเรียนและแหล่งการเรียนรู้ อ่ืน ในรูปแบบต่างๆ ๓. ส่งเสริมและพัฒนาการนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ให้เกิดประสิทธิภาพ ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยให้กับประชาชนอย่างทว่ั ถึง ๔. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือและนวัตกรรม การวัดและประเมินผล ในทกุ รปู แบบให้สอดคล้องกบั บรบิ ทในปจั จบุ ัน ๕. พฒั นาบุคลากรและระบบการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ เพื่อมุ่งจัดการศึกษาและการเรียนรู้ ทมี่ ีคุณภาพ โดยยึดหลักธรรมาภบิ าล เปา้ ประสงค์ ๑. ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมท้ังประชาชนท่ัวไปได้รับโอกาส ทางการศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษา ตามอัธยาศัย ท่ีมีคุณภาพอย่างเท่าเทียมและท่ัวถึง เป็นไปตามสภาพ ปัญหา และความต้องการของแต่ละ กลุ่มเปา้ หมาย ๒. ประชาชนได้รับการยกระดับการศึกษา สร้างเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และความเป็น พลเมือง อันนาไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน เพื่อพัฒนาไปสู่ความม่ันคง และยั่งยนื ทางด้านเศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม ประวตั ศิ าสตร์ และสงิ่ แวดล้อม ๓. ประชาชนได้รับโอกาสในการเรียนรู้ และมีเจตคติทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม สามารถคิด วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน รวมทั้งแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่าง สร้างสรรค์ ๔. ประชาชนได้รับการสร้างและสง่ เสริมใหม้ นี ิสยั รักการอา่ นเพื่อการแสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง ๕. ชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ร่วมจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการดาเนินงานการศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั รวมทง้ั การขบั เคลื่อนกิจกรรมการเรียนร้ขู องชุมชน ๖. หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนา เทคโนโลยีทางการศึกษา เทคโนโลยีดิจิทัล มาใช้ในการยกระดับ คณุ ภาพในการจดั การเรียนรู้และเพมิ่ โอกาสการเรียนรใู้ ห้กบั ประชาชน ๑

บนเ ็วบไซ ์ต ํสฉา ับนักบเงผายนแกพศร่น.๗. หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนาสื่อและการจัดกระบวนการเรียนรู้ เพ่ือแก้ปัญหาและพัฒนา คุณภาพชีวิต ที่ตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงบริบทด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และสง่ิ แวดลอ้ ม รวมท้ังตามความตอ้ งการของประชาชนและชุมชนในรูปแบบทีห่ ลากหลาย ๘. บุคลากรของหน่วยงานและสถานศึกษาได้รับการพัฒนาเพ่ือเพิ่มสมรรถนะในการปฏิบัติงา น การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ๙. หน่วยงานและสถานศกึ ษามรี ะบบการบริหารจดั การท่ีเปน็ ไปตามหลกั ธรรมาภิบาล ตัวชวี้ ดั ตัวชว้ี ดั เชิงปริมาณ ๑. จานวนผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานที่ได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ตามสทิ ธทิ ีก่ าหนดไว้ ๒. จานวนของคนไทยกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ที่เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้/ได้รับบริการกิจกรรม การศึกษาตอ่ เน่ือง และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ทีส่ อดคลอ้ งกับสภาพ ปัญหา และความต้องการ ๓. จานวนผรู้ ับบริการในพ้ืนที่เปา้ หมายไดร้ บั การส่งเสริมดา้ นการรู้หนงั สอื และการพัฒนาทกั ษะชีวติ ๔. จานวนผู้ผ่านการอบรมตามหลกั สูตรที่กาหนดของกจิ กรรมสรา้ งเครือข่ายดจิ ิทัลชมุ ชนระดับตาบล ๕. จานวนประชาชนท่ีเข้ารับการอบรมตามหลักสูตรภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารด้านอาชีพ (ระยะส้ัน) สาหรับประชาชน ในศูนย์อาเซียนศกึ ษา กศน. ๖. จานวนประชาชนท่ีเข้ารับการอบรมให้มีความรู้ในอาชีพการเกษตรที่เหมาะสมกับสภาพบริบท และความตอ้ งการของพืน้ ที/่ ชุมชน ๗. จานวนนกั เรียน นักศกึ ษา และประชาชนทัว่ ไปทเ่ี ขา้ ถงึ บรกิ ารการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ๘. จานวนนกั เรยี น นกั ศึกษาทีไ่ ดร้ บั บริการตวิ เขม้ เต็มความรู้ ๙. ร้อยละของสถานศกึ ษาท่ีมรี ะบบประกันคุณภาพภายในและมีการจัดทารายงานการประเมนิ ตนเอง ๑๐. ร้อยละของหน่วยงานและสถานศึกษาที่มีการใช้ระบบเทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดทาฐานข้อมูล ชุมชนและการบรหิ ารจัดการ เพื่อสนบั สนุนการดาเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ๑๑. จานวนบุคลากรของหน่วยงานและสถานศึกษาได้รับการพัฒนาเพ่ือเพ่ิมสมรรถนะในการ ปฏิบตั ิงานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ๑๒. จานวนองค์กรภาคส่วนต่าง ๆ ท้ังในและต่างประเทศ ที่ร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการดาเนินงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ๒

บนเ ็วบไซ ์ต ํสฉา ับนักบเงผายนแกพศร่น.ตวั ชี้วดั เชิงคุณภาพ ๑. ร้อยละของกาลงั แรงงานที่สาเร็จการศึกษาระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ หรือเทียบเท่า ได้รับการศึกษา ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลายหรอื เทยี บเท่า ๒. ร้อยละท่ีเพ่ิมข้ึนของคะแนนเฉล่ียผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบ โรงเรียน (N-NET) ๓. ร้อยละของนักเรียน/นักศึกษาท่ีมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในวิชาที่ได้รับบริการติวเข้มเต็มความรู้ เพ่มิ สูงขนึ้ ๔. ร้อยละของผู้เข้าร่วมกิจกรรมท่ีสามารถอ่านออกเขียนได้และคิดเลขเป็นตามจุดมุ่งหมาย ของกิจกรรม ๕. ร้อยละผู้จบหลักสูตร/กิจกรรมการศึกษานอกระบบที่สามารถนาความรู้ความเข้าใจไปใช้ได้ ตามจดุ มุง่ หมายของหลักสตู ร/กิจกรรมท่ีกาหนด ๖. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายท่ีลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรม มีรายได้เพิ่มข้ึนจากการพัฒนา อาชพี ตามโครงการศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชน ๗. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายท่ีผ่านการอบรมตามหลักสูตรภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร ด้านอาชีพ (ระยะสั้น) มคี วามรใู้ นการสือ่ สารภาษาอังกฤษ และสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ในการดาเนินชวี ติ ได้ ๘. ร้อยละของผเู้ ข้ารับการอบรมหลักสูตรการดูแลผู้สูงอายุกระทรวงศึกษาธิการ ผ่านเกณฑ์การอบรม ตามหลักสตู รที่กาหนด ๙. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้รับ การพัฒนาศกั ยภาพ ทักษะอาชพี สามารถมงี านทาหรือนาไปประกอบอาชีพได้ ๑๐. ร้อยละของตาบล/แขวง ทมี่ ีปริมาณขยะลดลง ๑๑. ร้อยละการอ่านของคนไทยเพ่ิมข้นึ ๑๒. ร้อยละของครู กศน. ท่ีสามารถจัดกระบวนการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารได้อย่าง สอดคล้องกบั บรบิ ทของผเู้ รยี น ๑๓. ร้อยละของคะแนนการประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสของการดาเนินงานของหน่วยงาน ๓

บนเ ็วบไซ ์ต ํสฉา ับนักบเงผายนแกพศร่น.นโยบายเรง่ ดว่ นเพอ่ื ร่วมขบั เคลื่อนยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาประเทศ ๑. ยทุ ธศาสตรด์ ้านความมัน่ คง ๑.๑ ส่งเสริมการจดั การเรยี นรตู้ ามพระบรมราโชบายดา้ นการศึกษาของ รชั กาลที่ ๑๐ ๑) เสรมิ สรา้ งความรูค้ วามเขา้ ใจทถี่ กู ต้องในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข มีความเป็นพลเมืองดี เคารพความคิดของผู้อ่ืน ยอมรับความแตกต่างและหลากหลายทางความคิด และอุดมการณ์ รวมทงั้ สงั คมพหวุ ัฒนธรรม ๒) ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ปลูกฝังคุณธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ และ อุดมการณ์ความยึดม่ันในสถาบันหลักของชาติ รวมท้ังการมีจิตอาสา ผ่านกิจกรรมลูกเสือ กศน. และกิจกรรมอื่นๆ ตลอดจนสนบั สนนุ ให้มีการจัดกจิ กรรมเพือ่ ปลูกฝังคณุ ธรรม จรยิ ธรรมให้กับบคุ ลากรในองคก์ ร ๑.๒ พัฒนาการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในเขตพ้ืนท่พี เิ ศษ ๑) เขตพฒั นาพิเศษเฉพาะกจิ จังหวดั ชายแดนภาคใต้ และพ้นื ทช่ี ายแดน ๑.๑) พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีความสอดคล้อง กบั บริบทของสังคม วัฒนธรรม และพนื้ ที่ เพือ่ สนบั สนุนการแก้ไขปัญหาและพฒั นาพ้นื ที่ ๑.๒) เร่งจดั ทาแผนและมาตรการด้านความปลอดภัยท่ีชัดเจนสาหรับหน่วยงานและสถานศึกษา รวมทั้งบุคลากรท่ีปฏิบัติงานในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยบูรณาการแผน และปฏิบตั ิงานรว่ มกบั หนว่ ยงานความม่ันคงในพื้นที่ ๑.๓) สง่ เสริมและสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรู้ในสถาบันศึกษาปอเนาะ ในรูปแบบต่างๆ ท่ีหลากหลายตรงกับความต้องการของผู้เรียน อาทิ การเพ่ิมพูนประสบการณ์ การเปิดโลกทัศน์ การยึดมั่น ในหลกั คุณธรรมและสถาบันหลกั ของชาติ ๑.๔) สนับสนุนให้มีการพัฒนาบุคลากรทุกระดับทุกประเภทให้มีสมรรถนะท่ีสูงขึ้น เพื่อให้ สามารถปฏบิ ตั ิงานได้อย่างมีประสิทธภิ าพ ๒) เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) โดยส่งเสริม การจดั การศึกษาเพ่ือยกระดับการศึกษาและพัฒนาศักยภาพประชาชน สร้างงานและพัฒนาอาชีพที่เป็นไปตามบริบท และความต้องการของประชาชนในพ้ืนที่ ๒. ยุทธศาสตรด์ ้านการพัฒนากาลงั คน การวจิ ยั และนวัตกรรมเพอ่ื สร้างขีดความสามารถในการ แขง่ ขนั ของประเทศ ๒.๑ ขับเคลือ่ น กศน. สู่ “Smart ONIE” ในการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ที่เสริมสร้างศักยภาพ ของประชาชนให้สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ ๑) พัฒนาความรู้ความสามารถ และทักษะการใช้ภาษาอังกฤษของครูและบุคลากร กศน. เชน่ Boot Camp หลกั สูตรภาษาองั กฤษ การจดั หลกั สูตรภาษาเพ่ืออาชพี ๒) พัฒนาความรู้และทักษะเทคโนโลยีดิจิทัล การใช้ Social Media และ Application ต่างๆ เพือ่ พัฒนารปู แบบการจดั การเรยี นการสอน ของครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ๒.๒ พัฒนากาลังคนให้เป็น “Smart Digital Persons (SDPs)” ท่ีมีทักษะด้านภาษาและทักษะ ดิจิทัล เพือ่ รองรบั การพฒั นาประเทศ ๑) ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้าน Digital เพื่อให้ประชาชน มีความรู้พ้ืนฐานด้าน Digital และความรู้ เร่ืองกฎหมายว่าด้วยการกระทาความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ สาหรับการใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน รวมท้ัง การพฒั นาและการเข้าสู่อาชพี ๔

บนเ ็วบไซ ์ต ํสฉา ับนักบเงผายนแกพศร่น.๒) สร้างความรู้ความเข้าใจและทักษะพ้ืนฐานให้กับประชาชน เก่ียวกับการทาธุรกิจและการค้า ออนไลน์ (พาณชิ ย์อเิ ล็กทรอนิกส)์ เพอ่ื ร่วมขับเคล่ือนเศรษฐกิจดจิ ทิ ลั ๓) พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารของประชาชนในรูปแบบต่างๆ อย่างเป็นรูปธรรม โดยเนน้ ทกั ษะภาษาเพ่อื อาชพี ทั้งในภาคธรุ กิจ การบรกิ าร และการท่องเที่ยว ๓. ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพคนให้มีคุณภาพ ๓.๑ เตรยี มความพร้อมการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอยา่ งมีคณุ ภาพ (Smart Aging Society) ๑) ส่งเสริมการจัดกิจกรรมให้กับประชาชนเพื่อสร้างตระหนักถึงการเตรียมพร้อมเข้าสู่สังคม ผู้สูงอายุ (Aging Society) มีความเข้าใจในพัฒนาการของช่วงวัย รวมทั้งเรียนรู้และมีส่วนร่วมในการดูแล รับผดิ ชอบผ้สู งู อายใุ นครอบครวั และชุมชน ๒) พัฒนาการจัดบริการการศึกษาและการเรียนรู้สาหรับประชาชนในการเตรียมความพร้อม เข้าสูว่ ัยสูงอายุทเ่ี หมาะสมและมีคุณภาพ ๓) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตสาหรับผู้สูงอายุภายใต้แนวคิด “Active Aging” การศึกษา เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิต และพัฒนาทักษะชีวิต ให้สามารถดูแลตนเองท้ังสุขภาพกายและสุขภาพจิต และรู้จักใช้ ประโยชน์จากเทคโนโลยี ๔) สร้างความตระหนักถึงคุณค่าและศักด์ิศรีของผู้สูงอายุ เปิดโอกาสให้มีการเผยแพร่ภูมิปัญญา ของผูส้ ูงอายุ และใหม้ สี ว่ นร่วมในกิจกรรมดา้ นต่างๆ ในชุมชน เช่น ด้านอาชพี กีฬา ศาสนาและวฒั นธรรม ๓.๒ ส่งเสรมิ การจัดการเรียนรู้ด้านเกษตรกรรม (Smart Farmer : เกษตรกรปราดเปรื่อง) โดยใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมในการจัดกระบวนการเรียนรู้ด้านเกษตรกรรมท่ีเหมาะกับบริบทของพ้ืนที่ และความต้องการของชุมชน รวมทั้งการเพ่ิมมูลค่าสินค้าทางการเกษตร และสร้างช่องทางการจาหน่ายสินค้า ผา่ นช่องทางตา่ งๆ โดยตระหนกั ถงึ คณุ ภาพของผลผลติ ความปลอดภัยตอ่ ระบบนิเวศน์ ชมุ ชน และผบู้ ริโภค ๓.๓ ส่งเสริมให้มีการจัดการเรียนการสอนแบบ “สะเต็มศึกษา” (STEM Education) สาหรับผู้เรียน และประชาชน โดยบูรณาการความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ควบคู่กับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ เพือ่ ประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวนั พัฒนาทกั ษะชีวิตส่กู ารประกอบอาชีพ ๓.๔ เพิ่มอัตราการอ่านของประชาชน โดยการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านในรูปแบบต่างๆ เช่น อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน ห้องสมุดประชาชน บ้านหนังสือชุมชน ห้องสมุดเคล่ือนที่ เพ่ือพัฒนาให้ประชาชน มีความสามารถในระดับอ่านคล่อง เข้าใจความ คิดวิเคราะห์พ้ืนฐาน และสามารถรับรู้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง และทันเหตุการณ์ รวมทง้ั นาความรู้ท่ีไดร้ ับไปใช้ปฏิบัตจิ ริงในชีวิตประจาวัน ๓.๕ ศนู ยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชน สู่ “วิสาหกิจชุมชน : ชมุ ชนพึ่งตนเอง ทาได้ ขายเป็น” ๑) ส่งเสริมการจดั การศึกษาอาชพี ท่สี อดคล้องกับศักยภาพของชุมชน และความต้องการของตลาด รวมทัง้ สร้างเครือขา่ ยการรวมกลมุ่ ในลักษณะวสิ าหกิจชมุ ชน สร้างรายไดใ้ หก้ ับชุมชน ใหช้ ุมชนพง่ึ พาตนเองได้ ๒) ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า การทาช่องทางเผยแพร่และจาหน่าย ผลิตภัณฑข์ องวิสาหกิจชุมชนให้เป็นระบบครบวงจร ๓.๖ จดั กระบวนการเรียนรู้ตามแนวทางเกษตรธรรมชาติสู่การพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมอย่างย่ังยนื ๑) พัฒนาบุคลากรและแกนนาเกษตรกรในการเผยแพร่และจัดกระบวนการเรียนรู้ตามแนวทาง เกษตรธรรมชาติสู่การพฒั นาอาชพี เกษตรกรรม ๒) จัดต้ังศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบระดับตาบลด้านเกษตรธรรมชาติสู่การพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม เพื่อถา่ ยทอดความรู้ด้านเกษตรธรรมชาติสู่การพฒั นาอาชพี เกษตรกรรมให้กับชมุ ชน ๕

บนเ ็วบไซ ์ต ํสฉา ับนักบเงผายนแกพศร่น.๓) ส่งเสริมให้มีการบูรณาการระหว่าง ศฝช. และ กศน.อาเภอ ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ ตามแนวทางเกษตรธรรมชาตสิ ูก่ ารพฒั นาอาชีพเกษตรกรรมให้กับประชาชน ๓.๗ ยกระดบั คณุ ภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน โดยพัฒนาหลักสูตร รูปแบบ การจัดการเรียนการสอน และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน คุณภาพของส่ือและนวัตกรรม รวมการมาตรฐาน ของการวดั และประเมนิ ผล เพือ่ สร้างความเช่อื มัน่ ให้สงั คมเกย่ี วกบั คุณภาพการจดั การศึกษาของสานกั งาน กศน. ๔. ยุทธศาสตรด์ า้ นการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษา ๔.๑ ส่งเสริมการนาระบบคูปองการศึกษามาใช้ เพ่ือสร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั ทสี่ อดคลอ้ งกับความต้องการของประชาชนผรู้ บั บริการ ๔.๒ สร้างกระบวนการเรียนรู้ในรูปแบบ E-learning ท่ีใช้ระบบเทคโนโลยีเข้ามาบริหารจัดการเรียนรู้ เพ่ือเป็นการสร้างและขยายโอกาสในการเรียนรู้ให้กับกลุ่มเป้าหมายได้สะดวก รวดเร็ว ตรงตามความต้องการ ของประชาชนผ้รู ับบริการ ๔.๓ เพ่มิ อัตราการรู้หนังสือและยกระดับการรู้หนังสือของประชาชน ๑) เร่งจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มอัตราการรู้หนังสือ และคงสภาพการรู้หนังสือ ให้ประชาชนสามารถ อ่านออก เขียนได้ และคิดเลขเป็น โดยเฉพาะประชาชนในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ และพื้นที่ห่างไกล โดยมีการวัดระดับการรู้หนังสือ การใช้ส่ือ กระบวนการ และกิจกรรมพัฒนาทักษะในรูปแบบต่างๆ ท่ีเหมาะสม และสอดคล้องกับสภาพพ้ืนที่และกลุ่มเป้าหมาย ให้ประชาชนสามารถฟัง พูด อ่าน และเขียน ภาษาไทย เพอ่ื ประโยชนใ์ นการใช้ชีวติ ประจาวันได้ ๒) ยกระดบั การรหู้ นังสอื ของประชาชน โดยจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการรู้หนังสือในรูปแบบต่างๆ รวมท้งั ทกั ษะด้านเทคโนโลยดี จิ ทิ ัล เพ่อื เป็นเครือ่ งมือในการเรียนรตู้ ลอดชีวิตของประชาชน ๔.๔ ยกระดับการศึกษาใหก้ ับกลุ่มเป้าหมายทหารกองประจาการ รวมท้ังกลุ่มเป้าหมายพิเศษอื่นๆ เชน่ คนพกิ าร เดก็ ออกกลางคนั ใหจ้ บการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สามารถนาความรู้ที่ได้รับ ไปพฒั นาตนเองไดอ้ ยา่ งตอ่ เน่ือง ๔.๕ พลิกโฉม กศน. ตาบล สู่ “กศน.ตาบล 4G” ๑) พัฒนาครู กศน. และบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู้ : Good Teacher ให้เป็นตัวกลางในการเช่ือมโยงความรู้กับผู้รับบริการ มีความเป็น “ครูมืออาชีพ” มีจิตบริการ มีความ รอบรู้และทันต่อการเปล่ียนแปลงของสังคม เป็นผู้จัดกิจกรรมการเรียนรู้และบริหารจัดการความรู้ท่ีดี รวมทั้ง เป็นผู้ปฏบิ ตั งิ านอยา่ งมีความสขุ ๒) พัฒนา กศน.ตาบล ใหม้ บี รรยากาศและสภาพแวดล้อมเอ้ือต่อการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง : Good Place Best Check-In มีความพร้อมในการให้บริการกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู้ เป็นแหล่งข้อมูลสาธารณะที่ งา่ ยต่อการเข้าถงึ และสะดวกตอ่ การเรยี นรูต้ ลอดชีวติ อย่างสรา้ งสรรค์ มสี ง่ิ อานวยความสะดวก ดงึ ดูดความสนใจ และมคี วามปลอดภยั สาหรบั ผรู้ บั บริการ ๓) ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภายใน กศน.ตาบล : Good Activities ให้มีความหลากหลาย น่าสนใจ ตอบสนองความต้องการของชุมชน เพ่ือพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของประชาชน รวมทั้งเปิดโอกาส ใหช้ ุมชนเข้ามาจดั กจิ กรรมเพื่อเชอ่ื มโยงความสมั พนั ธข์ องคนในชุมชน ๖

บนเ ็วบไซ ์ต ํสฉา ับนักบเงผายนแกพศร่น.๔) เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย : Good Partnership ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และ องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ รวมทัง้ ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อสร้างความเข้าใจ และให้ เกดิ ความรว่ มมือในการสง่ เสรมิ สนบั สนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรูใ้ ห้กบั ประชาชนอย่างมีคุณภาพ ๔.๖ ประสานความร่วมมือหน่วยงาน องค์กร หรือภาคส่วนต่างๆ ที่มีแหล่งเรียนรู้อ่ืนๆ เช่น พิพิธภัณฑ์ ศูนย์เรียนรู้ แหล่งโบราณคดี ห้องสมุด เพื่อส่งเสริมการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีรูปแบบที่หลากหลาย และตอบสนองความต้องการของประชาชน ๕. ยุทธศาสตร์ด้านส่งเสริมและจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ สิง่ แวดล้อม ๕.๑ ส่งเสริมให้มีการให้ความรู้กับประชาชนเกี่ยวกับการป้องกันผลกระทบและปรับตัวต่อการ เปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศและภยั พิบัติธรรมชาติ ๕.๒ สร้างความตระหนักถึงความสาคัญของการสร้างสังคมสีเขียว ส่งเสริมความรู้ให้กับประชาชน เกีย่ วกบั การคดั แยก การแปรรปู และการกาจัดขยะ รวมทัง้ การจัดการมลพษิ ในชุมชน ๕.๓ ส่งเสริมให้หน่วยงานและสถานศึกษาใช้พลังงานที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม รวมทั้งลดการใช้ ทรัพยากรทสี่ ง่ ผลกระทบต่อสง่ิ แวดลอ้ ม ๖. ยุทธศาสตรด์ ้านการพัฒนาประสิทธภิ าพระบบบรหิ ารจดั การ ๖.๑ พัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาเพ่ือการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ และเชื่อมโยงกับระบบฐานข้อมูลกลางของกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อการบริหารจัดการและบูรณาการข้อมูล ของประชาชนอย่างเปน็ ระบบ ๖.๒ ส่งเสรมิ การใชร้ ะบบสานักงานอิเล็กทรอนิกส์ (E-office) ในการบริหารจัดการ เช่น ระบบการลา ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ระบบการขอใช้รถราชการ ระบบการขอใช้ห้องประชุม เป็นตน้ ๖.๓ พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือช่วยในการบริหารจัดการอย่างเต็มรูปแบบ ท้ังระบบ การจัดทาแผนปฏิบัติการ และระบบการรายงานผลการดาเนินงานประจาปี รวมทั้งระบบการประกันคุณภาพ ของสถานศกึ ษา ๖.๔ ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรทุกระดับ ให้มีความรู้และทักษะตามมาตรฐานตาแหน่ง ให้ตรงกับ สายงานหรอื ความชานาญ ๗

บนเ ็วบไซ ์ต ํสฉา ับนักบเงผายนแกพศร่น.ภารกจิ ตอ่ เนือ่ ง ๑. ดา้ นการจดั การศกึ ษาและการเรยี นรู้ ๑.๑ การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน ๑) สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบต้ังแต่ปฐมวัยจนจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยดาเนินการ ให้ผู้เรียนได้รับการสนับสนุนค่าจัดซื้อหนังสือเรียน ค่าจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และค่าจัดการเรียน การสอนอย่างทวั่ ถึงและเพียงพอ เพอื่ เพิ่มโอกาสในการเขา้ ถึงบริการทางการศึกษาที่มีคุณภาพโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ๒ จัดการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพนื้ ฐานให้กับกลุ่มเป้าหมายผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาส ทางการศึกษา ทั้งระบบการให้บริการ ระบบการเรียนการสอน ระบบการวัดและประเมินผลการเรียน ผ่านการเรียน แบบเรียนรดู้ ้วยตนเอง การพบกลุ่ม การเรียนแบบชน้ั เรียน และการจัดการศึกษาทางไกล ๓) จัดให้มีการประเมินเพ่ือเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ ท่ีมีความโปร่งใส ยุติธรรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามท่ีกาหนด และสามารถตอบสนองความต้องการ ของกลมุ่ เป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๔) จัดให้มีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนท่ีมีคุณภาพท่ีผู้เรียนต้องเรียนรู้และเข้าร่วมปฏิบัติ กิจกรรม เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการจบหลักสูตร อาทิ กิจกรรมเสริมสร้างความสามัคคี กิจกรรมเกี่ยวกับ การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด การบาเพ็ญสาธารณประโยชน์อย่างต่อเน่ือง การส่งเสริมการปกครอง ในระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด กิจกรรม จิตอาสา และการจัดตั้งชมรม/ชุมนุม พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้เรียนนากิจกรรมการบาเพ็ญประโยชน์อื่น ๆ นอกหลกั สูตร มาใช้เพมิ่ ช่ัวโมงกจิ กรรมให้ผเู้ รียนจบตามหลกั สูตรได้ ๑.๒ การสง่ เสริมการรูห้ นงั สือ ๑) พัฒนาระบบฐานข้อมลู ผูไ้ ม่รู้หนังสือ ให้มีความครบถ้วน ถกู ตอ้ ง ทนั สมยั และเป็นระบบเดียวกัน ท้ังส่วนกลางและสว่ นภูมิภาค ๒) พัฒนาหลักสูตร ส่ือ แบบเรียน เคร่ืองมือวัดผลและเคร่ืองมือการดาเนินงานการส่งเสริม การรูห้ นงั สอื ท่สี อดคลอ้ งกบั สภาพแตล่ ะกลุม่ เป้าหมาย ๓) พัฒนาครู กศน. และภาคีเครือข่ายท่ีร่วมจัดการศึกษา ให้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะ การจัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับผู้ไม่รู้หนังสืออย่างมีประสิทธิภาพ และอาจจัดให้มีอาสาสมัครส่งเสริมการรู้ หนงั สือในพ้ืนท่ที มี่ ีความต้องการจาเป็นเป็นพเิ ศษ ๔) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมส่งเสริมการรู้หนังสือ การคงสภาพการรู้หนังสือ การพัฒนาทักษะการรู้หนังสือให้กับประชาชนเพ่ือเป็นเครื่องมือในการศึกษาและเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ของประชาชน ๑.๓ การศึกษาตอ่ เนือ่ ง ๑) จัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทาอย่างย่ังยืน โดยให้ความสาคัญกับการจัดการศึกษาอาชีพ เพ่ือการมีงานทาในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทาง หรือการบริการ ที่สอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน ความต้องการและศักยภาพของแต่ละพื้นที่ ตลอดจน สร้างความเข้มแข็งให้กับศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยจัดให้มีหน่ึงอาชีพเด่นต่อหนึ่งศูนย์ฝึกอาชีพ รวมท้ังใ ห้มี การกากับ ตดิ ตาม และรายงานผลการจัดการศึกษาอาชพี เพ่ือการมีงานทาอย่างเปน็ ระบบและต่อเน่ือง ๒) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตให้กับทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผู้สูงอายุ ท่ีสอดคล้องกับความต้องการจาเป็นของแต่ละบุคคล และมุ่งเน้นให้ทุกกลุ่มเป้าหมายมีทักษะการดารงชีวิต ตลอดจนสามารถประกอบอาชีพพ่ึงพาตนเองได้ มีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเอง ๘

บนเ ็วบไซ ์ต ํสฉา ับนักบเงผายนแกพศร่น.ให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข สามารถเผชิญสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และเตรียมพร้อมสาหรับการปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของข่าวสารข้อมูลและเทคโนโลยี สมัยใหม่ในอนาคต โดยจัดกิจกรรมท่ีมีเน้ือหาสาคัญต่างๆ เช่น สุขภาพกายและจิต การป้องกันภัยยาเสพติด เพศศึกษา คุณธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ผ่านการศึกษารูปแบบต่าง ๆ อาทิ คา่ ยพัฒนาทกั ษะชวี ิต การจดั ตง้ั ชมรม/ชมุ นมุ การส่งเสริมความสามารถพิเศษตา่ ง ๆ ๓) จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใช้หลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบบูรณาการในรูปแบบของการฝึกอบรม การประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้ การจัดกิจกรรม จิตอาสา การสร้างชุมชนนักปฏิบัติ และรูปแบบอื่นๆ ที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย และบริบทของชุมชน แต่ละพื้นท่ี โดยจัดกระบวนการให้บุคคลรวมกลุ่มเพื่อแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกัน สร้างกระบวนการจิตสาธารณะ การสร้างจิตสานึกความเป็นประชาธิปไตย ความเป็นพลเมืองดี การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม การบาเพ็ญ ประโยชน์ในชุมชน การบริหารจัดการน้า การรับมือกับสาธารณภัย การอนุรักษ์พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอ้ ม ชว่ ยเหลอื ซง่ึ กนั และกนั ในการพฒั นาสังคมและชุมชนอย่างยั่งยืน ๔) การจัดกจิ กรรมการเรยี นร้ตู ามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงผ่านกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิต ในรูปแบบต่างๆ ให้กับประชาชน เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน สามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างมั่นคง และมีการบริหาร จดั การความเสี่ยงอย่างเหมาะสม ตามทิศทางการพฒั นาประเทศสู่ความสมดุลและยัง่ ยนื ๑.๔ การศึกษาตามอธั ยาศัย ๑) ส่งเสรมิ ใหม้ กี ารพฒั นาแหลง่ การเรยี นรใู้ นระดับตาบล เพ่ือการถ่ายทอดองค์ความรู้ และจัดกิจกรรม เพือ่ เผยแพร่องค์ความรู้ในชุมชนได้อย่างทั่วถึง ๒) จดั กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน และพัฒนาความสามารถในการอ่าน และศักยภาพการเรยี นรู้ของประชาชนทุกกลมุ่ เปา้ หมาย ๓) ส่งเสริมให้มีการสร้างบรรยากาศ และส่ิงแวดล้อมที่เอื้อต่อการอ่านให้เกิดข้ึนในสังคมไทย โดยสนับสนุนการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ให้เกิดข้ึนอย่างกว้างขวางและทั่วถึง เช่น พัฒนาห้องสมุดประชาชน ทกุ แหง่ ใหเ้ ป็นแหลง่ เรยี นรู้ตลอดชีวิตของชุมชน ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน การสร้างเครือข่าย สง่ เสริมการอ่าน จัดหน่วยบริการเคล่ือนท่ีพร้อมอุปกรณ์เพื่อจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ที่หลากหลาย ให้บริการกับประชาชนในพื้นที่ต่างๆ อย่างทั่วถึง สม่าเสมอ รวมท้ังเสริมสร้างความพร้อมในด้านส่ืออุปกรณ์ เพอ่ื สนบั สนุนการอ่าน และการจดั กิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอ่านอยา่ งหลากหลาย ๔) จดั สรา้ งและพัฒนาศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ให้เป็นแหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตลอดชีวิต ของประชาชน และเป็นแหล่งท่องเที่ยวประจาท้องถิ่น โดยจัดทาและพัฒนานิทรรศการ ส่ือและกิจกรรม การศึกษาท่ีเน้นการเสริมสร้างความรู้และสร้างแรงบันดาลใจ สอดแทรกวิธีการคิดและปลูกฝังเจตคติ ทางวิทยาศาสตร์ ผ่านการฝึกทักษะกระบวนการท่ีบูรณาการความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ควบคู่กับเทคโนโลยี วศิ วกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ รวมทง้ั สอดคล้องกบั หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บริบทของของชุมชน และประเทศ รวมทั้งการเปล่ียนแปลงระดับภูมิภาคและระดับโลก เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และความสามารถ ในการคิดเชิงวิเคราะห์ มีทักษะท่ีจาเป็นในโลกศตวรรษท่ี ๒๑ มีความสามารถในการปรับตัวรองรับการ ผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถนาความรู้และทักษะไป ประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต การพัฒนาอาชีพ การรักษาสิ่งแวดล้อม การบรรเทาและป้องกันภัยพิบัติ ทางธรรมชาติ ๙

บนเ ็วบไซ ์ต ํสฉา ับนักบเงผายนแกพศร่น.๒. ด้านหลักสูตร สื่อ รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล งานบริการทาง วชิ าการ และการประกนั คุณภาพการศกึ ษา ๒.๑ ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้และกิจกรรมเพ่ือส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่หลากหลาย ทันสมัย รวมท้ังหลักสูตรท้องถิ่นที่สอดคล้องกับ สภาพบริบทของพ้ืนท่ี และความต้องการของกลมุ่ เป้าหมายและชมุ ชน ๒.๒ ส่งเสริมการพัฒนาส่ือแบบเรียน ส่ืออิเล็กทรอนิกส์และส่ืออ่ืนๆ ท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน กลุ่มเป้าหมายทว่ั ไปและกล่มุ เปา้ หมายพเิ ศษ ๒.๓ พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกลให้มีความทันสมัยด้วยระบบห้องเรียนและการควบคุม การสอบออนไลน์ ๒.๔ พัฒนาระบบการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ ใหม้ ีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธภิ าพ ๒.๕ พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลักสูตร โดยเฉพาะหลักสูตร ในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้ได้มาตรฐาน โดยการนาแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Exam) มาใชอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ ๒.๖ สง่ เสรมิ และสนับสนนุ การศกึ ษาวิจัย พฒั นาหลักสตู ร รปู แบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัด และประเมินผล และเผยแพร่รูปแบบการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัย เพอ่ื ใหม้ ีการนาไปสูก่ ารปฏบิ ัติอย่างกว้างขวางและมีการพัฒนาใหเ้ หมาะสมกับบรบิ ทอย่างตอ่ เนอ่ื ง ๒.๗ พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้ได้มาตรฐาน เพ่ือพร้อมรับการประเมิน คุณภาพภายนอก โดยพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสาคัญของระบบการประกัน คุณภาพ และสามารถดาเนินการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาได้อย่างต่อเน่ืองโดยใช้การประเมิน ภายในดว้ ยตนเอง และจดั ใหม้ ีระบบสถานศึกษาพีเ่ ลย้ี งเขา้ ไปสนับสนุนอยา่ งใกลช้ ิด สาหรบั สถานศึกษาที่ยังไม่ได้ เขา้ รบั การประเมินคุณภาพภายนอก ให้พฒั นาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาให้ได้คุณภาพตามมาตรฐานที่กาหนด ๓. ด้านเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ๓.๑ ผลิตและพัฒนารายการวิทยุและรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษาให้เชื่อมโยงและตอบสนองต่อ การจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษา เพ่ือกระจายโอกาส ทางการศกึ ษาสาหรับกลมุ่ เปา้ หมายตา่ งๆ ใหม้ ีทางเลอื กในการเรยี นรู้ทห่ี ลากหลายและมีคุณภาพ สามารถพัฒนา ตนเองให้รู้เท่าทันสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการส่ือสาร เช่น รายการพัฒนาอาชีพเพื่อการมีงานทา รายการติวเข้มเติมเต็มความรู้ ฯลฯ เผยแพร่ทางสถานีวิทยุศึกษา สถานีวิ ทยุโทรทัศน์เพ่ือการศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร (ETV) และทางอินเทอรเ์ นต็ ๓.๒ พัฒนาการเผยแพร่การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ผ่านระบบ เทคโนโลยีดิจิทัล และช่องทางออนไลน์ต่างๆ เช่น Youtube Facebook หรือ Application อ่ืนๆ เพ่ือส่งเสริม ให้ครู กศน. นาเทคโนโลยีดจิ ิทลั มาใช้ในการสรา้ งกระบวนการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง (Do It Yourself : DIY) ๓.๓ พัฒนาสถานีวิทยุศึกษาและสถานีโทรทัศน์เพื่อการศึกษา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และการออกอากาศให้กลุ่มเป้าหมายสามารถใช้เป็นช่องทางการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพได้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต โดยขยายเครือข่ายการรับฟังให้สามารถรับฟังได้ทุกท่ี ทุกเวลา ครอบคลุมพื้นท่ีทั่วประเทศ และเพิ่มช่องทาง ให้สามารถรับชมรายการโทรทัศน์ได้ทั้งระบบ Ku - Band , C - Band และทางอินเทอร์เน็ต พร้อมที่จะรองรับ การพัฒนาเปน็ สถานวี ทิ ยุโทรทศั นเ์ พื่อการศึกษาสาธารณะ (Free ETV) ๑๐

บนเ ็วบไซ ์ต ํสฉา ับนักบเงผายนแกพศร่น.๓.๔ พัฒนาระบบการให้บริการส่ือเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาให้ได้หลายช่องทางท้ังทางอินเทอร์เน็ต และรูปแบบอื่น ๆ เช่น Application บนโทรศัพท์เคล่ือนท่ี และ Tablet, DVD, CD, VCD และ MP3 เป็นต้น เพ่อื ให้กลมุ่ เป้าหมายสามารถเลือกใชบ้ รกิ ารเพ่ือเข้าถงึ โอกาสทางการศึกษาและการเรยี นร้ไู ดต้ ามความตอ้ งการ ๓.๕ สารวจ วิจัย ติดตามประเมินผลด้านการใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอย่างต่อเน่ือง และนาผล มาใช้ในการพัฒนางานให้มีความถูกต้อง ทันสมัยและสามารถส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของประชาชนได้อย่างแท้จรงิ ๔. ดา้ นโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดาริ หรอื โครงการอันเก่ยี วเนือ่ งจากราชวงศ์ ๔.๑ ส่งเสริมและสนับสนุนการดาเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ หรือโครงการ อันเกี่ยวเนือ่ งจากราชวงศ์ ๔.๒ จัดทาฐานข้อมูลโครงการและกิจกรรมของ กศน. ท่ีสนองงานโครงการอันเน่ืองมาจาก พระราชดาริ หรือโครงการอันเกี่ยวเนื่องจากราชวงศ์ ท่ีสามารถนาไปใช้ในการวางแผน การติดตามประเมินผล และการพฒั นางานไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ ๔.๓ ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายการดาเนินงานเพื่อสนับสนุนโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ เพ่อื ให้เกดิ ความเขม้ แข็งในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ๔.๔ พัฒนาศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” ให้มีความพร้อมในการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตามบทบาทหนา้ ทที่ ี่กาหนดไวอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ๔.๕ จัดและสง่ เสริมการเรยี นรู้ตลอดชีวติ ให้สอดคล้องกับวถิ ีชวี ิตของประชาชนบนพ้นื ท่ีสูง ถิ่นทรุ กันดาร และพ้นื ทช่ี ายขอบ ๕. ด้านการศึกษาในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ พืน้ ทเี่ ขตเศรษฐกิจพิเศษ และพ้ืนท่ีบรเิ วณชายแดน ๕.๑ พัฒนาการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยในจังหวดั ชายแดนภาคใต้ ๑) จัดและพัฒนาหลักสูตร และกิจกรรมส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ที่ตอบสนองปัญหา และความต้องการของกลุ่มเปา้ หมาย รวมทั้งอตั ลกั ษณแ์ ละความเป็นพหุวัฒนธรรมของพื้นท่ี ๒) พัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานอย่างเข้มข้นและต่อเน่ือง เพื่อให้ผูเ้ รยี นสามารถนาความรทู้ ีไ่ ดร้ บั ไปใชป้ ระโยชน์ได้จริง ๓) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาจัดให้มีมาตรการดูแลรักษาความปลอดภัยแก่บุคลากร และนกั ศกึ ษา กศน. ตลอดจนผมู้ าใชบ้ ริการอย่างทว่ั ถงึ ๕.๒ พัฒนาการจดั การศกึ ษาแบบบรู ณาการในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษ ๑) ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในการจัดทาแผนการศึกษาตามยุทธศาสตร์ และบริบทของแต่ละจงั หวดั ในเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษ ๒) จัดทาหลักสูตรการศึกษาตามบริบทของพ้ืนท่ี โดยเน้นสาขาท่ีเป็นความต้องการของตลาด ใหเ้ กิดการพฒั นาอาชีพไดต้ รงตามความต้องการของพ้ืนท่ี ๕.๓ จัดการศึกษาเพอื่ ความม่ันคง ของศนู ย์ฝกึ และพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบรเิ วณชายแดน (ศฝช.) ๑) พัฒนาศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนให้เป็นศูนย์ฝึกและสาธิต การประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม และศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบการจัดกิจกรรมตามแนวพระราชดาริปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพียง สาหรบั ประชาชนตามแนวชายแดน ดว้ ยวิธกี ารเรยี นรทู้ หี่ ลากหลาย ๒) มุ่งจัดและพัฒนาการศึกษาอาชีพโดยใช้วิธีการหลากหลาย ใช้รูปแบบเชิงรุกเพื่อการเข้าถึง กลมุ่ เป้าหมาย เช่น การจดั มหกรรมอาชีพ การประสานความร่วมมอื กับเครอื ข่าย การจดั อบรมแกนนาด้านอาชีพ ทีเ่ นน้ เรอื่ งเกษตรธรรมชาตทิ ี่สอดคลอ้ งกับบริบทของชุมชนชายแดน ใหแ้ ก่ประชาชนตามแนวชายแดน ๑๑

บนเ ็วบไซ ์ต ํสฉา ับนักบเงผายนแกพศร่น.๖. ดา้ นบคุ ลากร ระบบการบริหารจัดการ และการมสี ว่ นร่วมของทุกภาคสว่ น ๖.๑ การพฒั นาบคุ ลากร ๑) พัฒนาบุคลากรทุกระดับ ทุกประเภทให้มีสมรรถนะสูงข้ึนอย่างต่อเนื่อง ทั้งก่อนและระหว่าง การดารงตาแหน่งเพื่อให้มีเจตคติท่ีดีในการปฏิบัติงาน สามารถปฏิบัติงานและบริหารจัดการการดาเนินงาน ของหน่วยงานและสถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งส่งเสริมให้ข้าราชการในสังกัดพัฒนาตนเอง เพือ่ เล่ือนตาแหนง่ หรือเลือ่ นวิทยฐานะ โดยเนน้ การประเมินวทิ ยฐานะเชงิ ประจกั ษ์ ๒) พัฒนาศึกษานิเทศก์ กศน. ให้มีสมรรถนะท่ีจาเป็นครบถ้วน มีความเป็นมืออาชีพ สามารถ ปฏิบัติการนิเทศได้อย่างมีศักยภาพ เพ่ือร่วมยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั ในสถานศึกษา ๓) พัฒนาหัวหน้า กศน. ตาบล/แขวง ให้มีสมรรถนะสูงข้ึน เพื่อการบริหารจัดการ กศน. ตาบล/แขวง และการปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นการเป็นนักจัดการความรู้และผู้อานวย ความสะดวกในการเรียนรูเ้ พื่อให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนร้ทู ่มี ปี ระสิทธิภาพอย่างแท้จริง ๔) พัฒนาครู กศน. และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาให้สามารถจัดรูปแบบการเรียนรู้ ได้อย่างมีคุณภาพ โดยส่งเสริมให้มีความรู้ความสามารถในการจัดทาแผนการสอน การจัดกระบวนการเรียนรู้ การวดั และประเมินผล และการวจิ ยั เบือ้ งตน้ ๕) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ที่รับผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู้ ให้มีความรู้ ความสามารถและมคี วามเป็นมืออาชพี ในการจดั บรกิ ารสง่ เสริมการเรียนร้ตู ลอดชีวิตของประชาชน ๖) ส่งเสริมให้คณะกรรมการ กศน. ทุกระดับ และคณะกรรมการสถานศึกษา มีส่วนร่วมในการบริหาร การดาเนนิ งานตามบทบาทภารกจิ ของ กศน. อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ๗) พัฒนาอาสาสมัคร กศน. ให้สามารถทาหน้าที่สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ ๘) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากร รวมท้ังภาคีเครือข่าย ท้ังในและต่างประเทศในทุกระดับ โดยจัดให้มีกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสัมพันธภาพและเพ่ิมประสิทธิภาพในการ ทางานร่วมกันในรูปแบบท่ีหลากหลายอย่างตอ่ เนอื่ ง ๖.๒ การพัฒนาโครงสร้างพน้ื ฐานและอตั รากาลงั ๑) จัดทาแผนการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและดาเนินการปรับปรุงสถานที่ และวัสดุอุปกรณ์ ให้มีความพรอ้ มในการจัดการศกึ ษาและการเรียนรู้ ๒) บริหารอัตรากาลังที่มีอยู่ ทั้งในส่วนที่เป็นข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้าง ให้เกิด ประสทิ ธิภาพสงู สดุ ในการปฏบิ ัตงิ าน ๓) แสวงหาความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนในการระดมทรัพยากรเพ่ือนามาใช้ในการ ปรับปรุงโครงสร้างพ้ืนฐานให้มีความพร้อมสาหรับดาเนินกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการสง่ เสริมการเรียนรู้สาหรบั ประชาชน ๖.๓ การพัฒนาระบบบริหารจดั การ ๑) พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย และเชื่อมโยงกันทั่วประเทศ อย่างเป็นระบบเพ่ือให้หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดสามารถนาไปใช้เป็นเครื่องมือสาคัญในการบริหาร การวางแผน การปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผล รวมท้ังจัดบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัยอย่างมีประสทิ ธภิ าพ ๒) เพม่ิ ประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกากับ ควบคุม และเร่งรัด การเบกิ จา่ ยงบประมาณใหเ้ ป็นตามเป้าหมายทีก่ าหนดไว้ ๑๒

บนเ ็วบไซ ์ต ํสฉา ับนักบเงผายนแกพศร่น.๓) พัฒนาระบบฐานข้อมูลรวมของนักศึกษา กศน. ให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย และเช่ือมโยงกันท่ัวประเทศ สามารถสืบค้นและสอบทานได้ทันความต้องการเพื่อประโยชน์ในการจัดการศึกษา ให้กับผู้เรยี นและการบรหิ ารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ๔) ส่งเสริมให้มีการจัดการความรู้ในหน่วยงานและสถานศึกษาทุกระดับ รวมทั้งการศึกษาวิจัย เพ่ือสามารถนามาใช้ในการพัฒนาประสิทธิภาพการดาเนินงานที่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน และชมุ ชนพร้อมทัง้ พฒั นาขีดความสามารถเชิงการแขง่ ขนั ของหน่วยงานและสถานศึกษา ๕) สร้างความร่วมมือของทุกภาคส่วนท้ังในประเทศและต่างประเทศ ในการพัฒนาและส่งเสริม การจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั และการเรยี นรูต้ ลอดชีวติ ๖.๔ การกากบั นิเทศ ติดตาม ประเมนิ และรายงานผล ๑) สร้างกลไกการกากับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดาเนินงานการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหเ้ ชื่อมโยงกบั หนว่ ยงาน สถานศกึ ษา และภาคเี ครอื ข่ายทงั้ ระบบ ๒) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาที่เก่ียวข้องทุกระดับ พัฒนาระบบกลไกการกากับ ติดตาม และรายงานผลการนานโยบายสู่การปฏิบัติ ให้สามารถตอบสนองการดาเนินงานตามนโยบายในแต่ละเร่ือง ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ๓) ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และส่ืออื่น ๆ ท่ีเหมาะสม เพื่อการกากับ นิเทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล และรายงานผลอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ๔) พฒั นากลไกการติดตามประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิราชการตามคารบั รองการปฏิบัติราชการประจาปี ของหน่วยงาน สถานศึกษา เพ่ือการรายงานผลตามตัวชี้วัดในคารับรองการปฏิบัติราชการประจาปี ของสานกั งาน กศน. ให้ดาเนินไปอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ เป็นไปตามเกณฑ์ วธิ ีการ และระยะเวลาทก่ี าหนด ๕) ให้มีการเช่ือมโยงระบบการนิเทศในทุกระดับ ท้ังหน่วยงานภายในและภายนอกองค์กร ต้ังแต่ ส่วนกลาง ภูมิภาค กลุ่มจังหวัด จังหวัด อาเภอ/เขต และตาบล/แขวง เพ่ือความเป็นเอกภาพในการใช้ข้อมูล และการพฒั นางานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ----------------------------------------------------- ๑๓


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook