Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore _สำหรับครู

_สำหรับครู

Published by กศน.ตำบลบางเพรียง, 2019-07-05 00:37:07

Description: _สำหรับครู

Search

Read the Text Version

เดก็ สมาธสิ ั้น คูมือสาํ หรับครู

ชือ่ หนงั สอื : เดก็ สมาธสิ นั้ คูมือสาํ หรบั ครู จัดพิมพโดย : สถาบันราชานกุ ลู พิมพคร้ังที่ 1 : สงิ หาคม 2555 จาํ นวนพิมพ : 1,000 เลม พมิ พท ่ี : บริษทั บียอนด พับลสิ ชงิ่ จํากดั 2 เด็กสมาธิสน้ั คมู อื สาํ หรับครู

คาํ นํา โรคสมาธสิ น้ั นน้ั แทจ รงิ แลว ไดร บั การบรรยายไวใ นวารสารทางการแพทย อยางเปนทางการมากวา 100 ปแลว เด็กท่ีเปนโรคสมาธิสั้นจะมีลักษณะ อยูไมนิ่ง มีปญหาในการคงสมาธิ และมักพบวามีปญหาในการควบคุม ตนเองและเกิดปญหาพฤติกรรมตางๆ ใหผูคนรอบขางปวดศีรษะไดบอยๆ ในปจ จบุ นั ทง้ั ในวงการแพทยแ ละวงการการศกึ ษาไดใ หค วามสนใจโรคสมาธสิ น้ั อยางจริงจัง ทําใหมีการศึกษาวิจัยและรวบรวมประสบการณที่เกี่ยวของกับ เดก็ สมาธสิ น้ั จนเกดิ ความรเู กย่ี วกบั วธิ กี ารดแู ลรกั ษาและชว ยเหลอื เดก็ สมาธสิ น้ั อยางมากมาย คูมือเลมนี้เปนการรวบรวมความรูท้ังจากตําราและจากขอมูลที่ได จากการสัมมนาแลกเปล่ียนเรียนรูประสบการณระหวางผูปกครอง ครูและ ครูการศึกษาพิเศษที่มีประสบการณกับเด็กสมาธิสั้น โดยรวบรวมลักษณะ อาการทพ่ี บไดบ อ ย ปญ หาพฤตกิ รรมรวมถงึ แนวทางการดแู ลแกไ ขปญ หาตา งๆ ท่ีงายตอการปฏิบัติจริง และคูมือเลมน้ีนาจะเปนตัวชวยท่ีดีในการชวยคุณครู ในการดแู ลเด็กสมาธสิ ั้นตอไป คณะผจู ดั ทาํ เด็กสมาธสิ ้ัน คูม อื สําหรบั ครู 3

สารบัญ มาทาํ ความรูจักกับโรคสมาธสิ ้ัน 7 ขอสังเกตเดก็ สมาธสิ ัน้ แตล ะชว งวัย 11 โรคน้พี บไดบ อ ยแคไหน 13 เพราะอะไรจงึ เปนโรคสมาธสิ ้นั 13 ปญ หาพฤตกิ รรมทพี่ บรว ม 14 แพทยต รวจอยา งไรถึงบอกไดว าเด็กเปนโรคสมาธิสั้น 15 หลากหลายคาํ ถามเกย่ี วกบั โรคสมาธิสน้ั 16 การชว ยเหลือเดก็ ท่เี ปน โรคสมาธสิ น้ั 18 การชว ยเหลือเดก็ สมาธสิ ้นั ในโรงเรียน 19 19 การชว ยเหลือดา นการเรียน 26 การพฒั นาทกั ษะทางสังคม 28 การปรบั พฤติกรรม 4 เด็กสมาธิส้นั คมู อื สาํ หรบั ครู

สารบัญ ปญหาพฤตกิ รรมทพ่ี บบอ ยในโรงเรียน 31 แนวทางการตดิ ตามพฤตกิ รรมเดก็ สมาธสิ ั้นในชัน้ เรยี น 35 ตัวอยา งประสบการณแหง ความสําเรจ็ “การดแู ล ชวยเหลอื เดก็ สมาธสิ ้นั ” 37 เอกสารอางอิง 45 เดก็ สมาธิสน้ั คมู ือสาํ หรับครู 5

เดก็ สมาธิสั้น คมู ือสําหรบั ครู 6 เด็กสมาธิส้นั คมู อื สาํ หรบั ครู

เดก็ สมาธสิ ้ัน มาทําความรโูจรกั คกับสมาธสิ ั้น โรคสมาธิสั้นเปนกลมุ ความผิดปกติของพฤตกิ รรม ประกอบดวย o ขาดสมาธิ o ซน อยไู มนง่ิ o หนุ หนั พลันแลน ขาดการยบั ยั้งใจตนเอง โดยแสดงอาการอยางตอเนื่องยาวนาน จนทําใหเกิดผลกระทบ ตอการใชชีวิตประจําวันและการเรียน ซึ่งเปนพฤติกรรมท่ีไมเหมาะสมกับ อายุและระดับพัฒนาการ โดยท่ีความผิดปกติดังกลาวเกิดขึ้นกอนอายุ 7 ป อาการตอ งเปน มาตลอดตอ เนอ่ื งไมตา่ํ กวา 6 เดอื น เดก็ สมาธสิ นั้ คูม ือสําหรับครู 7

อาการของโรคสมาธิส้ันน้ันแบงออกเปน 2 กลุมอาการใหญ คือ กลมุ อาการขาดสมาธิ และกลมุ อาการซน/หุนหนั พลนั แลน กลุมอาการขาดสมาธิ • ไมสามารถจดจํารายละเอียดของงานที่ทําได หรือทําผิด เน่ืองจาก ขาดความรอบคอบ • ไมมสี มาธใิ นการทํางาน หรอื การเลน • ไมสนใจฟงคาํ พูดของผอู ืน่ และดเู หมอื นไมฟ งเวลาพดู ดวย • ไมป ฏบิ ัติตามคําสง่ั และทาํ งานไมเสร็จหรอื ผิดพลาด • ไมส ามารถรวบรวมการทาํ งานใหเปน ระเบยี บ • หลีกเลีย่ ง ไมช อบ หรอื ลังเลที่จะทาํ งานซง่ึ ตองใชค วามคดิ • ปลอ ยปละละเลยสง่ิ ของทจ่ี าํ เปน สาํ หรบั การทาํ งาน ทาํ ของใชส ว นตวั หรือของจาํ เปนสาํ หรบั งานหรอื การเรยี นหายอยูบอยๆ • วอกแวกงาย เสียสมาธิ แมม ีเสยี งรบกวนเพียงเล็กนอย • ลมื กิจวัตรท่ที าํ เปน ประจํา 8 เด็กสมาธสิ ้นั คมู ือสําหรับครู

กลมุ อาการซน / หนุ หันพลันแลน • ยุกยกิ อยไู มสุข ไมส ามารถอยูน ง่ิ ๆ ได มอื และเทาขยับไปมา • ในสถานทท่ี เ่ี ด็กจาํ เปน ตอ งนง่ั เฉยๆ จะลุกจากทนี่ ่ังไปมา • มกั วงิ่ ไปมา หรอื ปน ปา ยในสถานทท่ี ไี่ มค วรทาํ ถา ผปู ว ยเปน วยั รนุ จะ มคี วามรสู กึ กระวนกระวายใจ • ไมสามารถเลน หรอื พักผอนเงียบๆได • ตอ งเคลอ่ื นไหวตลอดเวลาเหมอื นติดเคร่อื งยนต • พดู มาก • พูดสวนทนั ทีกอนผถู ามจะพดู จบ • รอคอยตามระเบียบไมไ ด • ขัดจังหวะ กาวราวผูอื่น หรือสอดแทรกเวลาผูอื่นกําลังคุยกัน หรอื แยง เพื่อนเลน เดก็ สมาธสิ น้ั คมู อื สาํ หรับครู 9

10 เดก็ สมาธสิ ้นั คมู อื สําหรบั ครู

ขอ สงั เกต เดก็ สมาธสิ ้ันแตล ะชวงวยั คณุ ครูจะสงั เกตเดก็ สมาธสิ ้ันไดอ ยา งไรบาง วัยอนุบาล เด็กมักมีประวัติในชวงขวบปแรกวามีลักษณะเลี้ยงยาก เชน กินยาก นอนยาก รอ งกวนมาก มีอารมณห งุดหงดิ แตเ ด็กจะมพี ัฒนาการคอ นขางเรว็ ไมว าจะเปน การตง้ั ไข คลาน ยืน เดนิ หรอื วง่ิ เม่ือเรม่ิ เดินก็จะซนอยไู มน ่งิ ว่ิงหรือปนปายไมหยุด เม่ือเขาอนุบาลคุณครูมักจะเห็นวาเด็กยุกยิกอยูไมนิ่ง ลุกจากเกาอ้ี เดินออกนอกหอง ปนปาย คนร้ือสิ่งของ พลังงานมาก ไมนอนกลางวนั เลนกับเพอื่ นแรงๆ กะแรงไมถ กู เด็กสมาธสิ นั้ คมู อื สาํ หรบั ครู 11

วัยประถมศึกษา เมื่อเขาวัยเรียน จะสังเกตไดวาเด็กมีสมาธิสั้น วอกแวกงาย ไมส ามารถนงั่ ทาํ งานหรอื ทาํ การบา นไดจ นเสรจ็ ทาํ ใหม ปี ญ หาการเรยี นตามมา การควบคุมตนเองของเด็กไมคอยดี อาจมีพฤติกรรมกาวราว หงุดหงิดงาย ทนตอ ความคบั ขอ งใจไมค อ ยได ทาํ ใหเ กดิ ปญ หากบั เพอื่ นๆ เมอ่ื อยใู นหอ งเรยี น ก็ไมสามารถใชชีวิตไดเหมือนเพ่ือนคนอ่ืนๆ มักจะรบกวนชั้นเรียน ไมคอยให ความรวมมือในการปฏบิ ัตติ ามกฎเกณฑของหอ งเรยี น วัยมธั ยมศกึ ษา เม่ือยางเขาวัยรุน อาการซนอยูไมนิ่งในเด็กบางคนอาจลดลง แต ความไมมีสมาธิและขาดความยับย้ังช่ังใจของเด็กจะยังคงอยู ปญหาการเรียน จะหนักข้ึน เพราะอาการขาดสมาธิท่ีไมไดรับ การแกไขอยางถูกตอง ดวยลักษณะที่ชอบ ความต่ืนเตนทาทาย เบ่ืองาย ประกอบกับ ความลมเหลวตั้งแตเล็กและความรูสึกวาตนเอง ไมด ี เดก็ อาจจะเกดิ พฤตกิ รรมเกเร รวมกลมุ กบั เพอื่ นทม่ี ีพฤติกรรมคลายกัน ชกั ชวนกันทาํ เรอ่ื ง ฝาฝน กฎของโรงเรียนจนอาจเลยเถิดไปถึงการใช สารเสพติดได 12 เด็กสมาธิส้นั คมู อื สาํ หรบั ครู

โรคนี้พบได บอ ยแคไหน การสํารวจในประเทศไทย พบวามีความชุกประมาณรอยละ 5 โดย พบในกลมุ เดก็ นกั เรยี นชาย มากกวากลุมเด็กนักเรียนหญิง ในหองเรยี นที่มเี ดก็ ประมาณ 50 คน จะมีเดก็ สมาธิส้ัน 2 - 3 คน เพราะอะไรจงึ เปนโรคสมาธิส้ัน โรคสมาธสิ ั้นอาจมสี าเหตมุ าจากองคประกอบตอไปน้ี o พันธุกรรม โรคนี้มีการถายทอดทางยีน สังเกตไดในครอบครัว ของเดก็ สมาธสิ ้นั อาจมพี ่ี หรือนอ ง หรอื ญาติของเด็กมอี าการสมาธสิ ัน้ ดว ย o สารเคมีในสมองหลัง่ ผดิ ปกติ เชน โดปามีน เซโรโทนิน o การไดร บั บาดเจ็บอาจเกิดต้ังแตเ ดก็ อยู ในครรภห รือหลังคลอด เชน ขาดออกซเิ จน อุบัติทางสมอง เด็กสมาธสิ ัน้ คมู ือสาํ หรบั ครู 13

o โรคสมองอกั เสบ o การไดร ับสารพิษ o มารดาด่มื สรุ า สบู บุหรขี่ ณะตงั้ ครรภ สาเหตุดังกลาวสงผลใหมีการทํางานของสมองสวนหนาที่ทําหนาท่ี ในการควบคุมพฤติกรรมทํางานไดไมเต็มที่ เน่ืองจากสารเคมีในสมอง หลง่ั ผดิ ปกติ เชน สารโดปามนี เซโรโตนิน ปจจุบันเชื่อวาโรคสมาธิสั้นเปนความผิดปกติของสมอง ไมได เกิดจากความผิดหรือความบกพรองของพอแม หรือการเลี้ยงดูเด็กผิดวิธี (แตการเลี้ยงดูท่ีผดิ วิธีจะทาํ ใหอาการของโรครุนแรงขึ้น) ปญหาพฤตกิ รรมทีพ่ บรว ม โรคสมาธสิ น้ั เกดิ จากความบกพรอ งในการทาํ งานของสมอง จงึ สามารถ พบรวมกับความบกพรองในความสามารถอนื่ รวมดวยกบั โรค เชน • ความบกพรองในทักษะการเรียน ถือเปนความบกพรองทาง การเรียนรูท่ีพบไดบอยในเด็กวัยเรียน เด็กท่ีเปนโรคสมาธิสั้น จะพบภาวะนรี้ ว มดว ยรอ ยละ 20 - 30 เดก็ จะมลี กั ษณะอา นหนงั สอื เขยี นหนงั สอื คํานวณไมไ ด หรอื ทาํ ไดบ า งแตแ ตกตางจากเด็กอืน่ 2 ชั้นเรียน ทั้งที่ฉลาดเทา กัน • การพูดและการส่ือความส่ือความหมาย มักมีประวัติพูดชา ในวัยเด็ก เม่ือโตขึ้นจะพูดมากและพูดเร็ว แตจะมีความเขาใจ ในสง่ิ ทีค่ นอน่ื พดู ดว ยต่ํากวา คนอน่ื • ใชมือไมคลอง เด็กกลุมหนึ่งจะใชมืองุมงาม สับสนซายขวา เขยี นหนังสอื ชา โยเ ย ทํางานไมทนั 14 เด็กสมาธสิ ั้น คูมือสําหรับครู

• ปสสาวะรดท่ีนอนหรืออั้นปสสาวะ ไมคอยได • ปญหาพฤติกรรมและอารมณ เด็กที่ เปนโรคสมาธิส้ันจะดื้อ ไมเช่ือฟง ชอบเถยี ง กา วรา ว โกรธเรว็ หลายคน ไมทําตามกฎเกณฑของโรงเรยี น • โรคกระตุก อาจมีการกระตุกของ กลามเนื้อ บริเวณค้ิว แกม มุมปาก คาง คอ บางคนมีเสียงในลาํ คอ แพทยต รวจอยางไรถึงบอกไดวา เด็กเปนโรคสมาธิส้นั แพทยจะตรวจประเมินอยางละเอียดเพ่ือใหแนใจวาเด็กเปนโรค สมาธิส้ัน ไดแก การซักประวัติ การตรวจรางกาย (ตรวจหู ตรวจสายตา) ใชแบบประเมินพฤติกรรมเด็ก การตรวจ ทางจิตวิทยา (ตรวจเชาวนปญญา ตรวจวัด ความสามารถดานการเรียน) และสังเกต พฤติกรรมเด็ก ปจจุบันยังไมมีการตรวจเลือด เอ็กซเรยสมอง หรือการตรวจคลื่นสมอง เพ่อื วินจิ ฉยั โรคสมาธสิ ้นั เด็กสมาธสิ น้ั คมู อื สําหรับครู 15

หลากหลาย คําถามเกีย่ วกบั โรคสมาธสิ ้ัน สมาธสิ ้ัน….สัน้ อยา งไรจงึ เรียกวา ผิดปกติ ? อาการขาดสมาธิ ซน อยูไมน่ิง หุนหันพลันแลน สามารถพบไดใน คนปกตทิ ว่ั ไป แตส าํ หรบั เดก็ สมาธสิ นั้ นน้ั อาการตอ งเปน ตลอดเวลา ทกุ สถานท่ี ทุกบุคคล จนทําใหเสียหายตอการเรียน เชน เรียนไมทันเพ่ือน ผลการเรียน ตกตํ่า นอกจากน้ียังสงผลตอการใชชีวิตอยูรวมกันคนอื่น คนใกลเคียงรูสึก ราํ คาญไมอ ยากทํางานดวย เด็กแคเบ่ืองายเวลาทํางาน ไมเห็นซน จะเรียกวาสมาธิสั้น ไดอ ยางไร ? เปนไปไดคะ เพราะเด็กบางคนจะมีอาการสมาธิสั้นเพียงอยางเดียว แตไมซนหรือวูวาม ซึ่งพบไดในเด็กผูชายและเด็กผูหญิง มักทําใหผูใหญ มองขา มไป ถูกวินิจฉัยไดชาและไมไดรับความชวยเหลือเทาท่คี วร บอกวาเดก็ เปน โรคสมาธสิ ั้น แลว ทําไมเดก็ ดูทีวีหรือเลน เกม นานเปน ช่วั โมงๆ ? สมาธิสามารถถูกกระตุนไดจากส่ิงเราท่ีนาสนใจ เชน โทรทัศน หรือเกมคอมพิวเตอร ซึ่งมีภาพและเสียงประกอบเปนตัวเรา ความสนใจ 16 เดก็ สมาธสิ ัน้ คูมอื สาํ หรับครู

ไมนาเบื่อ ดังนั้นเด็กสมาธิส้ันจึงสามารถมีสมาธิ จดจอกับโทรทัศนและเกมคอมพิวเตอรไดนานๆ โทรทัศนแ ละเกมคอมพวิ เตอร จึงเปนตวั กระตุนความสนใจไดเปน อยางดี การจะพจิ ารณาวา เดก็ สามารถจดจอ ตอ เนอื่ ง มสี มาธดิ หี รอื ไม ควรสังเกต เม่ือเด็กทาํ งานที่ไมชอบ และงานเปนงานที่นาเบ่ือ (สําหรับเด็ก) เชน การทํา การบาน การทบทวนบทเรียน การทํางานที่ไดรับ มอบหมาย จะเกดิ อะไรไหม…ถา ไมร ักษา ? o ในวัยประถมศึกษากลุมท่ีมีสมาธิสั้นอยางเดียว ไมมีอาการซน หุนหันพลันแลน สวนหน่ึงจะไมเกิดอะไร นอกจากผลการเรียน ตํ่ากวาความสามารถ จะพบอารมณซึมเศรา มองตัวเองไมดี ขาดความมนั่ ใจในความสามารถของตนเอง o วัยประถมศกึ ษากลุมทีส่ มาธสิ ้นั ซน วูวาม ไมเ ชื่อฟงและตอ ตา น จะพบความหงุดหงิด กังวล เครียด อารมณเสียงาย เบ่ือหนาย การเรยี น ขาดแรงจงู ใจในการเรยี น มองไมเ หน็ คณุ คา ภายในตวั เอง พอ แมก ไ็ มพ อใจในผลการเรยี น เขา กบั เพอ่ื นไดย าก พบพฤตกิ รรม ทีย่ งั เปนเดก็ ตํ่ากวา อายุ ดื้อตอตานคําส่งั จนทําความผดิ รนุ แรงได เชน โกหก ขโมย ไมยอมทาํ ตามกฎ ทาํ ตัวเปนนกั เลง o เม่ือเขาวัยรุน เด็กมักไปรวมกลุมกับเด็กท่ีเรียนไมเกง พฤติกรรม ตอตา น กา วราว โกหก ขโมย หนเี รยี นยิ่งเห็นไดชัดขึ้น หลายราย เริ่มใชยาเสพติด ในดานการเรียนท่ีตกตํ่าลงมาก เกิดเปนความ เบอ่ื หนา ยตอการเรยี น และออกจากโรงเรียนกอนวยั อนั ควร เด็กสมาธสิ นั้ คูม อื สาํ หรบั ครู 17

การชว ยเหลอื เดก็ ที่เปน โรคสมาธสิ ้ัน การชวยเหลือเด็กที่เปนโรคสมาธิส้ัน อยางมีประสิทธิภาพน้ันตองมีการชวยเหลือ หลายดา น จากหลายฝา ย ทงั้ แพทย ครู และพอ แม การชว ยเหลอื ประกอบดว ย • การชว ยเหลอื ดานจติ ใจ แพทยจะใหขอมูลท่ีถูกตอง เพื่อขจัดความเขาใจผิดตางๆ ของพอ แมโ ดยเฉพาะความเขา ใจผดิ ทคี่ ดิ วา เดก็ ดอื้ หรอื เกยี จครา น และเพื่อใหเด็กเขาใจวาปญหาท่ีตนเองมีน้ันไมไดเกิดจากการที่ ตนเองเปนคนไมด ี • การปรบั เปล่ยี นพฤตกิ รรม จะชวยใหเด็กมีสมาธิ มีความอดทน ควบคุมตนเองไดดีขึ้น การปรับพฤติกรรมน้ันหากคุณครูและพอแมปฏิบัติเปนไปใน แนวทางเดียวกันพฤติกรรมของเด็กจะปรับเปลี่ยนไปในทาง ท่ดี ีขึ้นได • การชว ยเหลอื ดา นการศกึ ษา เดก็ สมาธสิ น้ั ควรไดร บั การจดั การเรยี นการสอนใหเ หมาะลกั ษณะ การเรียนรสู ําหรับเดก็ • การรักษาดว ยยา เดก็ บางคนอาจตอ งรกั ษาดว ยยา ซง่ึ ยาจะไปกระตนุ ใหส ารเคมใี น สมองทชี่ อื่ โดปามนี หลง่ั ออกมามากขน้ึ ทาํ ใหเ ดก็ นงิ่ ขน้ึ และมสี มาธิ มากขึ้น 18 เดก็ สมาธิสนั้ คมู อื สาํ หรบั ครู

การชว ยเหลือเดก็ สมาธสิ ้ัน ในโรงเรยี น การชว ยเหลอื เดก็ สมาธสิ ัน้ การชวยเหลือเด็กสมาธิสั้นในโรงเรียนนั้น คุณครู สามารถชว ยเหลอื ไดตามแนวทางดังตอ ไปน้ี การเรียน : เพ่ิมความสามารถในดานการเรียน เพ่ือชวยใหเด็กสมาธิส้ันประสบผลสําเร็จดานการเรียน (ตามศกั ยภาพ) และเกดิ ความภาคภมู ใิ จในตนเอง สังคม : เพิ่มทักษะทางสังคมท่ีจําเปนตอการปรับตัวอยูรวมกับผูอ่ืน ของเดก็ สมาธสิ ั้น พฤตกิ รรม : ลดพฤติกรรมปญหาทร่ี บกวนการเรยี นรู อันเปน ผลจาก อาการของโรคสมาธิสัน้ การชวยเหลือดา นการเรียน เด็กสมาธิส้ันควบคุมตนเอง จัดระเบียบใหตนเองไดนอยหรือ ไมไดเหมือนกับเด็กทั่วไป คุณครูควรชวยจัดระเบียบการเรียนไมใหซับซอน ซง่ึ สามารถทาํ ไดดงั นี้ 1.1 การจัดกิจกรรมประจาํ วนั 1.1.1 กิจกรรมในแตละวันตองมีลักษณะคงที่ มีตารางเรียนแนนอน ครูตองบอกลวงหนา และยํ้าเตือนความจําทุกครั้งกอนมีการ เปล่ียนแปลง เชน เตือนกอนหมดเวลาเรียนคณิตศาสตร 5 นาที เมื่อหมดช่ัวโมงเรียนเตือนเด็กอีกครั้งเพ่ือเตรียมตัว เรียนวชิ าตอ ไป เด็กสมาธสิ ัน้ คมู ือสาํ หรบั ครู 19

1.1.2 หาปาย ขอความ สัญลักษณ หรือชวยเหลือความจําเดก็ ในการ ทํากิจกรรมตางๆใหเรียบรอย เชน ใหเด็กเขียนช่ือวันท่ีตองใช หนงั สอื หรอื สมุดลงบนปก เพือ่ จัดตารางเรยี นใหสะดวก 1.2 การจัดส่งิ แวดลอ มใหเหมาะสมกบั การเรยี นรขู องเด็ก 1.2.1 การจัดหองเรียน • เขียนขอ ตกลงเปนลายลักษณอักษร เชน ถอดรองเทา กอ นเขา หองเรียน ไมว่ิงเลนในหองเรียน สงการบานเปนท่ี ขอตกลง ควรมีลักษณะเขาใจงาย เขียนส้ันๆ เฉพาะท่ีสําคัญ แนนอน ไมเปลี่ยนไปมา ทบทวนขอตกลงบอยๆ ลงโทษตามท่ีตกลง กันไว • จัดหาที่วางของหองเรียนในตําแหนงเดิม เพ่ือใหเด็กจํางาย วางใหเปน ท่ีเปน ทาง • ภายในหองเรียนควรหลีกเลี่ยงการตกแตงดวยสีสันสวยหรู เพราะจะทาํ ใหเ ดก็ สนใจสง่ิ เรา เหลา นน้ั มากกวา สนใจการสอน ของครู • ชวยเด็กจัดโตะเรียนใหเปนระเบียบ และควรเก็บสมุดตางๆ ทเี่ ดมิ เพอื่ สะดวกแกการจําและหยบิ ใช • ใหม สี ิง่ ของบนโตะเรยี นของเดก็ ใหน อยทส่ี ดุ 1.2.2 การจดั ที่นัง่ • จดั ใหน ่ังขา งหนา หรอื แถวกลาง • ไมอยใู กลป ระตูหรือหนา ตา งทีม่ องเหน็ ขางนอกหอ งเรยี น • จดั ใหนั่งใกลค รูเพือ่ ดูแลไดอยางใกลชิด • ไมใ หเ พอ่ื นทซ่ี กุ ซนนง่ั อยใู กลๆ จดั ใหม เี ดก็ เรยี บรอ ยนง่ั ขนาบขา ง 20 เดก็ สมาธิสั้น คมู ือสําหรบั ครู

1.3 จัดการเรียนการสอนใหเหมาะสมกับความสามารถและชวง ความสนใจของเดก็ 1.3.1 การเตรียมการสอน • เตรยี มเอกสารทมี่ ีตัวอกั ษรขนาดใหญ อา นงา ย พมิ พดวยสเี ขม มชี อ งไฟกวาง • งานที่ใหทําตองเหมาะสมกับความสนใจและความสามารถ ของเด็ก • แบงงานเปนข้ันตอนยอยๆ ใหเหมาะสมกับชวงเวลาสมาธิ ของเดก็ ใหเ ดก็ ทาํ ทลี ะขน้ั เมอ่ื เสรจ็ แลว จงึ ใหท าํ ขน้ั ตอนตอ ๆ ไป ตามลําดับ เดก็ ในหองอาจทํางานทีละ 20 ขอ แตเด็กสมาธสิ ้ัน อาจใหท ํางานทลี ะ 5 ขอ เมอ่ื ทาํ เสรจ็ 5 ขอ ก็ใหเด็กเปลยี่ น อริ ิยาบถ • ควรมีชวงเวลาใหเด็กเปลี่ยนอิริยาบถ และเปนกิจกรรม ที่สรางสรรคที่เด็กทําได เพ่ือชวยลดความเบื่อของเด็ก ทําให เรียนไดนานข้ึน เชน มอบหมายหนาท่ีใหชวยครูเดินแจกสมุด ใหเ พื่อนในหอ ง ชวยลบกระดาน เปน ตน เด็กสมาธิสน้ั คูมอื สําหรบั ครู 21

• เลอื กกจิ กรรมการเรยี นการสอนทตี่ อ งใชป ระสาทรบั รหู ลายดา น ทง้ั ดา นการฟง การใชสายตาหรอื การลงมือปฏบิ ตั ิ • ใชสื่อทางสายตา อาจใชเปนรูปภาพประกอบ เพ่ือใหเด็ก จบั ประเด็นไดงาย 1.3.2 ระหวางการสอน • เขียนงานทเี่ ด็กตอ งทําในชั้นเรียนใหช ดั เจนบนกระดาน (กระดานขาวดกี วา กระดานดาํ ) อยา เขยี นจนแนน เตม็ กระดาน • พยายามสง่ั งานดว ยวาจาใหน อ ยทส่ี ดุ หากตอ งสง่ั งานดว ยวาจา ใหเดก็ ทบทวนคาํ ส่ัง • ตรวจสมดุ งานของเด็กเพื่อใหแ นใ จวา เดก็ จดงานไดค รบถว น • ใหเ ดก็ ทาํ งานตามเวลาทก่ี าํ หนดให เมอ่ื ครบเวลาทกี่ าํ หนดแลว งานยงั ไมเ สร็จคณุ ครูตองตรวจงาน • ใชการสอนแบบตวั ตอ ตวั เพือ่ ควบคมุ ใหเด็กมีสมาธิ • ยืดหยุนการเรียนการสอนใหเขากับความพรอมของเด็ก โดยเฉพาะในรายวิชาหลักหรือวิชาที่ยาก เชนคณิตศาสตร ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ เปนตน • ฝก ใหเ ดก็ ตรวจสอบทบทวนผลงาน การจดบันทกึ • ชวยใหเด็กสนใจบทเรียน โดยใชสีระบายคําสําคัญ ขอความ สําคญั วงรอบหรอื ตกี รอบขอความสาํ คัญท่คี รูเนน • ใชวิธีเตือนหรือเรียกใหเด็กกลับมาสนใจบทเรียน โดยไมทําให เดก็ เสยี หนา เชน เคาะท่ีโตะเดก็ หรือแตะไหลเ ด็กเบาๆ • ใหคําชมเชย หรือรางวัลเล็กๆ นอยๆ เม่ือเด็กปฏิบัติตัวดี หรอื ทําสิง่ ท่ีเปนประโยชน 22 เด็กสมาธิสนั้ คมู ือสําหรบั ครู

• หลกี เลี่ยงการใชว าจาตําหนิ ประจาน ประณามทจ่ี ะทําใหเดก็ รูส กึ อบั อาย และไมลงโทษเด็กรุนแรง เชน การตี • ใชว ธิ กี ารตดั คะแนน งดเวลาพกั ทาํ เวร หรอื อยตู อ หลงั เลกิ เรยี น (เพ่ือทํางานทคี่ างอยูใ หเ สร็จ) เมอื่ เดก็ ทาํ ความผิด 1.3.3 การมอบหมายงาน • ครูควรใชคาํ พูดใหนอยลง พูดชา ๆ ชัดเจน กระชับ ครอบคลุม ไมใ ชค ําสัง่ คลุมเครือ ไมบ น ตาํ หนิติเตียนจนเด็กแยกไมถูกวา ครใู หท ําอะไร • ใหเ ดก็ พดู ทบทวนทค่ี รสู ง่ั หรอื อธบิ ายกอ นลงมอื ทาํ เพอื่ ใหแ นใ จ วาเขาใจในส่ิงที่พูด อีกท้ังยังเปนการฝกพูดใหเด็กถายทอด ความคิดของตนเอง • ในกรณีท่ีเด็กมีสมาธิสั้นมาก ควรมอบหมายงานที่มีระยะเวลา การทํางานส้ันลง แตพยายามเนนในเร่ืองความรับผิดชอบ ทาํ งานใหเ สรจ็ 1.4 การชวยเหลอื ดา นทักษะเฉพาะในการเรียน 1.4.1 ทักษะในการอานหนังสือ คุณครู อาจเลือกหนังสือท่ีเด็กชอบมาให เด็กอานเสริม โดยหนังสือที่อาน ไมจําเปนตองเปนหนังสือเรียน อาจเปนหนังสือผจญภัย หนังสือ สอบสวน หนงั สอื ชวี ติ สตั ว ชวี ประวตั ิ ประวตั ศิ าสตรห รอื วทิ ยาศาสตรก ไ็ ด จ า ก นั้ น ค ว ร พู ด คุ ย ถึ ง สิ่ ง ที่ อ า น ใหเลา เร่ือง หรอื ใหสรุป เด็กสมาธิส้นั คูมอื สาํ หรบั ครู 23

1.4.2 ทักษะการเขยี นหนังสือ การฝก ใหเขียนหนังสอื บอยๆ จะทําให สายตาและมือทํางาน ประสานกันไดดีข้ึน เชน ฝกใหเขียน ส่ิงท่ีอยูในชีวิตประจําวัน เขียนบรรยายความรูสึกตอพอแม เขียนแผนที่คาดวา จะทําในชว งปดภาคเรยี น 1.4.3 ทกั ษะการฟงและจบั ประเด็น ฝกเด็กใหสรปุ ส่ิงทีไ่ ดยิน ไดเหน็ ไดลองทําตาม จะเปนรากฐานท่ีดีในการชวยฝก สมาธิ 1.4.4 ทักษะในการวางแผนทํางาน คุณครูควรฝกเด็กใหเรียงลําดับ งานสําคัญ กอ น-หลัง ตัง้ สมาธกิ บั งานและลงมือทํา 1.4.5 การบา น • จัดแบงการบานออกเปนสวนๆ เพื่อใหเด็กสามารถลงมือทํา จนสําเร็จไดในชวงเวลาส้ันๆ เม่ือเด็กทํางานเสร็จเองบอยๆ จะทําใหเด็กอารมณดี พอใจในตนเอง สถานการณเชนนี้ จะทาํ ใหเด็กมีความพยายามในการทํางานเพม่ิ ข้นึ • เรียงลําดับขอ ที่งา ยไวขอแรกๆ เพื่อใหเด็กเร่ิมทาํ จากงานที่งาย แลวเสร็จเร็ว ไปสูงานท่ีซับซอนยุงยากหรือมีปญหาที่ตองใช เวลาแกน านขนึ้ • ใหเ ดก็ เริ่มทํางานที่มีความเรงดว น ท่ีตอ งสง กอ น • มอบหมายการบานใหฝกอานหนังสือและทบทวนบทเรียนจน ตดิ เปนนิสยั 1.4.6 สอนเทคนคิ ในการเรียนและการเตรียมตวั สอบ • สอนใหเด็กใชเทคนิคชวยจํา เชน การใชแถบปากกาสี การขดี เสน ใตข อ ความทส่ี าํ คญั การยอ ประเดน็ สาํ คญั การจดสตู ร หรอื คาํ ยากๆในสมดุ บนั ทกึ • การหดั คิดเลขกลบั ไปกลบั มา 24 เดก็ สมาธสิ ัน้ คูม อื สําหรบั ครู

• ฝกสอนเทคนิคในการทําขอสอบ เชน ขอสอบท่ีจับเวลา หรือ มเี วลาทาํ จาํ กัด ขอ ทที่ าํ ไมไ ดใ หข ามไปกอน อยาลมื วงหนาขอ เพือ่ กลับมาทาํ ซา้ํ หรือเพ่อื ไมใ หวงสลับขอ เปนตน 1.5 ชวยเดก็ จดั การเก่ียวกบั เวลา เด็กสมาธิสั้นรูเก่ียวกับเวลาวาตองทําส่ิงใดบาง แตปญหาของเด็กคือ “แบงเวลาไมเปน” การตั้งเวลาและการเตือนจึงเปนสิ่งที่จําเปนสําหรับเด็ก อยาคาดหวงั ใหเ ดก็ รจู กั เวลาเอง ส่ิงทค่ี ณุ ครูสามารถชว ยไดคอื 1.5.1 เตือนใหเด็กตรงตอเวลา โดยสงสัญญาณเตือนเมื่อใกลถึง เวลานัด หรอื เวลาตอ งสงงาน 1.5.2 ชวยเด็กจัดทํากําหนดเวลาหรือปฏิทินงาน ทําลงกระดาษแลว ติดไวท ี่โตะเรยี นของเดก็ 1.5.3 ใชน ากิ าเตอื น โดยอาจใชน ากิ าระบบสนั่ สะเทอื น เพอ่ื ปอ งกนั การรบกวนเดก็ อน่ื 1.5.4 ใหแรงเสริมทางบวก เชน คําชม การสะสมดาวเพื่อแลก ของรางวัล เปนตน เมอื่ เด็กสงงานตามเวลา เด็กสมาธสิ น้ั คมู อื สาํ หรับครู 25

การพัฒนาทกั ษะทางสังคม ชวยเดก็ สมาธิส้นั ใหม เี พือ่ น เด็กสมาธิส้ันจํานวนมากมีปญหากับเพื่อน ชอบกลั่นแกลงหรือ แหยเ พ่อื น บางคนอาจมลี กั ษณะกา วราว ท้ังนี้เพราะเดก็ สมาธสิ นั้ จะมีอารมณ เสียงาย และไมคิดกอนที่จะทํา บางรายอาจเรียกรองความสนใจแบบไมคอย เหมาะสม เชน ทาํ เปนตวั ตลกใหค นอ่ืนแหยเ ลน เปนตน อีกทง้ั เดก็ ยังมีปญหา การแปลวธิ ีการสอ่ื สารที่ไมใชคาํ พดู ทําใหเดก็ ไมสามารถรบั รูอารมณข องผูอ่ืน จากการไดเห็นเฉพาะสหี นาทาทาง และแววตาของคนท่ีตนสัมพนั ธด วย ท้ังหมดน้ีทําใหเด็กไมสามารถรักษาความสัมพันธกับเพ่ือนไวได นานพอ เด็กอาจตอบโตเพ่ือนแบบกาวราวเมื่อถูกย่ัว ความไมมีสมาธิ ไมรู เวลาทาํ ใหเ ดก็ ปฏบิ ตั ติ ามกฎเกณฑห รอื กตกิ าตา งๆ ไมไ ด การเลน กบั เพอ่ื นจงึ มี ปญหาและไมมีใครอยากเลน ดว ย การฝก ทักษะทางสังคมจะชว ยใหเดก็ เขากบั เพ่ือนไดด ีขน้ึ รจู ักทํางานรว มกับผอู นื่ ซึง่ คุณครูสามารถชว ยเหลอื เด็กไดด ังน้ี 2.1 คนหาวาปญหาการเขาสังคมกับเพ่ือนอยูที่ไหน โดยอาศัย การสังเกต การเลนของเด็ก ทักษะตางๆ ท่ีเด็กใชเวลา เขากลุมกับเพ่ือน ไดแ ก • ทักษะในการส่ือสาร การเร่ิมตนเลนดวยการรับฟงกติกา การซักถามขอ สงสัย การสรา งคาํ ถามที่เหมาะสม การชีช้ วนให เพ่ือนๆ เลน ตาม คาํ พูด และสาํ เนียงทใ่ี ชพ ดู • ความสามารถในการเลน ควรสังเกตวาเด็กเลนในสิ่งท่ีเพ่ือนๆ เลน ไดจ รงิ หรอื ไม ในกฬี าตา งๆ เชน หมากรกุ หมากฮอส ปง ปอง บาสเกตบอล ฟุตบอล เปน ตน 26 เด็กสมาธิสน้ั คูมอื สาํ หรับครู

• ทักษะในการอยูรวมกับผูอื่น ความสามารถเลนตามเพื่อนหรือ นําเพื่อนได รูจักเอ้ือเฟอ รูจักขอโทษ ขอบใจ และการแสดง นา้ํ ใจ เคารพในกตกิ า เขา ใจความรสู กึ ของคนอน่ื ไวตอ ความรสู กึ ของคนรอบขา ง 2.2 จัดโอกาสและหาแบบฝกหดั ใหเดก็ ไดฝ กฝนทกั ษะ ควรหากจิ กรรมใหเ ดก็ ไดท าํ เปนคูหรือเปน กลมุ โดยกิจกรรมเหลาน้ัน ตอ งมรี ะเบียบกฎเกณฑ และขน้ั ตอนทีช่ ัดเจน โดยครชู ว ยควบคุม 2.3 แบบอยางทด่ี ี ครสู ามารถเปน แบบอยา งทด่ี ใี นการตดิ ตอ สมั พนั ธก บั ผอู น่ื ทง้ั การแสดง ทาทาง คําพูด การฟง การใหความชวยเหลือผูอื่น การแบงปน การขอ ความชว ยเหลือ การกลาวคาํ ขอโทษ หรอื ขอบคณุ 2.4 จดั เพอื่ นชว ยดแู ลเด็กสมาธิส้นั ครูควรจัดเพ่ือนท่ีเด็กสนิทหรือเพื่อนที่อาสาชวยดูแล คอยเตือน เมื่อเด็กไมมีสมาธิชวยสอนการบานโดยอาจจัดเปนคู หรือจัดเปนกลุม เพ่ือนรวมดูแลเหลาน้ีควรเปนคนที่เด็กชอบพอ เขาอกเขาใจกันและทําอะไร ดวยกันได ทั้งนี้ครูควรชวยติดตามปญหาตางๆ ท่ีอาจเกิดกับเพื่อนผูชวยดูแล เดก็ ได เด็กสมาธิสนั้ คูม ือสาํ หรับครู 27

การปรบั พฤติกรรม กอนที่จะกลาวถึงการปรับพฤติกรรม คุณครูควรหาทางปองกันไมให ปญหาเกิดขึน้ ซ่ึงทําไดด ังนี้ • บอกเด็กใหช ัดเจนวา เราตองการใหท าํ อะไร • สอนใหเด็กทราบวาพฤติกรรมใดเปนที่ตองการ พฤติกรรมใด ไมเปนท่ีตองการ • กาํ หนดกิจวัตรประจาํ วนั ใหเปน ข้นั ตอน • ปฏิบตั กิ บั เดก็ อยา งคงเสนคงวา สมํ่าเสมอ • ปฏิบัตติ นใหเ ปนแบบอยางแกเ ด็ก • ปฏิบัตกิ บั เดก็ ดวยความยุตธิ รรม • เขา ใจปญหา ความตอ งการ และความสามารถของเด็ก • ใชค วามอดทนกับปญ หาพฤตกิ รรมของเดก็ • บางครงั้ ตองยืดหยนุ บาง • คอยใหคําแนะนาํ ชว ยเหลือเด็กเม่อื จาํ เปน ตอไปน้ีเปนเทคนิคการปรับพฤติกรรม 3.1 การกําหนดกฎระเบียบหรือคําส่ัง คุณครูกําหนดขอปฏิบัติ ที่งา ยๆ ส้นั ๆ เชน • เตรยี มพรอมทจ่ี ะเรียนหนังสือ • ทาํ ตามทคี่ รสู ัง่ • ตาจองทหี่ นา กระดาษ ไมมองไปทางอืน่ • เอามือวางไวแนบลําตวั • ทาํ งานเงยี บๆ • ทํางานใหส ะอาด เรียบรอ ย 28 เด็กสมาธิสัน้ คมู อื สาํ หรบั ครู

3.2 การใหแ รงเสรมิ ทางบวก คณุ ครคู วรเปลย่ี นจากการ “จบั ผดิ ” มาเปน “จับถูก” • ช่ืนชมเมื่อเด็กมพี ฤติกรรมทีพ่ ึงประสงค “ครูชอบมากที่หนยู กมอื ขึน้ กอนถามครู” “ดีมากท่หี นยู ืนเขาแถวเงียบๆ ไมค ยุ กนั ” • ใหส ิทธิพิเศษเมอ่ื เดก็ มีพฤตกิ รรมทด่ี ี เชน มอบใหค วบคมุ แถว ใหเก็บสมุดงานจากเพ่อื นนกั เรียน • รางวัลไมจําเปนตองเปนรางวัลชิ้นใหญ อาจเปนคําชมเชย รางวลั เล็กๆ นอยๆ • ตวั อยา งแรงเสรมิ เชน ใหเ ลน เกมทชี่ อบ ใหเ วลาในการฟง เพลง โดยใชหฟู ง ใหเ ลนดนิ น้าํ มัน ตดั กระดาษ ใหเลอื กการบา นเอง ใหก ลบั บานเรว็ ขนึ้ 3.3 การสะสมเบีย้ รางวัล • การสะสมคูปองที่เขยี นมูลคาไว เม่อื ครบมูลคาที่กาํ หนดไวก ใ็ ห เลือกทาํ กจิ กรรมท่ชี อบได 1 อยาง • หากเด็กมีพฤติกรรมที่ดี คุณครูอาจนําลูกแกวมาใสโถใสไว เมอื่ โถเต็มกจ็ ัดงานเลีย้ งเลก็ ๆ ในหองเรียน 3.4 การใชบ ตั รสี เพือ่ ควบคมุ พฤติกรรมเดก็ ทงั้ หองเรียน • คณุ ครตู ดิ แผน ปา ยไวห นา หอ งเรยี น บนแผน ปา ยจะมชี อ่ื ของเดก็ พรอ มบตั รสี • เร่มิ เรียนตอนเชา ทุกคนจะมปี ายมชี มพู • หากเด็กมีพฤติกรรมไมเหมาะสมก็ใหบัตรสีเขียวแตไมมี การลงโทษ • หากยังมีพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมเด็กจะใหบัตรสีเหลือง พรอ มกับงดการเขารวมกจิ กรรม 5 นาที เด็กสมาธสิ น้ั คมู ือสําหรบั ครู 29

• หากยังมีพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมอีกใหงดการเขารวมกิจกรรม 10 นาที แลว เปลี่ยนบตั รเปนสีแดง หมายความวาตองรายงาน ผูอํานวยการ หรอื แจงผูป กครอง 3.5 การใชบตั รตัวเลข • เปนบตั รขนาดเทา ฝา มอื มตี วั เลข 1-5 5 หมายถึง ประพฤติตวั ดมี าก เปน เดก็ ดีของครู 4 หมายถึง วนั นป้ี ระพฤติดี 3 หมายถงึ พอใช ไมส รางปญหา 2 หมายถงึ วันนีค้ อนขางมปี ญ หา ไมเ ปน เดก็ ดเี ทาทีค่ วร จําเปนตอ งปรับปรุงตนเอง 1 หมายถงึ วนั นแ้ี ยม าก ไมน า รกั เลย คราวหนา ตอ งแกต วั ใหม • ใหเ ด็กถอื บัตรนี้กลบั บา นดว ย 3.6 การทําสญั ญา ในสญั ญาควรประกอบดวย 2 สว นใหญๆ คอื • สัญญาวาจะทําพฤติกรรมท่ีไมเหมาะสม เชน มาโรงเรียนสาย ไมสงงาน คยุ กันในหอ งเรยี น เปนตน • สัญญาในทางทดี่ ีทเ่ี หมาะสม เชน ต้งั ใจเรียน ควบคุมอารมณ ตนเอง ต้ังใจฟงครูสอน สงงานตามกําหนดเวลา นั่งเรียน อยา งเรยี บรอย พูดจาไพเราะ คณุ ครคู วรกาํ หนดรางวลั ทเี่ ดก็ จะไดร บั เชน ไดเ ลน คอมพวิ เตอร ตามลาํ พังนาน 10 นาที แตถา ไมปฏบิ ัติจะไมไ ดไปทัศนศกึ ษา กบั เพ่อื น 3.7 การฝก หายใจ เปน วธิ ที จ่ี ะสามารถชว ยผอ นคลายความเครยี ด ใหแกเด็กได • ฝกใหเด็กหายใจอยางถูกตอง ใหนั่งในทาที่สบาย หายใจเขา ใหท อ งพอง หายใจออกใหทอ งแฟบ มสี ติอยูก ับลมหายใจ 30 เด็กสมาธิสนั้ คูมอื สําหรับครู

3.8 ทํากิจกรรมฝกสมาธิ เชน ถือของท่ีแตกงายไปสงใหผูอ่ืน ถือขันน้ําที่มีน้ําปริ่มโดยไมใหหก แสดงทาวายนํ้าในอากาศ แสดงอาการลอยตัวเมือ่ อยูนอกโลก 3.9 การใชดนตรี อาจใชดนตรีประกอบกิจกรรมกอนเรียน หรือ หลังเลิกเรยี น เชน “ถา ไดยินเสียงรัวกลองใหทกุ คนว่งิ ประจําที่” “ถา ไดย นิ เสียงบรรเลงเพลงจบ ใหท กุ คนคอยๆ เดิน ยอ งเบาๆ เขา ทน่ี ่ังตนเอง” ปญ หาพฤติกรรม ท่ีพบบอยในโรงเรยี น พนม เกตุมาน (2551) ไดใหรายละเอียดแนวทางการจัดการปญหา พฤตกิ รรมเด็กสมาธิสั้นท่ีพบบอ ยไวด งั น้ี ดือ้ ดือ้ คอื พฤตกิ รรมหลีกเล่ยี ง หลบเลีย่ งไมทําตามคาํ สั่ง หรอื ทาํ ผดิ ไป จากขอ ตกลงทท่ี าํ ไวล ว งหนา อาการดอ้ื ของเดก็ สมาธสิ นั้ เปน พฤตกิ รรมทพ่ี บได บอ ย เดก็ จะด้ือจากหลายสาเหตุ คือ 1. เดก็ ไมต ้งั ใจจะฟง คําส่งั ไมใสใจ เมือ่ ส่ังแลวลมื หรอื ทาํ ไมครบ 2. เดก็ ไมค อ ยอยากทาํ ตามคาํ สงั่ เนอ่ื งจากตดิ เลน หรอื กาํ ลงั ทาํ อะไร เพลินๆ สนุกๆ 3. เด็กอาจหงุดหงิด หรอื โกรธไมพอใจในเรอ่ื งอ่นื เมือ่ สง่ั ใหทําอะไร ก็ไมอยากทํา จงึ อาจใชก ารดือ้ ไมรว มมอื ไมท าํ ตาม เปน การตอบโต เดก็ สมาธิส้ัน คมู ือสาํ หรบั ครู 31

เด็กดื้ออาจจะแสดงออกด้ือตรงๆ ตอบโตคําส่ังทันที หรือดื้อเงียบ คือปากวาจะทํา แตขอผัดผอนไปกอน แลวในที่สุดก็ไมทํา (ดวยเจตนาหรือ ลืมจริงๆ) การปองกัน ครูควรใชคําสั่งท่ีไดผล เวลาส่ังควรแนใจวาเด็กสนใจในคําสั่งนั้น ควรใหเด็กหยุดเลนหรือหยุดพฤติกรรมใดๆ ที่กําลังทําอยูเสียกอน สั่งส้ันๆ ชัดเจน อยาใชหลายคําส่ังพรอมๆ กัน ใหเด็กทวนคําส่ัง แลวเร่ิมปฏิบัติ ทันที อยาใหเด็กหลบเล่ียง พรอมกับชมเม่ือเด็กทําได ในกรณีที่คําสั่งน้ัน ไมไ ดผ ล คณุ ครตู อ งคอยกาํ กบั ใหท าํ สมาํ่ เสมอในระยะเวลาแรกๆ กอ น ไมค วรสง่ั หรอื ตกลงกันในกิจกรรมทีค่ รูไมม ีเวลาคอยกาํ กับใหทําในระยะแรกๆ แกลงเพ่อื น เนื่องจากเด็กมักจะซน ควบคุมตัวเองลําบาก ทําใหอาจไปละเมิด เดก็ อน่ื ได แตเ ดก็ มกั ไมค อ ยยอมรบั วา ตนเองเปน ผเู รม่ิ ตน ละเมดิ คนอนื่ กอ น เชน ลอเลียน แหย แกลง ทําใหคนอื่นไมพอใจ จนมีการตอบโตกันไปมา แตเมื่อ ใหเดก็ สรปุ เอง เขาจะบอกวา โดนแกลง กอน ทัง้ ๆ ทีก่ อ นหนา น้ีเขาอาจจะเปน ผเู รมิ่ ตนกอนกไ็ ด บางทกี ารตอบโตน ้ันเกิดเปน วงจนหาจดุ เร่มิ ตน จรงิ ๆ ไมได เม่ือเด็กมาฟองครูวาตนเองถูกรังแก ครูตองทําใจใหเปนกลาง อยาเพ่ิงเช่ือเด็กทันที ควรสอบถามใหชัดเจนกอนวา เหตุการณท่ีเกิดข้ึนจริงๆ เปน อยางไร ยกตัวอยาง เชน 32 เด็กสมาธิส้ัน คมู อื สาํ หรับครู

“ลองเลาเหตุการณท ีเ่ กิดขนึ้ อยางละเอียดซิ” “ ตอนน้นั หนทู าํ อะไรอย”ู “กอนหนา นน้ั หนทู าํ อะไร” “มีอะไรท่ีทาํ ใหเขาไมพ อใจหนูอยูกอ น” “กอ นหนาหนูทาํ อะไรใหเขาไมพ อใจบางไหม” “อะไรทําใหเ ขามาทาํ เชน น้กี บั หน”ู “หนูคงโกรธที่เขาทาํ เชน น้นั ” “แลว หนตู อบโตไ ปอยางไร” “หนูคิดวา เขาจะคิดอยา งไร รสู ึกอยางไร” “หนูคดิ วาเร่ืองมนั นาจะจบลงแคน้ีหรือเปลา ” “เพือ่ นเขาอาจเจบ็ แคน มาหาเรอ่ื งในวนั หลงั ไดหรอื ไม” “หนูคิดวา จะหาทางออกอยางไรดี ทีจ่ ะไดผ ลดใี นระยะยาว” สิ่งที่ครูควรจะสอนเด็กคือ วีธีการแกปญหาดวยวิธีการที่นุมนวล หาทางออกสําหรับแกปญหาหลายๆ แบบใหเด็กเลือกใช โดยไมไปตําหนิเด็ก ตรงๆ กอ น กาวรา ว เด็กท่ีถูกเพ่ือนย่ัวบอยๆ หากไมไดฝกควบคุมตนเอง อาจทําใหเด็ก ตอบสนองตอเพ่ือนดวยวิธีกาวราวรุนแรงได การลงโทษดวยวิธีรุนแรง เชน ตีหรือประจานใหเสียหนา อาจชวยหยุดพฤติกรรมไดในระยะส้ันๆ แตไมชวย แกไ ขปญหาพฤติกรรมของเดก็ ในระยะยาว สง่ิ ท่ีครสู ามารถชว ยเด็กได คอื • ฝก ใหเ ด็กระบายอารมณ และจดั การอารมณตนเองอยา งสมา่ํ เสมอ ดังที่กลา วมาขา งตน • เมื่อเกิดสถานการณ ครูตองเขาไปไกลเกล่ีย แยกเด็กซ่ึงเปนคูกรณี ออกจากกัน แตถาเด็กมีพฤติกรรมอาละวาด ในเด็กเล็กครูอาจใช เดก็ สมาธิส้นั คมู อื สําหรบั ครู 33

วิธี “กอด” เดก็ ไว สว นในเด็กโต อาจใหครผู ูชายตัวโตๆ อยางนอย 2-3 คน ชว ยล็อคตวั เด็กไว และพาเด็กไปอยทู ่ีสงบพรอมบอกเดก็ วา “หนโู กรธไดแ ตท าํ รา ยคนอน่ื ไมไ ด” จากนนั้ พดู คยุ ใหเ ดก็ ระบาย ความรสู ึก และใชวธิ ีพดู คยุ สอบถามเชนเดยี วกบั กรณีแกลง เพือ่ น • ชวยใหเด็กคิดหาทางออกในหลากหลายวิธี และปรับความเขาใจ ซงึ่ กันและกนั ในสถานการณท่ีทงั้ คมู ีอารมณสงบดีแลว • สอนใหเด็กรูจัดสังเกตอารมณของตนเองและผูอ่ืน รวมถึงหาวิธี หลีกเลี่ยงและสื่อสารความตอ งการอยางเหมาะสม - ใหเ ดก็ พยายามหลกี เลย่ี งสถานการณ ซงึ่ เปน ตวั กระตนุ ใหโ กรธ - คิดทบทวนดูวาเร่ืองอะไรที่มีผลกระทบตออารมณมากที่สุด โดยสังเกตวารางกายสงสัญญาณเตือนอยางไรเม่ือมีอารมณ เปลี่ยนแปลงจากเร่ืองท่ีเขามารบกวน เชน หายใจเร็ว ใจสั่น หนา แดง ฯลฯ และรบี ออกจากทีเ่ กิดเหตุ ไมพ ดู ตอ ลอ ตอเถยี ง ในขณะทีอ่ กี ฝา ยกําลังมอี ารมณโกรธ - ใหเ ดก็ บอกตวั เองวา ตอ งควบคมุ อารมณโ กรธกอ นทอี่ ารมณโ กรธ จะควบคุมเรา - นกึ ถงึ สง่ิ ดๆี ในชวี ิต เพ่ือใหอ ารมณผ อ นคลายลง - ขอบคุณตัวเองที่สามารถเอาชนะอารมณโกรธได ในการสอน ใหเด็กรูจักสังเกตอารมณของผูอ่ืน ครูอาจใหเด็กท้ังหองเรียน รูอารมณรวมกัน โดยแสดงสถานการณสมมติ ขออาสาสมัคร แสดงสีหนาทาทางถึงภาวะอารมณตางๆ ใหเด็กคนอ่ืนๆ ชวยกันทาย รวมถึงอาจใหเด็กแลกเปล่ียนวาถาเพ่ือนอยูใน อารมณโกรธพวกเขาควรทําอยางไร ใหเด็กชวยกันคิดวิธี และแสดงทาทางตอบสนองเวลาท่ีเพื่อนมีอารมณโกรธ ก็จะ ชวยใหเด็กเรียนรูจักวีธีสังเกตและตอบสนองอารมณผูอ่ืน อยา งสนกุ สนาน 34 เดก็ สมาธสิ นั้ คูม ือสําหรบั ครู

แนวทางการติดตาม พฤตกิ รรมเดก็ สมาธสิ น้ั ในชน้ั เรียน ครูควรใชแบบประเมินพฤติกรรม สังเกตและบันทึกการเปล่ียนแปลง ของเด็กทุกสัปดาห และหาโอกาสพูดคุยกับเด็กถึงการเปล่ียนแปลงของเขา เปน ระยะวา เดก็ สามารถพฒั นาอะไรขน้ึ บา ง โดยพยายามพดู ถงึ ความกา วหนา ในทางทดี่ แี ละตามดวยส่ิงที่เด็กควรแกไขเพื่อใหเด็กเกดิ ความรสู กึ ท่ีดี เด็กสมาธิส้นั คมู ือสาํ หรบั ครู 35

ตวั อยา งสมุดบนั ทกึ พฤตกิ รรมเปน ชว งสปั ดาห (ชาญวิทย พรนภดล,2545) พฤติกรรมเดก็ แยลง ไมเ ปลยี่ นแปลง ดีข้นึ ดขี ้ึนมาก มสี มาธิ สามารถจดจอ กับการงานทที่ ํา นง่ั ตดิ ท่ี พดู จาเหมาะสม มีปฏิสัมพนั ธทีด่ ี กับเพื่อนและครู ประโยชนข องสมดุ บนั ทกึ พฤตกิ รรมสาํ หรบั เดก็ สมาธสิ น้ั นน้ั จะชว ยให ขอมลู แพทยในการตดิ ตามการรกั ษาและอาการของเด็กท่โี รงเรยี น ครสู ามารถ เห็นความเปล่ยี นแปลงพฤติกรรมของเด็กชดั เจนยงิ่ ข้นึ และยงั เปน ขอมูลสาํ คญั ในการสอ่ื สารกับผปู กครอง รวมถงึ ใชส ง ตอขอมลู ระหวา งครดู วยกันไดอ ีกดวย อยา 10 ประการ ฝากไวส าํ หรบั คณุ ครูผูดูแลเดก็ สมาธสิ ้ัน 1. อยา เขา ใจวา เดก็ เปน เดก็ ขเี้ กยี จ บางอาการเดก็ เปน อยนู อกเหนอื การควบคมุ 2. อยาลงโทษเด็กเพราะเห็นวาเด็กแกลงไมทํางาน เนื่องจาก ความสามารถของเดก็ ยังไมค งเสนคงวา สิ่งทีเ่ ดก็ ทําไดใ นครงั้ กอ นอาจทําไมได ในคร้งั น้ี 3. อยาฟงครูคนอื่นท่ีวิพากษวิจารณเด็กในทางลบ ความจริงเด็ก อาจไมเลวรา ยอยา งครูอ่นื ๆ พูดกไ็ ด 4. อยาฟงครูประจําชั้นคนเดิม (เก่ียวกับทัศนคติทางลบ) ลองประเมนิ เดก็ ดว ยตนเอง และหาเทคนคิ ในการจดั การพฤตกิ รรมใหเ หมาะสม 36 เดก็ สมาธสิ ั้น คูม ือสําหรับครู

5. อยาลงโทษเด็กดวยอารมณ 6. อยาลืมผูปกครอง ตกลงกับผูปกครองเกี่ยวกับการสอนและ รายงานความกาวหนาใหผปู กครองทราบสมา่ํ เสมอ 7. อยาทํางานคนเดียว ขอความชวยเหลือจากครูอื่นในการชวย สังเกตพฤตกิ รรมเดก็ และเสนอแนวทางในการสอน 8. อยา ลืมปรับพฤติกรรม ควบคูกับการเรยี นการสอน 9. อยา เนนผลสอบจนเกนิ ไป ควรมองพฒั นาการเด็กทีด่ ีขน้ึ 10. อยาเลิกลมความตั้งใจงายๆ หากวันนี้คุณครูไมชวยแลวใครจะ ชว ยเหลือเดก็ ตวั อยางประสบการณแ หงความสาํ เรจ็ “การดูแล ชว ยเหลอื เด็กสมาธิสน้ั ” กรณีศึกษาตอไปน้ี คัดเลือกจากกรณีศึกษาที่ประสบความสําเร็จใน การดแู ลชว ยเหลอื เดก็ สมาธสิ น้ั ในโรงเรยี น โดยคณะทาํ งานกลมุ งานสขุ ภาพจติ โรงเรยี นของสถาบนั สขุ ภาพจติ เดก็ และวยั รนุ ราชนครนิ ทร ไดส มั ภาษณค ณุ ครู ผูดูแลเด็กสมาธิสั้น ผูปกครอง รวมถึงตัวเด็กเอง และนําขอมูลทั้งหมด มาประมวลเปนกรณีศึกษาเพ่ือเปนตัวอยางใหแกผูสนใจนําไปประยุกตใช ดแู ลชว ยเหลอื เดก็ สมาธิสัน้ ในโรงเรยี นอยางครมู อื อาชีพ กรณีศกึ ษา เดก็ วยั ประถมศกึ ษาตอนตน ทาํ งานชา ลมื สง การบา น ของหายบอ ยๆ วอกแวกงาย ทํางานไมระเบียบ ผลการเรียนต่ํากวาความสามารถท่ีแทจริง ครูสามารถประเมินอาการสมาธิสั้นของเด็กไดต้ังแตระยะประถมศึกษาตน และใหความสําคัญในการชวยเหลือและพัฒนาเด็กอยางจริงจังและตอเน่ือง สงผลใหเด็กไดรับการรักษาตั้งแตเริ่มตน โดยครอบครัวพยายามศึกษาเรียนรู เดก็ สมาธสิ ้นั คูมือสําหรับครู 37

ใหเขาใจและยอมรับเด็กอยางแทจริง มีความหวังและแสวงหาแนวทางในการ พัฒนาเด็กอยา งไมหยดุ น่งิ นาํ มาสูผลสําเร็จท่งี ดงามและนาภาคภมู ใิ จ ขอมลู ท่วั ไป เด็กเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 2 เปนบุตรคนโต มีนองสาว 1 คน บดิ ามอี าชพี รบั ราชการ ตาํ แหนง หนา ทคี่ อ นขา งสงู ตอ งปฏบิ ตั หิ นา ทร่ี บั ผดิ ชอบ อยปู ระจําตา งจังหวดั จะกลับบานในชวงสดุ สปั ดาห มารดามีอาชพี รับราชการ ตาํ แหนง นกั วชิ าการ มารดาเปน ผอู บรมเลย้ี งดู ตลอดจนการดแู ละเรอ่ื งการทาํ งาน และการทําการบา นของ ลกู ๆ โดยลําพัง เด็กและนองสาวมีความผูกพันรักใคร เอาใจใสใกลชิดกันดี โดยเฉพาะเด็กจะรักและตามใจนองมาก สวนนองสาว คอนขางเอาแตใจตนเอง และอิจฉาพี่ท่ีแมมักจะใหเวลาดูแลการทําการบาน ของพี่มากกวาตนเอง และนองสาวมักจะไมพอใจเมื่อเห็นเด็กทํางานชา และ หลงลืมบอย ความเปน มาของการเจ็บปวย มารดาสังเกตเห็นวา เด็กตองการความชวยเหลือต้งั แตอยชู ้นั อนุบาล 3 โดยเริ่มจากกลามเน้ือมัดเล็ก ทํางานไดไมดี และมีปญหาในระบบการ ทํางานประสานกันระหวางมือกับตา สงผลใหเด็กประสบความยากลําบาก ในการเขยี นหนงั สอื ทาํ งานชา ไมเ สรจ็ ตามเวลาที่กําหนด เดก็ ใชเวลานานมาก ในการทาํ การบา น หากไมน ง่ั เฝา จะทาํ การบา นไมเ สรจ็ วอกแวกงา ยและเดก็ ยงั มอี าการนัง่ เหมอเหมือนไมไดฟ ง ชั้นประถมศกึ ษาปที่ 1 อาจารยป ระจําชนั้ รายงานวา เดก็ ไมมีปญหา เรื่องการอาน แตมีปญหาดานการไมมีสมาธิในการเรียน เวลาเรียนมักจะ น่ังเหมอลอย ทํางานชามากไมเสร็จตามเวลา และไมเสร็จในชั่วโมงเรียน ตองนํางานกลับไปทําตอที่บานเปนประจํา การเขียนมักจะตกหลน หลงลืม มผี ลใหก ารเรียนตาํ่ กวาความสามารถทแ่ี ทจ ริง 38 เด็กสมาธสิ ัน้ คูมอื สําหรบั ครู

ชนั้ ประถมศึกษาปท ่ี 2 ปญ หาตางๆ มีมากข้ึน เด็กยังคงทํางานชา มาก หลงลืมบอย เชน ลืมสงการบาน ของหายบอยๆ วอกแวกงาย ทํางาน ไมเปนระเบียบ ผิดพลาดบอย ผลการเรียนต่ํากวาความสามารถที่แทจริง อาจารยแนะแนวเชิญมารดามาพบเพ่ือรายงานถึงปญหาที่เกิดข้ึนในโรงเรียน และขออนุญาตศึกษารายกรณีเพราะรูสึกวิตกกังวลและเปนหวง มารดา จึงอนุญาตและใหความรวมมือในการใหขอมูลเต็มที่ อาจารยแนะแนวได รวบรวมขอมูลของเด็กดวยวิธีการตางๆ และไดเสนอแนะวาเด็กนาจะพบ แพทยเพ่ือการตรวจวินิจฉัย จึงไดพาเด็กไปพบแพทย เพ่ือจะไดทราบสาเหตุ ปญ หาทแี่ ทจรงิ และการหาทางชวยเหลอื ทถ่ี กู ตอ งเหมาะสมสาํ หรบั เด็ก และ ภาคปลายของประถมศกึ ษาปท่ี 2 เมื่อเด็กอายุได 7 ขวบ มารดาไดพาเด็กไป พบแพทยที่โรงพยาบาลยุวประสาทไวทโยปถัมภ แพทยวินิจฉัยวา เด็กเปน โรคสมาธสิ ้นั ชนดิ ท่ีไมซ น (Attention Deficit Disorder, ADD) อาการเจ็บปวย และสภาพปญ หาที่เกิดจากการเจบ็ ปว ย 1. เวลาเรยี นเหมอ ลอย วอกแวกงา ย เหมอื นไมส นใจฟง เวลาอาจารย สอน ไมซ กั ถาม 2. การทาํ งานผดิ พลาด ตกหลน บอ ยครง้ั ทาํ งานชา ไมเ สร็จตามเวลา ลายมือไมเ ปนระเบยี บ 3. ของหายบอยข้ีลืม เชน ลืมสง การบาน ลมื อุปกรณก ารเรียน 4. ดเู ปนเดก็ ฉลาด แตผลการเรยี นไมด ี 5. ทอแท ขาดแรงจงู ใจในการเรยี น 6. อารมณอ อ นไหวงา ย หงดุ หงดิ งา ย ใจรอ น ไมม คี วามสขุ ไมส ามารถ สรา งสมั พันธภาพกบั ผูอ น่ื ไดด ี มีเพอ่ื นนอย เด็กสมาธสิ น้ั คมู ือสําหรบั ครู 39

การดแู ล และการแกไขปญ หาของมารดา เมือ่ แพทยวินิจฉัยวา เดก็ เปน โรคสมาธสิ ั้น มารดารูส ึกเสียใจ ผิดหวัง อยา งรนุ แรง แพทยไ ดใ หค วามเขา ใจเรอื่ งโรคสมาธสิ น้ั แกม ารดา ซงึ่ ทาํ ใหม ารดา เรมิ่ ทาํ ใจและมองเหน็ ความหวงั ในการชว ยเหลอื เดก็ และตระหนกั วา ครอบครวั มีสวนสําคัญ หากครอบครัวไมชวยเหลือเด็กอยางจริงจัง เด็กจะไมสามารถ พัฒนาได หลังจากนั้นมารดา จึงเร่ิมศึกษาทําความเขาใจในพฤติกรรมของ เด็กอยางจริงจัง ซ่ึงทําใหเขาใจวาพฤติกรรมปญหาตางๆ ท่ีเด็กแสดงออกนั้น เปนอาการของโรคที่เด็กไมไดต้ังใจอยากจะเปน และสิ่งที่เด็กเปนอยูน้ี สงผล ใหเด็กไมมีความสุข รูสึกมีปมดอย ไมมีความมั่นใจ ขาดความภาคภูมิใจใน ตัวเอง ฉะน้ันสิ่งที่จะชวยเด็กไดคือ การใหกําลัง การสรางความมั่นใจใหเด็ก สรางความสําเรจ็ ใหตัวเอง เม่ือมารดามีความเขาใจเด็กมากข้ึนวา การขาดสมาธิสงผลตอ ความสามารถในการเรียนของเด็ก ทําใหเด็กมีผลการเรียนต่ํา และมี ความภาคภูมิใจตนเองตํ่า มารดาจึงไมใหความสําคัญกับผลการเรียนมากนัก ไมต้ังความหวังกับผลการเรียนเปนเบื้องตน ใหความสําคัญในกระบวนการ เรยี นมากกวา ผลการเรยี น กลา วคอื การดแู ลใหเ ดก็ ทาํ การบา น และการสง งาน ใหสําเร็จ สวนการเรียนจะไดเกรดอะไรไมสําคัญ แมจะไมผานก็ไมเปนไร เพราะสอบแกตัวใหมได เมื่อมารดาไมวิตกกังวลกับผลการเรียนและ คอยใหกําลังใจ เมื่อเด็กผิดพลาด ไดมีผลชวยใหเด็กลดความวิตกกังวลได ระดับหนึง่ การสงเสริมดานการเรียนนั้น นอกจากการดูแลการทําการบานและ การสง งานของโรงเรยี นแลว มารดาไดใ หก ารสง เสรมิ ทกั ษะการอา น ดว ยความ คิดวาการที่คนเราจะมีความรูไดน้ัน แหลงความรูสวนใหญไดจากการอาน การทําใหเด็กอยากอานนั้น ใหเริ่มฝกจากการสงเสริมเรื่องที่เด็กสนใจ และ 40 เด็กสมาธสิ นั้ คูมือสําหรับครู

คอยๆ จูงใจวา หากอยากรูอะไรก็ใหหาคําตอบจากการอานหนังสือ ยิ่งอาน กย็ ่งิ รมู าก เมอื่ เดก็ อยากรกู ็พาเดก็ ไปรานหนังสือเรียนบอ ยๆ ซ่งึ พบวาวธิ กี ารน้ี ไดผ ลดมี ากคอื เดก็ ชอบอา นหนงั สอื ทกุ ชนดิ และสง ผลใหก ารอา นหนงั สอื เรยี น สามารถทาํ ไดง ายข้ึน และยอ มทําใหผลการเรียนดีข้ึนดวย การสรางความภาคภูมิใจในตนเองแกเด็กน้ัน มารดาไดชวยใหเด็ก สํารวจความสนใจในกิจกรรมตางๆ และคอยสนับสนุนใหเด็กไดมีกิจกรรม ทั้งกีฬา ดนตรี ศิลปะ ฯลฯ สนับสนุนใหเด็กไดฝกทักษะตางๆ เต็มที่ การทํากิจกรรมที่หลากหลาย เพ่ือใหเด็กมีโอกาสคนหาจุดเดน และพัฒนา ความสามารถพิเศษขึ้น เมื่อเด็กเร่ิมทําอะไร ไดสําเร็จก็จะพัฒนาความรู ทักษะในดานอ่ืนๆ นอกจากการเรียน และสรางความรูสึกที่ดีตอตนเอง มีความม่นั ใจ และภาคภูมิใจในตนเองมากขน้ึ การชวยเหลือดานพฤติกรรมนั้น มารดาไดอธิบายถึงปญหาของเด็ก ใหเด็กไดเขาใจตนเองอยางงายๆ ตามคําแนะนําของแพทย เพื่อใหเด็ก ใหความรวมมือในการสรางพฤติกรรมที่เหมาะสมดวยการฝกอยางสมํ่าเสมอ ดว ยการใหแ รงเสริม และการตดิ ตามผลอยา งสมํา่ เสมอ เด็กสมาธิส้ัน คมู อื สาํ หรับครู 41

การดูแลของครู การชวยเหลือของโรงเรียนเร่ิมตนข้ึน เม่ือครูประจําช้ันประถมศึกษา ปท่ี 2 สังเกตเห็นปญหาการเรียนและพฤติกรรมของเด็ก และสงสัยวาเด็ก มีการปวยท่ีจําเปนตองไดรับการดูแล จึงไดมีกระบวนการดูแลเด็กรายนี้ เปน ลาํ ดับข้ันตอนดงั ตอไปนี้ 1. อาจารยประจําช้ันไดแจงอาจารยแนะแนวถึงปญหาท่ีเกิดข้ึน เพือ่ ขอใหฝายแนะแนวไดศ กึ ษาเด็กเปนรายกรณี 2. อาจารยแนะแนวพบมารดา เพือ่ ขออนญุ าตศกึ ษารายกรณี 3. อาจารยแนะแนวไดรวบรวมขอมูลตางๆ เพื่อศึกษาปญหาและ สาเหตุ 4. อาจารยแนะแนวพบผูปกครอง เพ่ือสรุปปญหาและขอใหมารดา พาเด็กไปพบแพทย 5. มารดาไดพาเด็กไปพบแพทย เม่ือแพทยวินิจฉัยพรอมกับให ขอเสนอแนะในการใหความชวยเหลือแกมารดาของเด็ก ดวยเทคนิควิธีการ ท่ถี ูกตอง 6. อาจารยแนะแนวของโรงเรียน ทําหนาท่ีประสานงานระหวาง แพทยและคณะอาจารยที่เกี่ยวของเพ่ือรวมปรึกษาหารือ และทําความเขาใจ ใหผ เู กยี่ วขอ งไดเ ขา ใจถงึ ลกั ษณะอาการของเดก็ สมาธสิ นั้ ชนดิ ไมซ นและวธิ กี าร ใหค วามชว ยเหลอื ตลอดจนวิธปี ฏิบัตกิ ับเด็กอยา งถกู ตอ งและเหมาะสม 7. อาจารยแ นะแนวไดต ดิ ตามการใหค วามชว ยเหลอื และประสานงาน กับอาจารยผูเก่ียวของ และใหขอมูลในการสงตอเด็กตามระดับช้ันในแตละป เพื่อการปฏบิ ตั ิท่เี ปน แนวทางเดียวกนั 42 เด็กสมาธสิ นั้ คูมือสําหรับครู

8. อาจารยแนะแนวเชิญมารดาบิดาของเด็กเพ่ือรวมปรึกษาหารือ กับอาจารยประจําช้ันและอาจารยท่ีเก่ียวของ เพ่ือการปฏิบัติกับเด็กเปนไป ในทางเดยี วกนั 9. โรงเรยี นไดจ ดั อบรมใหแ กผ ปู กครอง ทลี่ กู มปี ญ หาเปน โรคสมาธสิ น้ั ถึงเทคนคิ วธิ กี ารอบรมเลย้ี งดแู ละการปรับพฤติกรรม ผลจากการใหความชวยเหลือในโรงเรียน ไดชวยสรางเสริมความ รูสึกภูมิใจ ความมีคุณคาในตนเองของเปนลําดับ ผลท่ีตามมา คือเด็กเริ่มมี ความสามารถทางการเรยี นเพม่ิ ขนึ้ เมอื่ เดก็ เรยี นระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย เด็กสมาธิสน้ั คูม ือสาํ หรบั ครู 43

ปจ จัยความสําเรจ็ จากการชว ยเหลือ 1. ความเขาใจในปญ หาจากทุกฝา ยเปน ปจจยั ทสี่ าํ คญั ทสี่ ุด 2. การทําความเขาใจในปญหาของเด็กแตละคนอยางเฉพาะเจาะจง เพราะในเดก็ ทเ่ี ปน สมาธสิ น้ั แมม อี าการโรคสมาธสิ น้ั เชน เดยี วกนั แตเ ดก็ สมาธสิ น้ั แตละคนก็ยังมีความแตกตางกัน ทั้งพฤติกรรมและอารมณความรูสึก และ วิธีการเรียนรู การเขาใจเด็กแตละคนอยางเฉพาะเจาะจงดวยการศึกษา รายกรณีอยางถ่ีถวน จะชวยใหผูที่เก่ียวของไดคิดหาเทคนิควิธีการเหมาะสม และมีประสิทธิภาพกบั เด็กแตละคนได 3. การยอมรับจากอาจารยผูเกี่ยวของจะมีผลตอความรูสึกของเด็ก จะเห็นไดวา หากชวงปใดเด็กไดอาจารยท่ีเขาใจและยอมรับเด็ก ไมใชวิธีการ ตาํ หนติ เิ ตียน ดุ วา กลาวใหอ บั อาย เดก็ จะมีความสขุ มกี าํ ลังใจในการทาํ งาน มากกวา พบครูท่ไี มเขาใจ และปฏิบตั ติ อเด็กดวยวิธกี ารเชงิ ลบ 4. ความสม่ําเสมอเปนส่ิงท่ีสําคัญในการฝกฝน การเอาใจใสใกลชิด ใหกาํ ลังใจ และมีรปู แบบในการฝก หดั ที่ชัดเจน จะชว ยใหการฝกพฤตกิ รรม ทีเ่ หมาะสมประสบความสาํ เร็จ 44 เดก็ สมาธิสั้น คูม ือสําหรับครู

เอกสารอางอิง ชาญวิทย พรนภดล. (2545).โรคซน-สมาธิสั้น (Attention-Deficit/ Hyperactivity Disorder-ADHD) ใน วินัดดา ปยะศิลปและ พนม เกตุมาน . ตําราจิตเวชเด็กและวัยรุน. (พิมพคร้ังท่ี 1). กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ทั บยี อนด เอ็นเทอรไ พรซ. ชาญวิทย พรนภดล และพนม เกตุมาน. (2550). โรคสมาธิส้ัน (Attention Deficit Hyperactivity Disorder). คนเมื่อวันท่ี 18 สงิ หาคม 2553 จาก, http://www.psyclin.co.th/myweb1.htm นงพนา ลิ้มสุวรรณ. (2542). โรคสมาธิส้ัน Attention-Deficit/ Hyperactivity Disorders. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พม หาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร. ผดุง อารยะวิญู. (2544). วิธีสอนเด็กสมาธิสั้น. กรุงเทพมหานคร: บรษิ ัท ราํ ไทย เพรส จาํ กดั . พนม เกตุมาน. (2548). สุขใจกับเด็กสมาธิส้ัน คูมือคุณพอคุณแม และครสู าํ หรบั การฝก เดก็ . กรงุ เทพมหานคร: บรษิ ทั คลั เลอร ฮารโ มน่ี จํากัด. วมิ ลรตั น วนั เพญ็ และคณะ. (2553). แนวทางการดแู ลชว ยเหลอื เดก็ สมาธสิ นั้ ในโรงเรยี น. กรงุ เทพฯ: สถาบนั สขุ ภาพจติ เดก็ และวยั รนุ ราชนครนิ ทร อุมาพร ตรังคสมบัติ. (2544). สรางสมาธิใหลูกคุณ. กรุงเทพมหานคร: ซันตา การพมิ พ. เด็กสมาธิสัน้ คูมือสาํ หรบั ครู 45

......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... 46 เด็กสมาธสิ ้นั คูมือสําหรับครู

......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... เดก็ สมาธสิ นั้ คูมือสาํ หรับครู 47

......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... 48 เดก็ สมาธิส้นั คูม อื สาํ หรบั ครู


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook