Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงาน PLC 2564

รายงาน PLC 2564

Published by Jeerawan Patiwong, 2022-03-28 01:58:19

Description: รายงาน PLC 2564

Search

Read the Text Version

บนั ทึกขอ้ ความ ส่วนราชการ โรงเรยี นวดั พืชนิมิต(คำสวัสดิ์รำษฎร์บำรงุ ) ท่ี วนั ที่ 25 มนี ำคม ๒๕๖5 เรอื่ ง รำยงำนผลกำรจดั กิจกรรมสร้ำงชมุ ชนกำรเรียนรู้วิชำชีพกลุ่มชน้ั ประถมศึกษำตอนต้น เรยี น ผู้อำนวยกำรโรงเรียนวัดพชื นิมิต(คำสวัสดริ์ ำษฎร์บำรงุ ) ส่ิงท่สี ง่ มำดว้ ย รำยงำนผลกำรจดั กิจกรรมสรำ้ งชมุ ชนกำรเรยี นรวู้ ชิ ำชีพ จำนวน ๑ เล่ม ดว้ ยกลมุ่ ชนั้ ประถมศึกษำตอนต้น ได้ดำเนินกำรจดั กจิ กรรมสร้ำงชุมชมุ กำรเรียนรวู้ ชิ ำชพี (Professional Learning Community) ภำยในชัน้ ประถมศกึ ษำตอนตน้ ภำยใต้ชอื่ กล่มุ “ช้ันประถมศกึ ษำตอนต้น” ปี กำรศึกษำ ๒๕๖4 เพ่ือแก้ไขปัญหำเรื่อง กำรอ่ำน กำรเขียน และกำรพัฒนำรูปแบบกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนกำร สอนในสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนำ ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลใน กำรสรำ้ งสื่อกำรเรียนกำรสอนออนไลน์ และชดุ กิจกรรม นนั้ บัดนี้ กำรปฏบิ ตั ิกจิ กรรมดงั กล่ำวได้เสร็จสิน้ เปน็ ท่เี รียบร้อยแลว้ ขออนญุ ำตสง่ รำยงำนผลกำรจัดกิจกรรม สร้ำงชมุ ชนกำรเรยี นรวู้ ิชำชพี กลมุ่ “ชนั้ ประถมศกึ ษำตอนตน้ ” ดงั เอกสำรแนบมำพร้อมหนังสือฉบับนี้ จงึ เรยี นมำเพ่ือโปรดทรำบ ที่ ชอ่ื - สกุล ลายมือชื่อ 1 นำยยงยุทธ นุชบัว 2 นำงณฐั นนั ท์ เสริมศำสตร์ 3 นำงสำวจรี วรรณ ปฏวิ งศ์ 4 นำงสำวกมลชนก กำญจนจนั ทร์ 5 นำงสำววรรณภำ เคนไชยว์ งค์ 6 นำงสำวหทยั รัตน์ รำชเสนำ 7 นำงสำวจำรวี อำจเดช 8 นำงสำวสำวติ รี หมื่นหำญ ลงชอ่ื ..................................................... ( นำงอจั ฉรำ รักษำชนม์ ) ผู้อำนวยกำรโรงเรียนพืชนิมิต (คำสวสั ดิร์ ำษฎร์บำรงุ )

คำนำ รำยงำนผลกำรดำเนินงำนกำรจัดกิจกรรมชุมชนแห่งกำรเรียนรู้ทำงวิชำชีพ (Professional Learning Community : PLC ) จัดทำข้ึนเพื่อนำเสนอแนวทำงในกำรดำเนินงำนของกลุ่ม “ชั้นประถมศึกษำ ตอนต้น” กลุ่มช้ันประถมศึกษำตอนต้น เพ่ือแก้ไขปัญหำเร่ือง กำรอ่ำน กำรเขียน และกำรพัฒนำรูปแบบกำรจัด กิจกรรมกำรเรียนกำรสอนในสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนำ ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) โดยใช้ เทคโนโลยีดิจิทัลในกำรสร้ำงส่ือกำรเรียนกำรสอนออนไลน์ และชุดกิจกรรม จำกควำมร่วมมือของครูประจำวิชำ และเป็นกำรสร้ำงควำมรู้ควำมเข้ำใจเรื่องกำรปฏิบัติด้วยกระบวนกำร PLC เพ่ือแก้ไขปัญหำด้ำนพฤติกรรม รวมทั้งแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ กำรติดตำมและประเมนิ ผลในกำรดำเนนิ งำนของโรงเรียนวดั พืชนมิ ิต(คำสวสั ดริ์ ำษฎร์ บำรงุ ) ของครผู ู้สอนกลุ่มชัน้ ประถมศึกษำตอนต้น ในโรงเรียน หวงั เปน็ อยำ่ งย่ิงว่ำเอกสำรเล่มน้ี จะเกดิ ประโยชน์ต่อผู้ครูผู้สอน ผ้บู รหิ ำรสถำนศึกษำและบุคลำกร ทำงกำรศึกษำ รวมทั้งผู้สนใจทั่วไป ในกำรนำไปใช้เพื่อศึกษำเรียนรู้สร้ำงควำมเข้ำใจและปฏิบัติตำมแนวทำง ดงั กลำ่ วได้เปน็ อยำ่ งดี กลุ่ม “ชัน้ ประถมศกึ ษาตอนตน้ ”

ผลกำรดำเนินกิจกรรมชุมชนแห่งกำรเรียนรู้ทำงวชิ ำชพี 1. หลักกำรและเหตุผล ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ ( Professional Learning community : PLC) หมายถึง การรวมกลุ่มกันของครูผู้สอนและบุคลากรทางการศึกษา ในลักษณะของชุมชนเชิงวิชาการที่มีเป้าหมาย เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยใช้กระบวนการเรยี นรู้จากการปฏิบัติ การถอดบทเรียน และการแลกเปลย่ี น เรียนรู้ รว่ มกนั อย่างต่อเน่ือง (ราชบณั ฑิตยสถาน, 2558) จากผลการวิจัยของ สุรพล ธรรมร่มดี (2553) ยืนยันว่าการดาเนินการในรูปแบบ PLC นาไปสู่การ เปลี่ยนแปลงเชิงคุณภาพทั้งด้านวิชาชีพและผลสัมฤทธ์ิของนักเรียน โดย มีผลดีทั้งต่อครูผู้สอนและนักเรียน ในแง่ผลดีต่อครูผู้สอน พบว่า PLC ส่งผลต่อครูผู้สอนกล่าวคือลดความรู้สึกโดดเดี่ยวในงานสอนของครู เพิ่ม ความรสู้ ึกผูกพันต่อพันธกิจและเป้าหมายของโรงเรียนมากขึ้น โดยเพิม่ ความกระตือรือร้นที่จะปฏบิ ตั ิใหบ้ รรลุพันธ กิจอย่างแข็งขัน จนเกิดความรู้สึกว่า ต้องการร่วมกันเรียนรู้และรับผิดชอบต่อพัฒนาการโดยรวมของนักเรียน ถือเป็นพลังการเรียนรู้ซึ่งส่งผลให้การปฏิบัติการสอนในชั้นเรียนให้มีผลดีย่ิงขึ้น รวมทั้งเข้าใจบทบาทและ พฤติกรรมการสอนท่ีจะช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีที่สุด ซึ่งจะเกิดจากการคอยสังเกตอย่างใส่ใจในแง่ของ ผลดีต่อผู้เรียนพบว่า PLC สามารถลดอัตราการตกซ้าช้ัน และจานวนชั้นเรียนท่ีต้องเลื่อนหรือชะลอการจัดการ เรียนรใู้ ห้นอ้ ยลง อัตราการขาดเรยี นลดลงมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวชิ าวิทยาศาสตร์ประวตั ิศาสตร์และวิชาการ อ่านท่ีสูงขึ้นอย่างเด่นชัด สุดท้ายคือมีความแตกต่างด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างกลุ่มนักเรียนที่มีภูมิหลัง ไม่เหมือนกนั ลดลงอย่างชดั เจน จากการศึกษาประโยชน์ของกระบวนการดังกล่าว ผู้จัดทาจึงเกิดความคิดที่จะนากระบวนการ PLC (Professional Learning Community) เพ่ือเป็นการปรับปรุงแก้ปัญหาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกัน และ ร่วมกันพัฒนานวัตกรรมที่ใช้ในการแก้ปัญหาเก่ียวกับการจัดการเรียนรู้แก่นักเรียนในแต่ละกิจกรรมการเรียนรู้ ตลอดจนพัฒนาทักษะทางด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีของนักเรียนให้ดีย่ิงข้ึน โดยได้เริ่มดาเนินกิจกรรมกับ นกั เรยี นระดบั ช้นั ประถมศึกษาตอนต้น เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึน้ จรงิ ในห้องเรยี น คือ “ปญั หาการจัดการเรียนการ สอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทาให้ไม่สามารถจัดการเรียน การสอนได้ตามปกติ” เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จาเป็นต้องมีการเว้นระยะห่างทางสังคม มีการแบ่งกลุ่มนักเรียน แบ่งเวลาเรียน ทาให้เวลาเรียนในห้องเรียน น้อยลง ส่งผลให้การจัดการเรียนการสอนไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาการเรียนรู้ ส่งผลต่อการอ่านออกเขียนได้ของ นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาตอนตน้ 2. วัตถุประสงค์ 1. เพือ่ พัฒนารูปแบบการจัดการเรยี นการสอน เออื้ ต่อการอ่านออกเขยี นไดข้ องนักเรยี นช้ัน ประถมศึกษาตอนต้น 2. เพ่ือให้ครไู ด้สรา้ งส่ือนวัตกรรมมาปรบั ใชใ้ นการจดั การเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 3. เพื่อให้นักเรยี นไดเ้ รียนรู้ และพัฒนาตามหลกั สตู รอย่างต่อเนอื่ งในสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 4. เพือ่ ใหน้ ักเรยี นมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในระดบั ทส่ี ูงขึน้

5. เพ่มิ โอกาสในการเข้าถึงเน้ือหาการเรยี นไดจ้ ากอปุ กรณ์ต่าง ๆ เชน่ เคร่อื งคอมพิวเตอร์ โทรศพั ท์มอื ถือ ผ่านทางระบบเครือข่ายอินเทอรเ์ น็ต 6. มีนวตั กรรมหรอื คู่มือการใชท้ มี่ ีความเหมาะสมและเรา้ ความสนใจของผู้เรยี น 3. วธิ ีกำรดำเนินงำน  แนวทางการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมการสร้างชมุ ชนการเรียนรทู้ างวชิ าชพี (PLC) 1. แบ่งกลุ่มยอ่ ย ตามความเหมาะสม 2. ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ คดิ แนวทางแก้ไขปัญหา 1 เรือ่ งจากประเด็นตอ่ ไปนี้ 2.1 ปญั หาการเรียนรูข้ องนักเรียน 1 เรอ่ื ง/กลมุ่ 2.2 ปญั หาดา้ นการจดั การเรยี นการสอนของครู หรือเทคนคิ วิธกี ารสอนทค่ี รูควรพัฒนา จานวน 1 เร่ือง/กลมุ่ 3. จัดทาโครงการ/กจิ กรรม การสร้างชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวิชาชีพ (PLC)  กระบวนกำรของ PLC ขน้ั ตอนที่ 1 Community สร้างทมี ครู ขัน้ ตอนท่ี 2 Practice จดั การเรยี นรู้ เชน่ การวิเคราะหห์ น่วยการเรยี นรู้ รว่ มกันออกแบบกิจกรรมการ เรียนรู้ในการจัดทาแผนการเรียนรู้ เพื่อแก้ปัญหา หรือพัฒนา และนาสู่การปฏิบัติ โดยมีการเปิดห้องเรียน เพ่ือการสงั เกตการณ์สอน เครอ่ื งมอื ในการประเมิน - แบบนเิ ทศ 01 แบบสังเกตการณจ์ ัดกจิ กรรมการเรียนการสอน ขัน้ ตอนที่ 3 Reflection สะทอ้ นคดิ เพ่ือการพัฒนาการปฏบิ ัติ ขัน้ ตอนท่ี 4 Evaluation ประเมินเพ่ือพฒั นาสมรรถนะครู ข้ันตอนที่ 5 Network Development สร้างเครอื ขา่ ยการพัฒนา  บทบำทหน้ำท่ีของสมำชิกกลมุ่ ตำมกระบวนกำร PLC - Model Teacher หมายถึง ครผู ้รู ับการนิเทศ หรอื ครผู ู้สอน - Buddy Teacher หมายถึง ครูคู่นิเทศ หรอื ครูรว่ มเรยี นรู้ - Mentor หมายถึง หัวหน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้ - Expert หมายถงึ ผ้เู ชย่ี วชาญ เช่น ครู คศ.3 นักวิชาการ อาจารยม์ หาวิทยาลยั ศึกษานเิ ทศก์ - Administrator หมายถึง ผบู้ ริหารโรงเรยี น - Recorder หมายถงึ ผ้บู นั ทึกรายงานการประชมุ 4. วัน เวลำ สถำนท่ี ในกำรดำเนนิ งำน ระยะเวลำ : ต้งั แต่ วนั ท่ี 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 – 20 มีนาคม พ.ศ.2565 สถำนท่ี : โรงเรยี นวัดพืชนิมติ (คาสวสั ดิ์ราษฎรบ์ ารุง)

5. สรุปผลกำรดำเนนิ งำน  ประเดน็ ดำ้ นผ้เู รียน - นักเรียนมีแรงจูงใจในการเรียนและสามารถศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากสื่อการสอน/บทเรียน ออนไลน์ และจากเว็บไซต์ต่าง ๆ ท่คี รูแนะนา ทาให้นกั เรยี นไดเ้ รยี นรู้ และพัฒนาความร้คู วามสามารถครบตาม หลักสตู ร - นักเรียนมีความรับผิดชอบ มีความกระตือรือร้นในการเรียนมากกว่าปกติ มีความตั้งใจใฝ่หา ความรใู้ หม่ ๆ ตรงกับระบบการเรยี นรทู้ ่ีเนน้ ผเู้ รยี นเป็นศนู ยก์ ลาง โดยมผี ู้สอนเป็นเพยี งผ้แู นะนา ท่ีปรกึ ษา และ แนะนาแหล่งความรู้ใหม่ ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเรียน ผู้เรียนสามารถทราบผลย้อนกลับของการเรียน รู้ความก้าวหน้า การประเมินผล การประเมินย่อย โดยใช้เว็บไซต์เป็นที่ทดสอบและการประเมินผลรวม ที่ใช้ การสอบแบบปกติในห้องเรยี น เพ่ือเปน็ การยืนยนั วา่ ผู้เรียนเรยี นจริงและทาขอ้ สอบจรงิ ได้หรอื ไม่อย่างไร - สง่ เสรมิ ให้นักเรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์และเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ในทางท่ีเหมาะสม เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับตัวนักเรียน เปรียบเสมือนเป็นตัวกรองที่คอยช่วยให้นักเรียน สามารถแยกแยะขา่ วสารหรือข้อมูลทม่ี ีการเปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเร็วให้รับรู้ได้อย่างมคี ุณภาพ - นักเรียนมีแรงจูงใจในการเรียนและศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เรียนอย่างมีความสุขและมีปฏิสัมพันธ์ ระหวา่ งครูกบั นักเรียน และนกั เรียนกับนักเรยี นด้วยกันเองเพิ่มมากข้ึน - นักเรียนมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์หลายประการ เช่น ได้อ่าน เขียน เน้น ย้า ซ้า ทวน ให้เกิดความ เข้าใจ และพัฒนาการอ่านการเขียนได้ตามวัยของนักเรียน  ประเดน็ ด้ำนกิจกรรม - ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านส่ือเทคโนโลยี ICT ตลอดจนเอกสารประกอบการสอน เป็น ลกั ษณะการเรียนรูจ้ ากแหล่งเรียนรนู้ อกชั้นเรียนทีท่ าใหผ้ ู้เรียนสามารถเรยี นร้ไู ดท้ กุ ทีท่ ุกเวลา - การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนออนไลน์ทาใหก้ ารเรยี นการสอนครอบคลุมตามเนือ้ หา - ครูจดั กิจกรรมการเรียนการสอนผา่ นส่อื เทคโนโลยี ICT ตลอดจนเอกสารประกอบการสอน เป็นลักษณะการเรยี นรู้จากแหลง่ เรียนรู้นอกชั้นเรียนทท่ี าให้ผเู้ รยี นสามารถเรยี นรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา - ครูและผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์/การแลกเปล่ียนเรียนรู้ ทาให้บรรยากาศการเรียนสอนดาเนินไปโดย เน้นผเู้ รยี นเป็นศูนยก์ ลางการเรยี นรู้  ประเด็นดำ้ นครู - ครูจะทาหน้าเป็นผู้อานวยที่คอยให้ความช่วยเหลือ คาปรึกษา และดึงศักยภาพของผู้เรียนให้ สามารถเรียนร้ไู ด้ด้วยตนเอง สรา้ งแรงจูงใจและแรงบนั ดาลใจในการเรียน  ประเด็นส่อื กำรสอน - ส่อื กิจกรรมและแหลง่ การเรียนรู้มคี วามถกู ตอ้ งเหมาะสมมปี ระสิทธภิ าพ (ด้านคณุ ภาพ) - สื่อมีความเพียงพอเหมาะสม (ด้านปริมาณ) - ผู้เรียน และผู้สอนสามารถเข้าถึงส่ือการเรียนการสอนได้ง่าย โดยจะใช้ web browser ใดก็ได้ ผู้เรียนสามารถเรียนจากเคร่ืองคอมพิวเตอร์ หรือโทรศัพท์ ท่ีใดก็ได้ และในปัจจุบันนี้การเข้าถึงเครือข่าย อนิ เตอรเ์ น็ตกระทาไดง้ า่ ยข้ึนมาก และยงั มคี า่ เชื่อมต่ออนิ เตอรเ์ น็ตทมี่ รี าคาต่าลงมากวา่ แต่กอ่ นอีกดว้ ย - นักเรียนได้ใช้เครื่องมือท่ีตนถนัดคือ เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่ เครือข่ายอินเตอร์เน็ตและสังคม ออนไลน์ เมื่อได้ใช้หรือทาอะไรท่ีตนชอบหรือถนัด จึงทาให้ผู้เรียนศึกษา ค้นคว้าเรียนด้วยตนเองได้อย่าง อัตโนมัติ ผเู้ รียนเกดิ การเปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรมเป็นไปตามทคี่ รูต้องการให้เกดิ ขน้ึ ในตัวผู้เรยี น

 ประเด็นด้ำนบรรยำกำศ - การออกแบบบรรยากาศในห้องเรียนแบบออนไลน์ เป็นส่ิงที่สาคัญท่ีจะทาให้ผู้เรียนให้ความสนใจ ใครร่ ู้และพร้อมทจ่ี ะรว่ มพดู คุยแลกเปลย่ี นเรียนรู้อย่างมีสว่ นรว่ มมากขนึ้ 6. อภปิ รำยผลกำรดำเนินงำน 6.1 ผลลพั ธ์ท่เี กิดจำกกระบวนกำร 1) มีองคค์ วามรู้ นวัตกรรม และประเดน็ ความร้ทู ีน่ ่าสนใจ ทเ่ี กิดข้ึนจากการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ของ สมาชิกเครือข่าย ท่ีเป็นประโยชน์กับครู และครูสามารถนาไปใช้ในการพัฒนาให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนได้ อยา่ งเป็นรปู ธรรม (สมาชิกเครือขา่ ยมีการนาไปใชไ้ ด้อย่างชัดเจน) 2) มรี อ่ งรอยการรายงานผลการนาองค์ความรู้ นวตั กรรม และประเดน็ ความรทู้ ีน่ ่าสนใจ ท่เี กิดข้ึน ของสมาชิกเครือข่ายไปใช้ตลอดระยะที่ดาเนินโครงการทุกครัง้ ที่มีการแลกเปล่ยี นเรียนรู้โดยสมาชกิ ทุกคน 3) ผู้สอนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC สามารถนาผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มา อภปิ รายเพ่ือแลกเปล่ียนความคิด โดยมคี รูผสู้ อนหลักเปน็ ผ้สู ะท้อนความคิดเกี่ยวกับความสาเร็จ จดุ เดน่ และจดุ ท่ตี อ้ งพฒั นาในการจัดการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 6.2 ผลลัพธ์ท่เี กิดกบั ผเู้ รียน / ครู / สมำชิกท่ีเขำ้ รว่ มเครือข่ำย PLC 1) ผ้เู รียนไดก้ ารเรยี นรตู้ ามเปา้ หมาย และวตั ถปุ ระสงคท์ กี่ าหนดไว้ทุกประการ และมคี วามชัดเจน ทงั้ เชงิ ปริมาณและคุณภาพ 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนดีข้ึน และทาให้ผู้เรียนได้พัฒนาและเกิดคุณลักษณะอย่าง ชัดเจน 3) ผู้สอนได้รับความรู้และประสบการณ์ ซ่ึงเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงและพัฒนาแผนการ จดั การเรียนรู้ และผสู้ อนได้รบั นวตั กรรมและเริม่ วางแผนจัดทาวจิ ยั ปฏิบัตกิ ารในช้นั เรยี น 4) ผสู้ อนสามารถนาความรู้และประสบการณ์ที่ได้รบั จากการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ไปประยุกต์ใช้ ในการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ และสามารถนาวัตกรรมการเรียนรู้ท่ีได้รับจากการทาวิจัยปฏิบัติการใน ชัน้ เรียนไปใชพ้ ัฒนาคณุ ภาพการจดั การเรยี นรู้ 6.3 คณุ ค่ำท่เี กิดตอ่ วงกำรศกึ ษำ 1) มเี ครือขา่ ยทีช่ ดั เจน และการขยายเครือข่ายแลว้ และมคี วามชัดเจน เป็นรูปธรรมและมีแนวโน้ม การเกิดเครอื ข่ายเพิ่มข้ึน 2) การรว่ มกนั รบั ผิดชอบตอ่ การเรียนรูข้ องนักเรียน ให้ผลการเรยี นรูท้ ี่ตอ้ งการใหเ้ กดิ ขนึ้ ในตัว นักเรยี น โดยครูท่ีเป็นสมาชิกในชุมชนการเรยี นรู้ทางวิชาชีพทกุ คนวางเปา้ หมายรว่ มกัน 7. ผลที่เกิดจำกกำรดำเนินงำน 7.1 ได้นวตั กรรมในการแก้ไขปญั หา 7.2 ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของนกั เรียนดขี ึน้ หรอื เป็นไปตามเกณฑ์ทต่ี กลงกนั ไว้ 7.3 พฤตกิ รรมของนักเรียนทม่ี ีปญั หาเปลยี่ นไปในทางท่ีดีขึน้ ตามขอ้ ตกลงท่ีต้ังไว้ 7.4 นาไปสู่การพฒั นาครู และรวบรวมส่ง เพือ่ เก็บเปน็ หลักฐานในการรายงานตอ่ ไป

8. ร่องรอย/หลักฐำน 8.1 แผนการจดั การเรยี นรู้ พรอ้ มบนั ทึกหลงั การสอน 8.2 ภาพการพูดคุย ปรกึ ษากับสมาชิกกล่มุ PLC 8.3 ภาพกจิ กรรมการเรียนการสอน 8.4 แบบสังเกตการณ์จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน 8.5 ภาพการนิเทศการสอน 9. บทเรียนทไ่ี ดจ้ ำกกำรดำเนนิ งำน ครูผู้สอนได้เล็งเห็นถึงปัญหาที่หลากหลายในห้องเรียน และพฤติกรรมของนักเรียนที่แตกต่างกันใน แต่ละบุคคล รวมไปถึงเรียนรู้ท่ีจะหาแนวทางในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ที่แตกต่างกันผ่านการอภิปราย รว่ มกันกบั เพ่อื นครแู ละนกั เรยี น ชุมชนการเรียนรู้วชิ าชีพ (Professional Learning Community) เป็นกระบวนการท่ีมีประโยชน์และ คุ้มค่า สะท้อนผลเชิงวิชาชีพ โดยการพูดคุยสนทนากันระหว่างสมาชิกในชุมชนการเรียนรู้ ท่ีจะก่อให้เกิดผล ทางบวกต่อการเรียนการสอนและคุณภาพการจัดการศึกษาในสถานศึกษา หรือช่วยพัฒนาการจัดการเรียนรู้ และส่งผลให้นกั เรียนมีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นสูงข้ึน 10. สง่ิ ทจี่ ะดำเนินกำรตอ่ ไป การจัดการเรียนการสอนออนไลน์มาใช้ในการแก้ไขปัญหา และเพ่ิมศักยภาพในการจัดการเรียนการ สอน เพ่ืออานวยความสะดวกให้ผู้สอนสามารถจัดเตรียมการสอนด้วยสื่อการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย น่าสนใจ โดยพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นแบบ distance learning การเรียนการสอนทางไกล ใช้สื่อการเรียนออนไลน์ เช่น Google Classroom , Google Site มาช่วยเพิ่มเติมจากการเรียนในห้องเรียน ปกติ และทาให้ผู้เรียนสามารถอ่านทบทวนเน้ือหาย้อนหลังได้และยังเปิดโอกาสให้ผูเ้ รียนเข้าถึงแหลง่ เรียนรไู้ ด้ ทุกท่ี ทุกเวลา จึงต้องการเผยแพร่เทคนิคในการดูแลและบริหารช้ันเรียนให้กับเพื่อนครูในชั้นเรียนอื่น ๆ และ ผูท้ ่ีสนใจตอ่ ไป 11. ปัญหำ /อุปสรรค การพบปะพดู คยุ ระหว่างครผู สู้ อนประจาวิชาไมค่ ่อยต่อเนื่องเทา่ ที่ควร เนื่องดว้ ยคาบสอนตรงกัน และ ในบางครัง้ ครผู สู้ อนมีภาระนอกเหนอื งานสอนมาก จึงไมส่ ะดวกในการแลกเปล่ยี นเรียนรู้ 12. ข้อเสนอแนะ ควรมเี ครอื ข่ายออนไลน์เป็นส่ือกลางในการตดิ ต่อแลกเปลย่ี นประสบการณ์ระหว่างครูที่ทางานร่วมกัน เช่น กลุ่ม Line หรือ Facebook และควรมีการวิจัยเพื่อหารูปแบบของบทเรียนออนไลน์ ที่เหมาะสมกับการ เรียนการสอนในระดับชั้นต่าง ๆ เพ่ือรองรับการเรียนการสอน เพราะผู้เรียนแต่ละช่วงวัยมีด้านความรู้ และ ทักษะทีแ่ ตกต่างกนั

ภำคผนวก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook