Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เเด่เจ้าดอกไม้ในรั้วมหาวิทยาลัย

เเด่เจ้าดอกไม้ในรั้วมหาวิทยาลัย

Published by กศน.ตำบลบางเพรียง, 2019-06-28 23:06:33

Description: เเด่เจ้าดอกไม้ในรั้วมหาวิทยาลัย

Search

Read the Text Version

แด่...เจ้าดอกไม้ TwItมหาๆทยาสืย i \"นจง โเนนต\" ทเขยน1?4จสันฅภา»Tnn นภ:ภภนรฟัผนาเยาวtfuauuuuHภร??M

แด่...เจ้าดอกไม ไพรั๊วมหารทยาสัย น้อง ปีแปด ชมรมนักคิดนักเขียนเพื่อสันติภาพโลก และมูลนิธิพัฒนาเยาวชนต้นแบบคิลธรรม

แด่...เจาดอก*!มไน พหาวหยาสัย น้อง ปีแปด และชมรมนักคิดน้กเขยนเพื่อสันติภาพโลก ISBN : (?rda;-3fm®®[D-cs-c จำ นวน ะ พฤษภาคม พ-ศ. ๒๕๕<ร จำ นวน ๑๐.0๐0 เล่ม ะ ๒๐๔หน้า เอรเฟ้อฝ่ายสิลปกรรม ะ บรษ้ท ครเรท โซน จำ กัด โทร. ๐-๒«๙๓-®๕®๕ ภาพประกรบ วิมลพรรณ ธติวัชรเดช ออกแบบจัดท่าปก ธาดา วงคิคุณานนท่ ออกแบบจัดท่ารปเล่ม สันทัด ทักดสาคร ลิขสิหธื้ ยูลน้ธิพัฒนาการสืกษาเพื่อสืลธรรม จัดพมพ์!ดย ยูลนิธิพัฒนาเยาวชนทันแบบคิลธรรม พิมพ์ทึ่ บริษ้ท รุ่งคิลป้การพิมพ์(๑๕ทเ๗)จำ กัด โทร. 0-๒๗๔๓-®'๐๐๐, 0-๒๗๔0-๓๑๓๐-๔ โทรสาร ๐-๒๗๔๖-๓๓๘๗ ติดต่อ ชมรมนักคิดนักเซียนเพื่อสันติภาพโลก ๑๖/®® พยู่ ๖ ต,คลองสาม อ,คลองหลวง จ,ปทุมธานี ๑๒๑๒๐ โทร. ๐-๒๘๓๑-๑๗๑๒,๐-®๖๘๗-๒๑๗๖ โทรสาร ©-๒๘๓®-®๗๑๔ www.punraksa.com e-mail; [email protected] ราคาเล่มละ บาท (รายได้พหม?เน่ามาสนับสนุนกาใเผยเพพ่ระพุทธศาสนา)

ร■พ'e> Si คำ นำ มูลนิธิพัฒนาเยาวชนต้นแบบสืลธรรม ได้เล็งเห็นถง ความสำคัญของการมีหนังสือที่ใช้เป็นคู่มือแนะนำการ ดำ เนินชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัยให้แก่เยาวชน เพราะ ตระหนักว่า อนาคตของเยาวชน คือ อนาคตของประเทศ ชาติ แต่เนื่องจากในท้องตลาดยังขาดแคลนหนังสือ แท่...ivifianlulunM'mtnAu ffl fiiih

ลักษณะนี้อยู่มากจึงได้ติดต่อไปยังชมรมนักคิดนักเขียนเพื่อสืนติภาพโลก มูลนิธิพัฒนาการสิกษๆเพื่อคิลธรรม เพื่อขอจัดพิมพ์หนังสิอ \"แด่เจ้า ดอกไม้...ในรั้รมหาริทยาลัย\"สำหร้บเผยแพรให้แก่เยาวชนและผู้ปกครอง อย่างกว้างขวางออกไป จุดเริ่มด้นของการด้นพบหนังสือเล่มนี้ เกิดขึ้นจากชมรมนักคิด นักเขียนเพื่อลันติภาพโลก ได้มอบหมายให้ \"นัอง ป็แปด\"รวบรวมและ เรียบเรียงประสบการณ!นรั้วมหาวิทยาลัยของหลายบุคคล มาเขียนตี พิมพ์ลงใน\"จุลสารบุญรักษา\"ของมูลนิธิพัฒนาการ4สืกษาเ^พิอ^คิลธรรม ตะัง แต่เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๕ - เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๗ ด้วยความที่เรื่องราวต่างๆ ที่ลงตีพิมพ์ในครั้งนั้น ได้บอกเล่าฉาก ชีวิตของใครต่อใครหลายคนอย่างเข้มข้นด้วยเนี้อหาสาระและข้อคิด จึง ทำ ให้มีเสิยงสะท้อนจากผู้อ่านกลับมาว่า\"อ่านแล้วเตือนสติเขาอย่างมาก ทำ ให้รัว่า จะวางแผนขีริตต่อไปข้างหนัาอย่างไรดี และอยากให้มีการ รวมเล่ม\" มูลนิธิพัฒนาเยาวชนด้นแบบคิลธรรม ก็เป็นหนึ่งในกลุ่มผู้อ่านที่ ประทับใจในทุกบทความด้งกล่าว และเห็นว่าทุกข้อเขียน หากนำมาให้ เยาวชนได้อ่านตั้งแต่ก่อนจะเข้ามหาวิทยาลัย ก็จะยิ่งเป็นประโยชน์อย่าง มาก เพราะเยาวชนจะได้รับแนวทางที่ถูกต้องในการวางแผนการดืกษา ตลอดจนการดูแลอนาคตของตัวเองให้ไปได้ตลอดรอดฝืงในรั้ว มหาวิทยาลัย สุดท้ายนี้ มูลนิธิพัฒนาเยาวชนด้นแบบศีลธรรม ขอขอบพระคุณ ชมรมนักคิดนักเขียนเพื่อลันติภาพโลก มูลนิธิพัฒนาการศีกษาเพื่อ แ»1.. เจ้าพรทใม้ใพ๎ม*ทิทเภ!^ข <£ \"■านำ

สีลธรรม ที่กรุณาอนุเคราะห์ต้นฉบับในการจัดพิมพ์เผยแพร่เป็นหนังสือ รวมเล่มครั้งนี้ และขออวยพรให้ผู้อ่านทุกท่าน จงประสบความสำเร็จใน ชีวิตและสิงที่ดีงามทั้งทางโลกและทางธรรมตลอดไป ตราบเข้าสู่พระ นิพพาน เทอญ พระตรีเทพ ชินังกุโร ประธานมูลนิธิพัฒนาเยาวชนต้นแบบสิลธรรม ufi,,.เจ้!คอกไม้ในรแ™าว็ท[ภรย d? คํฟา



สารบัญ คำ น่า หน้า รู้จัก...กันก่อน ๓ ปวงที่ 0 เรื่องเล่า...ของพี่ชายคนหนึ่ง ๙ เรื่องที่ ๑ ไม่ได้ที่หนึ่งไม่ได้แล้ว ๑๓ เรื่องที่ ๒ อดทนหรือทนอด ๑๕ เรื่องที่ ๓ ทุกวิกฤตคือโอกาส ๒๓ ปวงที่ ๒ จากรั้วบ้านล่รั้วมหาวิทยาลัย ๓๑ เรื่องที่ ๑ ฉันอยากให้แม่อุ่นใจ ๓๗ เรื่องที่ ๒ อยู่อย่างไรให้เป็นสุขในรั้วมหาวิทยาลัย ๓๙ ปวงที่ ๓ เรื่องตองคิด... ปวิตมหาวิทยาลัย ๔๕ เรื่องที่ ๑ ดื่มเหล้ารับน้อง ทำ ลายสมองของชาติ ๔๙ เรื่องที่ ๒ รู้จักคบเพื่อนดี มีชัยไปกว่าครื่ง ๕๑ เรื่องที่ ๓ นึกถึงแม่บ้างนะครับ ๕๙ เรื่องที่ ๔ ความรักในวันวาเลนไทน์ ๖๕ เรื่องที่ ๕ อยู่คนเดียวดี หรือว่าแต่งงานดี ๖๙ เรื่องที่ ๖ ชีวิตด้องสู้ของสุน้ขข้างถนน ๗๗ ๘๕ a« «1»10กไ>3ใน1-)»ททพิฬ1ย เทรนัญ

ปวงที่ ๔ หลุมพลางสำหรับใ)ญญาซน ๙๑ เรื่องที่ ๑ ครูบาอาจารย์ที่สิษย์ต้องการ ๙๓ เรื่องที่ ๒ เหตุที่ทำให้ความรู้สูญหายไปจากโลก ๙๙ เรื่องที่ ๓ หลุมพรางสำหรับนักสืกษา ๑๐๕ เรื่องที่ ๔ นินทากาเลั ๑๑๗ เรื่องที่ ๕ อย่าหมั่นไสัหรีออิจฉาใคร ๑๒๓ ปวงที่ ๕ แกตนให้เป็นบัณห้ต ๑๒๙ เรื่องที่ ๑ อ่านอย่างไร จึงเรียกว่า \"อ่านหนังสือเป็น\" ๑๓๑ เรื่องที่ ๒ นักวิทยาศาสตร์กับศาสนาพุทธ ๑๓๗ เรื่องที่ ๓ \"ยาไต้\" กับ \"ยาใจ\" ๑๔๓ เรื่องที่ ๔พระพุทธศาสนากับใบปริญญา ๑๔๙ เรื่องที่ ๕ กิจวัตรปอเกิดนิสัยคน ๑๕๗ เรื่องที่ ๖ รู้จักรักษาอารมณ์ ๑๖๓ ปวงที่ ๖ บัณฑิตย่อมแกจัตให้ผ่องใส ๑๖๙ เรื่องที่ ๑ คลายเครียดอย่างถูกวิธี ๑๗๑ เรื่องที่ ๒ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสมาธิ ๑๗๗ เรื่องที่ ๓ แนะนิาวิธีฝ็กสมาธิเบื้องต้น เรื่องที่ ๔ ประโยชน์ของการฝึกสมาธิ ๑๘๗ เรื่องที่ ๕ ต้นหาความจริงของชีวิต ๑๙๕ ๒๐๑ แค่ ..1จ้า«อกไม้ใน <!ร เทาฟ้ญ

รู้จัก...กันก่อน ผมชื่อ น้อง ปีแปด เป็นคนธรรมดาคนหนึ่งที่ยัง ไม่ได้รู้อะไรไปเสียทุกเรื่อง แต่คติประจำการสืกษาเล่า เรียนของผมก็คือ \"ถูกเป็นครู\" เพราะถ้าเอา \"ผิดเป็นครู\" ปอยๆ คงไม่ดีแน่ ชีวิตในมหาวิทยาลัยของผม เต็มไปด้วยการ ลองผิดลองถูกมากมาย ก็อย่างที่บอกนั่นแหละ เพราะ แค่ อกใฟ้น11มพฑ็ทน!รัย <9! .รันrfou

ผมยังไม่รู้ทั่วทุกเรื่อง ชีวิตจึงมีทั้งเรื่องราวไร้สาระ และเรื่องราวที่เป็น ประโยชน์ บางครั้งสนุกสนาน บางครั้งโลดโผน บางครั้งเจ็บตัว บางครั้ง เจ็บใจ บางครั้งเกือบตาย บางครั้งก็เป็นความลับ เล่าให้เพื่อนฟังสนุกๆได้ แต่ห้ามเล่าให้พ่อแม่ฟัง ซึ่งโดยรวมๆ แล้ว ก็มีความสุขมากกว่าความทุกข์ ทุกวันนี้ ผมจบจากมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งของรัฐบาลมาเกือบสิบ ปีแล้ว แต่มหาวิทยาลัยชีวิตของผมนั้น เพื่งเรียนรู!ปได้นิดหน่อยเอง ผมยังเรียนไม่จบมีเรื่องราวที่ต้องสืกษาค้นคว้าเพื่มเติมกันไปตลอดชีวิต และไม่มีใครมาออกใบปริญญาบัตรให้ นอกจากความสุขจากการที่เรา เป็นผู้ให้นั่นแหละ จะเป็นผู้ออกใบปริญญาบัตรให้แก่ตัวผมเอง อย่างไรก็ตาม ชีวิตโดยรวมๆ ของผมทุกวันนี้ ก็มีความสำเร็จบ้าง แม้อาจจะเล็กๆ น้อยๆ แต่ก็พอเป็นกำลังใจให้เราเดินไปกับคนอื่นๆ ใน ลังคมได้อย่างรู้เท่าทันและมีความสุข โดยส่วนตัว ผมชอบชีวิตที่มีความเป็นอยู่อย่างสงบเงียบ เรียบง่าย ไม่หวือหวา ไม่ๅนวาย มีเวลาค้นคว้าตำรับตำรา มีเวลาฝึกสมาธิให้จิตใจ สงบและมีสติ ซึ่งตอนนี้ ผมก็ได้มีชีวิตอย่างที่ต้องการนี้จริงๆ มันจึง ทำ ให้ผมมีเวลามากพอ ที่จะเตือนสติตัวเองหลายๆ เรื่อง มีเวลามาก พอที่จะแปงมาคิดถึงความสุขความทุกข์ของคนอื่นๆ บ้าง โดยเฉพาะคน อื่นๆ ที่หมายถึงคนรุ่นหลัง ซึ่งกำลังจะก้าวเดินขึ้นมาเป็นส่วนหนึ่งของ V สืงคมนเอง กฎเกณฑ์ของธรรมชาติมีอยู่ว่า คลื่นลูกใหม่ย่อมเกิดขึ้นมา ทดแทนคลื่นลูกเก่าเสมอ วันหนึ่งคนรุ่นใหม่จะต้องก้าวขึ้นมาแทนที่ๆ ผมนั่งอยู่ตรงนี้อย่างแน่นอน แล้วตัวผมก็คงต้องแก่ตัวลงไปเรื่อยๆ ตาม วัยและเวลา สิงที่ต้องคิดล่วงหน้าก็คิอ ลังคมของเรานี้ จะต้องมีคนรุ่น หลังก้าวขึ้นมาช่วยกันดูแลต่อไป เราจะหล่อหลอมเขาอย่างไร ให้เขา นค่ winBnlijlulijm'nritnBU fflO j?n.Jiuriau

เติบโตมาเป็นผู้นำที่ดีของครอบครัว และสามารถดูแลสังคมนี้ให้เข้มแข็ง และมีความสุขท่ามกลางกระแสโลกที่เชี่ยวกรากด้วยการแข่งข้นอย่างเอา เป็นเอาตายได้ พระพุทธเจ้าทรงชี้ให้เราเห็นว่า\"ถ้าเราอยากได้อนาคตที่ดี เราก็ด้อง ทำ ปัจจุบันให้ดี\" ผมตระหนักถึงข้อนี้ และอยากมีสังคมที่ดี ได้อยู่อาด้ย ในยามบั้นปลายชีวิต ซึ่งอย่างน้อย ผมก็แอบฝืนไว้ว่า ควรจะเป็นสังคม ไทยที่มีความสงบสุข ลูกหลานของเรามีดีลธรรมจรรยา รู้จักเสัยสละ เพื่อส่วนรวม ไม่เอาเปรียบสังคม ควบคู่ไปถ้บการพัฒนาเทคโนโลยี ของประเทศให้ก้าวไกลและเป็นประโยชน์สุขต่อชาวโลก ประเด็นสำคัญจึงอยู่ที่ว่า ผมจะทำอย่างไร เพราะลำพังเพียงคน เดียวคงทำอะไรไม่ได้มาก โชคดีที่โลกใบนี้มีคนที่คิดตรงกับผม คิดมาก่อนผม และทำได้ดีกว่าผมอยู่จำนวนไม่น้อย ผมจึงได้อาคัย ประสบการณ์ของท่านเหล่านั้นมาเป็นแนวทางที่จะทำหนังสือเล่มนี้ชี้นมา เพราะดูแล้วว่า น่าจะเป็นสิงที่ผมทำได้เหมาะสมที่สุดในขณะนี้ ผมไต่ถามตัวเองว่า ถ้าผมสามารถย้อนเวลากลับไปเรียน มหาวิทยาลัยได[หม่ ผมอยากได้ข้อมูลอะไรบ้าง มาพัฒนา-ฝ็กฝน- อบรมตัวผมในช่วงปี ๑ - ๔ ให้เก่งขึ้น ฉลาดขึ้น ซึ่งจะมีผลทำให้ผม พัฒนาตัวเองไปได้เร็วกว่าตอนนี้ และนั่นคือจุดเริ่มด้นของการรวบรวม เรื่องราวประสบการณ์สนุกๆ เข้มข้น ปนสาระของผมบ้าง ของรุ่นพี่ๆ รุ่น น้องๆ บ้าง จนในที่สุดกลายมาเป็นหนังสือที่นำมาเล่าล่ \"น้องใหม่ปี ๑ จนถึงพี่ๆ ปีสุดท้าย\"ได้พังกัน ด้งนั้นขอเชิญทุกท่านพบกับเรื่องราวต่างๆ จาก\"แต่...เจัาดอกไม้ ในรั้วมหาวิทยาลัย\" เพี่อเอา \"ลูกเป็นครู\"จากหนังสือเล่มนี้!ด้เลยครับ แ« เ'?11»10ทใม้ใน1ว>.-พาวิท1กล้ย <3® j''\"-

ไ;. '^- '^''ร. <'^J >y%t#*vwii*%พ ชุ^' 1.. ritaiirtfiriiiliai •*r^ ' ^ / f/ '■ •/ •■ ^ ๚รเ0^ . '' ร ,y \"'5a•1s i*^ -

ช่วงที่ 0 เ^จงเส่ใ... ขจงฟิ<2/1ยคนหนง 1เร1 A'งร^^ m f\" mt

T«W5

ช่วงท 9 ะ เฟองเล่า...ของพี่ชายคนหนง โดย ช่ยกักร กักรกพากร \"ไม่ได้ที่หนึ่ง ... ไม่ได้แล้ว\" นเป็นครั้งแรกที่ผมตัดสินใจเขียนเล่าประสบการณ์ ด้านการสืกษาฃองตัวเอง เหตุที่ผมเขียนก็เพราะมี พระอาจารย์รูปหนึ่งท่านมาปรารภกับผมว่า แร่ เจ้าคอกไม้ไน'■แพทิท!ภรย 6)(£ ฟ้รนร!

\"เวลานี้ประเทศไทยเราน่าเป็นห่วง จากสถิติหลายหัวฃ้อที่เกี่ยวกับ ลูกหลานเราตอนนี้ ปงบอกว่า ลูกหลานไทยไม่ค่อยจริงจังในเรื่องการ พัฒนาตนเอง เพื่อมาเป็นพลังของประเทศ พอเรียนจบมาแล้ว ยังตอบไม่ ได้ว่า เขาจะช่วยเหลือลังคมและแปงเบาภาระเศรษฐกิจของชาติได้อย่างไร ขณะที่เยาวชนในประเทศเพื่อนบ้านของเรา เขาเอาจริงเอาจังกับการพัฒนา ตนเอง ยกตัวอย่างเช่น เด็กชั้นมัธยมปลายส่วนมากของเวียดนาม อ่าน วรรณกรรมสำคัญๆ ของโลกจบไปแล้ว ซึ่งสิงเหส่านีจะเป็นพีนฐานทาง ความคิดในการพัฒนาประเทศของพวกเขาต่อไปในอนาคต บางทีเด็กไทย อาจต้องการแรงจูงใจในการฝึกตัวเอง ผู้ใหญ่ต้องมาช่วยกันสร้างตรงนี้\" ผมเห็นด้วยกับที่พระอาจารย์ท่านบอกก็เลยตัดสินใจเขียนเส่าเรื่อง ของตัวเองให้น้องๆ ฟัง ผมก็หวังว่า เรื่องเส่าจากพื่ชายคนหนึ่งนี้ จะเป็น ข้อมูลที่ดีที่สร้างแนวทางให้แก่น้องๆ ได้ใชโนการคิกษาเส่าเรียนของ ตนเองให้ดีที่สุดต่อไปครับ เรมต้นชีวิต ชีวิตของผม เกิดในกรุงเทพฯ นี้เอง ครอบครัวของผมเป็นคนจีน ดั้นด้นมาเมืองไทยในยุคหอบเลือผืนหมอนใบ มาอาคัยอยู่แถวคลองเตย ความเป็นอยู่ข้ดสน ต่อมาก็ย้ายไปอยู่ที่เชียงใหม่ เมื่อตอนผมอายุได้เพียงขวบเดียว พ่อของผมไปทำงานก่อสร้าง ส่วนแม่เป็นแม่บ้าน มืพื่น้องรวมกัน ๕ คน ทำ ให้ผมต้องช่วยพ่อแม่ทำมาหากินดั้งแต่เล็กๆ ผมโตที่เชียงใหม่ เรียนจบชั้นมัธยมที่โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย ซึ่งเป็นโรงเรียนประจำจังหวัดเชียงใหม่ และจบการคิกษาระดับปริญญา ตรีจากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ uti. เร้าค0กใฟ้นฑั้พพทิทนารัย Ob 1ม่นแ1)ฟ้4..ไฝพนรว

เมื่อจบการสีกษา ก็มาทำงานด้านก่อสร้างกับบริษัทใหญ่ๆ หลาย แห่ง อาทิเช่น บ. อิตาเลียน-ไทย จำ กัด (มหาชน), บ. สยามชินเท็คคอน สตรัคชั่น จำ กัด(มหาชน) และเคยเปิดบริษัททำกิจการเกี่ยวกับการผลิต เครื่องใช้ เครื่องเรือนทำด้วยไม้ ส่งออกไปยังต่างประเทศ ปัจจุบันเป็นผู้ จัดการทั่วไปของบริษัทแห่งหนึ่ง ซึ่งผลิตเฟอร์นิเจอร์ส่งออกไปยังญี่ปุน และอเมริกา สาเหตุจูงใจที่ทำให้ผมต้องสอบไหได้ที่ ๑ ทุกปี ก็มาจากความ อยากเรียน อยากมีการสีกษา เพราะเชื่อว่าการสีกษาเป็นเหมือนสมบัติ จักรพรรติ ใชํflม่มืวันหมดเน อะไรทำให้ผมคิดเช่นนี้ เรื่องมีอยู่ว่า เย็นวันหนึ่ง ตอนที่ผมเรียนอยู่ชั้นประถมปีที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๑๔) แม่ของผมก็เรียกเช้าไปพบ บอกกับผมตรงๆ ว่า ฐานะ ทางบ้านเรายากจนไม่สามารถจะส่งลูกเรียนต่อได้ พี่ชายคนโตก็ก่าลัง เรียนอยู่ และน้องๆ ก็ยังต้องส่งเรียนอีก ๓ คน แม่จึงอยากให้ผมออก มาช่วยงานที่บ้าน ตอนนั้น ครอบครัวผมเปิดแผงลอยขายนํ้าเต้าหู้ช้างถนน รายได้ ตอนนั้น บางวันไม่ถึง ๒๖ บาท ผมก็คิดหาทางออกว่า ทำ อย่างไรถึงจะ ได้เรียนต่อ ความรู้สืกตอนนั้น ผมใจหาย คิดถึงเพี่อนที่เรียนด้วยกันมา เลียดายโอกาสที่จะได้สีกษาเส่าเรียน ในอนาคตความรู้แค่ ป.๔ คงไม่ สามารถหางานดีๆ ทำ ได้แน่ยิ่งคิดก็ยิ่งเลียใจ และครุ่นคิดใพาวะที่บีบคั้น ใจทแสวจหาหนทาจ ย่อมพนกาจ๐อก เป็นจังหวะพอดีที่โรงเรียนมีนโยบายด้านทุนการสีกษาสำหร้บเด็ก แท่ ทวิทยารน ®ฬ ไฟ่โรรรฬง-ไฟ้รนรร

ที่สอบได้ที่ ๑ ของระดับชั้น จะได้เรียนฟรี ๑ ปี และนีเป็นเหมือนแสง สว่างสำหร้บผม ชั้น ป.๔ ที่ผมเรียนนั้น มื ๓ ห้อง รวมกันแล้วก็ประมาณ ๑๐๐ คน ถ้าผมสอบได้ที่ ๑ ของระดับชั้น ผมก็จะได้เรียนฟรี (ตอนนั้นผม สอบได้ที่ ๗ ของห้อง) แต่การไปขอกับแม่ ก็คงยาก เพราะที่บ้านไม่มื ใครช่วยงาน ผมจึงเริ่มหันเป้าหมายไปที่พ่อ ซึ่งเป็นคนไม่ค่อยพูด แต่ใจดี ผมเริ่มหาวิธีการที่จะพูดกับพ่อ โดยทุกวันหลังกลับจากโรงเรียน เปลี่ยนเสือผ้าเสร็จแล้ว ก็เข้าไปช่วยงานคั้นกากถั่วทำนํ้าเต้าหู้ ตามปกติ ผมก็ขยันอยู่แล้ว แต่หลังจากที่มืความหวัง ผมก็ยิ่งเพิ่มความขยันใน การช่วยงานพ่อเป็นสองเท่า ผ่านไปเดีอนหนึ่ง พ่อพอใจในตัวผมมาก ก็เอ่ยปากว่า ถ้าลูก อยากได้อะไรให้บอกพ่อนะ เป็นโอกาสที่ผมรอมานาน ผมรีบพูดทันทีว่า \"พ่อครับ ผมอยากเรียนต่อ\" พ่อถึงกับอึ้ง ผมก็ถามอีกว่า \"ทำไมพีชาย ให้เรียนต่อได้ล่ะ ผมก็ลูกพ่อเหมือนกัน\" ผมมืนิสัยช่างลังเกตช่างเปรียบ เทียบมาตั้งแต่เล็ก เลยถามออกไปอย่างนัน ในทีสุด พ่อก็รับปากว่าจะ พูดกับเฌให้ วันหนึ่งพ่อสังเกตเห็นแม่อารมณ์ดี เลยยกเริ่องนี้มาพูด ผมเห็น สืหน้าแม่เปลี่ยน เลยรีบเข้าไปร่วมวงสนทนาด้วย เล่าทุกอย่างทีเป็น ประกาศของโรงเรียนให้แม่ทราบ \"ถ้าผมสอบได้ที่หนึ่ง แล้วได้ทุน แม่จะให้ผมเรียนต่อไหม\" เฌ่ไม่ เคยเห็นผมได้ที่ ๑ มาก่อน ก็เลยไม่ค่อยแนใจ ผมบอกแม่ว่า \"ถึงแม่จะ ไม่เคยเห็น ก็ขอให้ผมได้มีโอกาสลองดูลักครั้ง\" แม่นั่งนึ่งไปครู่แล้วพูดว่า \"ลองดู\" พอแม่อนุญาต ผมรู้ถึก นค๋ 1วัา«อกไผในรั้วมหาวิทขาลัย ใม่1ลั1|ห{{|)...ไฝ1ลันลัว

ลาเหตุจูงใจกี่ทาใหัผบตัองลอบใหัไดักี่ ๑ ฤก ปี ก็บาจากควานอยากเรียบ อยากมีการ ศกษา เพราะเชื่อว่าการศกษา เปีนเหมีอน ลบปติจักรพรรดิ ใช้]ปมีวันหบดสํบ เหมือนได้ร้บโอกาสจากสวรรค์ ผมดีใจมาก และคิดหาหนทางที่จะสอบ ไหได้ที่ ๑ ไปไดทหนึ่ง ไปได้แล้ว ผมรีบไปขอยืมสมุดพกเพื่อนที่สอบได้ที่ ๑ มานั่งดู เทียบคะแนน กันแล้ว ผมได้คะแนนมากกว่าทุกวิชา แต่มืวิชาเดียวที่ผมได้น้อยกว่าเขา คือวิชาพัฒนาการทางนิสัย ผมได้น้อยกว่าเขาถึง ๑๑' คะแนน ผมเปีน เด็กชนมาก แต่เพื่อนคนนั้นเปีนเด็กเรียบร้อย ทุกเช้าจะมีดอกไม้มาใส่ แจกันบนโต๊ะครูเปีนประจำชั้น เมื่อเห็นจุดอ่อนนี้ ผมก็รีบหาทางแกไข นค่...เ51«8กไม้ใน|วนทฑิทย1รย fijof MSiJiriii.MiSuJ-i

ผมตั้งใจเรียนมาก แม้ปวย ก็ไม่ยอมขาดเรียนเลยแม้แต่วันเดียว นั่งเรียนไม่ไหว ขอนอนเรียนหลังห้องก็ยังดี ได้ยินครูสอนทุกวิชาต่อ เนื่องกัน เหมือนดูหนังตั้งแต่ด้นเรื่องก็เลยเข้าใจ พอกลับถึงบ้าน ผมก็ใช้ เวลาให้เป็นประโยชน์อย่างเต็มที่ เวลาช่วยงานบ้าน ผมก็เอาหนังสีอมา วางใกล้ๆ สองมือทำงาน สองตาดูหนังสิอ ปากท่องไป ใจก็คิดทำความ เข้าใจไปด้วย ทำ ปอยๆ ก็จะเข้าใจ เมื่อเข้าใจ ทำ ข้อสอบทีไรก็สบาย ผม ทำ อย่างนี้จนกลายเป็นนิลัยติดตัว ทำ ให้รู้ว่าควรวางแผนทำอะไรก่อนทำ อะไรหลัง ก็เลยทำให้ผมสอบได้ที่ ๑ ทุกปี ตั้งแต่ ป.๔ เป็นตันมา ผมคิดว่าน้องๆสมัยนี้มีโอกาสทางการดีกษามากกว่าสมัยก่อนมาก ทั้งวิทยาการเทคโนโลยีต่างๆ ก้าวหน้ามาก สถานดีกษาก็ม้1ห้เสือกมากมาย สอบเข้าที่ไหนไม่ได้ ก็เสือกสถานดีกษาเอกชนได้อีก ทำ ให้เด็กส่วนใหญ่ ขาดการกระตือรีอร้น อีกอย่างคือ คนรุ่นพ่อแม่เคยผ่านความลำบากมากมาย จึง พยายามเอาใจลูกหลาน ไม่อยากให้ลำบากเหมือนตัวเอง ซึ่งโดยมากจะ เน้นไปที่วัตถุสิ่งของมากกว่าจิตใจทำ ให้น้องๆ ที่ควรจะสนใจเรียนหลายๆ คนห้นเหไปในเรื่องฟ่มเฟือยมากกว่า เลยขาดแรงกระตุ้นที่จะสนใจเรียน บางทีความอยากให้ลูกสบาย ก็บั่นทอนอนาคตของลูกโดยไม่รู้ตัว พอ ลูกโตขึ้นประเทศชาติก็เลยขาดกำลังสำคัญไปอย่างน่าเสียดาย การตั้งใจเรียน ก็|0นกา813วยชาติอย่างหนึ่ง คนที่จะช่วยประเทศชาติได้ ต้องฝ็กความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ตนเองในแต่ละด้าน เช่น เป็นลูกก็ด้องกตัญญกตเวทีต่อพ่อแม่ ทำ ให้ ท่านสบายอกสบายใจที่ได้เราเป็นลูก ช่วยให้ท่านซึ่นอกชื่นใจ เมื่อเป็น นักเรียน ก็มืหน้าที่หมั่นดีกษาหาความรู้ ตั้งใจเส่าเรียน ซึ่งจะต้องเริ่มจาก แท่. i5i«onlม้ใฬ้วนพt5ทย1ล้ย telO liilSJtแฟ้ง..ใฟ้ท่ฟรว

\"ใจ\" ที่มุ่งมั่นจะสิกตัวเองให้มีความรับผิดชอบ ตัวเราเองก็จะก้าวหน้า ครอบครัวก็จะเจริญขึ้น เมื่อเราออกส่โลกกว้าง เราไปตรงไหน ก็ช่วย ทำ ให้สังคมเจริญขึ้นได้ ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยชาติระดับรากหญ้าทีเดียว ผมหวังว่า ข้อเขียนชิ้นนี้ จะเป็นแรงกำลังใจให้น้องๆ ใช[อกาส ทางการสืกษาที่มี ตั้งใจเรียนให้เต็มที่ ให้สมก้บที่คุณพ่อคุณแม่ตั้งความ หวังเอาไว้ และมุ่งฝ็กฝนตัวเองให้เป็นคนดีและคนเก่ง เติบใหญ่ขึ้นมาก็ จะได้เป็นกำลังสำคัญของประเทศชาติในอนาคตครับ น« เ4ไคอกไม้ในเวพแวิทน-ทับ เอฺ® ฬทั{เท(เง ไฟ้ทัฟรา



ช่วจที่ ๑ ะ เรอจเล่า...ข๐จพี่ชายคนหนี่) 1ดย เรยrTns เรารกพากร \"อดทน\" หรือ \"ทนอด' ฒ \"นอกจากป็ญญาแล้ว ตถาคตสรรเสริญว่า ขันติ เป็นคุณธรรมอย่างยิ่ง\" นี่เป็นพระดำรัสของพระสัมมาล้มพุทธเจ้าที่ แสดงให้เห็นว่า ถ้าหากไม่มีความอดทนเป็นพื้นฐานก็ ยากที่จะประสบความสำเร็จในชีวิตได้ นต่พ้บ!aทไม้ใน?ว>๓■ทิท(ทรัย lB(n -เพเพน\" ฬ0 ■mjan\"

ใช่แล้วคร้บ วันนี้ผมนำเรื่อง ความอดทน ซึ่งเป็นคุณธรรมสำคัญ ที่ขาดไม่ได[นการแสวงหาความรู้ เพื่อเพิ่มพูนปัญญาให้แก่ตัวของเรามา เล่าให้ฟังคร้บ คำ ว่า \"อดทน\" มีความหมายแยก เป็น ๒ คำ คือ \"อด\" เป็นอาการที่อยากจะได้ แต่ไม่ได้ \"หน\" เป็นอาการที่ไม่อยากได้ แต่ต้องได้ เพราะฉะนั้น คำ ว่า\"อดทน\"จึงหมายถึง การรักษาภาวะปกดิของ ตนไวํได้แม้จะถูกกระทบกระทั่งจากสิงที่ปรารถนาห่รือไม่ปรารถนาก็ตาม แน่นอน น้องๆ ที่มาเรียนหน้งสิอในทุกวันนี้ คงอยากจะรู้ว่า ตัว เองมีความอดทนในการคืกษาเล่าเรียนเพียงไหน ลองตามมาดูตัวอย่าง บางช่วงชีวิตของพื่ที่จำเป็นต้องอดทนเพื่ออนาคตกันบ้างครับ จะได้ลอง นำ มาเปรียบเทียบกับความโชคดีของน้องๆ และเป็นเครื่องกระตุ้นเตือน ใจให้หมั่นคืกษาเล่าเรียนเพิ่มขึ้นครับ อดทนต่อควาบลาบากตรากตรำ ฤดูหนาวของจังหวัดเชียงใหม่ อากาศจะหนาวจัด เพราะเป็นเมือง ในหุบเขา ด้านทิศตะวันตกมีดอยสุเทพตระหง่านเป็นปราการหลังอยู่ เมื่อมีลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดปกคลุมมาจากประเทศจีน ทำ ให้ อุณหภูมิลดตํ่าลงมาก จนทำให้ศรูเสาวภา ครูประจำชั้นประถมปีที่ ๗ ของผม ซึ่งย้ายภูมิสำเนามาจากภาคใต้ ท่านแพ้อากาศ ไม่มีเสียงพูดเลย ต้องใช้การจดบนกระดานดำ หรีอภาษาใบ้สอนน้กเรียนน่าเห็นใจมากคร้บ ตัวของผมเอง ด้วยความจนบังคับ จึงต้องไปช่วยพ่อแม่ค้าขาย Ufi winanliSluiiMv\"พิย!สัน totf -Ddrnj\" irta -พชรด\"

ในตอนกลางคืน กลับถึงบ้านก็ประมาณเที่ยงคืนเป็นอย่างน้อย แต่ด้วย นิลัยรักการอ่าน การเรียนรู้ ก็จะต้องนั่งอ่านหนังสือที่โต๊ะซึ่งคุณพ่อต่อ ให้ใช้ทำการบ้านทุกคืน อ่านเรื่อยมาจนถึงตีสามตีสี จึงทำให้รู้ว่าอากาศที่ 'งนิเอง อากาศที่เย็นจัดอย่างนี้ ทำ ให้นี้วมือนิ้วเท้าพลอยเป็นปัญหาขยับ ไม่ค่อยได้ ผมก็เลยต้องต้มนํ้าร้อนใส่ถัง แล้วผสมนํ้าให้อุ่นมาไว่ใต้โต๊ะ เพี่อใช้แช่เท้า และเอาผ้านวมคลุมตัวไว้โผล่แต่ศรีษะออกมา ก็เลยทำให้ อ่านหนังสือต่อไปไต้ ไม่รู้ว่าน้องๆ สมัยนี้ อ่านหนังสือลำบากลำบนอย่าง นิบ้างไหม ถัานัองอ่านสบายกว่าผมล่ะก็ นับว่าเป็นบุญเป็นโชคของน้อง แล้ว ควรที่จะเอาใจใส่ ตั้งใจหมั่นคืกษาเล่าเรียนให้เต็มที่ครับ แต่ทว่า เรื่องนี้ก็เป็นความอดทนในระต้บที่เรียกว่า ความอดทนต่อ ความลำบากตรากตรำทางกาย เป็นความอดทนระดับต้นเท่านั้น ยังมี ความอดทนที่ยิ่งกว่าที่เราจะต้องฝึกฝนต่อไป อดทนต่อทุกขเวทนา ความอดทนในระดับสูงขึ้นมาอีก เป็นความอดทนต่อทุกขเวทนา ซึ่งผมไต้เคยเล่าให้น้องๆ ฟังในคราวก่อน คือ แม้จะไม่สบายเพียงไหน ถ้ายังลุกไหว ก็จะไปเรียนให้ไต้ เพราะถ้าไม่ไต้เป็นโรคอะไรที่ร้ายแรง ยัง ไงเสืยก็คงไม่ตาย เมื่อไม่ตาย แล้วเราจะมานอนชมอยู่ทำไม ด้วยเป้า หมายในใจที่จะตั้งใจเรียนหนังสือให้ไต้ที่หนึ่งให้ไต้ เราต้องไปเรียน ไป เพี่อตัวเรา อย่าคิดว่า สิ่งที่เราทำนี้ เพี่อคนอื่น ต้องคิดว่าเป็นการกระทำ เพี่อฝึกฝนตัวเองทั้งนั้น ทำ ให้ในสมุดบันทึกเวลาเรียนนั้น ผมไม่เคยขาด เรียนเลย นท่ เจ้!fioกไม้ในร-)»ททวิทพfo 1s3(£ kIb -JtUOfl\"

ในชั้นประถมต้น แม่ให้เงินมาโรงเรียนวันละ ๑ บาท เป็นค่า อาหารทั้งเช้าและกลางวัน ค่าอาหารที่โรงเรียนจานละ ๑ บาท ถ้ากิน อาหารเช้า ก็ต้องอดอาหารกลางวัน ส่วนขนมก็ไม่ต้องพูดถึง นั่นก็ หมายความว่า ผมต้องเลือกมื้อใดมือหนึ่งนั่นเอง ผมเลือกเก็บเงินไว้ชือ กินมื้อกลางวันครับ เพราะฉะนั้น มื้อเช้าต้องยอม \"อด\" ระหว่างพักเรียนช่วงสิบโมงเช้า ผมต้องรีบใปที่ก็อกประปาของ โรงเรียน ซึ่งต่อกับท่อนํ้าขนาด ๒ นิว ต่อยาวๆ มืรางคอนกรีตรองรับนำ ช้างล่าง มืก๊อกเรียงเป็นแถว แล้วกินนํ้ากลั้วท้องเป็นเวลาหลายๆ ปี จน กระทั่งเข้ามหาวิทยาลัยด้วยนํ้าหนักตัว ๔๕ กิโลกรัมเท่านั้น ความ หิวโหยเป็นอย่างไร นึกภาพออกเหมือนราวกับเกิดขึ้นไม่นานนี น้องๆ สมัยนึ้โชคดี พ่อแม่มืให้กินครบมื้อ หรีอมากกว่าเลืยอีกขอ ให้อย่าลืมเผื่อแผ่คนที่ขาดแคลนบ้างนะครับ อดกนต๐การกระทบกระทง ความอดทนในระดับสูงขนkมาอีกเรียกว่า อดทนต่อการกระทบ กระทั่งถ้ามืคนตั้งแต่สองคนขึ้นไปก็มีโอกาสที่จะกระทบกระทั่งกันแนํนอน และสิงที่ทำให้เจ็บใจมากที่สุดคงไม่มือะไรเกินคำพูด คำ พูดแม้เป็นเพียงลมปาก แต่จะพูดให้คนใจดกหมดกำลังใจ หรือมีกำลังใจในการทำความดีก็ได้หลวงพ่อของผมท่านสอนว่า ไม่ว่าจะ เป็นการพูด การเขียนก็ตาม ถ้าท่าให้คนฟ้งหรีอคนอ่านทำความดีเพิ่มขึ้น ให้เรารีบท่าทันที ไม่ต้องรีรอ ซึ่งผมถึอเป็นข้อคิดตลอดมา จึงมาเขียน เล่าเรื่องต่างๆ ให้น้องๆ ฟ้ง เผื่อจะเป็นประโยชน์สำหรับคนที่มาอ่านพบ และนำไปคิดประยุกต์ใช้!นชีวิต นพ่. ta5>) -flfiwu\"ฬ0\"แน#*\"

WUVVQอยู่!กือบ ๑๐ ปี จนวันหนึ่ง คุณพ่อ คงรำคาณ เลยย้อนคลันมาว่า \"กัาคิดว่า บุหรี่ไปดี ลูคอย่าลูน อย่ากาตาบได้ไหบ\" พบตอนกันทว่า \"ได้ครัน\" และด้วยควาน บนใจในกำลังไจของตน!อง จึงกล่าว!ลริบไป ว่า \"ผมจะไปลูบบุหรี่ตลอดชีวิตครัน\" ในชีวิตการเรียน ก็ต้องมีสิงที่มากระทบกระทั่งอยู่บ้าง การสอบ ไต้ที่หนึ่ง ก็นำ มาซึ่งความหมั่นไต้ อิจฉา ริษยาจากเพื่อนนักเรียนบางคน เช่นกัน ซึ่งผมคิดว่า ก็เป็นธรรมดาของคนที่ยังมีกิเลสอยู่ มีการกลั่น แกต้งต่างๆ นานา บางครั้งก็พูดกระทบไปถึงโคตรเหง้าว่าเป็นเจ๊กจีน มา อาต้ยแผ่นดินเขาอยู่บ้าง เดี๋ยวนี น้องๆ ที่มีเชื้อสายจีน โชคดีมาก ไม่ค่อยมีใครเอาเรื่อง เชื้อชาติมาเป็นข้อตำหนิกัน ผิดกับสมัยก่อนที่นำมาเป็นคำด่าทอกัน แม้ว่าจะถูกด่า ผมก็มีข้อคิดที่ตั้งอยู่ในใจไว้ว่า \"เขาด่าเราไม่ละลาย ทอง แท้ต้องไม่กลัวไฟ\" แด่.. ผ้าทรทไม้ใพ๎วมท■ททยารน tort -นเพเน- ฬน -นนนแ-

คำ พูดของคนไม่รู!ม่อาจทำลายความดีที่เราตั้งใจทำได้ เหมือน พระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่ทรงโดนใส่ความ ใส่ร้ายหนักหนาสาหัสเพียงไหน พระองค์ท่านก็ไม่หวั่นไหว ทรงเป็นด้นแบบเรื่องความอดทนต่อการ กระทบกระทั่งได้อย่างน่ายกย่องยิงนัก ความอดทนย่อมเป็นเครืองวัด คุณธรรมที่สำคัญอย่างหนึ่งของคนเราครับ อดทนต่ออำนาจกิเลส ความอดทนในระดับสูงสุด คือ อดทนต่ออำนาจกิเลสที่มาเย้ายวน ใจ เพี่อนๆ สมัยเรืยนเป็นจำนวนมากชอบมั่วสุมกันตามห้องนํ้าชาย แอบ สูบบุหรื่กันควันโขมงทีเดียว เวลาไปเข้าห้องน่าทุกครัง ก็ได้แต่มองด้วย ความเห็นใจ เพราะเราไม่สามารถช่วยอะไรเขาได้ เวลาครูฝ่ายปกครอง มาตรวจที ก็วิ่งหนีกันกระเจิง ดูแล้วน่าสมเพช ทำ ให้ผมเห็นโทษภัยของ ยาเสพติดตั้งแต่ตอนเป็นเด็กนักเรืยนตั้งแต่นั้นมาผมตั้งใจว่าจะไม่สูบบหรื่ กินเหล้า เล่นการพนันตลอดชีวิต และก็ทำได้สำเร็จจนทุกวันนี้ และบุญใหญ่ที่ผมภูมิใจจนทุกวันนี้ก็คือ การพูดให้คุณพ่อของผม \"เลิกบุหรี่\"ได้ พ่อติดบุหรื่จัด ต้องสูบวันละ ๑ ซอง(ประมาณ ๒๐ มวน}ทุกๆ วัน ผมจะคอยเฝ็าพูดโทษของบุหรื่ เอารูปคนที่เป็นโรคลุงลมโปงพองไป ให้ดูบ้าง ผมพูดอยู่เกือบ ๑๐ ปี จนวันหนึ่ง คุณพ่อคงรำคาญ เลยย้อน กสับมาว่า \"ถ้าคิดว่าบุหรี่ไม่ดีลูกอย่าสูบอย่าทำตามได้!หม\"ผมตอบทันที ว่า \"ได้ครับ\" และด้วยความมั่นใจในกำลังใจของตนเอง จึงกล่าวเสํริมไป ว่า\"ผมจะไม่สูบบุห่รี่ตลอดชีวิตครับ\"พ่อเลยโยนบุหรื่ที่เหลือเข้าเตาไพ่เลิก สูบจนทุกวันนี้ ผมก็ถือเป็นสัจจะมาตลอดเช่นกัน u»i เจ้าคอทไพใพั้วเพฑิทเภรน toei -01TOU- พ่!อ

น้องๆ ล่ะครับ ความอดทนที่อยู่ในตัวของน้องรอวันที่น้องจะ แสดงออกมาเป็นรูปธรรม ให้เป็นความดีที่น่ายกย่อง แล้วน้องจะภูมิใจ ในตัวเอง เหมือนที่ผมได้ทำสำเร็จมาแล้ว ความอดทนคือ ความอดกลั้นถือเป็นตบะอย่างยิ่ง และเป็นมงคล อันสูงสุด ที่จะนำไปส่ความสำเร็จในถืวิตของทุกๆ คนนะคเบ เ1ศ่. เจ้ใ«อกใม้ใฬ้ใพเทวิทนาร้ย kisf •ฮททน\" ท่?8-ทบอท\"



ช่อ0ท <9 : 1ร๐01ล่า...ข๐งพี่ชายคนหนจ โดย เรยกิกร fihsnv\\กกร ทุกวิกฤตคือโอกาส 'น0ง®] ที่น่ารักทั้งหลาย ปวงนี้หลายคนคงสอบ ผ«» กลางภาคเก็บคะแนนไปหลายวิชาแล้ว เป็นอย่างไร กันบ้าง อ่านหนังสือทันไหม หำ ข้อสอบกันได้หรือ เปล่า หลายๆ คนบอกว่าไม่มีเวลา ปีญหาที่นัอง เจออย่างนี้ สมัยผมเรียนอยู่ก็เจอเหมีอนกัน แด่.เจ้า«10ทไ»!ในเวนพเพ็บ!ทัย (ท๑ ijnlnquSeUtma

พอใกล้สอบกลางภาคหรือปลายภาคก็ตามที หลายๆ คนก็จะมี ปัญหา คือ เตรืยมตัวไม่ค่อยทัน อ่านหนังสือไม่จบ หรือเครืยดจัดจน บางคนไม่สบาย ซึ่งมักเจอในโรงเรืยนที่มีนักเรืยนเก่งๆ จำ นวนมาก มี การแข่งขันสูง ทั้งๆ ที่เคยมีผลการวิจัยออกมาว่าผู้ที่ประสบความสำเร็จ ใ'รชาการความรู้หรือศาสตร์ทั้งหลายที่เล่าเรืยนกันมาไม่เกิน๑๕%เท่านั้น ส่วนอีก ๘๕% เป็นความสามารถในการประสานสัมพันธ์กับคนอื่นๆ แต่อย่างไรก็ตาม ตอนนี้คงต้องแนะนำถึงการเตรืยมตัวของผม ให้น้องๆ ฟังดีกว่า เผื่อจะได้นำไปปรับใช้บ้าง เมื่อถึงคราวสอบครั้งหน้า จะได้ไม่บอกกับตัวเองอีกว่า \"คราวหน้าฉันจะเตรียมตัวตังแต่เนินๆ เลย จะอ่านหน้งสิอตั้งแต่ตันเทอมเลย\" เสร็จแล้ว พอถึงการสอบคราวต่อไป ก็พูดประโยคเดิมอีก ลองถามตัวเองดูชิว่า น้องๆ เคยเป็นอย่างนี้บ้างไหม เป็นเพราะปัญหาจากวินัยในตัวของเราเองหรือเป่ล่า เนื่องจากเมื่อตอนสมัยเด็ก บ้านของผมมีอาชีพขายนํ้าเต้าหู้อยู่ ข้างถนนในตอนกลางคืนก็แถวๆไนท์บาช่าร์ที่เชียงใหมีในปัจจุบันนั่นแหละ กว่าจะเลิกก็ประมาณเที่ยงคืนซึ่งทำให้ผมไม่ค่อยมีเวลาเหมีอนคนอื่นๆเข'' เพราะฉะนั^้น การบอ้/านกC3็1ต/้องหอบมาทำ9ตอนจัดร้าน.เเสพร£็จ^ กA็พอา'ตัยข่วOงttหQ ก โมงเย็น ซึ่งเป็นข่วงที่ลูกค้ายังไม่เข้าร้าน ก็จะเอาการบ้านไปทำจังหวะนี้ โดยสสับกับพี่ชาย กว่าจะทำเสร็จก็ประมาณทุ่มหนื่ง ลูกค้าจึงทยอยมา ผมก็สามารถกสับมาช่วยแม่ไต้พอดี อาจจะเป็นบุญเก่าหรืออะไรก็ตามที ทำ ให้แผงลอยที่ขายของนั้น ตั้งติดอยู่กับร้านหนังสือที่ใหญ่เป็นอันดับต้นๆ ของเชียงใหม่ พอวันไหน ไม่มีการบ้านหรือทำงานเสร็จเร็ว ผมก็จะไปยืนดูข่าวจากหนังสือพิมพที เขาพาดโชว์ไว้หน้าร้าน จนรู้ข่าวสารมากกว่าคนอื่น ๆ เพราะอ่าน หนังสือพิมพ์ทุกฉบับที่เขามีขาย Ufi เร้1ร1อทไ14ใน ยาลัช tnlo ชุกไทชุพ่พ่พพ

เนื่องจากการกอดปาท่องโกเอนจำนวนบาก ตัองชกร:นวนการรอเกิดขี้น เช่น รอลุกไดกี่ กัาไฟแรงไปกิจ:เกรียบนอกแต่ขัางใน!ปลุก ท่าไเาฟกไดักิลป:ในการนรีหารเวลาตั้งแต่ ตอนนั้น บางวันผมก็เดินเข้าไปดูหนังสิอในร้านและอาสัยความคุ้นเคยยีน อ่าน หรือนั่งอ่านตรงนั้นเลย พอเฟขายของดิก็จะตะโกนเรืยกหา ผมก็ ค่อยวิ่งออกมาช่วยขายของ บางวันก็ไปตกลงกับพี่ชายว่า เราช่วยแม่สลับกันคนละวัน เพี่อ ผมและเขาก็จะได้อ่านหนังสีอที่ชอบ ผมอ่านจนติดเป็นนิสัยรักการอ่าน มาจนทุกวันนี้ แด่ เร้ใรเอทไฟ้ใ entn ธุทวิทเ!tiSttlomo

ต่อมาภายหลัง พ่อคงจะเห็นว่าขายนํ้าเต้าหู้เพียงอย่างเดียว คง เหมือนขาดอะไรไป เพราะคนถามหาปาท่องโก๋ เพื่อกินคู่กันด้วย พ่อของ ผมจึงไปหัดทำปาท่องโก๋ จนหมดแป้งไปหลายกระสอบ ทำ ให้ผมที่เป็น ลูกมือก็พลอยทำเป็นไปด้วย ส่วนการตีแป้งและตัดเป็นคู่ๆ เพื่อทอดใน นํ้ามันเป็นสืมือของคุณแม่ ผมก็พลอยไปหัดทำอีกเช่นกันจนทำได้คล่อง วันหนึ่งเมื่อทุกคนเห็นว่า ผมทอดออกมาได้น่ารับประทานกว่าคุณแม่ ตำ แหน่งทอดปาท่องโก๋จึงตกเป็นของผม น้องๆ หลายคนที่ขณะนี้อาจ เป็นอย่างผมในตอนนั้น ก็คงจะไม่มืเวลาอ่านหนังสีอเหมือนกัน แต่อย่างไรก็ตาม ผมก็สามารถจัดการกับปัญหานี้!ดีไม่ยากเย็น เนึ่องจากการทอดปาท่องโก๋เป็นจำนวนมากต้องมืกระบวนการรอ เกิดขึ้น เช่น รอสุกได้ที่ ถ้าไพ่แรงไปก็จะเกรียมนอกแต่ข้างในไม่สุก ทำ ให้ได้ฝึกสืลปะในการบรีหารเวลาตั้งแต่ตอนนั้น น้องๆ คงนึกภาพคนทอดปาท่องโก๋ขายออก เขาจะมืแป้งที่ผสม แล้วแผ่อยู่บนโต๊ะ เมื่อจะทอดก็ตัดมาเป็นเส้นๆ ตีให้แบน แล้วตัดเป็น ชิ้นเล็กๆ แตะนํ้า จับเป็นคู่ๆ แล้วลงหย่อนกระทะทอด แล้วแป้งก็พอง ขึ้นมาอย่างที่เขาชอบพูดเล่นกันว่า เราก็จะไม่พรากจากกันเหมือนปาท่อง โก๋ยังไงล่ะ ผมก็ใช้ประโยชน์จากงานนี้ โดยใช้หน้าโต๊ะที่ทอดปาท่องโก๋นั่น แหละ เป็นที่อ่านหนังสือ ผมนำหนังสือมากางบนโต๊ะ หาอะไรหนักๆ ทับ ไวั!นหน้าที่ต้องการ แล้วเริ่มอ่านทบทวนในขณะที่รอแป้งสุก แม้จะเป็น ช่วงลันๆ แต่ผมก็ด้องอ่านหนังสือ ผมอ่านเสร็จ ท่องเสร็จ ทบทวนเสร็จในคราวเดียวกัน และที่ขาด ไม่ได้ คือ กระดาษเปล่าๆ อีก ๑ แผ่น คู่กับดินสอ เพื่อจะได้จดบันทึก ย่อเริ่องที่อ่านเอาไว้ หัดทำจนบางครัง จำ หนังสือทังเล่มได้ทุกตัวอักษร นเ! iJiKBกไม้ใน?วมพเใทยใทัย tn<£ ใ]๙เทชุ*ค็อ่นเทาธ

และได้บันทึกย่อหัวข้อสำคัญของหนังสิอที่อ่านไว้เพียง ๑ หน้ากระดาษ เท่านั้น เพื่อเอาไว้ทบทวน บางว้นก็มีเพื่อนๆ มาหา เขาก็จะต้องมายืนพูดข้างกะทะปาท่องโก๋ ช่วยกลับตัวปาท่องโก๋ไปด้วย คุยธุระไปด้วย ถามเรื่องการเรียนไปด้วย ทำ ใหัรู้สืกดีไปอย่าง ที่มีคนมาช่วยงานและทบทวนการเรียนข้างกะทะไป ด้วยกัน ด้วยการจดบันทึกย่อไว้นื้เอง ทำ ให้ผมสอบเข้าเรียนในระด้บ มหาวิทยาลัยได้อย่างสบาย และกลายเป็นนิลัยติดด้วจนทุกว้นนื้ ทังการใข้เวลาว่าง ส์งมีอยู่น้อยนิดให้เป็นประโยชน์และการมองหา ประโยชน์จากป้ญหาที่เผข้ญอยู่ เพราะฉะนั้นน้องๆ เมื่อเกิดอะไรชื้นกับข้วิตอย่าเพิ่งไปโทบว่าโชด ชะตา หรือฟ้าตินกลั่นแกล้ง ให้มองพิจารณาให้ดี เราจะพบมี ประโยชน์แฝงด้วอยู่ในนั้น ทุกอย่างจึงอยู่ที่เราจะมองหามันออกมา และพลิกความเดีกที่วิกฤตตรงนั้น มาเป็นข้อดีด ข้อเตือนใจ ข้อ กำ หนดวินัยในด้วเอง เพิ่อให้กลายเป็นโอกาสที่เราจะทำให้รวิตของเรา ดียิ่งชื้น \"ทุกวิกฤตดือโอกาสนะครบ\" แท่. ฬ้าทอทไม้ในเวนไเท่วํทบาสับ (ทสั igMflijiiXglgiTUi

พุ^ ;•น่พ#^ พ i .4 :^i -เ. . -' •IM ■A/** ^...■>1? Jl ^ > I l-lXlii!J»lii«.iJI»JlliJ..i-lfMl'«JHI ^^ t- i . (g ท^จIf ๙; \\_•:'y-\" -ฉ,ุ. it 4/J A<'*«'^:

ช่วงที่ ๒ ๆาท#ๆฆาน ฝ#วมหาๆทยาสัย 4^ «< *



ช่วงที่ \\Bi : จากรวนาน^วมหาวิทยาลัย 1ดย ดวงนภา แช่เส่ยว ฉันอยากให้แม่อุ่นใจ แมค ...ช่วงนี้เหลืออีกไม่นานก็จะเปิดเทอมใหม่แล้ว ก้อยรู้ลืกตื่นเต้นมาก เพราะจะได้เป็นนักสืกษาชั้นปี ๑ ของคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยที่ก้อยใฝ่ฝืนไว้ ตอนแรกก็ กลุ้มใจว่าจะเตรียมตัวเข้าเป็นนักศึกษาใหม่อย่างไร ufi เ^าแอทไม้ในเ-พฬาวิ^แทสัน (ท^ รน8|ททโทํฟ({น1จ

เพราะก้อยต้องจากเฌ่ไปไกล และต้องเรียนอยู่ที่นั่นนานหลายปีจนกว่า จะคว้าใบปริญญากลับไปอวดเฟได้สำเร็จ แต่ก็เหมือนเป็นความโชคดีที่แม่ชอบพาก้อยไปเข้าวัดฟังธรรมตั้ง แต่เล็กๆ จึงทำให้ก้อยไดมืโอกาสรับฟังธรรมะจากพระอาจารย์เมื่อครั้งที่ ไปอบรมค่ายคุณธรรมที่วัด แล้วก็เลยทำให้ก้อยได้รู้ว่า ก้อยควรจะมื หลักการดำเนินชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัยอย่างไรดี ก้อยจะเล่าให้แม่ฟัง นะคะ รู้จักเลือกคบคน เริ่มแรกท่านสอนให้ก้อยรู้จักเลือกคบคนเพราะคนมืหลายแบบใน มหาวิทยาลัยมืคนมาจากหลายๆ ที่ มาอยู่รวมก้น มืพื้นฐานครอบครัว ต่างกันนิลัยใจคอต่างก้นเพื่อนคนไหนรักเรียนรักความดีก็ให้เลือกคบเขา ถ้าคนไหนรักเล่น รักเที่ยว ก็พยายามออกห่างๆ ไว้ก่อน เพราะเดี๋ยวจะ เรียนไม่จบ ต้องโดนรีไทร์กลางทาง รู้จักเลือกทำเลทพก ต่อมาก็เริ่องเลือกสถานที่พัก ก็คือดูหอพักที่ไปอยู่ว่า มืความ ปลอดภัยแค่ไหน มืความสงบแค่ไหน มืสิงแวดล้อมดีแค่ไหน เพราะต่อ ไปหอพักก็จะเป็นเหมือนบ้านหลังที่สอง ถ้าได้สิงแวดล้อมไม่ดี ก็เลืย เปรียบไปกว่าครึ่ง เช่น มีเลืยงด้งตลอดคืน ก็อาจล่งผลต่อการพักผ่อน ไม่เพียงพอหรีอถ้าใกล้แหล่งอบายมุข ก็ไม่ปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สิน นค่..เ51»1อกใ>รใน1ว«พฟ้ท£ภรข Qto fiuatnnlmฟ)!นน

กัอย!บ่รู้หรอกว่าอนาคตข้างหนาจ:!0น อย่าง!ร แต่!าอยจ:ทาaจจุบัน]หัดีทสุด !พรา: ตอนนก็บีหลักในการ!ตรียนตัวกี่ดี!!ลัว ต่อ !ป!ๆเหลือ!เต่ควานบุ่งชนของตัว!อง กี่จ:กัาว !ปลัฬนของวันข้างหนา!หั!ดี รจกแมงเวลา เมื่อเลือกสถานที่เป็นแล้ว ท่านก็สอนให้รู้จักแบ่งเวลาให้เป็นโดย เริ่มจากการวางแผนในไดอารี่ ซึ่งให้แบ่งออกเป็น ๒ เล่ม เล่มแรก เอาไว้จัดตารางการท่างานว่า พรุ่งนี้จะท่าอะไร และสรุป ผลด้วยว่า ท่าได้หมดตามแผนหรือไม่ ท่านบอกว่าต้องฝึกตัวเราให้คุ้น กับการวางแผนเป็นระบบ รู้วิธีการคำนวณเวลาเรืยน เวลาอ่านหนังสิอ และเวลาท่ากิจกรรมให้พอดี เวลาเรืยนจบไปแล้ว จะได้ไม่มีนิสัยสุกเอา เผากิน ซึ่งจะท่าไห้เอาดีไม่ได้ แค่ .เ51»10กไฟ้ใน1'5»™ฟ้ทนา?ข 4บทข1กโ*1ฟชุ่«1'(

เล่มที่สอง เอาไว้เขียนบันทึกประจำวัน และข้อคิดสอนใจที่ได้พบมา เพื่อประเมินคุณธรรมและข้อบกพร่องของตัวเองไนแต่ละวัน เราจะได้ รู้จักว่า เรามีข้อดีข้อเสียตรงไหนบ้าง และควรจะแก1ขปรับป'!งอย่างไร เพื่อที่ว่า เมื่อเรียนจบแล้วจะได้มีทังความรู้คู่คุณธรรม รู้จักใช้เงินเซน ส่วนเงินที่แม่ให้ในแต่ละเดีอนนั้น ท่านให้แบ่งเป็น ๔งบ • งบแรก เอาไวใข้จ่ายในชีวิตประจำวัน • งบที่สอง เอาไว้ไข้จ่ายในยามฉุกเฉินโดยให้ฝากธนาคารเอาไว้ • งบที่สาม เอาไว้สงเคราะห์เพื่อนที่มีความจำเป็น • งบที่สี เอาไว้ใช้ทำบุญ เพื่อล้งสมเสบียงบุญติดตัวไปภพชาติ เบื้องหน้า ประพฤติตนใหัเป็นคนนีสืล และสุดทัายเป็นคำสอนที่ก้อยคิดว่า สำ คัญมาก เพราะถ้าขาดการ ปฏิบัติข้อนั้!ป ชีวิตของก้อยก็คงไร้คุณค่า ก้อยจะถือดีล ๕ เพราะดีล ๕ คอยควบคุมให้ก้อยมันคงอยู่ในความดี ไม่เปลียนแปรไปตามกระแล สังคมที่กำลังยํ่าแย่อยู่ทุกวันนี้ยังไงล่ะ นับจากนี้ไป ก้อยก็เป็นลูกแม่โดมคนหนึ่งแล้วนะ ซึ่งก็เหมือนกับ เพื่อนๆ ของก้อยอีกหลายคนที่กำลังเป็นนิสิตใหม่ ในมหาวิทยาลัยใหม่ ของตัวเองเหมือนกับก้อยในเวลานี้ ก้อยไม่รู้หรอกว่าอนาคตข้างหน้าจะ เป็นอย่างไร แต่ก้อยจะทำปัจจุบันให้ดีที่สุด เพราะตอนนี้ก็มีหลักใน แพํ ไน?วมพาวิห(ภลัย ลัน0ขากโฟ้เฟจ่นใ^

การเตรียมตัวที่ดีแล้ว ต่อไปก็เหลือแต่ความมุ่งมั่นของตัวเอง ที่จะก้าว ไปส่ฝันของวันข้างหน้าให้ได้ ๔ ปีในรั้วธรรมศาสตร์ยังอีกยาวไกลนัก ก้อยต้องเรียนรู้อีกหลาย อย่าง เรียนรู้เพื่อจะเติบโตทั้งสติปัญญา ความคิด และคุณธรรมในวัน ข้างหน้า เพื่อที่เมื่อก้อยก้าวออกมาจากรั้วมหาวิทยาลัยแล้ว ก้อยจะได้ เป็นคนหนึ่งที่มีความภาคภูมิใจ และพร้อมที่จะก้าวส่โลกกว้างในอนาคต ก้อยตั้งใจว่า จะเก็บเกี่ยวความรู้ และประสบการณ์จากรั้วธรรมศาสตร์นี้ ให้มากที่สุด เพราะเมื่อถึงเวลาที่ก้อยจะต้องตอบแทนแผ่นดินไทย ก้อย จะได้ทำให้เต็มที่ ให้สมกับที่แผ่นดินนี้ให้ความสุขแก่ก้อยและแม่เสมอมา สุดท้ายนี้ ก้อยอยากจะบอกกับแม่ว่า ขอให้แม่ลุ่นใจกับก้าวใหม่ในรั้ว มหาวิทยาลัยของก้อยน.ะคะ น«...พ้า*เฮทไม้ในเวน«1วิทน!ลัย cttn รนษยาทโลัฟชุ่นใจ



uoon \\รท :จากรวษ้าน^วบหารทยาสัย โดย : ลบชาต ฅรขไว อยู่อย่างไรให้เป็นสุข ในรั้วมหาวิทยาลัย Ipf มหาวิทยาลัย ก้าวย่างสำคัญของสืวิต ผมเองแมจะ \"\"\"\"^ สอบเอนทรานฟ้.ม่ติดในครั้งนี้ แต่นั่นกีไม่ไคั หมายความว่า ผมจะไม่มีโอกาสประสบความ สำ เร็จโนสืวิต ตอนนี้เพื่อนๆ หลายคนคงก้าวเข้าไป ส่รั้วมหาวิทยาลัยกันแลัว ก้าวนี้เป็นก้าวสำคัญ ถือ ว่าเป็นก้าวแห่งการกำหนดอนาคตเลยก็ว่าไคั นท่.. วผเทิฬนาท้น <£ร ท|{0(ท่ฟ้1ใท้เ(เน^ท ไนเานทาไทนาท้น

ผมก็ยังไม่แนใจว่า สังคมในมหาวิทยาลัยจะสวยงามอย่างที่วาด ฝืนไว้หรือไม่ แต่ที่แน่ๆ ตอนนี้ผมก้าวเข้าไปอยู่ที่นั่นเรืยบร้อย ผมจึงต้อง เตรืยมตัวให้พร้อม เพื่อให้การดำเนินชีวิตในมหาวิทยาลัยรามคำแหง ของผมมีดวามสุขซึ่งผมก็มีหลักการอยู่๔ข้อที่คิดว่าน่าจะใช!ด้ผลดีทีเดียว ๑. รู้จักปันกันกินปันกันไข้ผมคิดว่าในลังคมวันนี้ยังเต็มไปด้วย การแข่งข้นชีงดีชีงเด่นก้น คงจะดีถ้ามีการแปงปันก้นบ้าง ผม อยากให้คนที่อยู่รอบตัวผม รู้จักก้มการแปงปัน เพราะฉะนั้น ก็ต้องเริ่มที่ตัวเราเอง เป็นผู้ให้ก่อน ไม่ว่าจะให้ของ ให้อภัย ให้คำปรึกษา ฯลฯ ลังคมนี้ก็จะรู้จักการปันภันกินปันก้นใช้ ๒. รู้จักไข้ถ้อยคำที่น่าฟ้งใพไำลังใจกันคำพูดเป็นเรื่องสำคัญหาก เราไม่ระมัดระวังคำพูดแม้เพียงเล็กน้อยอาจทำให้มิตรกลาย เป็นคัตรู และในทางกลับก้นอาจทำให้คัตรูกลายเป็นมิตรได้ เช่นเดียวก้น ผมคิดว่า หากเราใช้คำพูดของเราให้เป็นประโยชน์ พูดแต่สิงที่ดีเสริมสร้างกำลังใจให้ภับเพื่อนๆ ตลอดเวลา เพื่อนๆ ของเราก็จะมีกำลังใจ เราเองก็จะเป็นบุคคลที่น่าคบหา แม้ว่าเขาอาจจะเคยเป็นคัตรูของเรามาก่อนก็ตาม ฅ. รู้จักช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ในมหาวิทยาลัยมีกิจกรรมต่างๆ มากมายบางอย่างทำคนเดียวได้ แต่บางอย่างต้องทำหลายคน ลองคิดดูว่า ถ้าหากต้องใช้คนหลายๆ คนช่วยก้นทำ ผมจะ ไปหาใคร เพื่อนๆ ของผมก็คงคิดเหมีอนก้น อย่างนั้นผมคง ต้องเข้าไปช่วยเขาก่อน เพื่อที่ว่าคราวที่เราต้องการคนช่วย เขาจะได้อยากมาช่วยเราบ้าง เมื่อเป็นอย่างนี้งานทุกอย่างก็ จะสำเร็จลุล่วงได้ด้วยดี แค่ เรใคฮกไน้ใฬ้วพทฑิทยารน oft) BjjodnWMvijTilufiiitnlTtoiffii

๔. มีความจริงใจเสมอต้นเสมอปลาย กว่าที่เราจะหาเพื่อนแท้ได้ สักคนมันยากจริงๆ ผมเองก็ตั้งใจว่าจะเป็นมิตรแท้ให้กับทุกๆ คน ด้วยการให้ความจริงใจไม่โกหกหลอกลวง และที่สำคัญ จะต้องรักษา สิงนี้ให้คงอยู่ตลอดไปด้วย เป็นอย่างไรบ้างครับ หสักการดำเนินชีวิตในสังคมมหาวิทยาลัย ของผม ถ้าเพื่อนๆ ยังไม่รู้ว่าจะใช้หลักอะไรก็สามารถนำไปใฟ้ด้ ไม่ สงวนสิขสิทธื้ เพราะนี่ไม่ใช่หลักการที่ผมคิดขึ้นมาเอง แต่นี้คิอหลักใน การยึดเหนี่ยวนี้าใจกันในพระพุทธศาสนา ถ้าจะเรียกภาษาพระตามที่เรา เคยเรียนกันมาก็คีอ \"สงคหวัตลุ ๔\" ยังไงล่ะครับ มี ทาน ปียวาจา อัตถจริยา และสมานัตตตา ร้บรองได้ผล เพราะผ่านการทดสอบมากว่า ๒,๕๐๐ ปีแล้วครับ ก่อนจากกันตรงนี้ในฐานะที่เป็นเพื่อนนักสืกษาด้วยกันผมก็ฃอให้ เหลือ^งคันและกัน มีความจริงใจให้คันเสมอ ให้เป็น ๔ป็ที่ทรงคุณด่า เหมีอนต้งที่ตั้งใจไว้ทุกคนนง;ครับ นพํ เ5า»1อกไม้ใน นารัย <£ci เตุ่รษ่างไฟ้รัเร)น]ซโฟ่วนาท!พทรัช

iiliiri พ^ Ifii D MJM ■* i.f.» f ทะ /r ■^ $:7 ^\\\\|-y ^ _ ^ «ไ« พ!# «1^ พ๙ ^ 'X ^.%f 'A

ช่วงที่ ๓ 1?จงตจงคค... ตมหาวทยาสัย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook