Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทความ อจ.พล.อ.ต.ดร.นภัทร์ แก้วนาค วิทยปรัชญาเชิงพุทธ องค์ความรู้การเข้าถึง

บทความ อจ.พล.อ.ต.ดร.นภัทร์ แก้วนาค วิทยปรัชญาเชิงพุทธ องค์ความรู้การเข้าถึง

Published by kanokrat sudiapa, 2021-11-04 08:06:31

Description: บทความ อจ.นภัทร์ แก้วนาค วิทยปรัชญาเชิงพุทธ องค์ความรู้การเข้าถึง

Search

Read the Text Version

วิทยปรชั ญาเชงิ พทุ ธ : องค์ความร้กู ารเข้าถงึ ปญั ญาเพ่อื การจดั การทางสงั คม The Buddhist Philosophy Methodology ; The body of knowledge to wisdom access for social management น.อ.ดร.นภัทร แกว้ นาค นักวจิ ัยแห่งชาติ ณ สภาวิจยั แห่งชาติ บทคดั ย่อ “องค์ความรู้การเข้าถึงปัญญาจากวิทยปรัชญาเชิงพุทธ มีความสำคัญอย่างหนึ่งต่อการ ไดม้ า ซึ่งชุดความรเู้ หนอื ความเป็นศาสตร์เปน็ ความความจริงเหนือสมมติ” โดยคุณลักษณะเชงิ ปรัชญาของความเป็นองค์ความรจู้ กั ประกอบด้วยสาระสำคัญ ๔ ประการ ๑. คุณลกั ษณะเชงิ ปรัชญาของความเปน็ องค์ความรู้ ๒. วธิ กี ารเข้าถึงองคค์ วามรู้ ๓. คณุ ค่าของความรู้ ๔. การประยุกตใ์ ช้ความรู้ วิทยปรัชญาเชิงพทุ ธการสร้างองค์ความรู้จะไดค้ วามสำคญั กับกระบวนการ ๔ ขน้ั ตอน คอื ๑. การรับรูข้ ้อเทจ็ จรงิ ด้วยสติ ๒. การวิเคราะห์ตรรกะ ความรู้ดว้ ยเหตุผล ๓. การสังเคราะห์ความรู้เชิงระบบ ๔. การสรุปและตคี วามเชงิ บรู ณาการ ลำดับขั้นตอนดังกล่าวเป็นวิทยวิธีการแสวงหาความรู้อย่างเป็นระบบ ผ่านวงจรการสร้าง ความรู้ด้วยวิธีแห่งศรัทธาและวิถีแห่งปัญญาอย่างสอดคล้องกัน วิถีแห่งศรัทธาเป็นแนวทางของปร

๒ โตโฆสะ และวิถีแห่งปัญญาเป็นแนวทางของโยนิโสมนสิการอันจะนำมาซ่ึงชุดความรู้เชิงสัจจะที่มี ระดับความจริงเข้มแข็งไม่แปรเปลีย่ นตามสภาพแวดล้อมเปน็ โลกตุ รปญั ญา คุณค่าของการศึกษาวทิ ยปรัชญาเชิงพทุ ธทส่ี ำคัญ ๔ ประการ คือ ๑. เพือ่ การเข้าถงึ กระบวนการสร้างความรเู้ ชงิ พุทธ ๒. เพอ่ื เปน็ แนวทางการสร้างความรู้เชิงพุทธ ๓. เพื่อการเรียนรู้เชิงบรู ณาการวิชาการสมยั ใหมก่ ับชุดความรเู้ ชิงปัญญาทางธรรม ๔. การใช้องคค์ วามร้เู ชิงพทุ ธเพ่อื ๔.๑ การพัฒนาคน ๔.๒ การพฒั นาสงั คม ๔.๓ การสร้างคนดสี ้กู ารแกป้ ญั หาสังคม โดยการประยกุ ตใ์ ช้หลกั สมั มาทิฎิฐิเพียง ๖ ประการ คือ ๑. การคดิ ชอบ ๒. การเหน็ ชอบ ๓. การเจราชอบ ๔. การมีสตชิ อบ ๕. การกระทำชอบ ๖. การตง้ั ใจชอบ Abstract Main Concept The body of knowledge to wisdom access and constriction from Buddhist Philosophy Methodology, for The reality, beyond assumption The four factors of the body of Knowledge, by The concept of The four factors Model, is 1. What is the characteristic of knowledge ? 2. How to access, That knowledge ?

๓ 3. What is the Value of that Knowledge ? 4. What is it’s application ? The example, The human life requirement, on Maslow’s Theory, its structure factors, as The below diagram. S elf Actualization S elf E steem Need Belonging Need S afety Need Basic Need From The diagram, it mean That, This Theory, The body of Knowledge have fine factors, from life survival of life Value ; by five step ; Cower to upper.

๔ The Buddhist philosophy methodology concern to 3 approach of the Philosophy Method ; the realism ; Pragmatism, and mentalism by the four process of perception with mind fullness ; the information analysis. With the logical approach and then to knowledge synthesis step ; The last step is the conclusion and interpretation, The Knowledge circle, based on the faithfully method ; for good perception any things around the body, and wisdom method, by wisdom thinking and access to the knowledge with free from want, and free from misleading by the emotional The Value of Buddhist Philosophy Methodology, for four to pies : are 1. To the Buddhist process. For the knowledge access 2. To the Buddhist process. For the knowledge Construct. 3. The integration learning Process. With the modern academic and for Darhma wisdom knowledge. 4. The Buddhist knowledge implementation for 4.1 Human development 4.2 Social development 4.3 For good human to solve social problem. The conclusion The higher wisdom construct, come from, good learning perception, good learning process and good. Application to used, The knowledge the four good attribute of knowledge are about, The Characteristic, The accessing process, The knowledge value and the application method, it make the methodology to knowledge Synthesing and the body of knowledge. Which human belief and Social accepted, for learning social problem solving and social Development, Which systematic approach, strong powerful and sustainable.

๕ ความนำ แนวคดิ หลัก \"องค์ความรู้การเข้าถึงปัญญาจากวิทยปรัชญาเชิงพุทธ มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการ ไดม้ าซึง่ ชดุ ความรูเ้ หนอื ความเป็นศาสตร์เปน็ ความจริงเหนอื สมมต\"ิ นยิ ามพืน้ ฐาน : ปรัชญาเชงิ พุทธ \"เป็นการแสวงหาความรู้ โดยอาศัยหลักปรโตโฆสะและโยนิโสมนสิการ เป็นหลักการ สร้างองคค์ วามรูท้ ่ีกำกบั ด้วยสติและปัญญา เกิดความรูท้ ี่เห็นประจักษจ์ ากกระบวนการเรียนรู้และการ ฝึกฝนท่ีรอบคอบและแยบยล (สุรพงษ์ โสธนะเสถียร,๒๕๒๔) ขอบเขตขององค์ความรู้เชิงปรัชญา โดยนัยสำคัญของการเรียนรู้แล้ว พระพุทธศาสนามีลักษณะเป็นปฏิบัตินิยม (Pragmatism) (ระวศิน อินทส, ๒๕๔๘) เม่ือเกิดผลลัพธ์การเรียนรู้ เพื่อการสร้างปัญญาแลว้ องค์ความรู้น้ัน ควรมีคุณลักษณะ เชิงปรชั ญาท่ีสำคัญ ๔ รปู แบบ : CACA Model ดังน้ี แผนภาพที่ ๑ : คณุ ลกั ษณะสำคัญ ๔ รูปแบบ ของความเป็นองค์ความรู้

๖ จากแผนภาพข้างต้นส่ือความหมายได้ว่า คุณลักษณะของผลลัพธ์การแสวงหาความรู้ การสร้างชุดความคิด หรือการผลิตองค์ความรู้เชิงปรัชญาที่เป็นบทสรุปของความรู้ในรูปแบบจำลอง ไดอะแกรมหรือชุดคำอธิบายปรากฏการณ์ตา่ งๆ ทางสังคมทเี่ รยี กว่าข้อเสนอเชิงทฤษฎี (Proposition) ควรมีสาระสำคัญและองค์ประกอบต่างๆ ดังน้ี คณุ สมบัตหิ รือคุณลักษณะองคค์ วามรู้นัน้ เป็นอยา่ งไร สาระสำคัญในประเด็นน้ีจะตอบคำถามว่า \"อะไรคือคณุ ลักษณะความเป็นองค์ความรู้\" ท่ีชัดเจนและ คุณลักษณะสำคัญนั้น มีองค์ประกอบอะไร แต่ละองค์ประกอบเหล่านั้นมีความสัมพันธ์กันอย่างไร ตัวอย่างเช่น องค์ความรู้จากทฤษฎีระดับความต้องการ ๕ ระดับ ของมนุษย์ของ Maslow มีโครงสรา้ งของทฤษฎีองคป์ ระกอบสำคญั และความสมั พนั ธ์แตล่ ะองคป์ ระกอบโดยสรุป ดงั น้ี ๕ Self Actualization ๔ Self Esteem Need ๓ Belonging Need ๒ Safety Need ๔ Basic Need แผนภาพท่ี ๒ : แบบจำลองระดบั ความต้องการของมนุษย์จากทฤษฎขี องมาสโลว์ จากแผนภาพอธิบายได้ว่า โครงสร้างของเนื้อหาสาระสำคัญขององค์ความรู้ทฤษฎีระดับ ความต้องการของมนุษย์ มีองค์ประกอบหลัก ๕ ระดับ แต่ละระดับมีความสัมพันธ์กันคือ มนุษย์จะมี ความต้องการส่ิงที่มุ่งหวัง จากการดำรงชีวิตรอดสู่ความสำเร็จ เชิงคุณคา่ ของการมชี ีวิตหรือจากความ

๗ คาดหวังเชิงรูปธรรมสู่ความสำเร็จท่ีเป็นนามธรรม และสรุปว่ามนุษย์มีความต้องการไม่มีที่สิ้นสุด \"องค์ความร\"ู้ นั้นมีวธิ ีการเขา้ ถงึ ได้อย่างไร ความหมายของคำว่า \"วิธีการเข้าถึงความรู้\" ส่ือความใน ๒ นัย คือ จะมีวิธีการสร้าง ความรู้ความรู้น้ันได้อย่างไรและจะมีวิธีการทำความเข้าใจ หรือเรียนรู้องค์ความรู้น้ันได้อย่างไร อาจ ด้วยแนวทางของทฤษฎีประจักษ์นิยม ทฤษฎีปฏิบัตินิยม หรือทฤษฎีเหตุผลนิยม แนวทางใดแนวทาง หนึ่งท่ีจะทำให้เข้าถึงความรู้ เข้าใจความรู้ หรือสร้างองค์ความรู้ของทฤษฎีใหม่ได้ วิธีการได้มาซึ่ง ความรู้ที่ดีจะทำให้เกิดองค์ความรู้ท่ีสร้างระบบความเชื่อของบุคคล และระบบความเชื่อของสังคมใน ระดับมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับคุณภาพของวิธีการเข้าถึงองค์ความรู้ที่เข้มแข็งและเป็นระบบ ตาม แผนภาพต่อไปนี้ วทิ ยปรัชญาเชิงพทุ ธ : การสร้างองคค์ วามรู้ แผนภาพท่ี ๓ : ความสัมพนั ธ์ของระบบความรู้กบั ระบบความเชอ่ื ในระดับบุคคลและ

๘ ความเชือ่ ระดับสงั คม จากแผนภาพอธิบายได้ว่า วิทยปรัชญาเชิงพุทธ : การสร้างองค์ความรู้ เร่ิมต้นจาก การศึกษาแนวคิดการสร้างองค์ความรู้โดยเฉพาะแนวคิดจิตนิยมเป็นการเรยี นรู้ โดยมุ่งเน้นการเรียนรู้ ทางจิต แนวคิดสัจจนิยมเรยี นรู้ด้วยความจริง ด้วยกระบวนการท่ีพิสูจน์ความจริง และการสร้างความ จริงอย่างมีเหตุผล รวมถึงการเรียนรู้ผ่านกระบวนการของแนวคิดปฏิบัตินิยมแสวงหาความจริงและ สร้างองค์ความรูจ้ ากการมุ่งเน้นการปฏิบัติให้เกิดการเรียนรู้ ซึ่งโดยรวมแลว้ วิทยวิธีการแสวงหาความรู้ ทกุ แนวคิดตอ้ งผ่านกระบวนการสำคัญ คอื ๒๓ ๔ แผนภาพท่ี ๔ : วทิ ยวธิ กี ารแสวงหาความรอู้ ยา่ งเป็นระบบ ชุดความคิดที่เข้มแข็งหรือองค์ความรู้ท่ีชัดเจนก่อให้เกิดระบบความเชื่อกับข้อเสนอเชิ ง ทฤษฎีเหล่าน้ัน ทั้งความเช่ือระดับบุคคลและระดับความเช่ือของสังคม หากเป็นความเชื่อท่ีเกิดจาก ปัญญาก็จะนำไปสู่การมีเคร่ืองมอื ในการแก้ปัญหาของการจดั การในสงั คมได้อย่างเหมาะสม

๙ วงจรความรู้ด้วยวิถีแห่งศรัทธาและวถิ แี ห่งปัญญา กรอบแนวคดิ : ระบบการสร้างความรู้ แผนภาพท่ี ๕ : กรอบแนวคดิ ระบบการสรา้ งความรู้ ดว้ ยวิถแี หง่ ศรทั ธาและวถิ ีแห่งปัญญา จากแผนภาพอธิบายได้ว่า วงจรความรู้ จากวิถีแห่งศรัทธาและวิถีแห่งปัญญาเป็นระบบ ของวิทยวิธีการสร้างองค์ความรู้เชิงพุทธที่ต้องอาศัยการรับรู้ด้วยสติ การวิเคราะห์และสังเคราะห์ บทสรุปแล้วมีการตีความด้วยปัญญาเชิงอุปนัยหลอมรวมจัดหมวดหมู่บทสรุปจนกลายเป็นชุดความรู้ ทางปัญญา ส่วนหนึ่งอาจเป็นชุดความรู้เชิงศาสตร์ที่มีระดับความเป็นจริงไม่เข้มแข็ง เปลี่ยนแปลงได้ ตามสภาพแวดลอ้ มและกาลเวลาเป็นโลกียปญั ญา แต่อีกชุดความรู้หนงึ่ จะเป็น “ความรู้เชงิ สจั จะ” ท่ีมี ระดับความเข้มแข็งสูงในความเป็นจริง ไม่เปล่ียนแปลงได้ง่ายตามสภาพการณ์ และกาลเวลาเป็น ระดับความรู้ของโลกุตรปัญญา ซึ่งอยู่ในกระบวนวิธีวิทยาของการสร้างและใช้ความรู้ด้วย ๒ วิถี สมั พนั ธ์กัน คือ

๐ ๑. วิถีแห่งศรัทธา จากการแสวงหาความเป็นกัลยาณมิตรจากปัจจัยแวดล้อมแสวงหาสิ่ง ดีๆ ท่มี คี ุณค่าจากปจั จยั ภายนอก ดว้ ยอายาตนะสัมผสั ในขอบเขตของปรโตโฆสะ ๒. วิถีแห่งปัญญา เป็นการแสวงหาชุดความรู้ที่เป็นความจริงสากล จากกระบวนวิธีการ คิดด้วยการโน้มใจสู่เทคนิคการคิดขั้นสูงแยบยลของสมองและปั ญญาอันปราศจากสิ่งรบกวนที่เป็น โลภะโทสะ และโมหะ โดยมีสติเปน็ ตัวตั้ง เกิดผลลัพธ์เป็นชดุ ความรู้อันเป็นความจริงสากลจากวิถแี ห่ง ปัญญา สาระความรู้อันเป็นเนื้อแท้แห่งการสร้างชุดความรู้เชิงพุทธเป็นวิทยวิถีแห่งศรัทธาและ ปัญญาท่ีสามารถนำไปส่กู ารจัดการ การพฒั นาและการเยียวยาปัญหาทางสงั คมไดอ้ ย่างประณีตงดงาม และละเอยี ดอ่อน การประยุกตใ์ ช้วทิ ยปรชั ญาเชงิ พุทธ ผู้เขียนมีความเห็นว่า วิทยวิธีการสร้างองค์ความรู้เชิงพุทธสอดคล้องกับแนวคิดของ Feyerabend (Feyerabend. P. Explanation,๑๙๖๑) ท่ีให้ความสำคัญและเห็นความสัมพันธ์ของ ข้นั ตอนต่างๆ ในการสรา้ งทฤษฎคี วามรู้ ดงั น้ี ๒๓๔๕ การสงั เกต ผัสสะ การตีความ ทฤษฎคี วามรู้ การคาดทำนาย แผนภาพท่ี ๖ : กระบวนการรบั รแู้ ละทฤษฎีความรู้ กล่าวได้ว่า ทุกข้ันตอนมีความสำคัญต่อการได้มาซึ่งองค์ความรู้ที่มีคุณค่า ชุดความรู้ท่ีมี ความหมาย อนั จะทำให้เกิดประโยชน์หลากหลายต่อแวดวงวิชาการที่จะได้รับรู้ เรียนรู้ และการสร้าง ความรอบรอู้ ยา่ งถูกต้องตอ่ ไป ผู้เขียนมองเห็นคุณค่าของการศึกษาและทำความเข้าใจกับวิทยปรัชญาเชิงพุทธเบื้องต้น ใน ๔ ประการ คือ ๑. การเข้าถึงกระบวนการสร้างความรู้เชิงพุทธ ซึ่งนิสิตนักศึกษาหรือนักวิชาการ และ ผู้สนใจงานการสร้างองค์ความรู้ในวิทยาการต่างๆ จะได้เขา้ ใจถึงท่ีมาท่ีไปของทฤษฎีความรู้สาขาต่างๆ ท้ังส่วนที่เป็น “ความรู้เชิงศาสตร์” ที่เป็นโลกียปัญญาเป็นความรู้ข้ันสมถะยังไม่เป็นความรู้ท่ีแท้จริง อาจเปลี่ยนรูปหรือแปรเปล่ียนสาระสำคัญได้อยู่เสมอ(สุรพงษ์ โสธนะเสถียร,๒๕๔๖) และระดับ

ความรู้โลกุตรปัญญาอันเป็นวิทยปรชั ญา เพื่อการนำไปสู่ความรู้ข้ันอริยสัจเป็นความรู้เชงิ สัจธรรมเป็น ความร้จู ริงแท้ เป็นความรู้เหนือศาสตร์และเปน็ อกาลิโก ๒. แนวทางการสร้างความรู้เชิงพุทธ ต้องอาศัยปัจจัยแห่งสัมมาทิฐิท้ังปัจจัยภายนอก และปัจจัยภายใน หรือการใช้ท้ังหลักปรโตโฆสะ สร้างความเข้มแข็งและความเที่ยงธรรมในการรับรู้ ปัจจัยทางสังคม คนรอบข้างและหรือส่ิงแวดล้อมนานา ท่ีควรมีสถานะเป็นกัลยาณมิตรกับนักวิทย ปรัชญา การสร้างองค์ความรู้รวมถึงการให้ความสำคัญกับปัจจัยภายในที่เป็นวิถีแห่งโยนิโสมนสิการ อันเป็นวิธีการไตรต่ รองในใจอย่างแยบคาย เปน็ ผ้มู ีวิธีคิดที่ถกู วิธี กลั่นกรองความรู้ต่อจากปรโตโฆสะสู่ การสังเคราะห์เป็นความรู้จริงท่ีเที่ยงธรรม กล่าวได้ว่าแนวทางการสร้างองค์ความรู้เชิงพุทธต้องมีท้ัง วิทยวิธีเชงิ ประจกั ษน์ ิยม (จากขน้ั ตอนปรโตโฆสะ) และวทิ ยวิธตี รรกะปฏฐิ านนิยม (จากขน้ั ตอนโยนิโส มนสิการ) และหากได้นำชุดความรู้นี้ไปสู่การเสวนาทางวิชาการเชิงวิภาษวิธี (Dialectic Process) ตามวิทยวิธีปรัชญาเชิงโลกทัศน์ที่เป็นการสร้างองค์ความรู้จากการอภิปราย ถกเถียงเชิงเหตุผลของท่ี ประชมุ ผเู้ ชยี่ วชาญ กจ็ ะเปน็ การยนื ยันความเช่อื ถอื ไดข้ องชดุ ความรเู้ หล่านนั้ มากยง่ิ ข้นึ ๓. การเรียนรู้เชิงบูรณาการของวชิ าการสมัยใหม่ทางโลกกับชุดความรู้เชิงปัญญาทาง ธรรม ต้องมีวทิ ยวิธีการเข้าถึงการเรียนรู้ที่ลึกซึ้ง (Deep Learning Process) จึงจะเกิดความรู้อริยสัจ ที่เป็นความรู้แท้จริงต้ังแต่การรับรู้ด้วยสติ การคิดด้วยตรรกะเหตุผลผสานกับความประณีตแยบยล โน้มใจสู่การคิดตามแบบโยนิโสมนสิการบนพ้ืนฐานของสัมมาทิฎิฐิ ๘ ประการ สรุปความชัดเจนใน รูปลักษณ์ของไตรสิกขา (ศีล สมาธิ และปัญญา) จนก่อเกิดองค์ภูมิปัญญา ๓ ระดับ คือ สุตตะมย ปญั ญา จนิ ตะมยปัญญาและภาวนามยปญั ญา ๔. การใชอ้ งคค์ วามรู้เชิงพทุ ธส่กู ารแก้ปญั หาและพัฒนาสงั คม ๔.๑ องคค์ วามรเู้ ชิงพุทธเพอื่ การพฒั นาคน ปุถุชนทั่วไปหากได้รับรู้ เรียนรู้วิทยวิธีการเรียนรู้เชิงพุทธจะทำให้ปุถุชน เหล่านั้นมเี ส้นทางสู่ความเปน็ บคุ คลประเสรฐิ ในภาพของอรยิ ชนได้ ๔.๒ องคค์ วามรเู้ ชิงพทุ ธเพ่ือการพัฒนาสงั คม สังคมแห่งความสับสนวุ่นวายท้ังด้านการเมือง เศรษฐกิจและปัญหา นานาจาก การเปลี่ยนแปลงที่ไม่หยุดนิ่งจะพัฒนาได้ด้วยองค์ความรู้เชิงพุทธที่เป็นวิถีแห่งศรัทธาและวิถีแห่ง ปัญญาในการพัฒนาสังคมให้เจริญงอกงามสู่สังคมสันติสุข สันติภาพ ด้วยหลักสันติธรรมจากองค์ ความรู้อรยิ สจั ท่ปี ระยกุ ต์ใชไ้ ด้ทุกสถานทแ่ี ละตลอดเวลา ๔.๓ องคค์ วามร้เู ชิงพทุ ธเพือ่ การสร้างคนสกู่ ารแกป้ ญั หาสังคม ความเป็นปุถุชนไม่สามารถสร้างสังคมอริยได้ นอกจากอริยชนท่ีต้องมีความรู้ อริยสัจและวิธีการของอริยชนเท่าน้ัน จึงจะสามารถสร้างคนให้เป็นอริยชนและแก้ไขปัญหาสังคมสู่ สงั คมอริยได้ ความปรองดอง ความสมานฉนั ทด์ ้วยความสามัคคีจากภายในจติ ของอริยชน กจ็ ะเกิดขึ้น

๒ อย่างถาวรเร่ิมต้นจาก ทุกคน ทุกฝ่ายได้มีสัมมาทิฎิฐิต่อการรับรู้ปัญหา ร่วมกันคิดวิธีการแก้ไขปัญหา และรว่ มกนั แก้ปัญหาจากความชอบพื้นฐาน ๖ ประการเท่านัน้ คอื แผนภาพท่ี ๗ : การใชห้ ลักสมั มาทิฎฐิ ิเพยี ง ๖ ประการเพื่อการแกป้ ัญหาสังคม บทสรปุ วิทยปรัชญาเชิงพุทธเป็นวิทยวิธีการสร้างองค์ความรู้ทางธรรม เป็นแนวทางการเข้าถึง ภมู ิปัญญาอริยสัจที่เป็นชุดความรูเ้ หนือความเป็นศาสตร์ เปน็ ความจริงเหนือสมมติและจะได้มาซ่ึง ปัญญาข้ันสูงก่อให้เกิดคุณค่าต่อการรับรู้ การเรียนรู้และการประยุกต์ใช้ได้อย่างมีคุณภาพ มีคุณค่า และมคี ุณธรรม ทา้ ยสดุ แล้วชุดความรูเ้ ชงิ ภูมิปญั ญาทางธรรมจากวทิ ยปรชั ญาเชิงพุทธจะมีคณุ ลักษณะ สำคัญท้ัง ๔ ประการ คือองค์ประกอบขององค์ความรู้นั้นมีความเข้มแข็ง ครบถ้วนสมบูรณ์บ่งบอกถึง

๓ ความเป็นทฤษฎีความรู้ ที่มีการตีความและสื่อความหมายได้ องค์ความรู้นั้นมีท่ีมาของความเป็น ความรู้ และวิธีการเข้าถึงความรู้นั้นอย่างเป็นระบบ เกิดการมองเห็นคุณค่าขององค์ความรู้น้ันอย่าง ชัดเจนและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างกว้างขวาง โดยท่ัวไปวิทยปรัชญาเชิงพุทธเป็นการผสาน วิทยวิธีเชิงอริยปรัชญา ทั้งปรัชญาจิตนิยม ประจักษ์นิยม ตรรกะ ปฏิฐานนิยม สัจจนิยมและปฏิบัติ นยิ มอย่างหลากหลาย ผ่านขั้นตอนการกลั่นกรองด้วยการรับรูอ้ ย่างมีสติ การตีความตามหลกั เหตผุ ลท่ี ดีมีสัมมาทิฎิฐิ การวิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปเป็นองค์ความรู้อย่างชัดเจนสร้างองค์ความรู้ให้เป็น ระบบความเช่ือของบุคคลของสังคม สร้างการเรียนรู้ให้กับบุคคลและการเรียนรู้ของสังคมรวมถึงการ สร้างเคร่ืองมือ การแก้ปัญหาและการพัฒนาสังคมในการจัดการทางสังคมได้อย่างเป็นระบบมีความ เขม้ แขง็ และมีพลงั อยา่ งย่งั ยนื สบื ไป เอกสารอา้ งองิ วศิน อนิ ทสระ(๒๕๔๘). ตรรกศาสตรพ์ ุทธศาสนา. พมิ พ์ครั้งที่ ๒.กรงุ เทพมหานคร : สำนักพิมพ์ ธรรมดา. สุชีพ ปุญญานภุ าพ(๒๕๔๐). ประวตั ิศาสตรศ์ าสนา. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์มหามงกฎุ ราช วทิ ยาลัย. สุรพงษ์ โสธนะเสถียร(๒๕๒๔). วิทยปรชั ญา : วารสารศาสตร์. มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์. กรงุ เทพมหานคร : ประสทิ ธ์ภิ ัณฑ์แอนดพ์ ริน้ ต้ิง. Feyerabend. P. Explanation(๑๙๖๑). Reduction and Empiricism Current Issues, the Philosophy of Science. Newyork.