Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คงคลัง

คงคลัง

Published by Natinon Meesuk, 2021-10-31 05:11:23

Description: คงคลัง

Search

Read the Text Version

วิชา การจัดการสินค้ าคงคลัง INVENTORY MANAGEMENT Group 4

คำนำ สื่อการเรียนเพื่อการจัดการเล่มนี้ ผู้เขียนได้ทำการเรียบเรียงและแต่งขึ้นเพื่อใช้ในการเรียนวิชา การ จัดการสินค้าคงคลัง ตามหลักสูตรปริญญาตรี สาขาต่างๆ โดยนำการวางรูปแบบการนำเสนอเนื้อหาใน แต่ละเรื่องให้อ่านและเข้าใจได้ง่าย เนื้อหาของหนังสือเล่มนี้ประกอบด้วย ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการจัดการ สินค้าคงคลังและการบริหารสินค้าคงคลัง การจัดทำหนังสือเล่มนี้หากมีสิ่งใดขาดตกบกพร่องผู้เขียน หวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะได้รับคำแนะนำจากผู้ใช้หนังสือเพื่อนำไปปรับปรุงแก้ไขให้หนังสือมีความสมบูรณ์ยิ่ง ขึ้น

สารบัญ เรื่อง หน้า สินค้าคงคลังInventory Management 4 EOQ Economic Order Quantity 8 การวิเคราะห์แบบเอบีซีABC Analysis 13 ระบบจุดสั่งใหม่(RE-ODER POINT SYSTEM) 17 Material Requirement Planning (MRP) 21 Vendor Managed Inventory(VMI) 24 เทคโนโลยีสินค้าคงคลังบาร์โค้ด และ RFID 27 Kanban 31 คณะผู้จัดทำ 35

สินค้าคงคลัง Inventory Management แ ม ดิ สั น ไ ร ท์ ส

สินค้าคงคลัง 1 Inventory Management สินค้าคงคลัง หรือ สินค้าคงเหลือ (Inventory) เป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับธุรกิจ เพราะจัดเป็นสินทรัพย์หมุนเวียนรายการหนึ่งซึ่ง ธุรกิจพึงมีไว้เพื่อให้การผลิตหรือการขาย สามารถดำเนินไปได้อย่างราบรื่น การมี สินค้าคงคลังมากเกินไปอาจเป็นปัญหากับธุรกิจ ทั้งในเรื่องต้นทุนการเก็บรักษาที่สูง สินค้าเสื่อมสภาพ หมดอายุ ล้าสมัย ถูกขโมย หรือสูญหาย นอกจากนี้ยังทำให้สูญ เสียโอกาสในการนำเงินที่จมอยู่กับสินค้าคงคลังนี้ไปหาประโยชน์ในด้านอื่นๆ สินค้าคงคลัง (Inventory ) หมายถึง ปริมาณสินค้าหรือบริหารที่ธุรกิจมีสำรองไว้เพื่อการใช้งาน เพื่อการบริหาร เพื่อการผลิต เพื่อการจัดจำหน่ายในอนาคต เช่น อุปกรณ์สำนักงาน ชิ้นส่วนอะไหล่ วัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์กึ่งสำเร็จรูป เป็นต้น (ก่อเกียรติ วิริยะกิจพัฒนา และมาลัย ม่วงเทศ .2551 : 61) สินค้าคงเหลือ (Inventory) เป็นบัญชีสินทรัพย์หมุนเวียนที่มีจำนวนมากที่สุด ที่ผู้จัดการทางการ เงินควรจะต้องให้ความสนใจในการบริหาร เนื่องจากสินค้าคงเหลือจะมี สภาพคล่อง น้อยที่สุดในบัญชีสินทรัพย์หมุนเวียนเมื่อเทียบกับเงินสดและ ลูกหนี้การค้าการบริหาร สินค้าคงเหลือจะเป็นการศึกษาถึงวิธีการที่จะ ต้องรักษาระดับสินค้าที่ธุรกิจ จำเป็นต้องใช้ในการดำเนินงานซึ่งผู้จัดการ จะต้องทำ การตัดสินใจว่าจะต้องมีสินค้าคงเหลือเป็นจำนวนเท่าไหร่จะ ต้องดำเนินการอย่างไรที่ จะสามารถรักษาระดับสินค้าคงเหลือให้อยู่ใน จำนวนที่เหมาะสมที่จะทำให้เกิดประสิทธิภาพในการดำเนินงานสูงสุด (การจัดการการเงิน ในองค์กรธุรกิจ 2545 : 113)

2 การบริหารสินค้าคงคลัง (Inventory Management) เป็นการจัดการต่าง ๆ เกี่ยวกับรายการสินค้าในคลังสินค้าตั้งแต่ การรวบรวม จดบันทึก สินค้าเข้า – ออก การควบคุมให้มีสินค้าเหลือในปริมาณที่เหมาะสม มีระเบียบแบบแผน เพื่อให้ สินค้าที่มีอยู่ตรงตามความต้องการของผู้ใช้หรือผู้บริโภค ทั้งในเรื่องแบบ สี ขนาด แฟชั่น โดยจะ ต้องควบคุมให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม ( ดำรงศักดิ์ ชัยสนิทและสุนีย์ เลิศแสวงกิจ . 2542 : 65 ) นอกจากนี้ยังรวมไปถึง - การเก็บทรัพยากรไว้ใช้ในปัจจุบัน หรือในอนาคต เพื่อให้การดำเนินการของ กิจการดำเนินไปอย่างราบรื่น ผ่านการวางแผนกำหนดปริมาณสินค้าคงคลังที่เหมาะสม - การจัดการต่างๆ ที่เกี่ยวกับรายการสินค้าในคลัง ตั้งแต่รวบรวม จดบันทึก สินค้าเข้า-ออกการควบคุมให้มีสินค้าคงเหลือในปริมาณที่เหมาะสม มีระเบียบ เพื่อให้สินค้า ที่มีอยู่ตรงตามความต้องการของผู้บริโภคทั้งในด้านแบบ สี ขนาด แฟชั่นโดยมีจุดมุ่งหมาย เพื่อรายงานแก่ผู้บริหารว่า “รายการสินค้าใดขายดี สินค้าใดขายไม่ดี สินค้าใดควรสั่งซื้อ เพิ่ม หรือสินค้าใดควรลดราคาล้างสต็อก หรือควรตัดสต็อก เพราะสินค้าเสื่อมคุณภาพล้า สมัยแล้ว” สาเหตุที่ต้องจัดเก็บสินค้าคงคลัง มีสาเหตุหลัก 3 ประการในการจัดเก็บวัสดุคงคลัง ความไม่แน่นอน - วัสดุคงคลังถูกใช้เป็นกันชน (อังกฤษ: Buffer) เพื่อรองรับความไม่แน่นอนใน ระบบโซ่อุปทาน 2.ปริมาณมัธยัสถ์ (อังกฤษ: Economic of Scale) - การจัดหา วัสดุในปริมาณๆหนึ่ง เพื่อการลดต้นทุนดำเนินการ ทำให้ต้องแบก รับวัสดุคงคลังเอาไว้ 3.เวลา - ความล่าช้าในระบบห่วงโซอุปทาน จากผู้จัดหา ไปสู่ผู้ใช้ในทุกๆขั้น ตอน ทำให้มีความจำเป็นที่จะต้องมีวัสดุคงคลังเอาไว้เพื่อป้องกันเหตุการณ์วัสดุ หมดคลัง (อังกฤษ: shortage) ซึ่งเวลาที่ใช้ในการดำเนินการนั้นเรียกว่า \"เวลา นำ\" (อังกฤษ: lead time)

3 1.สินค้าคงคลังหรือสินค้าหมุนเวียน (Current Stock) เป็นการ 2.สินค้าที่อยู่ระหว่างกระบวนการผลิต ภายในกระบวนการผลิตโรงงาน (Work- สำรองสินค้า เพื่อให้มีปริมาณที่เพียงพอต่อความต้องการทั้งเพื่อการ in-process Stock) ผลิตและเพื่อการส่งมอบให้กับลูกค้า ประเภทของสินค้า คงคลัง (Inventory) 3.สินค้าคงคลังสำรอง (Safety/Buffer) เป็นการ 4.สินค้าระหว่างการขนส่ง (In-Transit) ซึ่งอยู่ในระหว่างเส้น สำรองสินค้าซึ่งมีระยะเวลาในการส่งมอบ (Lead Time) ทางการขนส่ง จากโรงงานของผู้ขายมายังโรงงานผลิต เช่น การ เช่นสินค้า ซึ่งต้องมีการนำเข้าจากต่างประเทศ ขนส่งทางเรือ ซึ่งใช้เวลา ขนส่งจากผู้ผลิตไปสู่ลูกค้า 5.สินค้าคงคลังสำรองของ Suppliers หรือผู้จัดส่ง เป็นสินค้าคงคลังสำรองที่ผู้ขายสินค้าได้เก็บสำรองไว้ให้ กับ ผู้ผลิต (ลูกค้า) เพื่อป้องกันความแปรผันของ Order ฉุกเฉินหรือป้องกันการผลิตที่ไม่ทันหรือป้องกันการจัด ส่งไม่ทัน สรุปสินค้าคงคลัง Inventory Management สรุปได้ว่า กิจการจะเก็บสินค้าคงคลังในรูปแบบใดก็ตาม ถ้าธุรกิจมีสินค้าคงคลังน้อยเกินไป ก็อาจประสบปัญหาสินค้า ขาดแคลนไม่เพียงพอ (Stock out) สูญเสียโอกาสในการขายสินค้าให้แก่ ลูกค้า เป็นการเปิดช่องให้แก่คู่แข่งขัน และก็อาจต้อง สูญเสียลูกค้าไปในที่สุด นอกจากนี้ถ้าสิ่งที่ ขาดแคลนนั้นเป็นวัตถุดิบที่สำคัญ การดำเนินงานทั้งการผลิตและการขายก็อาจต้อง หยุดชะงัก ซึ่งอาจ ส่งผลต่อภาพลักษณ์ของธุรกิจในอนาคตได้ ดังนั้นจึงเป็นหน้าที่ของผู้ประกอบการในการจัดการ สินค้า คงคลังของตนให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม ไม่มาก หรือน้อยจนเกินไป เพราะการลงทุนในสินค้า คงคลังต้องใช้เงินจำนวนมาก และ อาจส่งผลกระทบถึงสภาพคล่องของธุรกิจได้ หากไม่มีสินค้าคง คลัง การผลิตอาจจะไม่ราบรื่น โดยทั่วไปฝ่ายขายค่อนข้างพอใจ หากมีสินค้าคงคลังจำนวนมากๆ เพราะให้ความรู้สึกมั่นใจว่าอย่างไรก็มีสินค้าให้พอขาย แต่หน้าที่ของสินค้าคงคลังคือ รักษา ความ สมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทาน ทำให้เกิดการประหยัด ต่อขนาด (Economy of Scale) เพราะการ สั่งซื้อจำนวนมาก ๆ เป็นการลดต้นทุน และคลังสินค้าช่วยเก็บสินค้าปริมาณมากนั้น

EOQ Economic Order Quantity

EOQ (ECONOMIC ORDER 5 QUANTITY) คืออะไร EOQ หรือ Economic Order Quantity หมายถึง ปริมาณหรือ จำนวนการสั่งซื้อสินค้าที่เหมาะสม คุ้มค่า หรือประหยัดที่สุด เพื่อไม่ให้ เกิดต้นทุนจมจากการสต็อกสินค้าในคลังสินค้า ไม่ว่าจะเป็นการเคลื่อน ย้าย การจัดเก็บ ต้นทุนเสื่อมสภาพ ฯลฯ การคำนวณหา EOQ จะช่วยให้ธุรกิจรู้ว่าควรสั่งของมาจำนวน หรือปริมาณมาก เท่าไรโดยคำนวณจากความต้องการสินค้า (Demand) ก่อนที่จะผลิตหรือนำเข้ามาสต็อกไว้ ยกตัวอย่าง การหา EOQ ง่ายๆ เช่น บริษัทที่จะผลิตรถยนต์ จะ คำนวณหาครัวเรือนที่มีกำลังซื้อรถยนต์ก่อนว่ามีกี่ครัวเรือน แล้วน่าจะ ขายได้กี่คัน เพื่อประมาณจำนวนวัสดุ ชิ้นส่วน อุปกรณ์ที่ต้องสั่งซื้อเพื่อ การผลิตในปริมาณที่เหมาะสมไม่ผลิตรถยนต์ออกมาเกินควาต้องการ ของตลาด เป็นต้น

สูตรการคำนวณ EOQ และตัวแปร 6 ต่างๆ สูตรที่ใช้ในการคำนวณ EOQ หรือ ECONOMIC ORDER QUANTITY คือ EOQ = 2DSH โดยแทนค่าในสูตรด้วย 1. EOQ = จำนวนการสั่งซื้อที่ประหยัด 2. D = ปริมาณความต้องการสินค้าทั้งปี 3. S = ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อแต่ละครั้ง 4. H = ต้นทุนในการเก็บรักษาต่อหน่วยของทั้งปี ตัวอย่างการคำนวณ EOQ ง่ายๆ ยกตัวอย่างการคำนวณง่ายๆ เช่น ร้านขายรองเท้าหนัง ที่มีความต้องการ หรือขายได้ต่อปี 1,000 คู่ (D) โดยมีต้นทุนในการสั่งซื้อรองเท้ามาสต็อกคือ คู่ ละ 100 บาท (S) และมีต้นทุนในการเก็บรักษาสินค้าทั้งปีตกคู่หรือหน่วยละ 20 บาท (H) ดังนั้น เราสามารถแทนสูตรได้ว่า EOQ = 2100010020 หรือ EOQ = √ (2X1000X100) ➗ 20 • D = 1,000 • S = 100 • H = 20 คำตอบ จำนวนปริมาณในการสั่งซื้อสินค้าที่เหมาะสมหรือ EOQ = 100 หน่วย ดังนั้น จำนวนสินค้าที่ร้านขายรองเท้าร้านนี้ควรสั่งมาไว้ก็คือ 100 คู่ / ล็อตการสั่ง

7 นอกจากนี้ เรายังสามารถใช้ EOQ ที่หาได้เพื่อมาคำนวณหาจำนวนครั้งที่ควรสั่งต่อปี และระยะเวลาในการสั่งซื้อได้อีกด้วย วิธีคำนวณหาจำนวนครั้งในการสั่งซื้อต่อปี ใช้สูตร: จำนวนครั้ง = D ➗ EOQ หรือจากตัวอย่างก็คือ 1,000 ➗ 1000 = 10 ครั้ง / ปี วิธีคำนวณหาระยะเวลาในครั้งการสั่งซื้อ ใช้สูตร: ระยะเวลาในการสั่งซื้อ = จำนวนวันทำงานในปีนั้น ➗ จำนวนครั้งที่สั่ง หรือจากตัวอย่างก็คือ 365 ➗ 10 = 35.6 ครั้ง หรือหมายความว่าทุกๆ 35 – 36 วันจะสั่งซื้อรองเท้ามาไว้ 1 ล็อต สรุปได้ว่า ร้านขายรองเท้าจากตัวอย่าง มี EOQ ในการสั่งสินค้า ตลอด 1 ปี คือ สั่งซื้อ 10 ล็อตต่อปี ล็อตละ 100 คู่ ซึ่งมีระยะเวลาสั่งห่างกันราว 35 วัน 1. จุดสั่งซื้อรอบต่อไป (REORDER POINT) หมายถึง 2. ระยะเวลารอสินค้า (PURCHASE ORDER LEAD เป็นช่วงเวลาที่จำเป็นต้องสั่งซื้อสต็อกอีกชุดใหม่หรือ TIME) หมายถึง เวลาทั้งหมดในการสั่งซื้อ รอสินค้า เติมสต็อกที่มีอยู่ EOQ จะถือว่าคุณสั่งซื้อในปริมาณ จนได้สินค้า หรือเรียกว่า “ระยะเวลา LEAD TIME” เดียวกันในแต่ละจุดสั่งซื้อใหม่ รอบเวลาในการสั่งซื้อซึ่งเป็นช่วงเวลาตั้งแต่สั่งซื้อจน 3. ต้นทุนการจัดซื้อต่อหน่วย (PURCHASING COST PER ได้รับสินค้าเรียบร้อย UNIT) หมายถึง ต้นทุนต่อหน่วยการสั่งซื้อที่ไม่เปลี่ยนแปลง 4. สินค้าหมดสต็อก (STOCKOUTS) หมายถึง ตามปริมาณการสั่งซื้อ เช่น ซื้อ 1000 ชิ้น กับซื้อ 10 ชิ้น ก็มี สถานการณ์ที่ธุรกิจร้านค้าไม่มีของเหลืออยู่ในสต็อก ราคาต่อหน่วยเท่ากัน เพราะ EOQ จะคำนวณต้นทุนต่อ สินค้า ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่ไม่ควรเกิดขึ้น ถ้าเกิดขึ้น หน่วยเท่ากันทั้งหมด นอกจากจะทำให้ธุรกิจต้องหยุดชะงักแล้ว ยังทำให้ ไม่สามารถคำนวณ EOQ ได้ เพราะตัวแปรในการ คำนวณคลาดเคลื่อน ธุรกิจควรเตรียมของให้พร้อม สำหรับการค้าขาย ปั จ จั ย ที่ ธุ ร กิ จ ห รื อ โ ร ง ง า น ต้ อ ง รู้ เ พื่ อ ใ ห้ ส า ม า ร ถ คำนวณหา EOQ ได้แม่นยำมากขึ้น ปัจจัยที่ส่งผลก ระทบต่อ ECONOMIC ORDER QUANTITY 5. ต้นทุนคุณภาพ (COST OF QUALITY) 6. อุปสงค์หรือความต้องการสินค้า (DEMAND) หมายถึง ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการควบคุม หมายถึง ความต้องการสินค้าของผู้บริโภคหรือ คุณภาพของสินค้า การประเมิน และต้นทุน ตลาด เป็นปัจจัยสำคัญที่ธุรกิจต้องรู้ว่ามีปริมาณ ความเสียหายจากการผลิตที่ไม่เป็นไปตาม เท่าไหร่ จำนวนเท่าไหร่ แล้วผู้บริโภคต้องการ คุณภาพ สำหรับปัจจัยข้อนี้ เป็นสิ่งที่ EOQ ตอนไหน (อุปสงค์เกิดขึ้นช่วงใด) ไม่ได้นำมาคำนวณด้วย 8. ต้นทุนในการถือครองสินค้า (CARRYING 7. ต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ COST) หมายถึง ต้นทุนจากค่าใช้จ่ายในการเก็บ (RELEVANT COST) หมายถึง ต้นทุนที่อาจ รักษาวัสดุหรือสินค้า ในช่วงเวลาหนึ่งๆ ซึ่งปัจจัยนี้ เกิดขึ้นในอนาคต ซึ่งส่งผลต่อการตัดสินใจ ไม่ได้ถูกนำมาคำนวณในการหา EOQ ลงทุนของธุรกิจ ยกตัวอย่างเช่น บริษัทผลิต รถยนต์อาจปรับลดการผลิตลง เพราะยาง รถยนต์มีแนวโน้มต้นทุนสูงข้ึน เป็นต้น

8 การคำนวณหาปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด EOQ ประกอบไปด้วยกรณีต่างๆดังนี้ 1. กรณีสั่งซื้อ : ไม่ยอมให้พัสดุคงคลังขาดแคลน 2. กรณีสั่งซื้อ : ไม่ยอมให้พัสดุคงคลังขาดแคลนแบบทยอยส่ง 3. กรณีสั่งซื้อ : ยอมให้พัสดุคงคลังขาดแคลน 4. กรณีสั่งซื้อ : มีส่วนลดในการสั่งซื้อ-แบบลดทุกหน่อย 5. กรณีสั่งซื้อ : มีส่วนลดในการสั่งซื้อ-แบบลดเฉพาะส่วนที่ซื้อเพิ่ม 6. กรณีสั่งผลิต : ผลิตเสร็จแล้วจึงนำมาใช้ 7. กรณีสั่งผลิต : ผลิตและใช้ไปพร้อมกัน 8. กรณีสั่งผลิต : ผลิตสินค้าหลายชนิดแบบผลิตไปและใช้ไปพร้อมกัน 9. ขนาดรุ่นการสั่งที่ประหยัดภายใต้ทรัพยากรที่จำกัด ตัวแปรที่ใช้คำนวณ D = ความต้องการต่อปีของพัสดุหนึ่งรายการ(หน่อย/ปี) Q = ปริมาณการสั่งพัสดุเมื่อถึงจุดสั่งในแต่ละครั้ง(หน่อย/ครั้ง) H= ต้นทุนรวมในการถือครองพัสดุ(บาท/หน่อย/ปี) h = ต้นทุนรวมในการถือครองพัสดุ(เปอร์เซนต์/ปี) W = ค่าใช้จ่ายในการถือครองเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับการเก็บรักษา(บาท/หน่อย/ปี) I = ค่าใช้จ่ายในการถือครองเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับดอกเบี้ยจม(บาท/หน่อย/ปี) C = ต้นทุนวัสดุต่อหน่วย P = ต้นทุนในการสั่งซื้อต่อครั้ง(บาท/ครั้ง) TC = ต้นทุนรวมการควบคุมพัสดุคงคลังต่อปีไม่รวมค่าวัสดุ(บาท/ปี) TIC = ต้นทุนรวมการควบคุมพัสดุคงคลังต่อปีรวมค่าวัสดุ(บาท/ปี)

การวิเคราะห์แบบเอบีซี ABC Analysis

การวิเคราะห์แบบเอบีซี 10 ABC ANALYSIS การประกอบกิจการทุกประเภทล้วนมีคลังสินค้าเพื่อให้กิจกรรมการผลิตหรือ การขายดำเนินไปได้อย่างราบรื่นซึ่งบทความนี้จะกล่าวถึงเครื่องมือที่ช่วยในการ จัดการสินค้าคงคลังที่มีปริมาณมากให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยการวิเคราะห์แบบเอบีซี เป็นการแบ่งประเภทสินค้าคงคลังเป็นกลุ่ม ตาม มูลค่าของสินค้าที่หมุนเวียนในรอบปีออกเป็น 3 กลุ่ม คือ A, B และ C A คำสำคัญ 1. การจัดการสินค้าคงคลัง 2. การควบคุมสินค้าคงคลัง 3. การวิเคราะห์แบบเอบีซี การควบคุมสินค้าคงคลังแต่ละกลุ่ม กลุ่ม A จำเป็นต้องมีการควบคุมอย่างใกล้ชิดและเข้มงวดมาก การสั่งและการใช้ของ จะต้องมีการจดบันทึกรายการที่สั่งซื้ออย่างละเอียดครบถ้วน และสมบูรณ์มากที่สุด มีการ ตรวจสอบอยู่สม่ำเสมอ การควบคุมอย่างใกล้ชิดอาจหมายถึง การสำรองสินค้าคงคลัง สำหรับวัตถุดิบที่มีความสำคัญต้องใช้งานอย่างต่อเนื่อง และมีปริมาณมาก ผู้จัดซื้อควร ตรวจสอบสินค้าในคลังอยู่สม่ำเสมอ เพื่อให้ทันเวลาต่อกระบวนการ ผลิตหรือเวลาส่งมอบ ให้แก่ลูกค้า ควรทำการลงบันทึกรายละเอียดของสินค้าและการเงินทุกครั้งที่มีการซื้อขาย และตรวจนับสินค้าในคลังเพื่อตรวจสอบความถูกต้องให้ตรงกับจำนวนในบัญชีสม่ำเสมอ กลุ่ม B สินค้าคงคลังกลุ่มนี้เป็นการควบคุมตาม B ปกติ มีการควบคุมอย่างเข้มงวดระดับปานกลาง คือ มีการตรวจสอบเป็นระยะๆ C กลุ่ม C มีการจดบันทึกเพียงเล็กน้อยหรือไม่มีการจด บันทึกเลยเป็นสินค้าคงคลังที่มีมูลค่าต่ำแต่มีจำนวนมากๆ การควบคุมไม่จำเป็นต้องเข้มงวดมากนักมีการตรวจนับ สินค้าบางเป็นครั้งคราวโดยใช้ระบบสินค้าคงคลังแบบ สิ้นงวดคือเว้นระยะสักพักแล้วทำการตรวจสอบคลัง สินค้าว่าขาดเหลือไปเท่าใดแล้วทำการสั่งซื้อสินค้ามา เพิ่ม

11 การจัดการสินค้าคงคลัง (Inventory Management) สินค้าคงคลัง (Inventory) หมายถึง สิ่งที่จำเป็นต่อกิจการเป็นทรัพย์สินหมุนเวียนต่างๆทั้ง ที่เป็นวัสดุหรือสินค้าต่างๆ ที่มีการเก็บรักษาเอาไว้เ พื่อใช้ในการดำเนินงานในอนาคตอาจจะ เป็นการดำเนินงานเชิงการผลิตหรือดำเนินการขายและการดำเนินงานอื่นๆ เป็นต้น 1.สินค้าคงคลังแบบที่เป็นวัตถุดิบ (raw material inventory) ป็นสินค้าคงคลังที่เป็นส่วนสำคัญในการผลิตสินค้าสำเร็จรูป 2.สินค้าคงคลังระหว่างกระบวนการผลิต(work-in-process inventory) เป็น สินค้าคงคลังที่เกิดขึ้นหลังจากที่กระบวนการผลิตเริ่มต้นโดยการนำวัตถุดิบเข้าสู่ กระบวนการผลิตแล้วแต่ยังไม่เสร็จสิ้นครบถ้วนตามกระบวนที่ต้องการผลิตอยู่ใน ระหว่างกระบวนการผลิตเพื่อรอคอยการผลิตขั้นต่อไปเพื่อให้เป็นผลิตภัณฑ์นั้น สำเร็จรูป ประเภทของสินค้าคงคลังได้เป็น 4 ประเภท 3.สินค้าคงคลังประเภทเครื่องมือและชิ้นส่วนเพื่อนการซ่อมบำรุงและการ ซ่อมแซม(maintenance/repair/operating inventory) สินค้าคงคลังประเภทนี้ หมาย ถึง ชิ้นส่วนประกอบเครื่องมืออะไหล่และอุปกรณ์สำหรับการซ่อมบำรุงและซ่อมแซม เมื่อ สถานที่ทำการหรืออุปกรณ์ที่ใช้ช่วยลดกำลังผลิต เกิดความเสียหายหรือจำเป็นต้องซ่อม บำรุง จะได้สามารถซ่อมแซมได้ทันเวลาโดยไม่ทำให้กระบวนการผลิตสินค้าหยุดชะงัก 4.สินค้าคงคลังประเภทสินค้าสำเร็จรูป (finished goods inventory) เป็นสินค้าคงคลังที่ สมบูรณ์ พร้อมจะจำหน่ายให้กับลูกค้าอาจถูกเก็บอยู่ในคลังสินค้าก่อนที่จะส่งมอบให้กับลูกค้า

12 ตัวอย่าง ABC ผลรวม 377,000 50000X3.50 ผลรวมต้นทุน 323,150

ระบบจุดสั่งใหม่ (RE-ODER POINT SYSTEM) ROP

ร ะ บ บ จุ ด สั่ง ใ ห ม่ 14 (RE-ODER POINT SYSTEM) ROP จุดสั่งซื้อใหม่ ROP ในการจัดซื้อสินค้าคงคลังเวลาเป็นปัจจัยที่สำคัญอย่างยิ่งตัวหนึ่งโดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าระบบการควบคุมสินค้าคงคลังของ กิจการเป็นแบบต่อเนื่องจะสามารถกำหนดเวลาที่จะสั่งซื้อใหม่ได้เมื่อพบว่าสินค้าคงคลังลดเหลือระดับหนึ่งก็จะสั่งซื้อของมาใหม่ ในปริมาณคงที่เท่าปริมาณการสั่งซื้อที่กำหนดไว้หรือกำหนดช่วงเวลาในการสั่งคงที่เมื่อถึงเวลาสั่งก็สั่งซื้อของมาใหม่ให้เท่ากับที่ ถูกใช้ไป ประเภทของจุดสั่งซื้อใหม่ 1.ระบบปริมาณการสั่งคงที่ (Fixed Order Quantity, FOQ) 2. ระบบรอบเวลาการสั่งคงที่ (Fixed Order Period System,FOP) 1.ระบบปริมาณการสั่งคงที่ (Fixed Order Quantity, FOQ) ในการควบคุมพัสดุคงคลังมีปัจจัยที่ต้องพิจารณาดังต่อไปนี้ 1. ปริมาณการสั่งในแต่ละครั้ง, Q (หน่วย/ครั้ง) 2. อัตราการใช้หรือความต้องการโดยเฉลี่ย, (หน่วย/หน่วยเวลา) 3. ช่วงเวลาการนำโดยเฉลี่ย, (หน่วยเวลา) 4. ระดับสต๊อกปลอดภัย, (หน่วย) ในการหาจุดสั่งใหม่, ระดับสต๊อกปลอดภัย และระดับสต๊อกสูงสุดสามารถหาได้ 3 วิธีดังนี้ 1. วิธีหาค่าสูงสุดในอดีต 2. วิธีประสบการณ์ผู้บริหาร 3. วิธีทางสถิติ 1. วิธีหาค่าสูงสุดในอดีต เราจะใช้ข้อมูลของอัตราการใช้ในอดีตที่ผ่านมา มาทำการวิเคราะห์ โดยใช้ค่าสูงสุดของอัตราการใช้ต่อ หน่วยเวลาและช่วงเวลาในอดีตเป็นเกณฑ์ในการกำหนดระดับจุดสั่งซื้อใหม่เพื่อให้มั่นใจว่าจะไม่เกิดการขาดสต๊อก ขึ้นโดยในการวิเคราะห์หาจุดควบคุมต่างๆได้ดังนี้ ระดับจุดสั่งใหม่ = ระดับสต๊อกสูงสุด = ระดับสต๊อกปลอดภัย =

วิธีหาค่าสูงสุดในอดีต (ตัวอย่าง) 15 2. ระบบรอบเวลาการสั่งคงที่, FOP ลักษณะที่สำคัญของระบบนี้คือ จะมีการตรวจสอบระดับพัสดุคงคลังของแต่ละรายการตามกำหนคเวลามากกว่า การจะ ต้องตรวจสอบระดับพัสดุคงคลังอยู่ตลอดเวลาเช่นเดียวกับ F0Q ระบบนี้กำหนดตารางการส่งมอบทำได้ง่าย เนื่องมาจากได้ กำหนดขึ้นเป็นงานประจำที่แน่นอน โดยรอบเวลาหรือช่วงเวลาในการสั่งจะคงที่ แต่ปริมาณในการสั่งแต่ละครั้งอาจจะไม่เท่า กันขึ้นกับการใช้ในรอบการสั่งก่อนหน้า ดังนั้นในการควบคุมพัสดุคงคลัง จึงต้องให้ความสนใจกับ รอบเวลาการสั่ง ระดับสต๊อกสูงสุด ระดับสต๊อกปลอดภัย และ ปริมาณการสั่งในแต่ละรอบ ในการควบคุมพัสดุคงคลังมีปัจจัยที่ต้องพิ จารณาคังต่อไปนี้ 1.รอบเวลาการสั่ง, (เวลา) 2.อัตราการใช้หรือความต้องการโดยเฉลี่ย, (หน่วย/หน่วยเวลา) 3.ช่วงเวลาการนำโดยเฉลี่ย, (หน่วยเวลา) 4.ระดับสต๊อกปลอดภัย, (หน่วย) 5.ระดับพัสดุคงคลังในมือ, (หน่วย) 6.ระดับบริการ (เปอร์เซนต์) หรือค่า

ระดับสต๊อกปลอดภัย = 16 ระดับสต๊อกสูงสุด = ระดับพัสดุคงคลังเป้าหมาย = ปริมาณการสั่งในแต่ละรอบ = รอบเวลาการสั่งที่ประหยัด = ระบบรอบเวลาการสั่งคงที่, FOP (ตัวอย่าง) บริษัทเครื่องซักผ้า กรุงเทพ กำลังพิจราณานโยบายสั่งซื้อมอเตอร์ #A17 ที่ใช้ในการประกอบเครื่องซักผ้า โดย กำหนดระดับบริการไว้ที่ 95% โดยนโยบายให้รอบเวลาการสั่งคงที่ จากรอบที่ประหยัด และรวบรวมข้อมูลจากอดีตได้ ดังนี้ อัตราการใช้ต่อปี = 3,000 หน่วย ค่าใช้จ่ายในการถือครอง 35% ต่อปี ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ 1,000 บาท/ครั้ง ต้นทุนต่อหน่วย 1,000 บาท อัตราการใช้ 55 หน่วย/สัปดาห์ ช่วงเวลานำในการสั่งคงที่ = สัปดาห์ กำหนดให้ 1 ปี มี 52 สัปดาห์ หรือ 365 วัน ระบบรอบเวลาการสั่งคงที่, FOP (ตัวอย่าง) วิธีทำ หารอบเวลาที่ประหยัด = 0.0436 ปี , 2.27 สัปดาห์ หรือ 16 วัน หาสต๊อกปลอดภัย = = 60 unites ระบบรอบเวลาการสั่งคงที่, FOP (ตัวอย่าง) วิธีทำ หาระดับตำแหน่งพัสดุคงคลังเป้าหมาย (P) P = d(T+LT)+SS = 55(2.27+1)+60 = 240 units หาสต๊อกสูงสุด (M) = = (55x2.27)+60 = 185 units ปริมาณการสั่ง = d(T+LT)+SS-OH = 55(2.27+1)+60-0 = 240 units

Material Requirement Planning (MRP)

18 Material Requirement Planning (MRP) การวางแผนความต้องการวัสดุ (Material Requirement Planning) หรือที่เรียกย่อ ๆ ว่า MRP คือระบบสารสนเทศ ที่อาศัยคอมพิวเตอร์เพื่อการวางแผนจัดลำดับการใช้และควบคุมวัสดุที่ใช้ในการผลิตการทำงานของระบบ MRP จะอยู่ บนพื้นฐานของการแยกแยะองค์ประกอบของผลิตภัณฑ์ออกเป็นชิ้นส่วนต่างๆ ระบบ MRP สำหรับกระบวนการผลิต 1. ผลิตภัณฑ์ประกอบด้วยชิ้นส่วน และวัสดุนำมาประกอบกันขึ้นเป็ ผลิตภัณฑ์โดยมีลำดับขั้นตอนการ ประกอบที่แน่นอน 2. ผลิตภัณฑ์ประกอบด้วยชิ้นส่วน และวัสดุจำนวนที่แน่นอน 3. ความต้องการของวัสดุต่างๆมีความ แปรเปลี่ยนและมีลักษณะไม่ต่อเนื่อง ความต้องการวัสดุที่ขึ้นอยู่กับผลิตภัณฑ์ ความต้องการวัสดุอาจจำแนกได้เป็น 2 ประเภทคือ 1.ความต้องการที่ขึ้นอยู่กับวัสดุอื่น หมายถึงความต้องการที่ชิ้นส่วนหรือวัสดุขึ้นอยู่กับชิ้นส่วนหรือวัสดุอื่น เหมาะสำหรับ MRP 2.ความต้องการที่ไม่ขึ้นกับวัสดุ หมายถึงความต้องการที่ไม่ขึ้นกับวัสดุหรือผลิตภัณฑ์อื่นเหมาะสำหรับ EOQ วัตถุประสงค์ 1.ลดปริมาณสินค้าคงเหลือคือ MRP ทำให้สามารถกำหนดปริมาณความต้องการและเวลาที่ต้องการของวัสดุ 2.ลดเวลานําสำหรับการผลิตและส่งผลิตภัณฑ์ให้แก่ลูกค้า 3.สามารถส่งผลิตภัณฑ์ให้ลูกค้าตามที่กำหนด 4.เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต คือ ระบบ MRP สามารถกำหนดระดับและเมื่อรู้ถึงความต้องการของสินค้าคงเหลือที่ เหมาะสมและประหยัดผลิตภัณฑ์ที่ทำให้รู้ถึงปริมาณความต้องการวัสดุและชิ้นส่วนต่างๆที่ต้องการเท่าใด

ส่วนนำเข้าของระบบแบ่งได้ 3 ส่วนคือ 19 1. ส่วนนำเข้าหรืออินพุตประกอบด้วยรายการวัสดุซึ่งประกอบด้วย รายละเอียดความ ต้องการ วัสดุแต่ละประเภท แผน ลำดับการผลิตแม่บท 2. ส่วนประมวลผลข้อมูลเพื่อทำการประมวลผลและกำหนดปริมาณความต้องการสุทธิ สำหรับแต่ละช่วงเวลาที่วางแผน 3. ส่วนผลลัพธ์ประกอบด้วยรายงานต่างๆที่จำเป็นสำหรับการรายงานผลและการสั่งซื้อวัสดุ ส่วนประมวลผลของระบบ MRP ประกอบด้วยการนำผลิตภัณฑ์ที่ต้องการซึ่งกำหนดจากแผนลำดับการผลิตแม่บทมาแจกแจงให้เห็นถึงรายละเอียดของจำนวนชิ้น ส่วนต่างๆที่ต้องการ ณ เวลาต่างๆรายละเอียดการดำเนินการอาจแสดงได้ในลักษณะของแผนภูมิดังรูปซึ่งแผนภูมิดังกล่าวแสดงราย ละเอียดว่าจะต้องดำเนินการอะไรบ้าง ณ เวลาใดตามที่กำหนดเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปในเวลาที่กำหนดในแผนจากนั้นจึงมา คำนวณความต้องการรวมและนำมาคำนวณต่อให้เป็นความต้องการสุทธิของแต่ละชิ้นส่วนเวลาและจำนวนของชิ้นส่วนที่จะสั่งซื้อจะ ถูกกำหนดด้วยจำนวนสั่งตามแผนส่วนจำนวนและเวลาของชิ้นส่วนที่จะได้รับจะถูกกำหนดโดยจำนวนรับตามแผนสามารถ องค์ประกอบของระบบMRP

Vendor Managed Inventory (VMI)

21 VMI (Vender Management Inventory) VMI เป็นแนวคิดหนึ่งในการบริหารสินค้าคงคลัง คือให้ผู้จัดจำหน่ายเป็นผู้บริหารสินค้าคงคลังแทนลูกค้า โดยที่ผู้ผลิตหรือผู้จำหน่ายผลิตภัณฑ์จะเป็นผู้เข้ามาบริหารสต็อกในคลังสินค้า มีหน้าที่รับผิดชอบในการเติม สินค้าให้กับลูกค้า การให้ผู้ผลิตเป็นผู้ดำเนินการในการจัดเก็บและวางแผนในการส่งสินค้าทำให้ทราบยอด ผลิตภัณฑ์คงเหลือของลูกค้า และเป็นผู้ตัดสินใจในการเติมผลิตภัณฑ์ให้กับลูกค้า จะช่วยลดปัญหาการเก็บสะ สมของสต็อกสินค้าทั้งในส่วนของผู้ผลิตและศูนย์กระจายสินค้าของผู้ค้าปลีกด้วย สาเหตุที่องค์กรธุรกิจหันมาใช้ระบบ VMI เ นื่ อ ง จ า ก ธุ ร กิ จ ค้ า ป ลี ก ต้ อ ง บ ริ ห า ร ใ ห้ มี สิ น ค้ า พ ร้ อ ม ที่ จ ะ ข า ย เ มื่ อ ลู ก ค้ า ต้ อ ง ก า ร นั่ น ห ม า ย ถึ ง ผู้ ที่ ทำ ก า ร สั่ ง ซื้ อ ต้ อ ง มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร สั่ ง ซื้ อ ที่ มี ค ว า ม แ ม่ น ยำ สู ง คื อ สั่ ง ไ ป เ ท่ า ใ ด ก็ ไ ด้ ข ณ ะ เ ดี ย ว กั น ผู้ จั ด จำ ห น่ า ย ห รื อ ผู้ ผ ลิ ต ก็ ต้ อ ง ก า ร ข า ย ห รื อ ส่ ง สิ น ค้ า ต า ม จำ น ว น ที่ ไ ด้ รั บ คำ สั่ ง ซื้ อ โ ด ย ไ ม่ มี สิ น ค้ า เ ห ลื อ ค้ า ง ใ น มื อ จ น ม า ก เ กิ น ไ ป ซึ่ ง ใ น อ ดี ต จ า ก ก า ร ทำ ง า น แ บ บ วิ ธี ก า ร ที่ ต่ า ง ค น ต่ า ง ทำ นี้ จ ะ เ ห็ น ไ ด้ ว่ า ผู้ ค้ า ป ลี ก จ ะ ต้ อ ง ป ร ะ เ มิ น ก า ร สั่ ง ซื้ อ ใ ห้ กั บ ผู้ จั ด จำ ห น่ า ย จ า ก ย อ ด ก า ร เ บิ ก ข อ ง ร้ า น ค้ า ไ ป ที่ ศู น ย์ ก ร ะ จ า ย สิ น ค้ า เ พื่ อ ป ร ะ เ มิ น เ ป็ น ย อ ด สั่ ง ซื้ อ กั บ ผู้ จั ด จำ ห น่ า ย แ ล ะ ต้ อ ง มี ก า ร สำ ร อ ง สิ น ค้ า ไ ว้ ส่ ว น ห นึ่ ง เ พื่ อ กั น ค ว า ม ผิ ด พ ล า ด ส่ ว น ผู้ จั ด จำ ห น่ า ย เ อ ง ก็ มี ก า ร สำ ร อ ง สิ น ค้ า ไ ว้ อี ก ส่ ว น ห นึ่ ง สำ ห รั บ บ ริ ก า ร ลู ก ค้ า ข อ ง ต น แ ล ะ ผู้ ผ ลิ ต เ อ ง ก็ ต้ อ ง มี ก า ร สำ ร อ ง สิ น ค้ า ไ ว้ ใ ห้ กั บ ผู้ จั ด จำ ห น่ า ย เ ห มื อ น กั น ดั ง นั้ น ก า ร ค า ด ค ะ เ น จ า ก ก า ร สั่ ง สิ น ค้ า ข อ ง ทุ ก ฝ่ า ย นั้ น ซึ่ ง จ ะ ใ ช้ ก า ร ป ร ะ ม า ณ ก า ร ห รื อ ส่ ว น ใ ห ญ่ จ ะ ใ ช้ ค ว า ม รู้ สึ ก ต น เ อ ง เ ป็ น เ ก ณ ฑ์ แ ท น ที่ จ ะ ใ ช้ ข้ อ มู ล ก า ร ข า ย แ ล ะ ไ ม่ มี ก า ร ห า รื อ ร ะ ห ว่ า ง คู่ ค้ า ทั้ ง ใ น เ รื่ อ ง ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร สำ ร อ ง สิ น ค้ า ซึ่ ง ส่ ว น ม า ก มั ก จ ะ ไ ม่ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง ลู ก ค้ า อั น เ นื่ อ ง จ า ก พ ฤ ติ ก ร ร ม ก า ร ซื้ อ ข อ ง ลู ก ค้ า ที่ มี ห ล า ย ปั จ จั ย อ า ทิ เ ช่ น ฤ ดู ก า ล ค ว า ม นิ ย ม เ ป็ น ต้ น ประโยชน์ที่ได้รับจากการใช้ VMI สามารถแบ่งแยกได้ดังนี้ 1.ป้องกันการเกิดสินค้าขาดและสูญเสียยอดขาย 2.เพิ่มความพึงพอใจให้แก่ลูกค้า 3.ลดปริมาณสินค้าหรือระดับสินค้าคงคลังค่าใช้จ่ายในการเก็บและเพิ่ม ทุนหมุนเวียน 4.ย้ายความรับผิดชอบการสั่งซื้อไปให้ผู้ผลิตทำแทน

22 VMI เป็นป็ กระบวนการเติมเต็มสินค้าแบบย้อนกลับซึ่ง เชื่ อชื่ มโยงกันผ่าผ่านระบบคอมพิวพิเตอร์ ระหว่างคู่ ค้าในซัพซัพลายเชน โดยจะทำการวางแผนการเติมเต็มซึ่งซึ่งจะถูกคำนวณจากข้อข้อมูล ความต้องการแบบทันท่วงที (Real-Time) ที่แลกเปลี่ยน (Sharing) ระหว่างกัน กรณีศึณีศึกษาบริษัท TESCOLOTUS ระบบ VMI ของ TESCOLOTUS V M I ข อ ง T E S C O L O T U S นั้ น เ ป็น ก า ร ล ง ทุ น เ พี ย ง ฝ่า ย เ ดี ย ว ที่ ไ ม่ ไ ด้ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ภ า ย น อ ก ส า เ ห ตุ ห นึ่ ง นั้ น ม า จ า ก ก า ร ที่ ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ล ง ทุ น ส่ ว น ใ ห ญ่ ทำ ใ ห้ มี อำ น า จ แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร ด้ ว ย ต น เ อ ง ทำ ใ ห้ มี อิส ร ะ แ ล ะ ส า ม า ร ถ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง สิ่ ง ต่ า ง ๆ ไ ด้ แ ล ะ T E S C O L O T U S มี อำ น า จ เ ห นื อ ก า ร เ จ ร จ า ต่ อ บ ริษั ท คู่ ค้ า เ อ ง ทำ ใ ห้ ก า ร ทำ ง า น มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ม า ก ขึ้ น ก ล่ า ว คื อ ส า ม า ร ถ กำ ห น ด ใ ห้ คู่ ค้ า ห รือ S u p p l y C h a i n ทำ ต า ม ที่ บ ริษั ท กำ ห น ด เ อ ง ทำ ใ ห้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ เ ป้า ห ม า ย แ ล ะ ร ะ บ บ ที่ ว า ง ไ ว้ อีก ทั้ ง ก า ร ว า ง ร ะ บ บ ก็ ย่ อ ม เ ป็น ไ ป ไ ด้ โ ด ย ง่ า ย ด้ ว ย

เทคโนโลยีสินค้าคงคลัง บาร์โค้ด และ RFID

24 เทคโนโลยีสินค้าคงคลัง บาร์โค้ด และ RFID RFID คืออะไร RFID ย่อมาจาก Radio Frequency Identification เป็น ระบบระบุลักษณะของวัตถุด้วยคลื่นความถี่วิทยุ ที่ได้ถูกพัฒนา มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อนำไปใช้งาน แทนระบบบาร์โค้ด (Barcode) โดยจุดเด่นของ RFID อยู่ที่ การอ่านข้อมูลจากแท็ก (Tag) ได้หลายๆ แท็กแบบไร้สัมผัสและ สามารถอ่านค่าได้แม้ในสภาพที่ทัศนวิสัยไม่ดีทน ต่อความเปียกชื้น แรงสั่นสะเทือน การกระทบกระแทก สามารถอ่านข้อมูลได้ ด้วยความเร็วสูง โดยข้อมูลจะถูก เก็บไว้ในไมโครชิปที่อยู่ในแท็ก ในปัจจุบันได้มีการนำ RFID ไปประยุกต์ใช้งานในด้านอื่นๆ ในระบบ RFID จะมีองค์ประกอบหลักๆ อยู่2 ทรานสปอนเดอร์หรือแท็ก(Transponder/Tag) เครื่องสำหรับอ่าน/เขียนข้อมูลภายในแท็ก(Interrogator/Reader) แท็ก (Tag) โครงสร้างภายในของแท็กจะประกอบด้วย 2 ส่วนใหญ่ๆ ได้แก่ สายอากาศ (Antenna) ไมโครชิป (Microchip) โดยทั่วไปตัวแท็กอาจอยู่ในชนิดทั้งเป็นกระดาษ แผ่นฟิล์ม พลาสติก มีขนาดและรูปร่างต่างๆ กันไป ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับวัสดุที่จะนำเอาไปติด และมีหลายรูปแบบ เช่น ขนาดเท่าบัตร เครดิต เหรียญ กระดุม ฉลากสินค้า แคปซูล เป็นต้น เครื่องอ่าน (Reader) โดยหน้าที่ของเครื่องอ่านก็คือ การเชื่อมต่อเพื่อ เขียนหรืออ่านข้อมูลลงในแท็กด้วยจำพวกไมโครคอนโทรลเลอร์และสวน ของการติดต่อกับคอมพิวเตอร์่ โดยทั่วไปเครื่องอ่านจะประกอบด้วยส่วนประกอบหลักแสดงโครงสร้าง ภายในเครื่องอ่าน • ภาครับและส่งสัญญาณวิทยุ • ภาคสร้างสัญญาณพาหะ • ขดลวดที่ทำหน้าที่เป็นสายอากาศ • วงจรจูนสัญญาณ • หน่วยประมวลผลข้อมูล และภาคติดต่อกับคอมพิวเตอร์ ในการรับส่งข้อมูลหรือสัญญาณวิทยุระหว่างแท็กกับเครื่องอ่านจะทำ ได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อเมื่อสายอากาศมีความยาวที่ เหมาะสมกับความถี่ พาหะที่ใช้งาน เช่น เมื่อความถี่ใช้งานเป็น 13.56 เมกะเฮิรตซ์ความยาว ของเสาอากาศ (เป็นเส้นตรง) ที่เหมาะสมก็ คือ 22.12 เมตร แน่นอน ว่าในทางปฏิบัติเราคงไม่สามารถนำเสาอากาศที่ใหญ่ขนาดนั้นมาใช้งานกับ แท็กขนาดเล็กของเราได้สาย อากาศที่ดูเหมาะจะใช้ร่วมกับแท็กมากที่สุด ก็คือสายอากาศที่เป็นขดลวดขนาดเล็ก หรือที่มีชื่ออย่างเป็นทางการว่าสาย อากาศแบบ แมกเนติกไดโพล (magnetic dipole antenna) รูปแบบของ สายอากาศแบบนี้ก็จะมีอยู่หลากหลาย ทั้งแบบที่เป็นขดลวดพันบนแกน อากาศ หรือแกนเฟอร์ไรต์แบบที่เป็นวงลูปที่ทำขึ้นจากลายทองแดง บนแผ่นวงจรพิมพ์

คลื่นพาหะในระบบ RFID 25 ในปัจจุบันคลื่นพาหะที่ใช้งานกันในระบบ RFID จะอยู่ ในย่านความถี่ISM (Industrial-Scientific-Medical) ซึ่งเป็น ย่านความถี่ที่กำหนดการใช้งานในเชิงอุตสาหกรรม วิทยาศาสตร์ และการแพทย์สามารถใช้งานได้โดยไม่ตรงกับย่าน ความถี่ ที่ใช้งานในการสื่อสารทั่วไป สำหรับคลื่นพาหะที่ใช้กันในระบบ RFID อาจแบ่งออกได้เปน็ 3 ย่านความถี่ใช้งาน หลัก ได้แก่ •ย่านความถี่ต่ำ (Low Frequency: LH)ต่ำกว่า 150 kHz •ย่านความถี่สูง (High Frequency: HF)13.56 MHz ตัวอย่างการใช้งาน RFID •ระบบตั๋วอิเล็กทรอนิกส์(e-ticket) เช่น บัตรทางด่วน บัตรรถไฟฟ้าใต้ดิน •ระบบหนังสือเดินทางอิเล็กทรอนิกส์(e-Passport) ที่ทางประเทศสหรัฐกำลังกำหนดมาตรฐานการเข้าออก ของประเทศของ เค้า เพื่อป้องกันผู้ก่อการร้าย รวมไปถึง e-Citizen ด้วย •ระบบกุญแจอิเล็กทรอนิกส์(immobilizer) ในรถยนต์ ป้องกันกุญแจผีในการขโมยรถยนต์หรือ พวก Keyless ในรถยนต์ราคา แพงบางรุ่นก็เริ่มนำมาใช้งานแล้ว •ระบบห้องสมุดดิจิทัล (e-Library) ในการยืมคืน อัตโนมัติทำให้ผู้ใช้บริการได้รวดเร็วและสะดวก-สบายยิ่งขึ้น

บาร์โค้ด 26 บาร์โค้ด(barcode) หรือในภาษาไทยเรียกว่า “รหัสแท่ง” ประกอบด้วยเส้นมืด(มักจะเป็นสีดำ) และเส้นสว่าง(มักเป็นสี ขาว)วางเรียงกันเป็นแนวดิ่ง เป็นรหัสแทนตัวเลขและตัวอักษร ใช้เพื่ออำนวยความสะดวกให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถอ่าน รหัสข้อมูลได้ง่ายขึ้น บาร์โค้ดจะถูกอ่านด้วยเครื่องสแกนเนอร์ บันทึกข้อมูลเข้าไปเก็บในคอมพิวเตอร์โดยตรงไม่ต้องกดปุ่มที่แท่นพิมพ์ ทำให้มี ความสะดวก รวดเร็วในการทำงานรวมถึงอ่านข้อมูลได้อย่างถูกต้องแม่นยำ เชื่อถือได้ ประเภทของบาร์โค้ด บาร์โค้ด 1 มิติมีลักษณะเป็นแถบประกอบด้วยเส้นสีดำสลับกับเส้นสีขาว ใช้แทนรหัสตัวเลขหรือตัวอักษรโดยสามารถบรรจุข้อมูล ได้ประมาณ 20 ตัวอักษร การใช้งานบาร์โค้ดมักใช้ร่วมกับฐานข้อมูลคือเมื่ออ่านบาร์โค้ดและถอดรหัสแล้วจึงนำรหัสที่ได้ใช้เรียกข้อมูล จากฐานข้อมูลอีกต่อหนึ่ง บาร์โค้ด 2 มิติเป็นเทคโนโลยีที่พัฒนาเพิ่มเติมจากบาร์โค้ด 1 มิติ โดยออกแบบให้บรรจุได้ทั้งในแนวตั้งและแนวนอน [1] ทำให้ สามารถบรรจุข้อมูลมากได้ประมาณ 4,000 ตัวอักษรหรือประมาณ 200 เท่าของบาร์โค้ด 1 มิติในพื้นที่เท่ากันหรือเล็กกว่า ข้อมูลที่ บรรจุสามารถใช้ภาษาอื่นนอกจากภาษาอังกฤษได้ บาร์โค้ด 3 มิติเป็นเทคโนโลยีที่พัฒนาเพิ่มเติมจากบาร์โค้ด 2 มิติเพื่อบาร์โค้ดติดบนวัตถุได้นาน ทนต่อสภาพสิ่งแวดล้อม โดย การยิงเลเซอร์ หรือทำการสลักตัวบาร์โค้ดลงไปบนเนื้อวัตถุโดยตรง ทำให้บาร์โค้ดมีลักษณะสูงหรือต่ำกว่าพื้นผิวขึ้นมา โดยเราจะพบ ลักษณะบาร์โค้ดดังกล่าว ในกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ เครื่องมือแพทย์ แผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ตัวอย่างบาร์โค้ด 3 มิติ

Kanban

28 Kanban Kanban คือ ระบบควบคุมการผลิตด้วยการใช้บัตร Kanban (บัตรคัมบัง) เพื่อสื่อสารและควบคุมให้เกิดการผลิตสินค้าก็ต่อเมื่อมีคำสั่งซื้อเกิดขึ้นเท่านั้น ด้วยการใช้ ระบบ Kanban สื่อสารไปหากระบวนการผลิตขั้นตอนก่อนหน้า เพื่อบอกว่าต้องการชิ้นส่วนหรือวัตถุดิบจำนวนเท่าไหร่ ระบบ LEAN แรกเริ่มเดิมทีลีนนั้นกำเนิดมาจากแนวคิดในการเปลี่ยนชิ้นส่วนเพื่อลดต้นทุนการเปลี่ยนอุปกรณ์ของ Eli Whitney ซึ่งเห็นผลได้ชัดเจนจากสัญญาซื้อขายปืนคาบศิลาของเขากับกองทัพสหรัฐอเมริกาในปีค.ศ. 1799 ด้วยจำนวน 10,000 กระบอก ด้วยราคาที่ถูกอย่างไม่น่าเชื่อในราคาเพียงกระบอกละ 13.40 ดอลลาร์สหรัฐฯ ประโยชน์ของการผลิตแบบลีน LEAN 1. การประหยัดค่าใช้จ่าย แบบตรงไปตรงมา 2. สร้างมาตรฐานและลดความเสี่ยง 3. ทำระบบที่สามารถจ้างพนักงานได้ง่ายขึ้น 4. หมดปัญหาสินค้าคงคลัง 5. ผลิตได้เร็ว ขายได้เร็ว ส่งของได้เร็ว 6. สร้างจุดขายที่คู่แข่งลอกได้ยาก 7. เงินสนับสนุนจากรัฐบาล 8. ความพึงพอใจของพนักงาน

29 ระบบลีน (LEAN) ลดต้นทุนอย่างไร? ระบบลีนนั้นเกี่ยวกับการลดความสูญเปล่าในกระบวนการผลิตในโรงงาน ซึ่งส่งผลต่อการลดต้นทุน ทำให้ผลกำไร เพิ่มขึ้น โดยความสูญเปล่า ณ ที่นี้ มีด้วยกันทั้งหมด 7 อย่างด้วยกัน หรือที่เรียกว่า 7 waste ได้แก่ ความสูญเสียจากการผลิตมากเกินไป (Over Production Waste) ความสูญเสียเนื่องจากการเก็บวัสดุคงคลัง (Inventory) ความสูญเสียเนื่องจากการขนส่ง (Transporation) 7 waste ความสูญเสียเนื่องจากการ เคลื่อนไหว (Motion) ความสูญเสียเนื่องจากกระบวนการ ผลิต (Processing) ความสูญเสียเนื่องจากการรอคอย (Delay) ความสูญเสียเนื่องจากการผลิตของเสีย (Defect)

30 จากแผนภาพเดิม มาถึงตรงนี้เรา ได้สิ่งที่ต้องการครบแล้ว หลังจากนี้คือ ขั้นตอนของการผลิต ประโยชน์ของ ระบบ Kanban สำหรับประโยชน์หลักอย่างที่รู้กันดีของ Kanban คือ การลดความสูญเปล่าจากกระบวนการผลิตเกินจำเป็นและการเก็บสินค้า คงคลังที่นำไปสู่ต้นทุนจากการเก็บรักษา รวมถึงความเสี่ยงในการกลายเป็นสินค้าล้าสมัยแต่จริงๆแล้วระบบ Kanban ไม่ได้มีจะมี ประโยชน์เพียงเท่านี้มาดูกันว่าประโยชน์ของ Kanban หรือ คัมบังมีอะไรบ้าง 3.ลดปัญหาการจัดส่งวัตถุติบล่าช้าของ Supplier เพราะการผลิตที่ใช้ระบบ Kanban จะเป็นกระบวนการ ผลิตมีความสม่ำเสมอ ทำให้มีเวลาที่แน่นอนในการส่ง วัตถุดิบ 2.ลดความผิดพลาดในการผลิต เพราะวัตฤดิบที่ได้มาจะได้มาพอดีกับที่ต้องใช้ ทำให้ไม่เกิดความผิดพลาดในการประกอบเกินหรือขาด 1.ปรับปรุงการไหลเวียนขอวัตถุดิบ การใช้ระบบ Kanban ทำให้เกิดการส่งวัตถุดิบไปหาหน่วยงาน ที่ทำการผลิตโดยตรง ด้วยจำนวนที่ต้องการในเวลาที่ต้องการ ทำให้ไลน์การไม่เต็มไปด้วยวัตถุดิบรอการ ผลิต

ค ณ ะ ผู้ จั ด ทำ ป ร ะ วั ติ อ า จ า ร ย์ ที่ ป รึ ก ษ า แ ล ะ ค ณ ะ ผู้ จั ด ทำ วิ ช า ก า ร จั ด ก า ร สิ น ค้ า ค ง ค ลั ง

ป ร ะ วั ติ ชื่ อ - ส กุ ล อ า จ า ร ย์ จิ ร า ว ร ร ณ จั น ท ร์ สุ ว ร ร ณ ตำ แ ห น่ ง อ า จ า ร ย์ ก า ร ศึ ก ษ า ว ศ ม . ( วิ ศ ว ก ร ร ม ม ห า บั ณ ฑิ ต ) ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ง ข ล า น ะ น ค ริ น ท ร์ บ ธ . บ ก า ร จั ด ก า ร โ ล จิ ส ติ ก ส์ แ ล ะ โ ซ่ อุ ป ท า น ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ง ข ล า น ค ริ น ท ร์ อี เ ม ล - วิ ช า ก า ร จั ด ก า ร สิ น ค้ า ค ง ค ลั ง

ป ร ะ วั ติ ชื่อ-สกุล นายชาญ​ณรงค์​ ผ่อง​สะอาด​ รหัสนักศึกษา 163205080005 กำลังศึกษา สาขาการจัดการอุตสาหกรรม อีเมล [email protected]​ วิ ช า ก า ร จั ด ก า ร สิ น ค้ า ค ง ค ลั ง

ป ร ะ วั ติ ชื่อ-สกุล นายธันชลิต หลุ๊ดหล๊ะ รหัสนักศึกษา 163205080010 กำลังศึกษา สาขาการจัดการอุตสาหกรรม อีเมล [email protected]​ วิ ช า ก า ร จั ด ก า ร สิ น ค้ า ค ง ค ลั ง

ป ร ะ วั ติ ชื่อ-สกุล นายพชรพงศ์ ลอยเลื่อน รหัสนักศึกษา 163205080015 กำลังศึกษา สาขาการจัดการอุตสาหกรรม อีเมล [email protected]​ วิ ช า ก า ร จั ด ก า ร สิ น ค้ า ค ง ค ลั ง

ป ร ะ วั ติ ชื่อ-สกุล นางสาวณัฐวดี อุไรรัตน์ รหัสนักศึกษา 163205080031 กำลังศึกษา สาขาการจัดการอุตสาหกรรม อีเมล [email protected]​ วิ ช า ก า ร จั ด ก า ร สิ น ค้ า ค ง ค ลั ง

ป ร ะ วั ติ ชื่อ-สกุล นายณัฐวุฒิ ท องเนื้อแข็ง รหัสนักศึกษา 163205080032 กำลังศึกษา สาขาการจัดการอุตสาหกรรม อีเมล [email protected]​ วิ ช า ก า ร จั ด ก า ร สิ น ค้ า ค ง ค ลั ง

ป ร ะ วั ติ ชื่อ-สกุล นายทัตพงศ์ พ รหมจันทร์ รหัสนักศึกษา 163205080033 กำลังศึกษา สาขาการจัดการอุตสาหกรรม อีเมล [email protected]​ วิ ช า ก า ร จั ด ก า ร สิ น ค้ า ค ง ค ลั ง

ป ร ะ วั ติ ชื่อ-สกุล นางสาวนูรีดา เปาะเต๊ะ รหัสนักศึกษา 163205080037 กำลังศึกษา สาขาการจัดการอุตสาหกรรม อีเมล [email protected]​ วิ ช า ก า ร จั ด ก า ร สิ น ค้ า ค ง ค ลั ง

ป ร ะ วั ติ ชื่อ-สกุล นายภควัต ชู เย็น รหัสนักศึกษา 163205080040 กำลังศึกษา สาขาการจัดการอุตสาหกรรม อีเมล [email protected]​ วิ ช า ก า ร จั ด ก า ร สิ น ค้ า ค ง ค ลั ง

ป ร ะ วั ติ ชื่อ-สกุล นางสาวรสริน ศ รีสุวรรณ รหัสนักศึกษา 163205080044 กำลังศึกษา สาขาการจัดการอุตสาหกรรม อีเมล [email protected]​ วิ ช า ก า ร จั ด ก า ร สิ น ค้ า ค ง ค ลั ง

ป ร ะ วั ติ ชื่อ-สกุล นายเนตินนท์ มีสุข รหัสนักศึกษา 163205080061 กำลังศึกษา สาขาการจัดการอุตสาหกรรม อีเมล [email protected]​ วิ ช า ก า ร จั ด ก า ร สิ น ค้ า ค ง ค ลั ง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook