Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทช11002 สุขศึกษา พลศึกษา

ทช11002 สุขศึกษา พลศึกษา

Published by เยาวลักษณ์ คําเหลา, 2022-08-16 07:38:18

Description: ทช11002 สุขศึกษา พลศึกษา

Search

Read the Text Version

เรื่องที่ 5 หลักการและวธิ ีออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ หลกั การออกกําลงั กายเพอื่ สุขภาพ คือ การออกกําลังกายชนิดท่ีเสริมสรางความ ทนทานของปอด หัวใจ ระบบไหลเวียนเลอื ด รวมท้ังความแขง็ แรงของกลามเน้ือ ความออน ตวั ของขอตอ ซ่งึ จะชว ยใหร างกายแขง็ แรงสมบูรณ สงา งามและการมสี ขุ ภาพจิตทด่ี ี ซ่ึงหลักการ ออกกาํ ลงั กายเพอ่ื สขุ ภาพมีดังนี้ 1. การอบอุนรา งกายและผอ นคลาย การออกกําลังกายเพ่ือสุขภาพท่ีถูกวิธีทําไดโดยการฝกหัดบอย ๆ ดวยทาทาง ทีถ่ กู ตอ ง กอ นจะฝก การเคล่ือนไหวรางกายสว นใดก็ตาม ตอ งมีการเตรียมความพรอมใหรางกาย อบอนุ ทุกครง้ั เพอ่ื ปอ งกนั การบาดเจบ็ ของกลามเนือ้ ในการอบอนุ รา งกายและผอนคลาย มีวิธีการที่สามารถทําไดคือ การวิ่งรอบสนาม การหมุนคอ หมนุ แขน หมุนสะเอว พับขา หมนุ ขอเทา กระโดดตบมือ กม แตะสลับมอื วงิ่ อยกู บั ที่ นัง่ ยืน ฯลฯ 2. ระยะเวลาในการออกกาํ ลังกาย ในการออกกําลงั กายอยางตอเนือ่ ง อยางนอ ยในแตละครงั้ 20 - 30 นาทตี อ วัน 3. จํานวนครั้งตอ สัปดาห การออกกาํ ลังกายเพ่อื สขุ ภาพ ตองปฏิบัตอิ ยา งสมํ่าเสมอทุกวัน หรืออยางนอย สัปดาหละ 3 คร้ัง และควรปฏิบัติในเวลาเดียวกัน จะชวยเพ่ิมสมรรถภาพในการทํางานของ ระบบหวั ใจและปอด ทาํ ใหก ลามเนอื้ หัวใจและปอดแข็งแรง 4. ความหนกั ในการออกกําลงั กาย ควรออกกําลงั กายใหหนกั ถึงรอยละ 70 ของอตั ราการเตน สงู สุดของหวั ใจ แตล ะคน หรอื ออกกาํ ลงั กายใหเหง่อื ออก เหนื่อยพอประมาณท่ีจะสามารถพูดคุยขณะ ออกกําลังกายได ไมควรออกกาํ ลังกายหกั โหมเกินไปเพราะจะเกิดอันตรายได เรอ่ื งท่ี 6 กิจกรรมนนั ทนาการรปู แบบตา งๆ กิจกรรมนันทนาการ คือการกระทํากิจกรรมใดๆที่บุคคลหรือกลุมบุคคลได เลือกสรรเขารวมโดยความสมัครใจ ไมมีการบังคับใดๆ ท้ังโดยตรงและโดยออม การกระทํา กิจกรรมนั้น จะตองกระทํา ในเวลาวางจากงานประจําหรือภารกิจประจําอื่นๆ โดยไมหวัง ผลตอบแทนรางวัลใดๆ นอกจากความสนุกสนาน ความพึงพอใจ ความสุขท่ีไดรับโดยตรง เทา นั้น

ประเภทของกิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมนันทนาการมีหลายประเภท เพ่ือให บุคคลเขา รวมทาํ กจิ กรรมไดตามความสนใจ ดังน้ี 1. การฝมือและศิลปหัตถกรรม (Arts and Crafts) เปนงานฝมือหรือ ส่งิ ประดิษฐต าง ๆ เชน การวาดรูป งานแกะสลัก งานปน การประดิษฐดอกไม เย็บปกถักรอย ทาํ ตุกตา ประดิษฐข า วของเครอ่ื งใช และงานศิลปะอน่ื ๆ 2. เกมส กีฬาและกรีฑา (Games , Sport and Track and Field’s) กิจกรรม นนั ทนาการประเภทนเี้ ปน ทนี่ ิยมกนั อยา งแพรหลาย แบง ไดเปน 2 กลุมใหญ คือ กีฬากลางแจง (Outdoor Games) ไดแก กีฬาท่ีตองใชสนามกลางแจง เชน ฟุตบอล บาสเก็ตบอลและ กิจกรรมกลางแจงอ่ืน ๆ กีฬาในรม (Indoor Games) ไดแก กิจกรรมในโรงยิมเนเซียม หรือใน หอ งนนั ทนาการ เชน แบดมินตัน เทเบลิ เทนนสิ หมากรกุ ฯลฯ 3. ดนตรีและรองเพลง (Music) เปนกิจกรรมนันทนาการท่ีใหความบันเทิง ดนตรเี ปน ภาษาสากลทที่ ุกชาติทุกภาษาสามารถเขาใจเหมือนกัน แตละชาติแตละทองถ่ินจะมี เพลงพนื้ บา นของตนเอง และเครื่องดนตรีพ้ืนบาน เราสามารถเลือกไดตามความสนใจไมวาจะ เปนสากลหรือพนื้ บาน 4. ละครและภาพยนตร (Drama and Movies) เปนนันทนาการประเภท ใหความรู ความบนั เทงิ ความสนุกสนานเพลิดเพลิน และสะทอนใหเห็นถึงสภาพจริงของสังคม ยคุ นนั้ ๆ 5. งานอดิเรก (Hobbies) เปนกิจกรรมนันทนาการที่ชวยใหการดําเนิน ชีวิตประจําวัน มีความสุข เพลิดเพลิน งานอดิเรกมีหลายประเภท สามารถเลือกไดตาม ความสนใจ เชน 5.1 ประเภทสะสม 5.2 การปลกู ตนไม 5.3 การเลี้ยงสตั ว 5.4 การถายรปู 6. กิจกรรมทางสังคม (Social activities) เปนกิจกรรมท่ีกลุมคนในสังคม รวมจัดข้ึน โดยมีจุดมุงหมายเดียวกัน เชน การจัดเล้ียงปใหม งานเล้ียงวันเกิด การฉลองใน โอกาสพเิ ศษตาง ๆ 7. เตนรํา ฟอนรํา (Dance) เปนกิจกรรมท่ีใชจังหวะตาง ๆ เปนกิจกรรม ที่กอใหเกิดความสนกุ สนาน เชน เตน ราํ พ้ืนเมอื ง การรําไทย รําวง นาฏศิลป ลลี าศ

8. กิจกรรมกลางแจง (Outdoor Activities) เปนกิจกรรมนันทนาการนอก สถานที่ ที่ใหโอกาสมนุษยไดเรียนรูธรรมชาติ ไดพักผอน เ ชน ก า ร อ ยูคา ย พัก แ ร ม ไปทอ งเทย่ี วตามแหลงธรรมชาติ 9. ทัศนศึกษา (Field Trip) เพื่อศึกษาศิลปวัฒนธรรม ตามวัดวาอาราม หรอื ศึกษาความกาวหนาในดานตาง ๆ ในนทิ รรศการหรอื งานแสดงตา ง ๆ 10. กิจกรรมพูด เขียน อาน ฟง (Speaking, Writing and Reading) การพูด เขียน อานฟง ท่ีนบั วาเปนกิจกรรมนนั ทนาการ ไดแ ก 10.1 การพูด ไดแก การคยุ การโตว าที การปาฐกถา ฯ 10.2 การเขียน ไดแก การเขียนบันทึกเร่ืองราวประจํา วัน เขียนบทกวี เขยี นเพลง เรอ่ื งสัน้ บทความ ฯ 10.3 การอาน ไดแก การอานหนังสือพิมพ อานหนงั สือทว่ั ๆ ไป ทใี่ ห ทงั้ ความรแู ละความเพลดิ เพลิน 10.4 การฟง ไดแก การฟง วิทยุ ฟง อภปิ ราย โตวาที ทอลค โชว ฯ 11. กิจกรรมอาสาสมัคร (Voluntary Recreation) เปนกิจกรรมบําเพ็ญ ประโยชนท่ีบุคคลเขารวมดวยความสมัครใจเปน กจิ กรรมจติ อาสา เชน กจิ กรรมอาสาพัฒนา และกิจกรรมอาสาสมัครตา ง ๆ

กิจกรรมทา ยบทท่ี 3 ใหผ เู รียนอธิบายตามประเด็นดงั ตอไปนี้ 1. ใหผูเรยี นสรปุ ความหมายของ “อาหาร” และ “สารอาหาร” มาพอสังเขป 2. จงอธบิ ายสารอาหารทจ่ี ําเปนตอ รางกาย ประกอบดว ยอะไรบาง จงอธิบาย 3. ผูเรยี นมีวิธกี ารเลือกบรโิ ภคอาหารตามหลกั โภชนาการอยา งไร 4. ถา ผเู รยี นตอ งการมสี ขุ ภาพแขง็ แรง ควรปฏิบตั ิตวั อยา งไร 5. การออกกําลงั กายมปี ระโยชนอยางไรบา ง 6. เหตุใดจงึ ตองมกี ารอบอนุ รา งกาย กอ นการเลน กีฬาทกุ ครงั้ 7. ถา ผเู รยี นตอ งการทําใชเ วลาวางในการบาํ เพญ็ ประโยชน ควรเลอื กกจิ กรรม นันทนาการแบบใด

บทท่ี 4 โรคติดตอ สาระสําคัญ มีความรูและความสามารถปฏิบัติตนในการปองกันโรคติดตอที่เปนปญหาตอ สุขภาพของครอบครัว และชุมชน โดยการเผยแพรขาวสาร ขอมูล แนวทางการปองกันและ วธิ ีการรักษาโรคอยา งถกู วธิ ี ผลการเรยี นรทู ่ีคาดหวงั 1. บอกสาเหตขุ องการเกิดโรคติดตอได 2. อธบิ ายอาการเจบ็ ปวย การปองกนั และการรักษาโรคตดิ ตอ ได ขอบขา ยเนอ้ื หา เร่ืองที่ 1 โรคตดิ ตอ สาเหตุ อาการ การปองกนั และการรักษา 1. โรคไขหวดั ใหญ 2. โรคตาแดง 3. โรคผิวหนงั 4. โรคเลป็ โตสไปโรซีส (ฉ่หี น)ู

บทที่ 4 โรคติดตอ โรคตดิ ตอ หมายถึง โรคทีเ่ กิดข้ึนกบั คนหรือสตั ว โดยเกิดจากเชอื้ โรคทเี่ ปน สิง่ มีชีวิต หรือพิษของ เช้อื โรค และเม่อื เกดิ เปนโรคข้ึนแลวสามารถแพรกระจายจากคนหรือสัตวที่ปวยเปนโรคน้ันไปสู คนหรือสัตวอ น่ื ไดโดยการแพรก ระจายของโรคนนั้ อาจเปน ไดท ั้งทางตรงและทางออ ม ความสาํ คญั ของโรคติดตอ ที่สง ผลตอสุขภาพ 1. เม่ือเกดิ เจบ็ ปว ยดว ยโรคตดิ ตอจะทําใหส ขุ ภาพรางกายทรดุ โทรม สุขภาพจิต เสียไป เกดิ ความเครียดและวติ กกังวล 2. ภายหลงั การเจ็บปว ยอาจมีผลตอสขุ ภาพในระยะยาว 3. ตอ งการระยะเวลาสําหรับการฟนฟสู ภาพรา งกายและจิตใจภายหลงั เจ็บปวย ซง่ึ เปน ระยะทรี่ า งกายยงั ออนแอไมสมบูรณเ ต็มที่ การทาํ กจิ กรรมตาง ๆ ในการสง เสรมิ สุขภาพ จงึ ยงั ทําไดไ มเ ตม็ ที่ดวย องคป ระกอบของโรคมี 3 ประการ คอื 1. ส่ิงทที่ าํ ใหเ กดิ โรค คือ เช้อื โรคตา งๆ 2. มนุษย 3. ส่งิ แวดลอม ไดแก สภาวะทางอากาศ เศรษฐกจิ และสงั คม เรอ่ื งที่ 1 โรคไขห วดั ใหญ เปนโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัสไขหวัดใหญ (Influenza virus) ซึ่งเชื้อ นี้ มีหลายชนิดมาก นอกจากคนแลวยังกอใหเกิดโรคในสัตวไดหลายชนิด เชน หมู นก มา แตโดยท่ัวไปไวรัสของสัตวชนิดใดก็จะกอใหเกิดโรคเฉพาะสัตวชนิดนั้น เชน ไวรัสไขหวัดนก H5N1 จะกอโรคในสัตวปกเปนหลักเน่ืองจากไวรัสน้ีมีการเปล่ียนแปลงทําใหมีการติดตอมายัง มนษุ ยห รอื สัตวเลี้ยงลูกดว ยนมได และมีความรนุ แรงทาํ ใหเ สียชวี ิต สาเหตุ เกิดจากเชื้อไวรัส ติดตอทางการหายใจ หรือสัมผัสน้ําลายและเสมหะของ ผปู วยหรือสัตวท ปี่ ว ย

อาการของโรค โดยทั่วไปของโรคไขห วดั ใหญ คือ มีไข ไอ มีนํ้ามูก บางคนมีอาการ เจบ็ คอ ปวดเม่ือยตามรางกาย คลื่นไส อาเจียน ทองเสีย อาการสวนใหญมักไมรุนแรง เปนอยู ประมาณ 3 – 5 วัน ซ่ึงบางคร้ังจะคลายกับโรคไขหวัดธรรมดา แตทายที่สุดอาการก็จะหายไป เองได การปอ งกันโรคหวดั ใหญ มีขอ แนะนาํ ดังน้ี 1. การใหวัคซีนตามชนดิ ของเชือ้ โรค 2. ออกกําลังกายสม่าํ เสมอ พกั ผอ นใหเ พียงพอ รบั ประทานอาหารเพยี งพอตอ ความตองการของรางกายและไดส ารอาหารครบ 5 หมู 3. หลกี เล่ียงการอยใู กลชิดหรือใชส ิ่งของเคร่อื งใชร ว มกับผูปวย และเมอื่ ไอจาม ควรปดปาก ปดจมูก 4. หลีกเลี่ยงการอยูในท่ีแออัด อากาศระบายไมดี เพราะอาจมเี ชื้อไวรัสท่ี ทําเปน สาเหตขุ องโรค การรกั ษา 1. นอนหลับพกั ผอนใหม ากๆ หา มอาบนํา้ เย็น ใชผา ชุบนํา้ หมาดๆ เช็ดตวั เวลามีไข สงู กนิ อาหารออ น ดม่ื นํ้ามากๆ 2. รบั ประทานพาราเซตามอล เพื่อแกปวดลดไข หรือยาปฏิชีวนะตามคําส่ังของ แพทย 3. หากมอี าการหอบหรือ ปอดอกั เสบ ควรมาพบแพทยโ ดยดว น เร่ืองที่ 2 โรคตาแดง โ ร ค ต า แ ด ง เ ป น โ ร ค ต า ท่ี พ บ ไ ด บ อ ย เ ป น การอกั เสบของเยื่อบตุ า (Conjuntiva) ทค่ี ลมุ หนังตาบน และลาง รวมเยื่อบุตาที่คลุมตาขาวโรคตาแดงอาจจะ เปนแบบเฉียบพลัน หรือแบบเร้ือรัง สาเหตุอาจจะเกิด จากเช้ือแบคทีเรีย ไวรัส Chlamydia trachomatis ภูมิแพ หรือสัมผัสสารที่เปนพิษตอตา สาเหตุสวนใหญ เกิดจากเชื้อแบคทีเรียและเช้ือไวรัส มักจะติดตอทางมือผาเช็ดหนาหรือผาเช็ดตัว โดยมากจะ เปนและหายไดภายในเวลา 2 สัปดาห ตาแดงจากโรคภูมิแพ มักจะเปนตาแดงเร้ือรัง มีการ

อักเสบของหนังตา ตาแหงการใช Contact lens หรือนํ้ายาลางตาก็เปนสาเหตุของตาแดง เรอ้ื รงั อาการของโรคตาแดง 1. คันตา เปนอาการที่สําคัญของผูปวยตาแดงที่เกิดจากภูมิแพ อาการคัน อาจจะเปนมากหรือนอยคนท่ีเปนโรคตาแดงโดยที่ไมมีอาการคันไมใชเกิดจากโรคภูมิแพ นอกจากน้นั อาจจะมีประวตั ิภมู ิแพในครอบครัว เชน หอบหดื ผ่นื แพ 2. ข้ีตา ลักษณะของขต้ี ากช็ ว ยบอกสาเหตุของโรคตาแดง - ข้ตี าใสเหมือนนาํ้ ตามักจะเกดิ จากไวรัสหรือโรคภมู แิ พ - ขต้ี าเปน เมือกขาวมกั จะเกิดจากภูมิแพห รือตาแหง - ข้ีตาเปนหนองมักจะรวมกับมีสะเก็ดปดตาตอนเชา ทําใหเปดตาลําบาก สาเหตุมกั จะเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย 3. ตาแดงเปน ขา งหนึ่งหรือสองขา ง - เปน พรอ มกนั สองขางโดยมากมักจะเกดิ จากภูมิแพ - เปนขางหนึ่งกอนแลวคอยเปนสองขางสาเหตุเกิดจากการติดเชื้อ เชน แบคทเี รียไวรสั หรอื Chlamydia - ผทู ่มี ีโรคตาแดงขางเดียวแบบเรื้อรัง ชนดิ น้ีตองปรึกษาแพทย 4. อาการปวดตาหรือมองแสงจาไมได มักจะเกิดจากโรคชนิดอ่ืน เชน ตอ หิน มานตาอักเสบ เปนตน ดังนั้นหากมีตาแดงรวมกับปวดตาหรือมองแสงไมได ตองรีบพบ แพทย 5. ตามวั แมวากระพริบตาแลวก็ยังมัวอยูโรคตาแดงมักจะเห็นปกติหาก มอี าการตามัวรวมกับตาแดงตอ งปรึกษาแพทย 6. ประวัติอื่น การเปนหวัด การใชยาหยอดตา นํ้าตาเทียม เคร่ืองสําอาง โรคประจําตัวยาที่ใชอยูประจํา การปองกนั โรคตาแดง 1. อยา ใชเ ครอ่ื งสาํ อางรว มกบั คนอนื่ 2. อยาใชผ า เช็ดหนาหรือผาเช็ดตัวรว มกัน 3. ลางมือบอ ย ๆ อยา เอามือขยต้ี า 4. ใสแวน ตาปอ งกนั เมือ่ ตอ งทํางานเก่ยี วของกับฝนุ ละออง สารเคมี

5. อยา ใชย าหยอดตาของผอู ืน่ 6. อยาวา ยนาํ้ ในสระทีไ่ มไดใ สคลอรีน การรกั ษาตาแดงดวยตวั เอง 1. ประคบเยน็ วนั ละ 3-4 ครัง้ ครั้งละ 10-15 นาที 2. ลา งมอื บอย ๆ 3. อยาขย้ตี าเพราะจะทําใหตาระคายมากขนึ้ 4. ใสแ วน กนั แดด หากมองแสงสวา งไมไ ด 5. อยาใส contact lens ในระยะที่ตาแดง ตาอกั เสบ 6. เปลย่ี นปลอกหมอนทุกวัน เรื่องที่ 3 โรคผวิ หนัง โรคผิวหนัง (Skin Disease) หมายถงึ โรคทที่ ําใหลักษณะของผิวหนังมีผื่น ตุม วงดา งขาว หรอื เปนกอนตามรา งกาย สามารถมองเห็นไดชัดเจน อาจมอี าการคนั หรือปวด รวมดวย สาเหตุ มกั พบมสี าเหตมุ าจากปจ จัยหลายประเภท ไดแ ก 1. ความผดิ ปกตขิ องฮอรโมน การอุดตันหรืออักเสบติดเช้ือของรุขุมขน ไดแก สิว 2. โรคผิวหนังท่ีเกิดจากการใชยา เครอื่ งสําอาง รงั สี และแสงแดด ไดแ ก กระ ฝา 3. โรคผิวหนงั ทเ่ี กิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย ไดแ ก ฝ 4. โรคผวิ หนงั ทีเ่ กิดจากการติดเชือ้ แบคทีเรยี ไดแ ก เอดส เรมิ งูสวดั อีสุกอใี ส หัดเยอรมัน หดู 5. โรคผวิ หนังท่ีเกิดจากการตดิ เชอ้ื รา เชน กลาก เกลือ้ น เช้ือราที่เลบ็ รงั แค 6. โรคผิวหนังท่ีเกดิ จากอาการแพห รือภูมแิ พ ไดแ ก ผื่นจากอาการแพข นสตั ว ผ่นื จากอาการแพย า ผื่นจากอาการแพอาหาร 7. โรคผวิ หนังที่เกิดจากการแพสารอาหาร ไดแก โรคผิวขาดวติ ามนิ

8. โรคผวิ หนังทเ่ี กิดจากพันธุกรรม หรือความผิดปกติขณะตัง้ ครรภ ไดแ ก ไฝ ปาน 9. โรคผวิ หนงั ท่ีเกดิ จากความผิดปกติของผิดหนังหรือเกิดจากหลายสาเหตุ ไดแ ก โรคสะเก็ดเงิน ตาปลา อาการของโรคผวิ หนงั อาการของโรคผวิ หนังจะมีความรุนแรงมากนอ ยเพยี งใด ข้ึนอยูกบั ชนดิ และ สาเหตุทีท่ ําใหเ กดิ โรค แตโ ดยทว่ั ไปมักพบมอี าการเปน ผืน่ แดง เปนจุด หรอื เปนวง เปนแผน เปน ตุม นนู และเปนแผล โดยมากมักพบอาการแสบคนั และเจบ็ บริเวณที่เปน การปอ งกนั 1. หลกี เลย่ี งจากแสงแดดตดิ ตอ กันเปน ระยะเวลานาน 2. กินอาหารทีม่ ีประโยชน 5 หมู ไดครบถวนทกุ วัน 3. ดแู ลรักษาความสะอาดของผวิ หนงั อยูเสมอ 4. สังเกตและหลีกเลีย่ งสารตา งๆ ทีก่ อ การระคายเคือง หรอื กออาการแพต อ ผิวหนงั การรกั ษา การรักษาโรคผิวหนังขึ้นอยกู ับสาเหตุ อาทิ การทาหรือรับประทานยาปฏิชีวนะ เมื่อติดเชื้อ การรักษาความสะอาดของผิวหนังเม่ือเกิดจากสิว และการรักษาดวยการผาตัด เมอื่ เกิดมะเร็ง เรอื่ งท่ี 4 โรคเลป็ โตสไปโรซสิ (ฉหี่ น)ู เกดิ จากเช้ือกลุม Leptospira มักพบการระบาดในหนาฝน หรือชวงที่มีนํ้าทวมขัง สัตวที่แพรเชื้อโรคน้ีไดแก สัตวฟนแทะ เชน หนู โดยที่ตัวมันไมเปนโรค สัตวพวกนี้เก็บเช้ือไว ทไ่ี ต ดงั น้ันเมือ่ ฉอ่ี อกมาจะมีเชือ้ นปี้ นอยดู ว ย จึงเปน ท่ีมาของคําวาโรคฉ่ีหนู นอกจากหนูแลวยัง พบไดใน สนุ ขั ววั ควาย เชอ้ื โรคนีส้ ามารถเขาสูรา งกายได 2 ทาง คือ 1. ทางตรง โดยการสัมผสั สตั วท มี่ เี ช้ืออยู หรือโดนสตั วท่ีมีเชอื้ กดั 2. ทางออ ม เชน - เช้ือจากฉ่ีหนูปนอยูใ นนา้ํ หรือดินแลว เขา สคู นทางบาดแผล

- มือสมั ผสั เชื้อท่ปี นอยูใ นนํา้ หรือดินแลว เอาเชอื้ ทางเยื่อบุใน ปาก ตา จมกู - กนิ นํา้ หรอื อาหารที่ปนเปอ นเชือ้ โรคเขาไป กลมุ เสยี่ งตอ การเกดิ โรค 1. เกษตรกร ชาวไร ชาวนา ชาวสวน 2. คนงานในฟารม เล้ยี งสัตว โค สุกร ปลา ฯลฯ 3. กรรมกรขดุ ทอระบายน้ํา เหมืองแร โรงฆาสัตว 4. กลุมอื่นๆ เชน แพทย เจาหนาท่ีหองทดลอง ทหารตํารวจท่ีปฏิบัติงานตาม ปา เขา 5. กลมุ ประชาชนทัว่ ไป ท่อี ยใู นแหลงทม่ี ีนา้ํ ทว มขัง หรอื มีหนอู าศัยอยู อาการของโรค อาการของโรคแบง ออกเปนกลุมใหญ ๆ ได 2 กลมุ ไดแก 1. กลุมท่ีไมมีอาการตัวเหลืองตาเหลือง หรือกลุมท่ีอาการไมรุนแรง กลุมนี้ อาการไมร นุ แรง หลังจากไดรับเช้ือ 10-26 วัน โดยเฉล่ีย 10 วัน ผูปวยก็จะเกิดอาการของโรค ไดแกปวดเมื่อยกลามเน้ืออยางรุนแรง อาจจะมีอาการคลื่นไสอาเจียน และมีไขขึ้นสูงดวย บางรายอาจเกิดการเบ่ืออาหาร ทองเสีย ปวดทอง ตาแดง เจ็บตา เกิดผื่นข้ึนตามตัว หรือมีจ้ํา เลือดตามผิวหนงั ระยะการสรางภูมิ ระยะน้ีถาเจาะเลือดจะพบภูมิตานทานโรค ผูปวยจะมีไข ขึ้นใหม ปวดศีรษะ คอแขง็ มีการอักเสบของเยอ่ื หุม สมอง และตรวจพบ เช้ือโรคในปส สาวะ 2. กลุมท่ีมีอาการตัวเหลืองตาเหลือง กลุมน้ีไขจะไมหายแตจะเปนมากขึ้นโดย พบมีอาการตัวเหลอื งตาเหลอื ง มผี น่ื ที่เพดานปาก มีจุดเลอื ดออกตามผวิ หนัง ตบั และไตอาจวาย ได ดซี า น เยื่อหมุ สมองอักเสบ กลา มเน้ืออกั เสบ อาจจะมีอาการไอเปนเลือด อาการเหลือง จะ ปรากฏหลังจากไดร ับเช้อื โรคนานเกนิ 4 วัน ผูป วยอาจจะเสยี ชีวิตในระยะน้ีหรือในตนสัปดาหที่ สามจากไตวาย การปอ งกนั โรคฉี่หนู มีขอแนะนาํ ดงั น้ี 1. กําจดั หนแู ละปรบั ปรงุ สง่ิ แวดลอมใหส ะอาดถูกสุขลักษณะ เพื่อไมใหเปนแหลง เพาะพันธขุ องหนู 2. หลกี เล่ียงการลงไปอาบแชใ นแหลงน้ําที่ววั หรอื ควายลงไปกนิ น้าํ แชน้าํ

3. หลีกเล่ียงการแชน้ํา ยํ่าโคลนดวยเทาเปลา โดยเฉพาะอยางย่ิงเมื่อมีบาดแผล ท่ีขา เทา หรอื ตามรางกาย 4. หลีกเล่ียงการเดนิ เทาเปลาในทุง นา ในคอกสตั ว 5. สวมเคร่อื งปอ งกนั ตนเองดวยการสวมถุงมอื ยาง รอ งเทา บูทยาง และสวมเส้อื ผา ท่ีมิดชดิ เมื่อตองทาํ งานในไรน าหรือทีเ่ ปย กชนื้ แฉะ 6. อาบนํ้าชาํ ระลา งรางกายดว ยนาํ้ สะอาดและสบูท ันที หลงั การลุยนาํ้ ย่ําโคลน หรอื กลบั จากทุง นา 7. ไมชําแหละสัตวโ ดยไมส วมถงุ มือ 8. ไมกนิ เนอ้ื สตั ว เครอ่ื งในสัตวท่ไี มไดทําใหสุกหรือผกั สดจากทองนาท่ีไมไดลางให สะอาด หลีกเล่ียงการอม กลนื นํ้า หรือลมื ตาในนํา้ ที่ไมสะอาด 9. หลีกเล่ียงการดื่มน้ํา หรือรับประทานอาหารจากภาชนะท่ีเปดฝาท้ิงไว เพราะอาจมหี นูมาฉีร่ ดไว การรกั ษา โรคน้ีรักษาไดดวยยาปฏิชีวนะ เชน เพนนิซิลิน (penicillin) เตตราซัยคลิน (tetracycline) สเตร็ปโตมัยซิน (streptomycin) หรือ อิริทรอมัยซิน (erythromycin) ควรไดรับยาภายใน 4-7 หลังเกิดอาการ และควรไดร บั นํา้ และเกลอื แรอยางเพยี งพอ

กิจกรรมทา ยบทท่ี 4 ใหผเู รยี นอธิบายตามประเด็นดงั ตอ ไปน้ี 1. จงบอกสาเหตุของการเกิดโรคติดตอ มาพอสังเขป 2. จงบอกวิธกี ารปองกนั โรคไขหวัดใหญ มาพอสงั เขป

เรอื่ งที่ 5 ยาสามญั ประจําบาน สาระสาํ คญั ยาสามัญประจําบาน เปนยาที่ประชาชนทุกคนควรจะมีไวใชในครอบครัว เพ่ือใชสําหรับบรรเทาอาการเจ็บปวยเบื้องตนของสมาชิกในครอบครัว เวลาที่เกิดอาการ เจ็บปวย หลงั จากน้ันจึงนาํ สงสถานพยาบาลตอไป ผลการเรียนรทู ี่คาดหวงั 1. อธบิ ายหลกั การใชยาสามัญประจาํ บานไดถกู ตอ ง 2. บอกอันตรายจากการใชยาและความเช่ือทผี่ ดิ เกย่ี วกับการใชยาได ขอบขายเนือ้ หา เรื่องที่ 1 หลักการและวิธกี ารใชย าสามัญประจําบาน เร่ืองที่ 2 อันตรายจากการใชยาทีผ่ ิด

บทที่ 5 ยาสามญั ประจําบา น ยาสามัญประจาํ บา นเปน ยาแผนปจ จุบนั และแผนโบราณทีป่ ระชาชนท่วั ไปสามารถ หาซอ้ื และจาํ หนา ยไดโ ดยไมต องมใี บอนุญาตจากแพทย และใชรกั ษาอาการเจ็บปวยเล็กๆนอยๆ เชน ไอ ปวดหัว ปวดทอง ของมีคมบาด และแผลพุพอง ซึ่งองคการเภสัชกรรม กระทรวง สาธารณสุขไดผลิตยาตาง ๆ ท่ีมีคุณภาพดี ราคาถูก และไดมาตรฐานสําหรับจําหนายใหแก ประชาชนท่วั ไปหากใชแลวอาการไมด ีขึน้ ควรไปปรึกษาแพทยเพอ่ื รบั การรกั ษาตอ ไป ตัวอยา งยาสามัญประจําบาน ควรมีไวไ ดแก 1. ยาแกปวดแกไข 2. ยาแกแพ 3. ยาถา ย หรอื ยาระบาย 4. ยาสําหรับกระเพาะอาหารและลําไส - ยาลดกรด - ยาธาตนุ ํ้าแดง - ผงนาํ้ ตาลเกลอื แร - ทงิ เจอรมหาหงิ คุ 5. ยาสาํ หรบั สูดดมและแกลมวงิ เวยี น 6. ยาแกไอ แกเจ็บคอ 7. ยาสาํ หรบั โรคผิวหนัง 8. ยารกั ษาแผล - ยาใสแ ผลสด - แอลกอฮอลเ ชด็ แผล

เรอ่ื งที่ 1 หลกั การและวธิ กี ารใชยาสามัญประจําบา น หลกั และวิธกี ารใชย า ยารกั ษาโรคน้ันมีทั้งคุณและโทษ เพื่อใหเกิดความปลอดภัย ควรคํานึงหลักการ ใชย าดงั นี้ 1. ใชย าตามคําสงั่ แพทย เทาน้นั เพื่อจะไดใ ชย าถูกตอ งตรงกับโรค ไมควรใชยา ตามคาํ โฆษณา เพราะการโฆษณาน้ันอาจแจง สรรพคุณยาเกนิ ความจรงิ 2. ใชย าใหถูกวิธี เพราะการจะนํายาเขาสูรางกายมีหลายวิธี เชน การกิน การ ฉีด การทา การหยอด การเหนบ็ เปนตน การจะใชวิธีใดก็ข้ึนอยูกับคุณสมบัติของตัวยาน้ัน ๆ ดงั นั้นกอ นใชย า จึงจําเปน ตอ งอา นฉลาก ศกึ ษาวิธกี ารใชใหล ะเอียดกอ นใชท กุ คร้ัง 3. ใชยาใหถูกขนาด ใชใหถูกขนาดตามที่แพทยส่ัง คือไมมากหรือนอยเกินไป จึงจะใหผ ลดใี นการรักษา เชน ใหกินคร้ังละ 1 เม็ด วันละ 3 ครั้ง ก็ไมควรกิน 2 เม็ด หรือเพ่ิม เปน วนั ละ 4 - 5 คร้งั เปนตน และการใชยาในแตละคนก็แตกตางกันโดยเฉพาะเด็กจะมีขนาด การใชท ีแ่ ตกตางจากผูใหญ 4. ใชยาใหถูกเวลา คือ ชวงเวลาในการรับประทานยาหรือการนํายาเขาสู รา งกายดวยวิธตี าง ๆ เชน หยอด เหนบ็ ทา ฉีด เปน ตน เพ่ือใหปริมาณของยาในกระแสเลือดมี มากพอในการบาํ บัดรกั ษาโดยไมเกิดพษิ และไมนอยเกินไปจนสามารถรักษาโรคได ซ่ึงการใชยา ใหถ กู เวลาควรปฏบิ ตั ดิ ังนี้ 4.1 การรับประทานยากอนอาหาร ควรรับประทานกอ นอาหารอยางนอย ½ - 1 ชว่ั โมง เพื่อใหย าถูกดดู ซึมไดดีถา ลมื กนิ ยาในชวงใดกใ็ หกนิ หลังอาหารม้อื น้ันผานไปแลว อยา งนอ ย 2 ช่ัวโมง 4.2 การรบั ประทานยาหลังอาหาร ควรรับประทานหลังอาหารทันที หรือ หลงั จากกนิ อาหารแลวอยา งนอ ย 15 นาที เพ่ือใหยาถูกดูดซึมเขาสูกระแสเลือดรวมกับอาหาร ในลาํ ไสเล็ก 4.3 การรบั ประทานยากอ นนอน ควรรบั ประทานยานน้ั หลงั จากกินอาหาร มอื้ เย็นเสรจ็ แลว ไมตา่ํ กวา 4 ชว่ั โมง กอนเขานอน

5. ใชย าใหถ ูกมาตรฐาน ตอ งใชย าทมี่ ตี ัวยาครบทั้งชนดิ และปริมาณไมใชยา ที่เสอื่ มคุณภาพหรือหมดอายุ สามารถดูไดจากวัน, เดือน, ป ท่ีระบุไววาผลิต เม่ือใด หมดอายุ เม่ือใด เปน ตน 6. ใชย าใหถ ูกกบั คน ตอ งอานใหละเอียดกอนใชยาวา ยาชนิดใดใชกับใคร เพศ และอายุ 7. ใชยาใหถูกกับโรค คือ ใชยาใหตรงกับโรคที่เปน การจะเลือกใชยาตัวใด ในการรกั ษาน้นั ควรใหแ พทย หรือเภสัชกรผูร ูเปนคนจัดให 8. การใชยาที่ใชภายนอก ยาท่ีใชภายนอก ไดแก ข้ีผ้ึง ครีม ยาผง ยาเหน็บ ยาหยอดโดยมีวธิ กี ารดังน้ี 8.1 ยาใชทา ใหทาเพียงบางๆ เฉพาะบริเวณที่เปนโรค หรือบริเวณที่มี อาการ 8.2 ยาใชถูนวด ใหทาและถบู ริเวณท่ีมีอาการเบา ๆ 8.3 ยาใชโรย กอนที่จะโรยยาควรทําความสะอาดแผลและเช็ดบริเวณ โดยรอบดว ยแอลกอฮอลหรือยาฆา เชือ้ ทจ่ี ะทําใหแ หง เสียกอน ไมควรโรยยาท่ีแผลสด หรือแผล ที่มนี ํ้าเหลืองเพราะผงยาจะเกาะกนั แข็งปด แผล อาจเปน แหลงสะสมเชือ้ โรคภายในแผลได 8.4 ยาใชห ยด จะมีประเภทยาหยอดตา หยอดหู หยอดหรือพน จมูก โดยยา หยอดตาใหใชหลอดหยอดยาท่ีใหมา โดยเฉพาะเวลาหยอดจะตองไมใหหลอดสัมผัสกับตา ใหหยอดบรเิ วณกลางหรอื หางตาตามจํานวนที่กําหนดไวในฉลากหรือตามที่แพทยสั่ง ยาหยอด ยาเมื่อเปดใชแ ลว ไมควรเก็บไวใ ชนานเกิน 1 เดือน และไมใ ชย ารว มกันหลายคน 9. การใชยาท่ีใชภายนอกและยาท่ีใชภายใน คือ ยาท่ีใชรับประทาน ไดแก ยาเม็ด ยาผง ยานาํ้ โดยมีวิธีการใชดังนี้ 9.1 ยาเม็ด ที่ใหเค้ียวกอนรับประทาน ไดแก ยาลดกรดชนิดเม็ด ยาที่หาม เคี้ยว ใหกลืนลงไปเลย ไดแก ยาชนิดที่เคลือบนํ้าตาล และชนิดท่ีเคลือบฟลมบางๆ จับดูจะรูสึก ลืน่ 9.2 ยาแคปซูล เปนยาที่หามเคี้ยวใหกลืนลงไปเลย ทั้งชนิดออน และชนิด แขง็ ซึง่ ชนิดแขง็ จะประกอบดว ยปลอก 2 ขางสวมกัน

9.3 ยาผง มีอยหู ลายชนดิ และใชแ ตกตา งกนั เชน ตวงใสชอนรบั ประทาน แลว ด่มื นาํ้ ตามหรือชนิดตวงมาละลายนํ้ากอ น และยาผงทตี่ อ งละลายนาํ้ ในขวดใหไ ดปรมิ าตร ทก่ี าํ หนดไวกอ นท่ีจะใชรับประทาน นา้ํ ท่ีนาํ มาใชล ะลายยาตองเปนน้าํ ด่มื ท่ีตมสุกท้งิ ใหเ ย็นแลว และควรใชยาใหหมดภายใน 7 วันหลงั จากผสมนํ้าแลว 10. ใชยาตามคําแนะนําในฉลาก ปกติยาทุกชนิดจะมีฉลากยากํากับไว เพ่ือบอกถึงช่อื ยา วิธีการใช และรายละเอียดอ่ืน ๆ ซึ่งเราจําเปนตองอานใหเขาใจโดยละเอียด กอ นใช วา เปน ยาประเภทใดจะไดป ฏิบตั ิตามใหถูกตอ งตามท่ฉี ลากยาแนะนําเอาไว ลักษณะยา ยามีหลายประเภท มีท้งั ยากิน ยาทา ยาอมในแตละประเภทมอี กี หลายชนดิ ซง่ึ มีวธิ กี ารและขอควรระวงั แตกตางกนั จึงจาํ เปน ตองเรยี นรูถงึ ลักษณะและประเภทของยา การจําแนกประเภทของยา ตามพระราชบัญญัติยา ฉบับท่ี 3 พ.ศ. 2522 ไดใหความหมายวา ยา หมายถึง สารที่ใชใ นการวิเคราะห บาํ บัดรกั ษา ปอ งกันโรคหรอื ความเจ็บปวยของมนุษยและสัตว รวมทั้ง ใชในการบํารุงและเสรมิ สรางสขุ ภาพรางกายและจติ ใจดวย สามารถจําแนกได เปน 6 ประเภท ดงั น้ี 1. ยาแผนปจ จบุ นั หมายถึง ยาทีใ่ ชรกั ษาโรคแผนปจจุบันทั้งในคนและสัตว เชน ยาลดไข ยาปฏชิ วี นะ ยาแกป วด ยาแกแ พ เปนตน 2. ยาแผนโบราณ หมายถึง ยาท่ีใชรักษาโรคแผนโบราณท้ังในคนและสัตวยา ชนดิ นีจ้ ะตอ งข้ึนทะเบียนเปน ตํารบั ยาแผนโบราณอยางถูกตอ ง เชน ยามหานลิ แทง ทอง ยาธาตบุ รรจบ ยาเทพมงคล ยาเขียวยาหอม เปนตน 3. ยาอันตราย หมายถึง ยาท่ีตองควบคุมการใชเปนพิเศษ เพราะหากใชยา ประเภทน้ี ไมถูกตองอาจมีอันตรายถึงแกชีวิตได เชน ยาปฏิชีวนะชนิดตางๆ ยาจําพวก แกค ล่นื เหยี นอาเจยี น เปนตน 4. ยาสามัญประจําบาน หมายถึง ยาท้ังที่เปนแผนปจจุบันและแผนโบราณ ซ่ึงกําหนดไวในพระราชบัญญัติยาวาเปนยาสามัญประจําบาน เชน ยาธาตุน้ําแดง ยาขับลม ยาเมด็ ซัลฟากวั นดิ ีน ยาระบายแมกนเี ซยี ดีเกลอื ยาเมด็ พาราเซตามอล เปน ตน

5. ยาสมุนไพร หมายถึง ยาท่ีไดจากพืช สัตว หรือแร ซ่ึงยังไมไดนํามาผสมหรือ เปลี่ยนสภาพ เชน วานหางจระเข กระเทียม มะขาม มะเกลือ นอแรด เขี้ยวเสือ ดีงูเหลือม ดีเกลอื สารสม จนุ สี เปนตน 6. ยาควบคุมพิเศษ ไดแก ยาแผนปจจุบัน หรือยาแผนโบราณท่ีรัฐมนตรี ประกาศเปน ยาควบคุมพเิ ศษ เชน ยาระงับประสาทตาง ๆ รูปแบบของยา ยาท่ีผลิตในปจจุบันมีหลายรูปแบบ เพ่ือสะดวกแกการใชยาและใหมี ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ ไดแ ก 1. ยาเมด็ มที ้งั ยาเมด็ ธรรมดา เชน พาราเซตามอล เม็ดเคลือบฟลม เชน ยาแก ไอ ยาเม็ดเคลือบน้ําตาล เชน ไวตามิน เม็ดเคลือบพิเศษ เพ่ือใหยาแตกตัวที่ลําไส เชน ยาวัณ โรค ยาแกป วด 2. ยาแคปซูล แคปซูลชนดิ แขง็ ไดแ ก ยาปฏิชวี นะตา ง ๆ แคปซูลชนิดออนไดแก นํ้ามันตับปลา วิตามินอี ปลอกหุมของยานี้จะละลายในกระเพาะอาหาร เพราะมีรสขมหรือมี กล่นิ แรง 3. ยานา้ํ มหี ลายชนดิ เชน ยาแกไ อนํา้ เชื่อม ยาแกไ ขห วดั เด็ก 4. ยาฉีด ทําเปนหลอดเล็ก ๆ และเปน ขวด รวมทั้งนาํ้ เกลอื ดว ย นอกจากนี้ยังมียาขี้ผ้ึงทาผิวหนัง บดผง ยาเหนบ็ ยาหยอดตา ยา หยอดหู ยาหยอดจมูก ยาอม รูปแบบของยาข้นึ อยูกับจดุ มงุ หมายผูใช การเก็บรกั ษา วิธีการเก็บรักษายาที่ถูกตองดวย เพ่ือใหยามีคุณภาพในการรักษา ไมเส่ือม คณุ ภาพเรว็ มวี ิธกี ารเกบ็ รักษา ดังนี้ 1. ตูย าควรตง้ั ใหพ น จากมอื เดก็ โดยอยูในระดับทีเ่ ดก็ ไมส ามารถหยบิ ถึง เพราะจะกอใหเกิดอนั ตรายได 2. ไมตัง้ ตยู าในทช่ี ้นื ควรต้ังอยูในที่ที่อากาศถายเทไดสะดวก และควรเก็บยาให หา งจากหอ งครวั หอ งนาํ้ และตนไม 3. ควรจัดตูยาใหเ ปน ระเบยี บ โดยแยกประเภทของยา เชน ยาใชภายนอกยาใช ภายใน และเวชภัณฑ เพ่อื ปองกันอันตรายจากการหยิบยาผิด

4. ตูยาควรต้ังอยูในท่ีที่แสงแดดสงเขาไปไมถึง เพราะยาบางชนิดหากถูก แสงแดด จะเส่ือมคุณภาพจึงตองเก็บในขวดทึบแสงมักเปนขวดสีชา เชน ยาหยอดตา ยาวติ ามิน ยาปฏิชีวนะ การสงั เกตยาทเี่ สอ่ื มสภาพ ยาเสือ่ มสภาพ หมายถึง ยาท่ีหมดอายุ ไมมีผลทางการรักษาและอาจกอใหเกิด ปญหาตอ สขุ ภาพได กอ นการใชย าและเวชภณั ฑทุกชนิด จะตองสังเกตลักษณะของยา วามีการ เส่ือมสภาพหรือไม โดยมีขอสังเกตดงั ตอ ไปน้ี 1. ยาเม็ดธรรมดา เปนยาท่ีจะเกิดการเปลี่ยนสภาพไดงายเม่ือถูกความชื้นของ อากาศ ทกุ ครั้งทเ่ี ปด ขวดใชยาแลวควรปดฝาขวดใหแนน ถาพบวายามีกล่ินผิดไปจากเดิม เม็ด ยามีผลกึ เกาะอยู แสดงวา ยาเสอื่ มสภาพไมค วรนํามาใช 2. ยาเม็ดชนิดเคลือบน้ําตาล จะเปลี่ยนแปลงงายถาถูกความรอนหรือความชื้น จะทําใหเม็ดยาเย้ิมสีละลาย ซีดและดางไมเสมอกัน หรือบางคร้ังเกิดการแตกรอนได ถาพบ สภาพยาดังกลา วกไ็ มควรนํามาใช 3. ยาแคปซูล ยาชนิดแคปซูลที่เสื่อมสภาพสามารถสังเกตไดจากการที่ แคปซูลจะพองหรอื แยกออกจากกัน และยาภายในแคปซลู กจ็ ะมีสีเปลี่ยนไป ไมค วรนํามาใช 4. ยาฉีด ยาฉีดท่ีเส่ือมสภาพจะสังเกตไดงายโดยดูจากยาท่ีบรรจุในขวดหรือ หลอด ยาฉีดชนิดเปนผง ถามลี กั ษณะตอ ไปนี้แสดงวาเส่อื มสภาพ - สีของยาเปลย่ี นไป - ผงยาเกาะติดผนงั หลอดแกว - ผงยาเกาะตวั และตอ งใชเวลาทําละลายนานผิดปกติ - เมือ่ ดูดยาเขาหลอดฉดี ยาทาํ ใหเขม็ อุดตนั 5. ยานาํ้ ใส ลกั ษณะของยานาํ้ ใสทเ่ี สือ่ มสภาพสังเกตไดงายดงั น้ี - สีของยาเปลีย่ นไปจากเดิม - ยาขุนผดิ ปกตแิ ละอาจมกี ารตกตะกอนดว ย - ยามกี ลน่ิ บดู เปรย้ี ว 6. ยานาํ้ แขวนตะกอน ลักษณะของยาน้าํ แขวนตะกอนท่ีเส่ือมสภาพ จะสังเกตพบลกั ษณะดงั นี้

- มสี ี กลน่ิ และรสเปล่ยี นไปจากเดิม - เมือ่ เขยา ขวดแลวตัวยาไมเ ปนเน้อื เดียวกัน หรอื ยามตี ะกอนแข็งเขยาไมแ ตก 7. ยาเหนบ็ ลักษณะของยาเหนบ็ ท่ีเส่อื มสภาพและไมควรใชมดี ังนี้ - เม็ดยาผดิ ลกั ษณะจากรปู เดมิ จนเหนบ็ ไมได - ยาเหลวละลายจนไมสามารถใชไ ด 8. ยาขผ้ี ึ้ง เมื่อเสือ่ มสภาพจะมลี กั ษณะทีส่ งั เกตไดง ายดังน้ี - มกี ารแยกตัวของเนือ้ ยา - เนื้อยาแขง็ ผดิ ปกติ - สขี องขี้ผึง้ เปล่ยี นไปและอาจมจี ุดดางดําเกดิ ขึน้ ในเนื้อยา เร่อื งท่ี 2 อนั ตรายจากการใชยาทผี่ ิด อนั ตรายทเ่ี กดิ จากการใชย า มีดงั น้ี 1. การใชยาเกินขนาด เกิดจากการรับประทานยาชนิดเดียวกันในปริมาณ มากกวาทแี่ พทยก าํ หนด ซ่ึงกอใหเ กิดอนั ตรายตอ รา งกายจนถงึ ข้นั เสียชีวติ ได 2. การใชยาเส่ือมคุณภาพ เชน การรับประทานยาหมดอายุ ทําใหรักษา ไมหาย และอาจอาการทรุดหนักเปนอันตรายตอ ชีวิต 3. การใชย าตดิ ตอ กนั เปนเวลานาน ทําใหเ ปนพษิ ตอระบบตาง ๆ ของรา งกาย และเกิดการติดยา เชน การรบั ประทานยาแกปวดบางชนดิ เปน เวลานาน 4. การใชยาจนเกิดการดื้อยา เกิดจากการรับประทานยาไมครบจํานวน หรือ ระยะเวลาตามแพทยสั่ง หรือยังไมทันจะหายจากโรค ผูปวยก็เลิกใชยาชนิดน้ัน เช้ือโรคใน รา งกายถูกทําลายไมหมด ทาํ ใหการรกั ษาไมไ ดผล 5. การใชยา โดยไมทราบถึงผลขางเคียงของยาบางชนิด มีผลขางเคียงที่มี ตอรางกาย เชน ยาแกหวัด ชวยลดนํ้ามูกและลดอาการแพตางๆ แตมีผลขางเคียงทําใหผูใช รูสึกงวงนอนซึมเซา ถาผูใชไมทราบ และไปทํางานเกี่ยวกับเครื่องจักร หรือขับขี่ยานพาหนะ ก็จะกอ ใหเ กิดอบุ ตั ิเหตุไดงาย

ขอแนะนาํ การใชย า 1. ควรใชย าที่รูจ ักคุณและโทษเปนอยางดีแลว 2. เลือกใชยาเปนตัว ๆตามอาการและสาเหตขุ องโรค 3. ควรกินยาใหไดขนาด (เทยี บตามอาย)ุ และเมือ่ อาการดีข้ึนแลวก็ตอ งกินให ครบตามกาํ หนดระยะเวลาของยาแตละชนดิ โดยเฉพาะกลุม ยาปฏชิ ีวนะ 4. เม่ือกินยาหรือใชย าแลวอาการไมด ีข้ึน รบี ไปพบแพทยโดยเรว็ 5. เมอื่ กินยาหรอื ใชยาแลว เกดิ อาการแพ (เชน มลี มพิษผืน่ แดง ผื่นคนั หนงั ตา บวม หายใจหอบแนน ) ควรหยุดยาและปรึกษาแพทยโ ดยเฉพาะผทู มี่ ปี ระวัติแพย า ควรแจงกอน เขารับการรักษา 6. ควรซื้อยาจากรา นขายยาที่มเี ภสัชกรใหค ําแนะนํา 7. เวลาซ้ือยาควรบอกชื่อยาท่ีตอ งการเปนตวั ๆ โดยเฉพาะยากลุมสเตยี รอยด (เพรด็ นิโซโลน เดกซาเมโซน) และยาปฏชิ ีวนะบางชนิดอาจปนอันตรายได 8. เด็กเลก็ หญงิ ตั้งครรภและหญงิ ท่ีเล้ยี งลูกดวยนมตัวเอง ควรเลือกใชยาที่ไมม ี อนั ตรายตอ เดก็ หรอื ทารกในทอ ง และปรึกษาแพทยหรือเภสชั กรทุกครงั้ ยาทหี่ ญิงต้ังครรภไ มค วรใช เชน 1. เหลา 2. บุหรี่ 3. ยาเสพตดิ (เชน ฝน เฮโรอีน ฯลฯ) 4. ยานอนหลบั 5. แอสไพรนิ 6. ฮอรโ มนเพศ (เชน เอสโตรเจน โปรเจสเตอรโรน,แอนโดรเจน ฯลฯ) 7. สเตียรอยด (เชน เพร็ดนิโซโลน เดกซาเมธาโซน ฯลฯ) 8. ซัลฟา 9. เตตราไซคลนี 10. ไดแลนตนิ (ใชรกั ษาโรคลมชัก) 11. ยาแกคลื่นไสอาเจยี น (ถา จําเปนใหใชวติ ามนิ บี 6 ) 12. ยาขบั เลอื ดพวกเออรก อต

ยาที่หญงิ เลี้ยงลกู ดว ยนมตัวเองไมค วรใช เชน 1. ยารกั ษาโรคคอพอกเปนพษิ 2. ยาขบั เลอื ดพวกเออรก อต 3. แอสไพริน 4. ยานอนหลบั และยากลอ มประสาท 5. ซลั ฟา 6. เตตราไซคลนี 7. ยาระบาย 8. ยาคุมกาํ เนิด 9. รเี ซอรพนี (ใชร ักษาความดันเลอื ดสงู ) ยาทท่ี ารกไมค วรใช เชน 1. เตตราไซคลนี 2. คลอแรมเฟนิคอล 3. ซลั ฟา 4. แอสไพรนิ 5. ยาแกหวดั แกแพ (ในชว งอายุ 2 สปั ดาหแรก) 6. ยาแกทอ งเสยี – โลโมตลิ (Lomotill) ในทารกต่ํากวา 6 เดือน อโิ มเดยี ม (Imodium) ในทารกตาํ่ กวา 1 ป วิธีการใชยาเพอ่ื ดแู ลรกั ษาตนเอง มีดงั น้ี 1. ควรมีความรูและศึกษาเร่ืองยาชนิดนั้น และใชยารักษาตนเองในระยะส้ัน หากอาการไมด ขี ึ้นควรไปพบแพทย 2. ไมควรใชยาผสมหลายชนิด ควรเลือกใชยาท่ีมีสวนประกอบเปนตัวยาเดี่ยว ๆ เชน การใชย าแกปวด ควรใชยาที่มีแอสไพรินหรือพาราเซตามอลอยางเดียว ไมควรใชยาท่ีผสมอยู กบั ยาชนดิ อืน่ ๆ 3. หากเกิดอาการผิดปกติและสงสัยวา แพยาใหหยุดยาทนั ทีและรีบไปพบแพทย 4. อยา ซ้อื ยาทีไ่ มม ฉี ลากยาและวิธีการใชย ากํากบั 5. อยาหลงเชอ่ื จากคําโฆษณาชวนเชือ่ หรือฟง คําแนะนําจากบุคคลอื่นทไ่ี มมีความรู เรอื่ งยาดีพอ 6. ควรเก็บยาไวใ นที่มดิ ชิด พน จากมอื เด็กและไมม แี สงแดดสองถึง

กิจกรรมทา ยบทท่ี 5 ใหผูเรียนอธบิ ายตามประเด็นดงั ตอไปนี้ 1. จงบอกหลกั การใชย าสามัญประจาํ บา นท่ีถูกตอง 2. ใหผ ูเรียนบอกถึงอนั ตรายจากการใชยาท่ีไมถกู ตอ ง

บทที่ 6 สารเสพตดิ สาระสําคัญ มีความรูและความเขาใจเกี่ยวกับประเภทของสารเสพติดประเภทกดประสาท ตลอดจนอันตรายและการปอ งกนั สารเสพตดิ ผลการเรียนรทู ี่คาดหวัง 1. บอกความหมาย ประเภทของสารเสพตดิ แตประเภทได 2. อธิบายอันตรายของสารเสพติดได 3. อธิบายวธิ ีการหลีกเลี่ยงและการปองกันสารเสพตดิ ได ขอบขายเนอ้ื หา เร่อื งท่ี 1 ประเภทของสารเสพติด ประเภทกดระบบประสาท เร่ืองที่ 2 อนั ตรายและการปอ งกนั สารเสพติด

บทที่ 6 สารเสพติด ปจจุบันปญหาการแพรระบาดของสารเสพติดมีแนวโนมเพิ่มสูงข้ึน และมีรูปแบบ ท่หี ลากหลายยากแกก ารตรวจสอบขึ้น สง ผลใหเด็กและเยาวชนมีความเสี่ยงตอภัยของสารเสพ ตดิ มากขึน้ จงึ ควรศกึ ษาอนั ตรายและวธิ กี ารหลกี เล่ียง เพือ่ ปอ งกันสารเสพติดได เรอื่ งที่ 1 ความหมาย ประเภท และลักษณะของสารเสพตดิ องคการอนามัยโลกไดใหค วามหมายของสารเสพติดไววา สารใดกต็ ามที่เสพ เขา สรู า งกายโดยการ ฉีด สบู หรอื ดม จะทําใหมีผลตอจิตใจและรางกาย 4 ประการ คือ 1. เม่ือเสพติดแลว จะมคี วามตองการท้ังทางดานรา งกายและจิตใจ 2. ผทู ีใ่ ชยาตดิ แลว จะมีการเพ่มิ ปริมาณการเสพขน้ึ เร่อื ยๆ ไป 3. เมื่อหยุดใชยาจะเกิดอาการอดหรือเลิกยาท่ีเรียกวา อาการเส้ียน หรือลงแดง ทนั ที 4. สงิ่ เสพติดทาํ ลายสุขภาพ ประเภทและลักษณะของสารเสพติด เราสามารถแบงสารเสพติดชนิดตาง ๆ ออกไดเปน 4 ประเภทตามฤทธ์ิท่ีมีตอ รางกายผเู สพดงั น้ี 1. ประเภทออกฤทธ์ิกดประสาท ไดแก ฝน เฮโรอีน ยานอนหลับ จะมีฤทธ์ิทํา ใหสมองมนึ งง ประสาทชา งว งซึม หมดความเปนตวั ของตัวเองไปชว่ั ขณะ 2. ประเภทออกฤทธ์ิกระตุนประสาท ไดแก กระทอม แอมเฟตตามีน (ยามา หรือยาบา) ยากลอมประสาท กอ ใหเกดิ โทษ ประเภทนีจ้ ะทาํ ใหเกิดอาการตื่นเตนตลอดเวลาไม รสู กึ งวงนอน แตเม่อื หมดฤทธิย์ าแลว จะหมดแรง เพราะรางกายไมไ ดร บั การพกั ผอน 3. ประเภทออกฤทธิ์หลอนประสาท ไดแก สารระเหย ทําใหเกิดอาการประสาท หลอนเหน็ ภาพลวงตา หแู วว อารมณแปรปรวน ควบคมุ อารมณต ัวเองไมได อาจทําอันตรายตอ ชีวิตตนเองและผูอื่น 4. ประเภทออกฤทธห์ิ ลายอยาง ไดแก กญั ชา ทาํ ใหเกิดประสาทหลอน มีอาการหลงผดิ เกดิ ความเสอื่ มโทรมทั้งสขุ ภาพกายและทางจิต

เรื่องที่ 2 อนั ตรายและการปองกนั สารเสพตดิ โทษของสารเสพติดทเี่ ปน อันตรายตอ ตนเอง ครอบครัว และสังคม คอื 1. โทษตอสุขภาพ ทําใหการทํางานของระบบตาง ๆ ในรางกายเส่ือมลง สุขภาพ รา งกายทรดุ โทรม เปนบอเกิดของโรคตา งๆ บุคลกิ ภาพเสยี และภูมติ า นทานของรางกายลดลง 2. โทษทางเศรษฐกิจ เกิดภาระใหกับรัฐบาล ตองนํางบประมาณมาใชในการ ปองกันและรักษาผตู ิดยาเสพติด 3. โทษทางสังคม ครอบครัวมีปญหาไมม ีความสุข เปน ภาระสงั คม กอใหเกิดปญหา อาชญากรรมไดงา ย 4. โทษทางการปกครอง เปนภาระของรัฐบาลที่ตองเสียเงินงบประมาณในการ ปราบปรามอาชญากรรมจากยาเสพตดิ วิธกี ารหลีกเลี่ยงและปอ งกนั การตดิ สารเสพตดิ 1. เชอื่ ฟงคาํ สอนของพอ แม และผูใหญทตี่ นเองเคารพนบั ถือ 2. เมื่อมีปญหาควรปรึกษาพอแม ครู หรือผูใหญที่ตนนับถือไมควรเก็บปญหาไว คนเดียว 3. หลีกเลีย่ งไมเ ขา ใกลจ ากผทู ี่ตดิ สารเสพติด ผจู าํ หนา ยหรอื ผลิตยาเสพตดิ 4. ถาพบคนกําลังเสพสารเสพติด หรือพบคนจําหนาย หรือแหลงผลิตควรแจง ใหผูใ หญ หรือเจาหนาที่ตาํ รวจทราบโดยดว น 5. ตอ งไมใหค วามรว มมอื หรือชวยเหลือกบั คนท่ตี ิดสารเสพตดิ 6. ศึกษาโทษและอันตรายของสารเสพติด เพื่อท่ีจะไดสามารถปองกันตนเองและ ผูใ กลช ดิ จากการติดสารเสพติด 7. ไมห ลงเชื่อคาํ ชักชวนโฆษณา หรอื คําแนะนาํ ใด ๆ เกี่ยวกบั การเสพสารเสพติด 8. ไมใชยาอันตรายทุกชนิด โดยปราศจากคําแนะนาํ จากแพทยสั่งไวเ ทา นน้ั 9. หากสงสัยวาตนเองจะติดสารเสพตดิ ตอ งรบี แจงใหผ ใู หญห รอื ผูปกครองทราบ 10. ยึดมั่นในหลักคําสอนของศาสนาท่ีนับถือ เพราะทุกศาสนามีจุดมุงหมายให บุคคลประพฤติแตสง่ิ ดีงามและละเวน ความชว่ั

กจิ กรรมทา ยบทที่ 6 ใหผ เู รยี นอธบิ ายตามประเด็นดังตอ ไปนี้ 1. สารเสพตดิ หมายถงึ อะไร 2. สารเสพตดิ มีก่ปี ระเภท อะไรบาง ใหผ ูเรียนยกตวั อยา ง 3. โทษของสารเสพติด มีอะไรบาง จงอธิบายมาพอสงั เขป 4. ถาในชมุ ชนที่ผเู รยี นอาศยั อยมู ีคนติดยาเสพตดิ ผูเ รยี นจะปฏบิ ตั ติ ัวอยา งไร

บทท่ี 7 ความปลอดภยั ในชีวิตและทรัพยสนิ สาระสําคญั ความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการดูแลรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยของ ตนเอง ท่ีเกิดจากอันตรายจากการใชชีวิตประจําวันในการเดินทาง ในบานและภัยจากภัย ธรรมชาติ ผลการเรียนรทู ี่คาดหวงั 1. บอกอนั ตรายทีอ่ าจเกดิ ข้นึ ในชีวติ ประจําวัน 2. อธิบายแนวทางปองกัน แกไ ขอันตรายท่ีเกิดขึ้นในชีวติ ประจําวันไดอยา ง เหมาะสม ขอบขา ยเน้อื หา อนั ตรายตาง ๆ ทีอ่ าจเกิดขึ้นในชีวิตประจาํ วัน พรอมแนวทางปองกนั การแกไ ข เรื่องที่ 1 อันตรายที่อาจเกดิ ขึน้ ในบาน เรื่องที่ 2 อันตรายทอ่ี าจเกิดขน้ึ จากการเดินทาง เรอ่ื งท่ี 3 อันตรายจากภยั ธรรมชาติ

บทท่ี 7 ความปลอดภัยในชีวิตและทรพั ยสนิ การดาํ รงชีวิตในปจ จบุ ัน มปี จจัยเสี่ยงและอันตรายตางๆที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวัน ของมนษุ ย ไมวาจะเปน อันตรายท่ีเกดิ ขึน้ ในบา น อันตรายจากการเดนิ ทาง และอันตรายจากภัย พิบัติธรรมชาติ จงึ ตองมแี นวทางปอ งกนั และแกไขภยั อันตรายตาง ๆ ทอี่ าจเกดิ ขึ้น เร่อื งที่ 1 อันตรายทอ่ี าจเกดิ ข้ึนในบาน 1. ความหมายของอบุ ตั เิ หตใุ นบา น อุบตั ิเหตใุ นบาน หมายถงึ เหตุการณที่เกิดข้ึนโดยไมคาดคิด อาจเกิดจากความ ประมาทของตนเอง จากคนอ่ืน จากเหตุการณสุดวิสัย อุบัติเหตุท่ีเกิดขึ้นภายในบาน เชน การ พลดั ตกหกลม ไฟไหม นํ้ารอนลวก การถูกของมีคมบาด การไดรับสารพิษ ไดรับอุบัติเหตุจาก แกส หงุ ตม เปน ตน 2. การปองกันอุบัติเหตุในบาน เราสามารถที่จะปองกันอุบัติเหตุที่จะเกิดขึ้น ภายในบาน ดว ยหลักปฏบิ ัติ ดังนี้ 2.1 รอบคอบ ใจเยน็ ไมเ ปนคนเจาอารมณ 2.2 เปน คนมีระเบยี บในการทํางาน เก็บของอยา งเปนระเบียบหางา ย 2.3 ใหความรูอ ยา งถกู ตอ งแกส มาชิกในบาน ในการใชเครอ่ื งใชไ ฟฟา ในบาน 2.4 หมั่นซอมแซมอปุ กรณ เครือ่ งมอื เครื่องใชตางๆ ทชี่ าํ รดุ ใหอ ยใู นสภาพดี 2.5 เกบ็ สง่ิ ท่เี ปนอนั ตรายท้งั หลาย เชน ยา สารเคมี เช้ือเพลิง ใหพ นจากมอื เด็ก 2.6 หลกี เล่ียงการเขาไปอยูในบรเิ วณ ท่ีอาจมอี นั ตรายได เชน ทร่ี กชื้น ทมี่ ืดมิด ท่ขี รุขระ เปนหลุมเปน บอ เปนตน 2.7 การใชแกสหงุ ตม ภายในบา น ตอ งปดถังแกสหลงั การใชทุกครงั้ 2.8 มีถงั ดบั เพลงิ ไวในบาน ตอ งศกึ ษาวธิ กี ารใชแ ละสามารถหยบิ ใชไ ดส ะดวก 2.9 หลังจากจุดธปู ไหวพระควรดบั ไฟใหเรยี บรอย

เร่ืองท่ี 2 อนั ตรายทอ่ี าจจะเกิดขน้ึ จากการเดนิ ทาง ในปจจบุ ันคนเรามีการเดินทางตามสถานที่ตาง ๆ ตลอดเวลา การเดินทาง แตละ ครั้งอาจเดินทางดวยเทา รถ เรอื หรอื เครือ่ งบนิ บางคร้ังอาจเดินทางราบร่ืน แตบางคร้ังอาจ พบอุบัติเหตทุ ี่ไมค าดคิดขณะเดินทางได ซง่ึ อาจนําไปสูการสูญเสียทรัพยส ิน ไดรับบาดเจ็บจนถึง เสยี ชีวติ ได ขอควรปฏบิ ตั ิในการปอ งกนั อบุ ัตเิ หตุจากการเดินทาง 1. ขอปฏบิ ตั ใิ นการเดนิ ทาง 1.1 ควรศกึ ษาและปฏบิ ัติตามกฎจราจรอยา งเครง ครัด 1.2 ควรเดินบนทางเทาและเดนิ ชิดซายของทางเทา 1.3 ถา ไมมีทางเทาใหเดินชิดขวาของถนนมากทีส่ ดุ เพ่อื จะไดเ หน็ รถที่ สวนมาได 1.4 ควรขามสะพานลอย เพ่ือความปลอดภยั ของตนเอง 1.5 ไมปนปายรัว้ กลางถนนหรอื รว้ั ริมทาง 1.6 ใสเส้ือผา สขี าวหรือสอี อนๆ เมอื่ ตองออกนอกบานเวลากลางคนื 2. ขอ ปฏบิ ตั ิในการใชรถประจําทาง 2.1 ควรรอข้ึนรถบริเวณปา ยรถประจาํ ทาง และข้นึ รถดว ยความรวดเร็ว 2.2 เมอ่ื จะข้ึนหรือลงจากรถ ควรรอใหร ถเขา ปา ย และจอดใหสนิทกอน 2.3 ไมแ ยง กนั ข้ึนหรือลงรถ ควรข้ึนและลงตามลําดบั กอน – หลัง 2.4 ไมหอยโหนขางรถ หลังรถ หรือขึ้นไปอยูบนหลังคารถ เพราะอาจ พลดั ตกลงมาได 2.5 เมื่อข้ึนบนรถแลวควรเดินชิดเขาขางใน หาท่ีนั่งและน่ังใหเปนที่ ถาตอ งยนื ก็ควรหาท่ยี ดึ เหน่ยี วใหมน่ั คง 2.6 ไมย่ืนสวนใดสว นหนึ่งของรา งกายออกนอกรถ 2.7 ไมรบกวนสมาธิผูข บั และไมพดู ยแุ หยหรือพูดสง เสรมิ ใหผ ขู บั ขบั รถ ดวยความประมาท และไมควรนําโทรศัพทข้นึ มาเลน รบกวนผูอื่น

3. ขอปฏบิ ัติในการโดยสารรถไฟ 3.1 ไมแยง กนั ขึ้นหรอื ลงจากรถไฟ 3.2 ไมหอ ยโหนขางรถ นัง่ บนหลงั คา หรอื น่ังบนขอบหนา ตา งรถไฟ 3.3 ไมยื่นสวนหน่งึ สว นใดของรา งกายออกนอกรถไฟ 3.4 ไมเดินเลนไปมาระหวางตูรถไฟ และไมย ืนเลนบริเวณหัวตอระหวาง ตูรถไฟ 3.5 สมั ภาระตาง ๆ ควรจัดเก็บเขา ท่ีใหเ รียบรอย ไมวางใหเปนทก่ี ดี ขวางทางเดนิ และไมเกบ็ ไวบ นทส่ี งู ในลกั ษณะที่อาจหลนมาถูกคนได 3.6 ไมดม่ื เครอ่ื งดืม่ ท่ีมแี อลกอฮอล 3.7 ถา มีอุบตั ิเหตเุ กิดข้ึนหรอื จะเกดิ อบุ ัตเิ หตขุ ้ึน ถา รถไฟไมห ยดุ ว่งิ ใหดงึ สายโซสญั ญาณขางตูร ถไฟ เพือ่ แจง เหตุใหเ จาหนา ทปี่ ระจํารถไฟทราบ 4. ขอปฏบิ ัตใิ นการโดยสารเรอื 4.1 การข้ึนลงเรอื ตอ งรอใหเรือเขาเทียบทาและจอดสนิทกอน ควรจับ ราวหรือส่ิงยดึ เหนี่ยวขณะท่กี าวขึน้ หรือลงเรอื 4.2 หาท่ีนัง่ ใหเ รียบรอย ไมไ ตกราบเรือเลน ไมย นื พักเทาบนกราบเรอื ไมนั่งบนกราบเรอื หรือบริเวณหัวทายเรอื เพราะอาจพลัดตกน้าํ ไดระหวา งเรือแลน 4.3 ไมใ ชมอื เทา ราน้าํ เลน ขณะอยูบนเรอื 4.4 เมื่อเวลาตกใจ ไมควรเกาะกลมุ หรอื ไมนั่งรวมกลมุ กันอยดู านใด ดานหน่งึ ของเรือ เพราะจะทาํ ใหเรือเอยี งและลม ได 4.5 ควรทราบทเ่ี ก็บเคร่อื งชชู พี เพือ่ ที่จะหยบิ ใชไ ดทันทวงทเี มอ่ื เกิด อบุ ตั ิเหตเุ รอื ลม เร่อื งที่ 3 อนั ตรายจากภัยธรรมชาติ ภัยธรรมชาติ หมายถึง ภัยอันตรายตางๆ ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติและมี ผลกระทบตอชวี ิต ความเปนอยูของมนุษย นับต้ังแตโบราณกาลแลวที่มนุษย ผจญกับความ ยิ่งใหญของธรรมชาติ การเกิดปรากฏการณตางๆ ในธรรมชาติไมวาจะเปนแผนดินไหว ภัยแลง ภยั หนาว ฯลฯ เหลาน้ี แตล ะคร้งั นาํ มาซึ่งความสญู เสยี ทง้ั ชวี ิตและทรพั ยสินของมนุษยเปนอยาง มาก ภัยธรรมชาตสิ ามารถแบง เปน 9 ประเภทใหญ ๆ คอื

1. วาตภัย ภัยธรรมชาตซิ ่ึงเกดิ จากพายลุ มแรง แบงได 2 ชนิด 1.1 วาตภยั จากพายหุ มุนเขตรอ น ไดแก ดเี ปรสชัน่ พายโุ ซนรอน พายุ ไตฝ ุน 1.2 วาตภัยจากพายุฤดูรอน สวนมากจะเกิดระหวางเดือนมีนาคมถึง เดอื นเมษายน โดยจะเกิดถใ่ี นภาคเหนือและภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื พายฤุ ดูรอนจะเกิดในชวง ทม่ี ีลกั ษณะอากาศรอนอบอา วติดตอกันหลายวัน แลวมีกระแสอากาศเย็นจากความกดอากาศ สงู ในประเทศจนี พดั มาปะทะกัน ทาํ ใหเ กดิ ฝนฟาคะนองมพี ายุลมแรงและอาจมีลูกเห็บตกไดจะ ทาํ ความเสยี หายในบริเวณทไ่ี มกวางนัก ประมาณ 20 - 30 ตารางกิโลเมตร 2 อทุ กภยั อุทกภัย คือ ภัยและอันตรายที่เกิดจากสภาวะน้ําทวมหรือนํ้าทวม ฉับพลันมีสาเหตุมาจากเกิดฝนตกหนักหรือฝนตกตอเนื่องเปนเวลานาน ซึ่งประเภทของ อุทกภัย มีดังน้ี 2.1 น้ําปาไหลหลาก หรือนํา้ ทว มฉับพลันมักจะเกิดข้ึนในท่ีราบต่ําหรือ ท่ีราบลุมบริเวณใกลภูเขาตนนํา้ เกิดข้ึนเนื่องจากฝนตกหนักตอเนื่องเปนเวลานาน ทําใหจํานวนนํ้าสะสม มีปริมาณมากจนพื้นดินและตนไมดูดซับน้ําไมไหว ไหลบาลงสูท่ีราบตํ่า เบอื้ งลา งอยา งรวดเร็วทาํ ใหบา นเรอื นพงั ทลายเสยี หาย และอาจทาํ ใหเกดิ อันตรายถงึ ชวี ติ ได 2.2 นํ้าทวม หรือนํ้าทวมขังเปนลักษณะของอุทกภัยท่ีเกิดขึ้นจาก ปรมิ าณนาํ้ สะสมจํานวนมากทไ่ี หลบา ในแนวระนาบจากท่สี ูงไปยังที่ตํ่าเขาทวมอาคารบานเรือน สวนไรนาไดรับความเสียหาย หรือเปนสภาพน้ําทวมขัง ในเขตเมืองใหญท่ีเกิดจากฝนตกหนัก ตอเนื่องเปนเวลานาน มีสาเหตุมาจากระบบการระบายนํ้าไมดีพอมีส่ิงกอสรางกีดขวางทาง ระบายนา้ํ หรือเกดิ นา้ํ ทะเลหนนุ สงู กรณีพ้ืนทีอ่ ยใู กลช ายฝง ทะเล 2.3 น้ําลนตลิ่ง เกดิ ขน้ึ จากปริมาณนํา้ จํานวนมากท่ีเกิดจากฝนตกหนัก ตอเน่ืองที่ไหลลงสู ลํานํ้าหรือแมน้ํามีปริมาณมากจนระบายลงสูลุมน้ําดานลาง หรือออกสู ปากนาํ้ ไมท ัน ทาํ ใหเกิดสภาวะน้ําลนตล่ิงเขาทวมสวน ไรนา และบานเรอื นตามสองฝงนํา้ จนไดรบั ความเสียหาย ถนน หรือสะพานอาจชํารุด 3. ภยั แลง ภัยแลง คือ ภัยที่เกิดจากการขาดแคลนนํ้าในพื้นท่ีใดพ้ืนท่ีหน่ึงเปน เวลานาน ฝนแลงไมตกตอ งตามฤดูกาล จนกอใหเกิดความแหงแลง และสงผลกระทบตอชุมชน

มีสาเหตุมาจากพายุหมุนเขตรอนเคลื่อนผานประเทศไทยนอย หรือไมมีผานเขามาเลย รองความกดอากาศตํา่ มีกาํ ลังออน มรสมุ ตะวันตกเฉียงใตม กี าํ ลงั ออ น เกิดสภาวะฝนท้ิงชวงเปน เวลานานหรอื เกดิ ปรากฏการณเอลนิโญรุนแรง ทาํ ใหฝ นนอ ยกวา ปกติ 4. พายฝุ นฟา คะนอง พายุฝนฟาคะนอง เปนปรากฏการณทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นเปน ประจําทุกวันเหนือพื้นผิวโลก โดยการกอตัวท่ีเกิดข้ึนในแตละพ้ืนท่ีจะเปนไปตามฤดูกาลใน บริเวณใกลเสนศูนยสูตรมีโอกาสท่ีจะเกิดฝนฟาคะนองไดตลอดป เนื่องจากมีสภาพอากาศใน เขตรอนจงึ มอี ากาศรอนอบอา ว ซึ่งเอือ้ ตอการกอ ตัวของพายฝุ นฟาคะนองไดต ลอดป 5. คลนื่ พายซุ ดั ฝง คลื่นพายุซัดฝง คือ คลื่นซัดชายฝงขนาดใหญ อันเน่ืองมาจากความแรง ของลม ที่เกดิ ข้นึ จากพายหุ มุนเขตรอ นท่ีเคลอ่ื นตัวเขาหาฝง โดยปกติมีความรุนแรงมากในรัศมี ประมาณ 100 กิโลเมตร แตบางคร้ังอาจเกิดไดเมื่อศูนยกลางพายุอยูหางมากกวา 100 กโิ ลเมตรได ขึ้นอยกู ับความรุนแรงของพายุและสภาพภมู ิศาสตรข องพืน้ ท่ีชายฝง ทะเล 6. แผน ดนิ ไหว แผน ดินไหว เปน ภัยพิบตั ิทางธรรมชาติท่เี กิดจากการสั่นสะเทือนของ พืน้ ดนิ อันเน่ืองมาจากการปลดปลอยพลังงานเพอ่ื ลดความเครียดท่ีสะสมไวภายในโลกออกมา เพอื่ ปรบั ความสมดลุ ของเปลือกโลกใหคงท่ี 7. แผน ดนิ ถลม แผนดินถลม เปนปรากฎการณทางธรรมชาติของการสึกกรอนชนิดหน่ึง ท่ีกอใหเกดิ ความเสยี หายตอ บริเวณพื้นท่ีท่ีเปนเนินสูงหรือภูเขาท่ีมีความลาดชันมาก เนื่องจาก ขาดความสมดุลในการทรงตัวบริเวณดังกลาว ทําใหเกิดการปรับตัวของพ้ืนที่ตอแรงดึงดูดของ โลกและเกิดการเคล่ือนตวั ขององคป ระกอบธรณวี ิทยาบริเวณนน้ั จากที่สูงลงสูท่ีต่ํา แผนดินถลม มักเกิดในกรณีทีม่ ีฝนตกหนักมาก บริเวณภูเขาและภูเขานั้นอุมน้ําไว จนเกิดการอ่ิมตัว ทําให เกดิ การพังทลายกลายเปน ดนิ ถลม 8. ไฟปา ไฟปา การเกิดไฟปาเกิดจากความประมาทมักงายของคน ไฟปา รอยละ 90 เกิดจากฝม อื มนุษย โดยเฉพาะผูบกุ รกุ ไปในปา ทาํ การกอ กองไฟแลวไมดับไฟใหสนิท หรือทิ้งกนบหุ ร่ีโดยไมดับกอน ไฟปาจะทําความเสียหายใหกับปาไม แลวยังทําลายชีวิตสัตวปา

อีกดวย ตลอดจนกอ ใหม ลพษิ ทางอากาศบริเวณกวางและมีผลกระทบตอการจราจรทางอากาศ ดวย 9. สึนามิ สนึ ามิ คอื คลืน่ หรอื กลมุ คลน่ื ที่มจี ดุ กาํ เนดิ อยูในเขตทะเลลกึ ซ่งึ มกั ปรากฏ หลังแผนดินไหวขนาดใหญ แผนดินไหวใตทะเล ภูเขาไฟระเบิด ดินถลมแผนดินทรุด หรือ อกุ กาบาตขนาดใหญต กสูพ้ืนทะเลหรือมหาสมุทรบนผิวโลกคลน่ื สึนามิท่ีเกิดขึ้นนี้จะถาโถมเขาสู พนื้ ทช่ี ายฝงทะเลดวยความรวดเร็วและรุนแรงสรางความเสียหายอยางใหญหลวงใหแกชีวิตและ ทรพั ยสนิ ท่อี ยูอาศยั กิจกรรมทา ยบทท่ี 7 ใหผเู รียนอธบิ ายตามประเด็นดงั ตอไปน้ี 1. ใหผูเ รียนบอกถงึ อันตรายทีอ่ าจเกดิ ขึ้นในชวี ติ ประจําวนั 2. ผูเรยี นจะมวี ิธปี อ งกันอันตรายที่เกดิ ข้ึนในบานอยางไร 3. ผเู รยี นจะมวี ิธปี อ งกันอันตรายที่เกิดขึ้น จากการเดนิ ทางโดยรถประจําทางอยา งไร 4. ผูเรียนมวี ธิ ีการปอ งกันภัยทเี่ กิดขนึ้ จากนํา้ ทว ม อยางไรบาง

บทท่ี 8 ทักษะชีวติ เพือ่ การคดิ สาระสาํ คัญ การมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับทักษะท่ีจําเปนสําหรับชีวิตมนุษย โดยเฉพาะ ทักษะ ท่ีจําเปนสําหรับชีวิต 4 ประการ ซ่ึงจะชวยใหบุคคลดังกลาว สามารถท่ีนําไปใชใน ชวี ิตประจําวนั ของตนเองและครอบครัวไดอ ยา งเหมาะสม ผลการเรียนรูท่คี าดหวัง 1. บอกความหมายและความสาํ คญั ของทักษะชวี ติ 2. สามารถนําทักษะชีวิตไปใชในชีวิตประจําวันของตนเองและครอบครัวไดอยาง เหมาะสม 3. แนะนําผูอื่นในการนําทกั ษะชวี ิตมาประยุกตใ ชใ นชวี ิตครอบครัวและการทํางาน ไดอ ยา งเหมาะสม ขอบขา ยเน้อื หา เรื่องท่ี 1 ความหมาย ความสาํ คญั ของทักษะชีวิต เร่อื งท่ี 2 ทกั ษะชีวติ ที่จําเปน 4 ประการ 2.1 ทักษะการคิดสรา งสรรค 2.2 ทกั ษะการคิอยางมีวจิ ารณญาณ 2.3 ทักษะการตดั สินใจ 2.4 ทักษะการแกปญหา

บทท่ี 8 ทกั ษะชีวิตเพื่อการคดิ เน่อื งจากสภาพสงั คม เศรษฐกิจ และการเมืองในปจจุบัน มีการเปล่ียนแปลงอยาง รวดเร็ว ทําใหประชาชนตองปรับตัวเพื่อดํารงชีวิตใหอยูรอดภายใตสถานการณที่แข็งขัน และ เรงรบี ดงั กลาว ซงึ่ การท่จี ะปรับตัวใหอยูในสังคมไดอยางมีความสุข จําเปนตองมีทักษะในการ ดําเนินชีวิต เชน ทักษะการแกปญหา ทักษะการตัดสินใจ ทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ เปน ตน เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสาํ คัญของทักษะชีวิต ทักษะชีวติ ( Life skill ) หมายถึง ความสามารถของบคุ คล อันประกอบดวย การมี ความรู มีเจตคติที่ดีและมีทักษะท่ีสามารถจะจัดการกับปญหาดานใดดานหนึ่งของตนเองได เพ่ือใหสามารถอยูรอดไดอยางมีความสุขในสภาพสังคมท่ีเต็มไปดวยปญญาและความ เปลี่ยนแปลงในยุคปจจุบัน และสามารถปรับตัวเตรียมความพรอมสําหรับการดําเนินชีวิตใน อนาคต องคป ระกอบของทักษะชวี ิต มี 10 ประการ องคประกอบของทักษะชีวิตจะมีความแตกตางกันตามวัฒนธรรมและสถานท่ี แตทักษะชีวิตที่จําเปนที่สุดที่ทุกคนควรมี ซ่ึงองคการอนามัยโลกไดสรุปไว และถือเปนหัวใจ สาํ คัญในการดาํ รงชวี ติ คอื 1. ทักษะการตัดสินใจ (Decision Making) เปนความสามารถในการตัดสินใจ เก่ยี วกบั เรอ่ื งราวตา งๆ ในชวี ิตไดอยา งมรี ะบบ 2. ทักษะการแกปญหา (Problem Solving) เปนความสามารถในการจัดการ กบั ปญหาทเ่ี กิดข้ึนในชีวิตไดอยางมีระบบ ไมเกิดความเครียดทางกายและจิตใจจนอาจลุกลาม เปนปญ หาใหญโตเกินแกไ ข 3. ทกั ษะการคิดสรางสรรค (Creative Thinking) เปนความสามารถในการคิด ท่ีจะเปนสวนชวยในการตัดสินใจและแกไขปญหาโดยการคิดสรางสรรค เพื่อคนหาทางเลือก ตางๆรวมทั้งผลท่ีจะเกิดขึ้นในแตละทางเลือก และสามารถนําประสบการณมาปรับใชใน ชีวิตประจําวนั ไดอยา งเหมาะสม

4. ทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) เปนความสามารถ ในการคิดวิเคราะหขอมูลตางๆ และประเมินปญหาหรือสถานการณท่ีอยูรอบตัวเราที่มีผลตอ การดําเนนิ ชีวิต 5. ทักษะการส่ือสารอยางมีประสิทธิภาพ (Effective Communication) เปนความสามารถในการใชคําพูดและทาทางเพื่อแสดงออกถึงความรูสึกนึกคิดของตนเองได อยา งเหมาะสมกบั วัฒนธรรมและสถานการณตางๆ 6. ทกั ษะการสรางสัมพนั ธภาพระหวา งบุคคล(Interpersonal Relationship) เปนความสามารถในการสรางความสัมพันธที่ดีระหวางกันและกัน และสามารถรักษา สมั พันธภาพไวไ ดย ืนยาว 7. ทักษะการตระหนักรูในตน (Self Awareness) เปนความสามารถในการ คนหารูจกั และเขาใจตนเอง เชน รูขอดี ขอเสียของตนเอง รูความตองการ และสิ่งที่ไมตองการ ของตนเอง 8. ทักษะการเขาใจผูอ่ืน (Empathy) เปนความสามารถในการเขาใจ ความเหมือนหรอื ความแตกตางระหวางบุคคล ในดานความสามารถ เพศ วัย ระดับการศึกษา ศาสนา ความเชื่อ สีผิว อาชีพ ฯลฯ ชวยใหสามารถยอมรับบุคคลอื่นที่ตางจากเรา เกิดการ ชวยเหลือบคุ คลอน่ื ทดี่ อยกวา หรือไดร ับความเดอื ดรอ น เชน ผตู ดิ ยาเสพตดิ ผูต ดิ เชือ้ เอดส 9. ทักษะการจัดการกับอารมณ (Coping with Emotion) เปนความสามารถ ในการรับรูอารมณของตนเองและผูอ ื่น รูว าอารมณม ผี ลตอการแสดงพฤตกิ รรมอยางไร รูวิธีการ จัดการกับอารมณโกรธ และความเศราโศก ท่ีสงผลทางลบตอรางกาย และจิตใจไดอยาง เหมาะสม 10. ทักษะการจัดการกับความเครียด (Coping with stress) เปนความ สามารถในการรบั รูถ ึงสาเหตุ ของความเครียด รูวิธีผอนคลายความเครียด และแนวทางในการ ควบคุมระดับความเครียด เพื่อใหเกิดการเบ่ียงเบนพฤติกรรมไปในทางท่ีถูกตองเหมาะสมและ ไมเกดิ ปญ หาดานสขุ ภาพ

เร่อื งท่ี 2 ทักษะชีวติ ท่จี าํ เปน จากองคป ระกอบของทักษะชีวิต 10 ประการ เมื่อจําแนกแลวมีทักษะ 4 ประการ ท่จี ะชว ยในการดาํ รงชวี ติ ของตนเอง ครอบครวั และสังคมไดอ ยางมคี วามสุข คอื 1. ทักษะการคดิ สรางสรรค (Creative Thinking) 1.1 ลกั ษณะสาํ คัญของความคิดรเิ ริ่มสรา งสรรคจ ะประกอบดวยคณุ ลกั ษณะ ตา ง ๆ ดงั ตอ ไปนค้ี ือ 1.1.1 เปนความคิดท่มี ีอสิ ระ และสรา งใหเ กดิ เปน แนวคดิ ใหมๆ 1.1.2 ไมม ีขอบเขตจํากัด หรือกฎเกณฑตายตัว และเปนแนวคิดท่ี นาจะ เปนไปได 1.1.3 เปนแนวคิดท่ีอาศัยการมองที่กาวไกล สรางใหเกิดความคิด ทีต่ อเนอื่ ง 1.1.4 เปนความคิดท่ีอยูในลกั ษณะของจินตนาการ ซ่ึงคนทว่ั ไปจะไมค อ ย คิดกนั 1.1.5 ระบบของความคิดน้จี ะกระจายไปไดห ลายทิศทาง และหลาย ทางเลือก 1.1.6 เปนความคิดท่ีอยูในลกั ษณะแปลก และแหวกแนวออกไปจาก ความคิดปกติท่วั ไป 1.1.7 สรางใหเกิดสิง่ ประดษิ ฐใหม นวตั กรรมใหม และมกี ารพฒั นา ทีแ่ ปลกใหมท เ่ี ปนประโยชนและสรา งสรรค 1.1.8 ความคดิ น้ีจะไมกอใหเกิดความเสียหายหรือเปนภัยตอตนเองและ ผอู นื่ 1.2 ทาํ ไมตอ งฝกและพฒั นาใหเ กดิ ความคดิ สรา งสรรค ความคิดสรางสรรคสามารถฝกและพัฒนาได โดยคนเราจะมีความพรอม ต้ังแตว ยั เดก็ ซง่ึ อยรู ะดับประถมศึกษาจะจัดหลักสูตรใหเอื้ออํานวยและกระตุนใหเกิดความคิด รเิ ร่ิมตา งๆ เพ่อื นําไปสูการพัฒนาอยา งสรางสรรค ดงั นคี้ อื 1.2.1 สรางใหบ คุ คลกลาคิดกลาแสดงออก 1.2.2 ความคิดน้จี ะนําบคุ คลไปสสู ง่ิ ใหมแ ละวธิ กี ารใหม 1.2.3 สรา งใหบุคคลเปนผูทม่ี องโลกในมมุ กวาง และยืดหยนุ

1.2.4 สรา งใหบุคคลไมอ ยูก บั ที่ และบมเพาะความขยนั 1.2.5 สรางใหบุคคลเกิดความสามารถในการแกไขปญหาตามสภาพและ ตามขอจํากัดของทรพั ยากร 1.2.6 สรางผลงานและเกดิ สงิ่ ใหม ๆ 1.3 วธิ ีการพฒั นาใหเกิดความคดิ สรา งสรรค การพัฒนาใหเกิดความคิดสรางสรรคในตนเอง จะตองฝกและพัฒนาตนเอง ดงั นี้ 1.3.1 ใหอสิ ระตนเอง 1.3.2 นาํ ตนออกนอกขอบเขต กฎเกณฑ กรอบ และเกราะกาํ บังตา งๆ 1.3.3 คิดใหลกึ ซง้ึ ละเอียด รอบคอบ 1.3.4 อาศยั การใชสมาธแิ ละสติใหอ ยเู หนืออารมณ 1.3.5 ปราศจากอคติ คานยิ มสงั คม 1.3.6 ยอมรับคําวพิ ากษว ิจารณไ ด 1.3.7 อยา ใหเ วลามาเรง รดั ความคิดจนเกินไป 1.3.8 ไมม ุงหวงั ผลกาํ ไรจากความคดิ 1.3.9 มีทกั ษะในการฟง 1.3.10 หมั่นฝก ฝนความคิดอยางสมํ่าเสมอ 1.4 วธิ ีกระตนุ ใหเกดิ ความคดิ ริเรมิ่ สรางสรรค การกระตุนใหบ ุคคลเกดิ ความคิดริเร่ิมสรางสรรคไดนั้น ผูที่เปนตัวกระตุน อาทิเชน พอ แม ผปู กครอง ครู หรอื บังคบั บญั ชา สามารถใชวิธีการตางๆ ตอไปนี้ฝกใชความคิด อยา งสรา งสรรคไ ด โดยอยใู นบรรยากาศทดี่ ี เอ้อื อํานวยใหเ กดิ การใชป ญญาคอื 1.4.1 การระดมสมองอยางอสิ ระ 1.4.2 การเขยี นวิจารณค วามคิด 1.4.3 การแยกความเหมือน – ตาง 1.4.4 การอปุ มาอปุ ไมย 1.4.5 การมีความคลุมเครือ

1.5 อปุ สรรคของความคดิ สรางสรรค 1.5.1 อุปสรรคจากตนเองไมม่ันใจในตนเอง ใชความเคยชินและ สัญชาตญาณแกไขปญหา พอใจในคําตอบเดิม ๆ กลัวพลาด ไมกลาเส่ียง ไมกลารับผิดชอบ ชอบสรา งขอบเขตและกฎเกณฑใหต นเอง ชอบเลียนแบบแอบอางผอู ื่น ชอบเปนผูตาม สามารถ ทําตามคําสั่งไดดี ไมชอบแสวงหาความรู ไมเสาะหาประสบการณ ไมเปดใจ ปราศจากการ ยดื หยนุ ไมมีสมาธิ ไมมสี ติ 1.5.2 อปุ สรรคจากบคุ คลอนื่ ไมยอมรับฟง มุงตําหนิ วิจารณ และปฏิเสธ ทกุ ประเดน็ อิจฉา เยาะเยย ถากถาง ปดโอกาส 1.5.3 ขาดการกระตุนสงเสริม มีการบั่นทอนกําลังใจ ปราศจากการ ยอมรบั เนน ผลกําไรจนเกินไป มคี วามจํากัดดานเวลา ทรพั ยากรอน่ื ๆ 2. ทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ (Critical thinking) คือความสามารถ ในการสรางและประเมินขอสรุปจากหลักฐาน หรือสภาวการณใดไดอยางถูกตองตามความ เปน จริง มีองคป ระกอบ 4 อยางดงั นี้ 2.1 ทกั ษะเบอื้ งตนสาํ หรบั ใชเ ปน เคร่ืองมือในการคิด ไดแก ความสามารถใน การสงั เกตความสามารถในการคนหารูปแบบและ การสรุปสาระสาํ คัญและการประเมินขอสรุป บนพืน้ ฐานจากการสงั เกต 2.2 ความรูเฉพาะเก่ียวกับส่ิงที่ตองคิด ไดแก ความรูเกี่ยวกับเน้ือหาสาระ หลักฐาน หรือสถานที่เก่ียวของ เชน เมื่อตองตัดสินใจวาจะเช่ือหรือไมเช่ือในเรื่องใด ตองหา เหตผุ ล หลกั ฐานตาง ๆประกอบการตดั สนิ ใจ 2.3 การรูคิด ไดแก รูกระบวนการรูคิดของตนและควบคุมใหปฏิบัติตาม กระบวนการคดิ น้ัน เชน ตอ งจดจอ ใครค รวญ พิจารณาตามหลกั เหตุผล เปน ตน 2.4 แรงจูงใจ หมายถึง พลังท่ีใชในการคิด ซ่ึงเกิดจากความตองการหรือ ปรารถนาทจ่ี ะคดิ อยา งมวี ิจารณญาณ แรงจงู ใจในการคิดจะกําหนดเจตคติ และนิสัยใน การคิด ของบุคคลน้ัน ๆ ทําใหเ ชอ่ื หรือไมเชื่อในเรอ่ื งใดเร่อื งหนงึ่ 3. ทกั ษะการตัดสินใจ (Dicision Making) การตัดสินใจเปนกระบวนการของการ หาโอกาสที่จะหาทางเลือกที่เปนไปไดและการเลือกทางเลือกท่ีมีอยูหลายๆ ทางเลือกและได แบง การตัดสินใจออกเปน 2 ชนิด คอื

3.1 การตัดสินใจที่กําหนดไวลวงหนา (Program Decision) เปนการตัดสินใจ ตามระเบยี บ กฎเกณฑ แบบแผนทเี่ คยปฏิบัติมาจนกลายเปน งานประจํา (Routine) 3.2 การตัดสินใจท่ีไมไดกําหนดไวลวงหนา (Non – Program Decision) เปนการตัดสินใจในเรื่องใหมที่ไมเคยมีมากอน และไมมีกฎเกณฑ ไมมีระเบียบ จึงเปนเรื่องท่ี สรางความกังวลใจพอสมควร ขั้นตอนการตดั สนิ ใจ สามารถแบง ออกได ดงั น้ี ขั้นที่ 1 การระบุปญหา (Define Problem) เปนขั้นตอนแรกที่มีความสําคัญ อยางมากเพราะจะตองระบปุ ญ หาไดถูกตอง จงึ จะดาํ เนนิ การตัดสนิ ใจในขัน้ ตอนตอ ๆ ไปได ขั้นท่ี 2 การระบุขอจํากัดของปจจัย (Identify Limiting Factors) เปน การระบุปญหาไดถูกตองแลว นําไปพิจารณาถึงขอจํากัดตาง ๆ ของตนเองหรือหนวยงาน โดยพจิ ารณาจากทรัพยากรซึ่งเปน องคป ระกอบของกระบวนการผลิต ข้ันที่ 3 การพัฒนาทางเลือก (Development Alternative) เปนการพัฒนา ทางเลือกตาง ๆ ข้ึนมาซึ่งทางเลือกเหลาน้ีควรเปนทางเลือกที่มีศักยภาพและมีความ เปนไปไดใ นการแกปญ หาใหนอยลงหรือใหป ระโยชนส งู สุด เชน เพิม่ การทาํ งานกะพเิ ศษ เพ่มิ การทาํ งานลวงเวลาโดยใชตารางปกตเิ พม่ิ จาํ นวนพนักงาน เปนตน ข้ันที่ 4 การวิเคราะหทางเลือก (Analysis the Alterative) เม่ือไดทํา การพฒั นาทางเลือกตาง ๆ โดยนําเอาขอดี ขอเสียของแตละทางเลือกมาเปรียบเทียบกันอยาง รอบคอบ ควรพจิ ารณาวา ทางเลือกนน้ั หากนาํ มาใช จะเกดิ ผลตอ เนือ่ งอะไรตามมา ขนั้ ที่ 5 การเลอื กทางเลอื กท่ดี ที ีส่ ุด (Select the Best Alternative) เมอื่ ผบู ริหารไดท ําการวิเคราะห และประเมินทางเลือกตางๆ แลว บุคคลควรเปรียบเทียบขอดี และขอ เสียของแตละทางเลอื กอีกครั้งหนง่ึ แลวจึงตดั สินใจ 4. ทกั ษะการแกป ญ หา (Problem Solving) ทักษะการแกปญหาอาจทําไดห ลายวิธี ทัง้ น้ีขึน้ อยูก บั ลักษณะของปญหา ความรู และประสบการณของผูแกป ญ หาน้ัน ซ่งึ แตละขั้นตอนมีความสัมพนั ธด ังน้ี 4.1 ทําความเขา ใจปญหา ผูแกปญหาจะตองทําความเขาใจกับปญหาที่พบให ถอ งแทในประเด็นตา งๆ คอื - ปญ หาถามวาอยางไร - มขี อ มูลใดแลวบาง

- มีเงือ่ นไขหรือตอ งการขอมลู ใดเพมิ่ เตมิ อีกหรอื ไม 4.2 วางแผนแกปญหา ขั้นตอนนี้จะเปนการคิดหาวิธี วางแผนเพื่อแกปญหา โดยใชข อมลู จากปญ หาท่ีไดวเิ คราะหไวแ ลว ในข้นั ที่ 1 ประกอบกบั ขอมูลและความรูท่ีเกี่ยวของ กับปญหานน้ั และนํามาใชประกอบการวางแผนการแกปญ หาในกรณีทปี่ ญ หาตองตรวจสอบโดย การทดลอง ขั้นตอนน้ีก็จะเปนการวางแผนการทดลอง ซ่ึงประกอบดวยคาดคะเนผลที่จะเกิด ลว งหนา (การต้ังสมมติฐาน) กําหนดวิธี ทดลองหรือตรวจสอบและอาจรวมถึงแนวทางในการ ประเมนิ ผลการแกป ญหา 4.3 ดาํ เนนิ การแกป ญหาและประเมนิ ผล ขัน้ ตอนน้จี ะเปนการลงมือแกปญหา และประเมินวาวิธีการแกปญหาและผลที่ไดถูกตองหรือไม หรือไดผลเปนอยางไร ถาการ แกป ญหาทําไดถ ูกตองกจ็ ะมีการประเมินตอไปวาวิธีการน้ันนาจะยอมรับไปใชในการแกปญหา อ่ืนๆ แตถาพบวาการแกปญหาน้ัน ไมประสบความสําเร็จก็จะตองยอนกลับไปเลือกวิธีการ แกปญหาอื่นๆท่ีไดกําหนดไวแลวในข้ันท่ี 2 และถายังไมประสบความสําเร็จ ผูเรียนจะตอง ยอนกลับไป ทําความเขาใจปญหาใหมวามีขอบกพรองประการใด เชนขอมูลกําหนดใหไม เพยี งพอ เพ่ือจะไดเ ร่มิ ตนการแกปญหาใหม 4.4 ตรวจสอบการแกป ญหา เปนการประเมนิ ภาพรวมของการแกปญหาทั้งใน ดา นวิธีการแกป ญ หา ผลการแกปญ หาและการตดั สนิ ใจ รวมทัง้ การนาํ ไปประยกุ ตใช ทงั้ นี้ ในการแกป ญหาใด ๆ ตอ งตรวจสอบถงึ ผลกระทบตอ ครอบครวั และสังคมดวย

กจิ กรรมทายบทท่ี 8 จงใหผูเรยี นอธบิ ายตามประเดน็ ดังตอไปนี้ 1. จงบอกความหมายและความสําคัญของทกั ษะชวี ิต 2. การท่ผี เู รียนรจู ักตนเองวา มขี อดี – ขอเสีย ถือวา มีทักษะชีวติ ในดา นใด 3. ในกรณีเกิดความเครียดในการเตรยี มสอบ ผเู รยี นจะมวี ธิ ีจดั การความเครียดของตนเอง อยา งไร 4. ถา เพื่อนในที่ทํางานของผูเรียนทะเลาะกัน ผูเ รยี นจะแนะนาํ เพ่อื นอยา งไร ในการแกไข ปญหาที่เกิดข้นึ

บทท่ี 9 อาชพี งานบริการดา นสุขภาพ สาระสาํ คญั การนวดแผนไทยสามารถชว ยรักษา/บรรเทาอาการของโรคได ในปจจุบันการนวด แผนไทยมีช่ือเสียงท่ัวโลก โดยเฉพาะในแวดวงกายภาพบําบัด การเรียนรูเร่ืองการนวดแผน ไทยจะชว ยใหม แี นวทางเลอื กในการดแู ลสุขภาพไดอ ีกทางหนง่ึ ผลการเรยี นรูท ค่ี าดหวงั 1. อธบิ ายประวัติและท่ีมาของการบริการดานสุขภาพได 2. อธิบายและการเลอื กใชวธิ กี ารนวดแผนไทย 3. บอกแหลงเรียนรกู ารนวดแผนไทยได ขอบขา ยเนอ้ื หา เร่ืองท่ี 1 ประวัติและท่มี าของการบรกิ ารดา นสุขภาพ  ประวัติการนวดแผนไทย  ประเภทของการนวดแผนไทย เร่ืองที่ 2 วธิ กี ารนวดแผนไทยแบบตางๆ เรอ่ื งที่ 3 แหลง ขอมูลการเรียนรกู ารนวดแผนไทย

บทท่ี 9 อาชพี งานบรกิ ารดา นสขุ ภาพ เรื่องที่ 1 ความหมายงานบรกิ ารดานสขุ ภาพ ในปจจุบันคนเรามีการดูแลสุขภาพของตนเองกันมากข้ึน โดยใหความสําคัญตอ ตัวเองเพ่ิมเติมจากปจจัย 4 ท่ีตองใหความสําคัญอยูแลว จึงเกิดธุรกิจงานบริการดานสุขภาพ เพื่อตอบสนองความตองการของทุกๆ คน ซ่ึงมีหลายประเภท เชน การนวดแผนไทย การทํา สปา การฝก โยคะ การเตนแอโรบคิ และการลลี าศเพ่ือสุขภาพ เปน ตน ในที่น้จี ะขอยกตวั อยา ง การนวดแผนไทย เพอื่ เปนลูทางไปสกู ารประกอบอาชีพกบั งานบรกิ ารดา นสุขภาพได ตอไป การนวดแผนไทย การนวดแผนไทย เปนทั้งศาสตรและศิลปท่ีมีมาแตโบราณ โดยภูมิปญญาอันล้ําคา ของคนไทยทส่ี ั่งสมและเรียนรวู ิธีการชวยเหลอื กันเองเมือ่ ปวดเม่ือย เจ็บปวย รูจ กั การผอนคลาย กลามเนื้อดวยการบีบ นวด ยืด เหยียด ดัดดึงตนเองหรือรูไวชวยเหลือผูอื่น การนวดเปนการ ชวยเหลือเก้อื กูลท่อี บอุนเริ่มจากคน ในครอบครวั ดว ยสอื่ สมั ผัสแหงความรกั และความเอื้ออาทร ถายทอดความรูจากการสั่งสมประสบการณจากคนรุนหนึ่ง ไปยังอีกรุนหนึ่ง แตในปจจุบัน หลายคนกย็ ังเสาะแสวงหา ในการดแู ลสขุ ภาพของตนเองโดยการนวดแผนไทย เปน อกี ทางเลือก หนงึ่ สําหรับการดูแลสขุ ภาพ และไดรบั ความนยิ มมากขน้ึ เรือ่ ย ๆ จงึ กลายเปน ศาสตรแ ขนงหน่ึง ทม่ี บี ทบาทในการนาํ มาบาํ บดั รักษาอาการ และโรคบางอยาง ประวัตกิ ารนวดแผนไทย จากหลักฐานทางประวัติศาสตรท ี่บนั ทึกเรื่องราวเกี่ยวกับการนวดไทยที่เกาแกท่ีสุด คือ ศิลาจารึกสมัยสุโขทัยท่ีขุดพบในปามะมวง ซึ่งตรงกับสมัยพอขุนรามคําแหง ซ่ึงไดจารึก รูปการรักษาโรคดว ยการนวดไว ในสมยั อยธุ ยามีหลกั ฐานที่ปรากฏอยา งชัดเจนเกย่ี วกบั การนวดไทยในป พ.ศ. 1998 ในรัชสมัยของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ โดยมีพระราชกฤษฎีกาแบงหนาท่ีของแพทยตาม ความชาํ นาญเฉพาะทาง โดยแยกเปนกรมตางๆ เชน กรมแพทยา กรมหมอยา กรมหมอกุมาร กรมหมอนวด กรมหมอตา กรมหมอวัณโรค โรงพระโอสถ นอกจากน้ียังไดมีการกําหนดศักดินา และดํารงยศตําแหนงเปนหลวง ขุนหมื่น พัน และครอบครองท่ีนาตามยศและศักดินาท่ีดํารง

ซึ่งปรากฏอยูในกฎหมาย “นาพลเรือน” ตอมาในรัชสมัยของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ซึง่ เปน ยคุ ท่ีการนวดไทยรงุ เรอื งมาก โดยปรากฏในจดหมายเหตุของราชทูตจากประเทศฝร่ังเศส ชอื่ ลา ลู แบร ในปพ .ศ. 2230 วา “ในกรงุ สยามนน้ั ถาใครปว ยไขล ง ก็จะเรม่ิ ทําเสน สายยืด โดยใหผ ชู ํานาญทางน้ี ข้ึนไปบนรางกายของคนไข แลวใชเทาเหยีบ กลาวกันวาหญิงมีครรภมักใชใหเด็กเหยียบ เพือ่ ใหคลอดบตุ รงา ยไมพักเจ็บปวดมาก” ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนงั่ เกลาเจาอยหู ัว (รชั กาลท่ี 3) ราว พ.ศ. 2375 ทรงให วัดโพธิ์ (วัดพระเชตพุ นวิมลมงั คลารามราชวรมหาวิหาร ในปจจุบัน) เปนมหาวิทยาลัยของปวง ชน ทรงใหเลอื กสรรและปรับปรุงตํารายาสมุนไพรรอบพระอาราม และทรงโปรดใหปนรูปฤๅษี ดดั ตนซึ่งเปน รูปหลอ ดว ยสังกะสผี สมดีบกุ เพ่ิมเตมิ จนครบ 80 ทา พรอมโปรดใหเขียนโคลงอธิบาย ประกอบทารูปฤาษีเหลาน้ัน ในการแกอาการโรคน้ัน จนครบ 80 ทา และจารึกสรรพวิชาการ นวดไทยลงบนแผนหินออน 60 ภาพ แสดงถึงจุดนวดอยางละเอียดประดับบนผนังศาลาราย และบนเสาภายในวัดโพธ์ิ ถือไดวาเปนการรวบรวมองคความรูดานการนวดไทยไวอยางเปน ระบบ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลท่ี 5) ราว พ.ศ. 2449 ทรงใหกรมหม่ืนภูบดีราชหฤทัย กรมหม่ืนอักษรสาสนโสภณและหลวงสารประเสริฐ ไดชําระ ตําราการนวดแผนไทย และเรียกตําราฉบับน้ีวา “ตําราแผนนวดฉบับหลวง” ตํารานวดน้ีใช เรียนในหมูแพทยหลวง หรือแพทยในพระราชสํานัก และ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกลาเจาอยูหัว และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวนั้น ผูที่มีชื่อเสียงมากใน การนวดในขณะนั้นคือ หมออินเทวดา ซ่ึงเปนหมอนวด ในราชสํานัก ไดถายทอดวิชานวด ท้งั หมดใหแกบุตรชายคือ หมอชิต เดชพันธ ซึ่งตอมา ไดถายทอดความรูใหแกลูกศิษย ความรู เกี่ยวกบั การนวดแผนโบราณนัน้ เริม่ แพรหลาย และเปดกวางสําหรับบุคคลท่ัวไปเม่ือประมาณ 30 ปม านี้ แบบของการนวดแผนไทย การนวดแผนไทยแบงออกเปน 2 แบบ ไดแ ก 1. การนวดแบบราชสาํ นัก เปนการนวดเพื่อถวายพระมหากษัตริยและเจานาย ช้นั สูง ในราชสาํ นักการนวดประเภทนีจ้ งึ ใชเฉพาะมอื นิว้ หวั แมม อื และปลายนิ้วเพื่อท่ีผูนวดจะ ไดส มั ผัสรางกายของผรู บั การนวดใหน อยทส่ี ุด

2. การนวดแบบทั่วไป (แบบเชลยศักด์ิ) หรือเรียกกันท่ัวไปวา “จับเสน” เปนการนวดของสามญั ชนเพอ่ื ผอนคลายกลามเนื้อ และชวยการไหวเวียนของโลหิตโดย ใชมือ นวดรว มกบั อวยั วะอืน่ ๆ เชน ศอก เขา และเทา ดว ยทาทางท่วั ไปไมม แี บบแผน ประเภทของการนวดแผนไทย การนวดแผนไทย ทําใหส ุขภาพดี ผอ นคลาย ซ่ึงแบง ออกไดห ลายประเภท ไดแก นวดนํ้ามัน เปน การนวดรางกายโดยใชนํา้ มนั ทส่ี กัดจากธรรมชาตทิ ี่บริสุทธิ์ ท่ีมีกล่ิน หอมจากธรรมชาติ ชว ยใหส ดชื่น ผอนคลาย และคลายเครียด ดวยกล่ินหอม เฉพาะทางที่ใชใน การบําบดั อาการใหเบาบางลง เชน อาการนอนไมหลับ อาการเครียด หดหู นอกจากนี้น้ํามัน บรสิ ทุ ธ์ิยังชว ยบาํ รุงผิว และกระชบั รูปราง ทําใหรูสกึ สบายตวั นวดผอนคลาย เปนการนวดท่ีถูกสุขลักษณะตามแบบแผนไทยโบราณ ซึ่งสงผล โดยตรงตอรา งกายและจิตใจ ทําใหเกิดการไหลเวียนของเลือดลม คลายกลามเน้ือท่ีลา รักษา อาการปวดเมื่อยตามรางกาย คลายเครียด เคล็ดขัดยอก ชวยใหสุขภาพกระปร้ีกระเปรา จิตใจผอนคลาย นวดฝาเทา เปน การปรับสมดุลในรางกาย ชวยใหระบบการไหวเวียนไปยังอวัยวะ ตา ง ๆ ภายในรา งกายไดด ขี ้ึน สง ผลใหม กี ารขบั ถายของเสียออกจากเซลลป รับสภาวะสมดุลของ รา งกายทาํ ใหส ขุ ภาพโดยรวมดขี ้นึ นวดสปอรต การออกกําลังกายอยางหักโหมจนเกินไป อาจทําใหเกิดอาการเกร็ง ของกลามเน้ือเฉพาะสวน หรืออาการลา การนวดสปอรต จึงเปนการนวดคลายกลามเน้ือ ดงั กลาว ชวยใหก ลา มเนอ้ื ผอ นคลาย นวดสลายไขมัน – อโรมา เปนการนวดน้ํามัน เพื่อผอนคลายกลามเนื้อ ทุกสวน ของรา งกาย นวด – ประคบ เปนการใชลูกประคบสมุนไพร ประคบตามรางกาย เพื่อผอนคลาย กลา มเนื้อทีต่ ึงหรือเครียดใหสบาย นวด – ไมเกรน เปนการนวดเพ่ือแกอาการปวดศีรษะ โดยจะกดจุดบริเวณศีรษะ ทปี่ วด

เรื่องที่ 2 วิธกี ารนวดแผนไทยแบบตางๆ เราสามารถนวดบนรา งกาย โดยใชว ธิ ีการนวดตาง ๆ ดังน้ี การนวด การใชน้ําหนักกดลงบนสวนตาง ๆ ของรางกาย นํ้าหนักท่ีกดจะทําให กลามเนื้อ เสน เอน็ พงั ผืดคลาย การนวดไทยเนน มักจะใชนาํ้ หนกั ของรา งกายเปนแรงกด การบีบ เปนการใชนํ้าหนักกดลงบนสวนตาง ๆ ของรางกาย ในลักษณะ 2 แรงกดเขาหากัน การคลึง การใชน้ําหนักกดคลึง เปนการกระจายนํ้าหนักกดบนสวนน้ัน การคลึง ใหผ ลในการคลายใชกบั บริเวณท่ไี วตอ การสมั ผัส เชน กระดูก ขอตอ การถู การใชน้ําหนักถู เพ่ือทําใหผิวหนังเกิดการยืดขยายรูขุมขนเปด วิธีน้ีนิยมใช กับยาหรอื นาํ้ มันเพ่อื ใหต ัวยาซึมเขา ไดด ี การกล้ิง การใชนํ้าหนักหมุนกลิ้ง ทําใหเกิดแรงกดตอเนื่องไปตลอดอวัยวะ ท้ังยัง เปน การยืดกลา มเนอ้ื อกี ดว ย การหมุน การใชนํ้าหนักหมุนสวนที่เคลื่อนไหวไดคือ ขอตอ เพื่อใหพังผืด เสนเอ็น รอบ ๆ ขอตอ ยืดคลายการเคลอ่ื นไหวดีขน้ึ การบดิ จะมีลักษณะคลา ยกบั การหมนุ การดัด การใชน้ําหนักยืด ดัดกลามเน้ือ เสนเอ็นพังผืดใหยืดกวาการทํางานปกติ เพอ่ื ใหเ สน หยอนคลาย การทบุ การใชน ้ําหนกั ทบุ ตบ สับ ลงบนกลา มเนือ้ ใหท ว่ั การเขยา การใชน้ําหนักเขยากลามเน้ือ เพื่อกระจายความยืดหยุนของกลามเนื้อ ใหทั่ว ลกั ษณะการนวดแผนโบราณ แบงออกเปน 3 ลกั ษณะ 1. การนวดยืด ดัด ลักษณะการนวดแบบน้ี คือ การยืด ดัดกลามเนื้อ เสนเอ็น พังผืด ใหย ืดคลาย 2. การนวดแบบจบั เสน ลกั ษณะการนวด คือ การใชนาํ้ หนกั กดลงตลอด ลําเสนไป ตามอวยั วะตา งๆ การนวดชนิดน้ีตองอาศัยความเช่ืยวชาญของผูนวด ซ่ึงไดทําการนวดมานาน และสงั เกตถงึ ปฏิกิรยิ าของแรงกดทแ่ี ลนไปตามอวยั วะตาง ๆ 3. การนวดแบบกดจดุ ลกั ษณะการนวด จะเนนการใชน้ําหนักกดลงไปบนจุดของ รา งกาย การนวดน้เี กิดจากประสบการณและความเชื่อวาอวัยวะของรางกาย มีแนวสะทอนอยู

บนสวนตา ง ๆ และเราสามารถกระตุน การทํางานของอวยั วะน้ันโดยการกระตุนจุดสะทอนท่ีอยู บนสว นตาง ๆ บนรา งกาย เทคนคิ การนวดแผนโบราณ 1. นวดดวยน้ิวหัวแมมือ วิธีกดนวดแบบนี้ใชผิวหนาของนิ้วหัวแมมือสวนบน ไมใช ปลายนวิ้ หรอื ปลายเลบ็ จกิ ลงไป 2. นวดดวยฝามือ เหมาะสําหรับการนวดบรเิ วณทมี่ พี ื้นท่กี วาง นาํ้ หนกั ตัวท่ีท้ิงลงไป ที่ฝา มอื จะชว ยทาํ ใหก ารนวดดวยวิธนี ไี้ ดผลดียิง่ ขน้ึ ซง่ึ สามารถนวดได 3 ลกั ษณะคอื 2.1 นวดดวยทา ประสานมอื 2.2 นวดดวยทาผีเสอื้ บนิ 2.3 นวดโดยวางมอื หา งจากกันเล็กนอ ย 3. นวดดวยนิ้วหัวแมมือท้ังสองขางพรอมกัน วิธีนี้จะชวยกระตุนเสนพลังตาง ๆ โดยการเลอ่ื นน้ิวไปตามแนวเสน เวนชองวางระหวางนิ้วทั้งสองขา งประมาณ 2-3 ซม. 4. กดนวดดว ยเทา นิยมใชวธิ ีการกดนวดบริเวณที่กวางและมีสวนเวาสวนโคงอยาง นอ งขาหรอื ตน ขาทคี่ อนขางแข็งแกรงของผูรับการนวด ในขณะที่การใชสนเทานวด จะเหมาะ สาํ หรบั การนวดในทาทีต่ อ งการแรงกดมาก ๆ 5. กดนวดดวยเขา การกดนวดดวยเขามักจะนิยมใชในทาที่มือจําเปนตองไปจับ อวยั วะสวนอนื่ อยู ซ่งึ จะถา ยเทนา้ํ หนักไดด ี นิยมใชในการนวดตนขาสวนลา งและสะโพก 6. ยืนกด การใชทาน้ีจะตองระวังการยืนใหดี ควบคุมใหไดวาจะทิ้งนํ้าหนักตัวไป สวนไหนจึงจะไมเ ปน อันตรายและเกิดประโยชนกับผูรับการนวดมากท่ีสุด มักนิยมยืนครอมตน ขาของผรู ับการนวด 7. กดนวดดว ยขอ ศอก นิยมใชปลายขอศอกแหลม ๆ กดลงไป มักกดบริเวณตนขา สะโพกและไหล ทีม่ กี ลา มเน้ือคอนขางหนา มีไขมันสะสมมาก 8. กดนวดดวยทอนแขน ถาหากผูรับการนวดรูสึกเจ็บ ใหใชวิธีการนวดดวยทอน แขนแทน เพราะจะรูสึกนมุ นวลขึน้ มากเลยทีเดียว เรื่องที่ 3 แหลง ขอมลู การเรียนรูการนวดแผนไทย เน่อื งจากการนวดแผนไทยไดร ับความนิยมเปนอยางมากในปจจุบัน ดังน้ันจึงมีการ นําบริการ การนวดแผนไทยมาทําเปนธรุ กิจควบคูกับธุรกิจสปา ซ่ึงกลายเปนธุรกิจท่ีสรางรายได


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook