Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

27.

Description: 27.

Search

Read the Text Version

1

2 เอกสารสรุปเนื้อหาทตี่ องรู รายวิชาศิลปศึกษา ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รหัส ทช31003 หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สํานกั งานสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั สํานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ หามจาํ หนา ย หนงั สอื เรียนนี้จดั พิมพดว ยเงินงบประมาณแผนดินเพ่อื การศกึ ษาตลอดชีวิตสาํ หรับประชาชน ลขิ สทิ ธเ์ิ ปนของ สาํ นักงาน กศน.สาํ นักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

3

สารบัญ 4 คํานาํ หนา คาํ แนะนาํ การใชเอกสารสรปุ เนื้อหาทตี่ อ งรู บทท่ี 1 ทศั นศิลป 1 1 เรื่องท่ี 1.1 ความเปนมาของทัศนศลิ ปส ากล 24 เร่อื งท่ี 1.2 การวพิ ากษวจิ ารณงานทัศนศิลปส ากล 27 เรื่องท่ี 1.3 ทัศนศลิ ปส ากลทเี่ กดิ จากความงามตามธรรมชาติ 33 และธรรมชาตกิ ับทัศนศิลป 36 เรอ่ื งที่ 1.4 ความคดิ สรางสรรค กบั การออกแบบ 47 กิจกรรมทายบท 47 บทท่ี 2 ดนตรี 50 เรื่องที่ 2.1 ประวัตแิ ละความเปน มาของดนตรีสากล 55 เรอ่ื งที่ 2.2 ประเภทของเครอื่ งดนตรสี ากล 57 เรอ่ื งที่ 2.3 ประวัตแิ ละความเปน มาของเพลงสากล 58 เร่อื งท่ี 2.4 คุณคา ของดนตรสี ากล 60 เรือ่ งที่ 2.5 การสืบสานภมู ปิ ญ ญาทางดนตรีสากล 64 กจิ กรรมทา ยบท 64 บทท่ี 3 นาฏศิลป 64 เรื่องท่ี 3.1 ประวตั ิและความเปนมาของนาฏศลิ ปส ากล 65 เรอื่ งท่ี 3.2 ประวัตินาฏศลิ ปตะวันตก 68 เร่ืองท่ี 3.3 ประวตั ินาฏศิลปต ะวนั ออก 69 เรอ่ื งท่ี 3.4 นาฏศลิ ปสากลกบั การพัฒนาสังคม 69 เรอื่ งที่ 3.5 วิธเี ลือกชมการแสดงนาฏศิลป 72 เรอ่ื งที่ 3.6 ลลี าศ กจิ กรรมทายบท

สารบญั (ตอ) 5 บทที่ 4 การออกแบบกบั แนวทางการประกอบอาชพี หนา เรื่องท่ี 4.1 ความหมายและสาขาของอาชพี การออกแบบ เรื่องท่ี 4.2 อาชีพมัณฑนากรหรือนกั ออกแบบตกแตง 77 เร่อื งท่ี 4.3 อาชพี ออกแบบเคร่อื งเฟอรนิเจอร 77 เรื่องท่ี 4.4 อาชีพออกแบบเส้อื ผา แฟชนั่ 77 กิจกรรมทา ยบท 79 80 เฉลยกิจกรรมทายบท 83 บรรณานกุ รม 84 คณะผจู ดั ทาํ 106 108

6 คําแนะนําการใชเอกสารสรุปเน้อื หาทีต่ องรู หนงั สอื เรยี นสรุปเนอื้ หา รายวิชาแบบเรยี น กศน. หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 เปน หนงั สอื สรุปเนื้อหาเรยี นทจี่ ดั ทําข้นึ เพ่ือใหผเู รยี น ทเ่ี ปนนกั ศึกษา กศน. สามารถทาํ ความเขา ใจ และเรียนรูในสาระสําคญั ของเน้ือหารายวิชาสาํ คญั ๆ ไดสะดวกและสามารถเขา ถงึ แกนของเนอ้ื หาไดดีข้นึ ในการศึกษาหนังสือสรปุ เนอื้ หารายวิชา ผูเรียนควรปฏบิ ตั ิดงั นี้ 1. ศึกษาโครงสรา งรายวิชาจากหนงั สอื เรยี นใหใ นหวั ขอสาระสาํ คญั ผลการเรียนรทู ่ี คาดหวงั และขอบขายเนอื้ หาของรายวิชานนั้ ๆเขาใจกอน 2. ศกึ ษารายละเอียดเนื้อหาของหนังสอื สรปุ เนื้อหาหนงั สอื เรยี นเลมน้ี โดยศกึ ษาแตละ บทอยางละเอียด ทาํ แบบฝก หัดหรอื กิจกรรมตามท่กี ําหนด และทําความเขา ใจในเนื้อหาน้ันใหม ใหเขา ใจ กอนทีจ่ ะศกึ ษาเรอ่ื งตอ ๆ ไป 3. หากตองการศึกษา รายละเอียดเนอื้ หาเพ่ิมเตมิ จากหนังสือสรุปเน้อื หาหนงั สอื เรยี นนี้ ใหผูเ รียนศกึ ษาเพม่ิ เติมจากหนังสอื เรยี น หรือครผู ูสอนของทา น

1 บทที่ 1 ทัศนศลิ ปส ากล เร่ืองที่ 1.1 ความเปนมาของทศั นศลิ ปส ากล ศิลปะคอื อะไร ศิลปะหมายถึง ผลแหงความคดิ สรา งสรรคของมนษุ ยทแ่ี สดงออกมาในรปู ลักษณตางๆ ใหป รากฏเปน ความสนุ ทรียภาพ ความประทบั ใจ หรือความสะเทอื นอารมณ ตามประสบการณ รสนยิ ม และทักษะของบคุ คลแตละ สว นผทู ํางานศลิ ปะทุกสาขาเรยี กโดยรวมวา ศิลปน ทศั นศลิ ปค อื อะไร ทัศนศิลป คอื งานศลิ ปะทุกแขนง ท่ีผูชมรับรูถึงความงามดวยตาหรือการมองเหน็ ประเภทของงานทศั นศลิ ปมกี ่ีประเภทอะไรบา ง งานทัศนศลิ ปส ามารถแบงออกเปน 4 ประเภท คอื 1. จติ รกรรม 2. ประตมิ ากรรม 3. สถาปตยกรรม 4. ภาพพมิ พ จติ รกรรม จิตรกรรม คืองานศิลปะท่ีแสดงออกดว ยการวาด ระบายสี ผทู ํางานดานจติ รกรรม จะเรยี กวา จติ รกร งานจิตรกรรม สามารถจาํ แนกไดตามลักษณะผลงาน และ วัสดอุ ปุ กรณการสรางสรรค เปน 2 ประเภท คือ ภาพวาด และ ภาพเขียน

2 ตวั อยางภาพวาดลายเสน (ฝม อื อองรี มูโอตในหนงั สอื Travels in Siamปค ศ.1860) 1.1 จติ รกรรมภาพวาด (Drawing) คอื ภาพวาดเสน สามารถแบง ออกไดเปน 2 ประเภท คอื ภาพวาดลายเสน และ การต นู ภาพซา ย จิตรกรรมไทยเรอ่ื งรามเกยี รติ์สฝี นุ บนผนงั ปูน ภาพขวาจิตรกรรมสนี าํ้ บนกระดาษ ศิลปน เทอดศกั ดิ์ ไชยกาล 1.2 จิตรกรรมภาพเขียน (Painting) คือ ภาพเขียนเปนการสรา งงาน 2 มิตบิ นพื้น ระนาบดวยสหี ลายสี เชน สนี ้ํา สนี า้ํ มัน สีฝุน สีชอลค หรอื สอี ะครลิ กิ ประตมิ ากรรม ประติมากรรม คือ ศลิ ปะที่แสดงออกดวยการสรา งรปู ทรง 3 มิติ ทีม่ ปี รมิ าตร มีน้ําหนกั และกินเนอ้ื ทีใ่ นอากาศ โดยการใชว สั ดุชนิดตา ง ๆ ผูสรางสรรคงานประตมิ ากรรม เรยี ก ประตมิ ากร วิธีการสรา งผลงาน ประตมิ ากรรม ทาํ ได 4 วธิ ี คอื 1. การปน (Casting) เปนการสรา งรูปทรง 3 มติ ิ จากวัสดุ ท่มี คี วามเหนียว ออ นตัว และยึด จับตัวกันไดดี วสั ดุทนี่ ิยมนํามาใชปน ไดแก ดินเหนยี ว ดนิ นํ้ามัน ปูน แปง ขผี้ ง้ึ กระดาษ หรอื ขเ้ี ลือ่ ยผสมกาว เปน ตน 2. การแกะสลกั (Carving) เปน การสรางรปู ทรง 3 มิติ จากวัสดทุ ่ี แข็งแตเปราะ โดยอาศยั เคร่อื งมอื วสั ดทุ น่ี ิยมนาํ มาแกะ ไดแก ไม หิน หินออน ปูนปลาสเตอร เปนตน

3 3. การหลอ (Molding) เปน การสรางผลงานท่ีมีรูปทรง 3 มิติ จากวัสดุที่หลอมตัวไดและ แข็งตวั ได โดยอาศยั แมพ ิมพ ซึ่งสามารถทําใหเกดิ ผลงานท่ีเหมอื นกันทุกประการตงั้ แต 2 ช้นิ ขึ้นไป วสั ดทุ ่นี ยิ มนาํ มาใชห ลอ ไดแ ก โลหะ ปูน แกว ข้ผี ึ้ง เรซนิ่ พลาสตกิ ฯลฯ 4. การประกอบข้ึนรูป (Construction) การสรา งผลงานท่มี ีรปู ทรง 3 มิติ โดยการนําวสั ดุ ตางๆ มา ประกอบเขา ดวยกัน และยึดติดกันดวยวสั ดุตาง ๆ การเลอื กวิธกี ารสรา งสรรคง าน ประติมากรรม ขนึ้ อยูกบั วัสดุท่ตี องการใช ในงานประติมากรรม ประติมากรรมปนู ปน แบบนนู ตา่ํ ทฐ่ี านอนุสาวรยี ป ระชาธิปไตย ศลิ ปะไทยประยกุ ตผ สมศลิ ปะสากล ประเภทของงานประติมากรรมสากล ประเภทของงานประตมิ ากรรมสากล แบงได 3 ลกั ษณะตามรปู แบบของงานคือ 1. ประตมิ ากรรมแบบนูนตาํ่ ( Bas Relief ) เปนรปู ปน ท่ีนูนข้ึนมาจากพนื้ หรือมพี ้ืนหลงั รองรบั มองเหน็ ไดชัดเจนเพียงดา นเดียว คอื ดานหนา มีความสูงจากพ้นื ไมถงึ ครงึ่ หนึ่งของรูปจริง ไดแ กรูปนูนบนเหรียญ รปู นูนทใี่ ชประดับตกแตงภาชนะ รูปนูนท่ีใชป ระดับตกแตงบริเวณฐาน อนสุ าวรีย หรือ รปู นูนพระเคร่ืองบางองค 2. ประตมิ ากรรมแบบนูนสงู ( High Relief ) เปนรูปปน ท่มี ีลักษณะเชนเดยี วกบั แบบนนู ต่าํ แตมคี วามสูงจากพ้ืนตัง้ แตค ร่ึงหน่งึ ของรปู จริงขนึ้ ไป ทาํ ใหเ ห็นลวดลายท่ลี กึ ชดั เจนและเหมือน จริงมากกวา แบบนนู ต่าํ แตใ ชงานแบบเดียวกับแบบนูนต่าํ 3. ประติมากรรมแบบลอยตัว ( Round Relief ) เปนรูปปน แบบตา ง ๆ ที่มองเห็นไดรอบ ดานหรือ ต้งั แต 4 ดานขึ้นไป ไดแ ก ภาชนะตาง ๆ รปู เคารพตา ง ๆ พระพุทธรปู เทวรปู รูปตามคติ นยิ ม อนสุ าวรียของบุคคลสําคญั และรปู สัตว ฯลฯ หมายเหตุ พระพุทธรูปในศาสนาพุทธ ใชคาํ วา “ประฏิมากรรม”

4 สถาปตยกรรม สถาปตยกรรม หมายถึง การออกแบบผลงานทางทัศนศิลปที่เปนการกอสรางสิ่งตางๆ ที่คนทั่วไปอยูอาศัยไดและอยูอาศัยไมได เชน สถูป เจดีย อนุสาวรีย บานเรือนตาง ๆ เปนตน นอกจากนี้ยังรวมถึงการออกแบบกําหนดพื้นที่บริเวณตางๆ เพื่อใหเกิดความสวยงามและเปน ประโยชนแ กการใชส อยตามตองการ ผูสรางงานสถาปตยกรรม เรียกวา สถาปนิก ลักษณะงาน ของสถาปตยกรรมแบงออกไดเปน 3 แขนง ดังนค้ี อื 1. สถาปต ยกรรมออกแบบกอสราง ไดแ ก การออกแบบสรางตกึ อาคาร บา นเรือน สิง่ กอสรา งทางศาสนาตางๆ เปนตน 2 ภมู สิ ถาปตย ไดแก การออกแบบวางผงั จดั บรเิ วณ วางผงั ปลกู ตน ไม จดั สวน 3 สถาปตยกรรมผังเมือง ไดแก การออกแบบบริเวณเมืองใหม ีระเบียบ มีความสะอาด และถูกหลกั สุขาภิบาล ภาพการออกแบบผังเมอื งบรเิ วณชมุ ชนขนสง จ.สิงหบ ุรี องคป ระกอบสาํ คญั ของสถาปต ยกรรมมอี ะไรบาง องคประกอบสาํ คัญของสถาปตยกรรมมี 3 ประการ 1. ความงาม หมายถึง สัดสว นและองคประกอบ การจัดวางที่วา ง สี วสั ดแุ ละ พนื้ ผวิ ของอาคาร ที่ผสมผสานลงตัว ท่ยี กระดบั จิตใจ ของผูไดยลหรือเยย่ี มเยือนสถานท่ีนนั้ ๆ 2. ความมน่ั คงแขง็ แรง หมายถงึ สามารถสรา งไดจรงิ มโี ครงสรางมั่นแขง็ แรง 3. ประโยชนใชสอย หมายถึง การสนองประโยชน ในการใชงาน ศลิ ปะภาพพิมพ ศิลปะภาพพิมพเปนศิลปะท่ีสรางขึ้นดวยกระบวนการพิมพ มีองคประกอบสําคัญ คือ แมพ มิ พก ับวสั ดุที่รองรับการพิมพ แมพ ิมพโดยท่ัวไปจะเปน วัสดุทีค่ งทน เชน โลหะ ไม หนิ

5 สว นวสั ดทุ ร่ี องรบั การพิมพห รอื ชิ้นงานที่มภี าพปรากฏอยูน้นั สวนมากจะเปนกระดาษ ผา และยังมี วสั ดอุ ืน่ เชน โลหะ ฝาผนงั แผนอะซเี ตท ลักษณะเฉพาะของศลิ ปะภาพพมิ พ ภาพพิมพมีลักษณะผลงานมีเพียง 2 มิติเหมือนงาน จิตรกรรม แตการสรางผลงานภาพพิมพศิลปนตองสรางแมพิมพขึ้นมาเปนสื่อกอน แลวจึงผาน กระบวนการพิมพ ถา ยทอดออกมาเปนภาพที่ตองการได ทําใหศิลปนสามารถสรางผลงานที่เปน ตนแบบที่เหมือน ๆ กนั ไดห ลายชน้ิ ผสู รา งงานภาพพมิ พ เรียกวา ศิลปน ภาพพมิ พ ภาพซา ย ศลิ ปะภาพพิมพจากแมพ มิ พแ กะแผน ไม ภาพขวา ภาพพมิ พจ ากแมพ ิมพห นิ ของศิลปน รุงศกั ด์ิ ดอกบัว การเขยี นจํานวนผลงานการพมิ พข องศลิ ปนภาพพมิ พ ศลิ ปน จะเขียนจาํ นวนผลงานที่ไดพมิ พออกมา โดยจะเขยี นกํากับไวทดี่ า นลางซา ยของภาพ เชน 3/30 เลข 3 ตัวหนา หมายถึงภาพที่ 3 สวนเลข 30 ตัวหลงั หมายถึงจาํ นวนทีพ่ ิมพท งั้ หมด อักษรA/Pในศิลปะภาพพิมพ ในภาพพิมพบางช้นิ ศลิ ปนอาจเซน็ คาํ วา A/P ไวแทนตัวเลขจํานวนพิมพ A/P น้ียอมาจาก Artist's Proof ซง่ึ หมายความวา ภาพ ๆ นเี้ ปน ภาพทีพ่ มิ พข นึ้ มาหลงั จากทศ่ี ิลปนไดม กี ารทดลอง แกไข จนไดค ณุ ภาพสมบรู ณต ามที่ตอ งการ จงึ เซน็ รับรองไวห ลังจากพิมพ A/P ครบตามจํานวน ประมาณ 10% ของจาํ นวนพมิ พทัง้ หมด จงึ จะเร่มิ พิมพใ หค รบตามจาํ นวนเต็มทก่ี ําหนดไว เทคนคิ และกรรมวธิ ีในการพมิ พข องศิลปะภาพพิมพ 1. กรรมวิธกี ารพมิ พผวิ นูน (Relief Process) คอื การพิมพจ ากผวิ สว นท่อี ยสู ูงบน แมพ มิ พ ดงั นัน้ สวนท่ีถกู แกะเซาะออกไปหรือสวนทีเ่ ปนรองลกึ ลงไปจะไมถ กู พมิ พ ซง่ึ แมพิมพใ น ลักษณะน้ี เชน แมพมิ พแกะไม แมพ มิ พแกะยาง แมพมิ พกระดาษแขง็ เวลาพิมพแมพิมพเ หลา นี้ จะทาหมกึ ลงบนสว นนูนของแมพมิ พ วางกระดาษทับลงไป แลว ใชเครอื่ งมอื ประเภทลูกกล้ิง

6 ลกู ประคบหนัง กลง้ิ หรอื กดลงบนกระดาษอาจจะพิมพ ดว ยมอื หรือแทนพมิ พ หมกึ ก็ติดกระดาษ เกิดเปนรูปข้ึนมา 2. กรรมวธิ ีการพมิ พร อ งลึก (Intaglio Process ) คอื พิมพลงในสวนท่เี ปนรองลกึ ของ แมพมิ พ ในการพมิ พตองกดหมกึ ลงไปในรอ งลกึ และเชด็ ผวิ บนใหส ะอาด แลวจงึ เอากระดาษปด ทับ บนแมพมิ พ แลวใชแ ทนพมิ พที่มีแรงกดสูงเพือ่ กดกระดาษใหลงไปดดู ซบั หมึกขึ้นมาได การพิมพ ชนดิ นีไ้ ดแก การพิมพแ มพิมพเอทช่ิง และแมพิมพโลหะแกะลาย 3. กรรมวธิ กี ารพิมพพ ้ืนราบ (Planography Process) เปนการพมิ พทใี่ ชหลกั การนาํ้ กับ น้ํามันไมร วมตัวกัน ผิวของแมพ มิ พช นดิ นจ้ี ะเสมอกันหมดโดยใหสว นท่ีเปนภาพมีสภาพเปนไขมัน สามารถรบั หมึกซึ่งเปนน้ํามันเชน กัน สว นท่ีไมเ ปนภาพจะสามารถรับนํ้าไวได ในการพิมพ จะคลงึ แมพมิ พด ว ยน้าํ แลวคลึงหมึกตาม หมกึ ไมถ กู กบั นาํ้ จะไปเกาะเฉพาะสว นทเ่ี ปนภาพ เมือ่ นาํ วสั ดุใชพมิ พทาบบนแมพ มิ พกจ็ ะเกิดภาพตามตอ งการ การพิมพประเภทนี้มี การพมิ พจ าก แมพ มิ พหิน การพิมพระบบออฟเซท็ 4. กรรมวิธกี ารพิมพผ า นชองฉลุ (Serigraphy)เปนการพิมพทใ่ี ชหลักการใหห มกึ ผา นทะลุ สวนทเ่ี ปน ภาพบนแมพ ิมพไ ปตดิ อยบู นวัสดใุ ชพิมพ ทําใหเ กดิ ภาพ การพมิ พป ระเภทนี้มี การพมิ พโ รเนียว การพิมพซ ลิ คสกรีน และการพิมพแ บบสเตนซิล 5. กรรมวิธกี ารพิมพเทคนิคผสม (Mixed Tecniques) หมายถึง วิธกี ารสรา งภาพโดย อาศัยกรรมวธิ กี ารพิมพต ั้งแตส องกรรมวธิ ีข้ึนไป หรอื ใชวสั ดอุ น่ื ๆ เขา มาผสมผสานในการสราง ผลงานแปลกใหมทางศลิ ปะ ประวตั ศิ าสตรท ศั นศิลปส ากล ประวตั ิศาสตรท ศั นศลิ ปสากลแบง ออกเปน 5 ยคุ ไดแก 1. ยคุ กอ นประวัตศิ าสตร 2. ยคุ โบราณ 3. ยุคกลาง 4. ยุคใหม 5. ศิลปะสมัยใหมในศตวรรษที่ 20

7 ทศั นศลิ ปยคุ กอ นประวัตศิ าสตร ยุคกอ นประวัตศิ าสตร ไดแ ก ยุคหนิ ยุคโลหะ และยุคสมั ฤทธิ์ ทไ่ี มม ีการบนั ทึกขอความ ทางประวัตศิ าสตรใ ดๆไวเปน ตัวอักษร แตมีหลักฐานทางโบราณคดปี รากฏใหเ หน็ ซ่ึงอยใู นชวงเวลา ประมาณ 30,000-10,000 ปม าแลว ภาพซา ยจิตรกรรมบนผนงั ถา้ํ กลางวนี สั แหงวิลเลนดอฟ ขวาวงกลมหนิ สโตนเฮนจ ทัศนศลิ ปในยคุ หนิ ประกอบดวย จิตรกรรม ไดแ กภาพเขยี นบนผนงั ถํา้ ซง่ึ เขียนดวยถาน เขมา ควัน ดินสผี สมกับไขสตั ว ภาพทีม่ ีช่อื เสยี งทสี่ ุดไดแกภาพเขียนในถาํ้ อมิตรา ประเทศสเปน เปน ภาพเขียนระบายสีภาพสตั ว ตา งๆเชน กวาง มา วัวปา ประติมากรรม เปนการแกะสลกั หนิ ขนาดเลก็ ประตมิ ากรรมทมี่ ีชอื่ เสยี งในยคุ นี้คือ วีนสั แหง วิลเลนดอฟ ซึ่งเชื่อวารูปเหลาน้ีสรางขึน้ เพื่อเปนสัญลักษณข องความอดุ มสมบรู ณ สถาปตยกรรม สวนมากเปนส่ิงกอสรางท่ีทําจากหินกอนใหญๆ คาดวานาจะสรางขึ้น เพอ่ื ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา เชน สสุ านหนิ Poulnabrone ในประเทศไอรแลนด หรือกลุม วงกลมหินสโตนเฮนจใ นประเทศอังกฤษ เปน ตน 2. ทศั นศิลปยคุ โบราณ ทศั นศิลปยคุ โบราณ แบงออกเปนยุค-สมยั ตา ง ๆ ได 5 ยุค ดังน้ี 2.1 ยคุ อยี ิปต 2.2 ยุคเมโสโปเตเมีย 2.3 ยคุ กรีก 2.4 ยุคโรมัน 2.5 ยคุ ไบแซนไทน

8 ทศั นศลิ ปยคุ โบราณ ในยคุ โบราณแคล ะยุคมีทศั นศลิ ปทเ่ี ปน เอกลกั ษณข องแตละยคุ ดงั นี้ 2.1 ยุคอยี ิปตอ ยใู นชว งเวลา 3,000 ป กอ นครสิ ตศักราชถงึ คริสตศกั ราชที่ 100 ทัศนศิลป ในยุคศลิ ปะอียปิ ตประกอบดว ย จติ รกรรมยคุ อยี ปิ ต จติ รกรรม ลกั ษณะทวั่ ไปของจิตรกรรมมีลกั ษณะเปน ศิลปะตกแตง ทา ทางของภาพคน ทาํ ซา้ํ ๆ กนั ไมม ีการแสดงความรูสึกบนใบหนา มีการระบายสแี บบแบน สสี ด ไมมีการลงเงา สีท่ี ใชมสี แี ดง เหลอื ง เขียว นํ้าเงนิ ดาํ และขาว ลักษณะจิตรกรรมเปนแบบสองมติ ิ ดูไดจ ากภาพเขยี น และภาพประตมิ ากรรมนูนต่ํามลี กั ษณะคลายกัน โดยวาดลาํ ตวั และแขนใหเห็นดา นตรง สว นศีรษะ ขา และเทา ใหเ หน็ ดานขา ง บคุ คลสาํ คญั ในภาพจติ รกรรมและประติมากรรมมขี นาดใหญก วา บุคคล อ่ืน ๆ ท่ีนา สังเกตอีกประการหนึ่งคือจติ รกรรมรูปคนมักไมค ํานงึ ถึงลกั ษณะตามธรรมชาติ เชน เขียนสวนหัวจนถงึ เทา เปนรูปดานขาง แตเขยี นตาและทรวงอกเปน รปู ดานหนา ประติมากรรมยคุ อียปิ ต ประติมากรรม ประตมิ ากรรมมีทง้ั แบบสลกั นูน และลอยตวั นิยมระบายสแี ดง แตกไ็ มทํา ใหเกดิ ความนาเกลยี ด เพราะความมดื ภายในสุสานและวิหารจะชวยขมความเขม สดของสีลงไป

9 วสั ดทุ ีใ่ ชใ นการสรา งงานประติมากรรมมีท้งั ไม อิฐ ดินเหนยี ว หนิ ปูน หินทราย หินบะซอลต และแกรนติ ชาวอยี ิปตรูจ กั การหลอโลหะมานานแลว โดยจะหลอ สวนศรี ษะแลวเอามาตอเขากบั สว นรา งกายโดยใชแ กนไมเปนเดือย มีการทาํ เครื่องทองท่ีงดงาม สถาปตยกรรมยคุ อียปิ ต สถาปตยกรรม สถาปตยกรรมที่ย่ิงใหญที่สุดของอียิปตคือพีระมิด ซ่ึงสรางขึ้นดวย จุดประสงคทางศาสนาและอํานาจทางการปกครอง ฟาโรหของอียิปตจึงสรางพีระมิดสําหรับ ตนเอง ความยง่ิ ใหญข องพรี ะมิดสะทอนถงึ อาํ นาจของฟาโรห โดยใชหินทรายตัดเปนกอนสี่เหล่ียม น้าํ หนกั ขนาด 2.2-2.5 ตนั รวมประมาณ 2 ลา นกอ นเปน วัสดทุ ่ใี ชในการกอ สราง ซิกูรัต (Zigurat) 2.2 ยุคเมโสโปเตเมีย (Mesopotamia) หมายถงึ ดินแดนในลุม แมนา้ํ สองสายคือ แมน ้าํ ไทกรีส กับยเู ครตสิ มอี ายปุ ระมาณ 8,000-146 ปก อนคริสตกาล มชี นชาตติ าง ๆ ไดแ ก สุเมเรยี น บาบิโลเนียน อัสซิเรียน เปอรเซยี (ประเทศ อิรกั อิหรา น ในปจจุบัน) ลกั ษณะศลิ ปกรรมของ สเุ มเรียนจะใชอ ิฐเผากอนใหญ ๆ มาเรียงกัน ดงั น้ันสถาปตยกรรมสวนใหญจึงมีอฐิ เปนโครงสรา ง หลกั สถาปต ยกรรมของสุเมเรียนท่ีรจู กั กนั มากทีส่ ดุ คือวิหารใหญเรยี กวา ซิกูรตั (Zigurat)

10 เปน หอสูงแบบตกึ ระฟา มีทางเดินเปนบันไดวน คาํ วา ซกิ กูรตั มาจากคําในภาษาอัคคาเดี้ยน ซง่ึ แปลวา ภูเขาหรือยอดเขา เปนสถานที่สาํ หรบั ทําพิธีทางศาสนาของชาวเมโสโปเตเมีย 2.3 ยคุ กรกี (Greek Art) อยูร ะหวาง 1100ปก อนครสิ ตศักราช - 146 ปก อ น ครสิ ตศกั ราช ทตี่ ั้งไดแกป ระเทศกรซี ในปจจุบัน ยุคน้ันประกอบดวย 2 รัฐคือเอเธนส และสปาตา ชาวกรกี มกี ารศึกษาศลิ ปวิทยาจนมีความเจริญทางดา นวทิ ยาศาสตร อักษรศาสตร ปรชั ญา และ การปกครอง ศิลปกรรมกรีกมีความเจริญสูงสดุ เปน แบบฉบับในทางศลิ ปะของมนษุ ยชาตติ ง้ั แตยุค โบราณจนถงึ ปจจุบัน จติ รกรรมกรีกจะปรากฏบนภาชนะ งานจิตรกรรม กรีกไมนิยมสรางจิตรกรรมนักเพราะถือวาไมอาจถายทอดรูปแบบท่ีมี ลักษณะที่แทจริงได ดังน้ันงานจิตรกรรมสวนใหญจึงออกมาในรูปแบบการประดับตกแตงบน ภาชนะเครื่องปน ดินเผาตา งๆ เชน ไห แจกัน อกี ท้งั มภี าพบนผนัง สีท่ีใชไดแก สีดิน คือเอาสีดําอม นํ้าตาลผสมบางๆ ระบายสีเปนภาพบนพื้นผิวแจกันที่เปนดินสีนํ้าตาลอมแดง แตบางทีก็มีสีขาว และสีอืน่ ๆ รวมดวย เทคนคิ การใชรูปรางสดี าํ ระบายพน้ื หลังเปน สีแดงน้ี เรียกวา “จิตรกรรมแบบ รปู ตวั ดาํ ” ประตมิ ากรรมยคุ กรีก

11 ประติมากรรม ประติมากรรมของกรีก นิยมสรางสรรคแนวเหมือนจริง (Realistic) โดยเฉพาะสรรี ะของคนเรา ชาวกรีกถือวา มคี วามงดงามย่ิง ชาวกรีกจึงนิยมปนและแกะสลักรูปคน เปลือยกายไวม ากมาย งานประติมากรรมลอยตัวทมี่ ชี ่อื เสียง ไดแก เทพธิดาวีนัส (Venus) รูปเทพ เจาอพอลโล (Apollo) รปู นกั กีฬาไมรอน (Myron) ประตมิ ากรรมโลหะสัมฤทธิ์รปู เด็กหนมุ เปนรูป เปลือยท่มี สี ว นสัดของรา งกาย ตลอดจนการจดั วางทวงทาไดอยา งงดงาม วหิ ารพารเธนอน สถาปตยกรรม อาทิ วิหาร สนามกีฬา หอประชุม และสถานท่ีแสดงอุปรากร วิหารท่ีมี ช่ือเสียงที่สุดคือ วิหารพารเธนอน (Parthenon) สรางดวยหินออนสีขาว มีความงดงามมาก ภายในวหิ ารตกแตงดว ยภาพแกะสลักอยางวิจิตรงดงาม กรีกแบงงานสถาปตยกรรมตามลักษณะ หัวเสา 3 แบบใหญ ๆ คือ 1. แบบดอริก (Doric) 2. แบบไอโอนิก (Ionic) 3. แบบคอรินเทียน (Corinthian) 2.4 ยุคโรมัน (Roman Art) 510 ปก อนปกอนครสิ ตศกั ราช ท่ี 1 ปก อนคริสตศกั ราช ปจ จุบันคือประเทศอิตาลี มศี นู ยก ลางอยูทกี่ รงุ โรม ศิลปะโรมันสวนใหญไดร บั อิทธิพลจากกรกี ซ่ึงมอี งคป ระกอบทป่ี ระณตี งดงาม แตศิลปะของโรมันเนนความใหญโตมโหฬาร มคี วามหรูหรา สงา งาม มัน่ คงแข็งแรง

12 ภาพประดบั หินสีหรอื ภาพโมเสท(Mosaic) จิตรกรรม สวนใหญเปน ภาพทีแ่ สดงถงึ เร่ืองราวในชีวิตประจําวนั ของชาวโรมันนอกนั้น เปนภาพในเทพนิยาย เหตกุ ารณใ นประวตั ิศาสตรล ักษณะของภาพยังมีความงามท่ีสมบรู ณ เปนภาพเขยี นสแี ละประดบั ดวยหินสี (Mosaic) อยา งประณตี สวยงาม วนี ัสเอสไควไลน ประติมากรรม โรมันนํารูปแบบประติมากรรมมาจากกรกี มาพัฒนาการสอดแทรกอุดมคติ ของโรมันเขา ไปดวย เชน ความเขมแข็งแบบทหาร นิยมสรา งรปู ทหารนักการเมือง แมท ัพจูเลียส และบุคคลสาํ คัญ ๆ ลกั ษณะเขม แขง็ เปน ผูดี เสอื้ ผา มรี อยยน มาก ประติมากรรมของโรมัน ไดแ ก วีนสั เอสไควไลน และบางสว นนํามาจากกรกี อยา งภาพเลาคูนและบตุ รถูกงูรัด เปนตน

13 โคลอสเซยี ม สถาปต ยกรรมโรมนั มีช่ือเสียงมาก โรมนั เปนชาติแรกท่ีคดิ คนสรางคอนกรตี ได สามารถใช คอนกรตี หลอ ขึ้นเปนโครงสรางรูปโดมชวยทําใหก ารกอสรา งอาคารมขี นาดใหญข ึน้ สถาปตยกรรม ของโรมนั ทีม่ ีชื่อเสยี ง ไดแ ก วหิ ารแพนธีออน (Pantheon) และโคลอสเซยี ม (Colosseum) ซงึ่ เปน สนามกฬี ารูปกลมรขี นาดใหญม หมึ าสามารถจุคนดูไดถงึ 50,000 คน ใชสาํ หรบั แสดงละคร แขงขันกีฬา และกจิ กรรมอืน่ ๆ 2.5 ศิลปะไบแซนไทน อยใู นชวงคริสตศ ตวรรษที่ 5-11 เปนศิลปะทม่ี ีลกั ษณะเช่ือมโยง ความคดิ และรปู แบบระหวา งตะวนั ตกกบั ตะวันออกเขาคําวา \"ไบแซนไทน \" เรยี กตามชือ่ จกั รวรรดิไบแซนไทน ท่ีมีกรุงคอนสแตนตโิ นเปล เปนเมืองหลวง (ปจ จุบันคอื นครอิสตันบูลใน ประเทศตรุ กี) จติ รกรรมเขียนสีบนปนู เปยก ศลิ ปะไบแซนไทน จิตรกรรม เขยี นภาพระบายสบี นฝาผนังและแผงไม หรือทําเปนภาพประกอบเรอ่ื งใน หนงั สอื เขยี นดว ยสฝี ุน สขี ผี้ งึ้ รอ น และการเขยี นภาพปูนเปยก (เขียนสีลงบนปูนที่ฉาบ ขณะท่ปี นู ยงั ไมแ หง) สว นใหญจะแสดงรูปคนกาํ ลังสวดมนต และภาพปาฏิหารยิ ต อนสําคัญของพระผูเปนเจา

14 ประตมิ ากรรมยคุ ไบแซนไทน ประติมากรรม เปนงานขนาดเลก็ ๆ ไดแกง านแกะสลักรูปคนบนโลงศพ ถวยและจาน โลหะ แกะสลกั งาชาง โกศบรรจธุ าตศุ กั ดส์ิ ิทธิ์ มหาวหิ ารอายา โซเฟยสถาปต ยกรรมยคุ ไบแซนไทน( ประเทศตรุ กี) สถาปต ยกรรม มลี กั ษณะใหญโต คงทนถาวร ประดับตกแตงดวยการใชพนื้ ผวิ (Texture) อยางหลากหลาย งานสถาปต ยกรรมท่ีโดดเดน ที่สดุ ของไบแซนไทน คอื การทาํ หลังคาเปน รูปกลม (Cupula) ตา งจากหลังคาของศิลปะโรมนั ที่ทําเปนรูปโคง (Arch) หลงั คากลมแบบไบแซนไทน 3. ทัศนศิลปในยคุ กลาง ทัศนศิลปย คุ กลางประกอบดวยศิลปะ3สมยั ดังนี้ 3.1 ศิลปะโกธกิ (Gothic Art) 3.2 ศลิ ปะสมยั ฟน ฟศู ิลปวิทยา (Renaissance Art) 3.3 ศลิ ปะบารอกและรอกโกโก (Baroque and Rococo Art)

15 ในยคุ กลางมีทศั นศลิ ปท่เี ปนเอกลกั ษณข องแตล ะ สมัยดงั นี้ 3.1 ศิลปะโกธกิ (Gothic Art) เปนศลิ ปะที่เกดิ ในยโุ รปชวงระหวา งคริสตศตวรรษ ท่ี 12-15 มีศนู ยกลางทฝี่ รั่งเศส ศลิ ปะโกธิกนยิ มแสดงเรอ่ื งราวทางศาสนาในแนวเหมอื นจริง (Realistic Art) ไมใชส ัญลักษณเหมือนศิลปะยุคกอ น ศิลปะการประดบั กระจกสี จิตรกรรม การเขียนภาพฝาผนงั การเขียนลวดลายในหนงั สอื มกั จะแสดงรปู คนท่ี สะโอดสะองในชดุ เสอ้ื ผาอาภรณท่ีพลิ้ว และโคงไหวอยา งออ นชอย และงานประดับกระจกสี ในชองหนาตา งของโบสถ ภาพซา ยประตมิ ากรรมปนู ปน แบบโกธคิ ภาพขวาการกอย ประติมากรรม วหิ ารตางๆ รูปปูนปนนักบุญ ซึ่งจะมีลกั ษณะอยใู นเสือ้ คลมุ หนา ไมเปด เผย สรีระ ประติมากรรมปนู ปน ปลายรางน้าํ ฝนเปนรูปสตั วป ระหลาดเรยี กวา การก อย

16 สถาปต ยกรรมแบบโกธคิ สถาปตยกรรม มีโครงสรางทรงสูง มยี อดหอคอยรปู ทรงแหลมอยขู า งบน ทาํ ใหต วั อาคาร มีรูปรา งสงู ระหงขน้ึ สูเพดาน ซมุ ประตู หนาตาง ชองลม มีสว นโคงแปลกกวา ศลิ ปะแบบใด ๆ 3.2 ศลิ ปะสมยั ฟน ฟศู ลิ ปวิทยา (Renaissance Art) อยใู นชวงศตวรรษที่ 14-15 ศลิ ปนไดนําเอาแบบอยา งศิลปะชั้นสงู ในสมัยกรกี และโรมัน กลบั มามาสรางสรรคหรือฟน ฟูอกี คร้งั จติ รกรรม ภาพอาหารม้อื สดุ ทา ยของพระเยซู ศลิ ปน เลโอนารโ ด ดาวินชี จติ รกรรมและประติมากรรม ศลิ ปน สรา งสรรคใ นรูปความงามตามธรรมชาติ และความ งามท่ีเปนศิลปะแบบคลาสสิกท่ีเจริญสูงสุด ซึ่งพัฒนาแบบใหมจากศิลปะกรีกและโรมัน ความสาํ คญั ของศลิ ปะสมยั ฟน ฟู มีความสําคัญตอการสรางสรรคศิลปะเกือบทุกสาขา โดยเฉพาะ เทคนคิ การเขียนภาพ การใชอ งคประกอบทางศลิ ปะ (Composition) หลักกายวิภาค (Anatomy) การเขยี นภาพทัศนียวิทยา (Perspective Drawing) ศลิ ปนท่ีสาํ คญั ไดแก ไดแก เลโอนารโ ด ดาวนิ ชี (Leonardo da Vinci) ผลงานที่มชี ือ่ เสียงของดาวินชี ไดแ ก ภาพ อาหารม้ือสุดทายของพระเยซู ภาพโมนาลซิ า (Mona Lisa) และยังเปน ผคู ิดสงิ่ ประดษิ ฐท าง กลศาสตรและวิทยาศาสตรอ ีกมากมาย ไมเคลิ แองเจลโล (Michel Angelo) เปนศลิ ปนผูมีความสามารถ และรอบรูใ นวิทยาการ

17 แทบทุกแขนง โดยเฉพาะรอบรใู นดา นจิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปต ยกรรม เปนสถาปนกิ ผูรว มออกแบบและควบคมุ การกอสรางมหาวิหารเซนตป เตอร งานประติมากรรมสลกั หินออนท่ีมี ช่ือเสียงและเปนผลงานชน้ิ เอก ไดแก รปู โมเสส (Moses) ผูรับบัญญตั สิ ิบประการจากพระเจา รปู เดวดิ (David) หนุมผมู เี รือนรา งทง่ี ดงาม รูปพิเอตตา (Pietta) แมพระอมุ ศพพระเยซอู ยูบนตกั มหาวิหารเซนตป เ ตอร สถาปต ยกรรมสมัยฟน ฟศู ลิ ปะวิทยา สถาปต ยกรรม มกี ารกอสรางแบบกรกี และโรมันเปน จาํ นวนมาก แตม ีประตูหนา ตาง เพมิ่ มากขึ้นประดับตกแตงภายในดว ยภาพจติ รกรรมและประตมิ ากรรมอยางหรูหรา สงางาม งานสถาปต ยกรรมท่ี ยิ่งใหญใ นสมยั นั้นฟน ฟูศิลปวิทยา ไดแก มหาวิหารเซนตป เ ตอร (St. Peter) ในกรุงโรม วหิ ารน้มี ีศิลปน ผอู อกแบบควบคมุ งานกอสรางและลงมือตกแตงดวย ตนเอง ตอเนอื่ งกันหลายคน เชน โดนาโต บรามันโต (Donato Bramante ราฟาเอล (Raphel ) ไมเคลิ แองเจลโล (Michel ) และโจวันนิ เบอรนินี (Giovanni Bernini 3.3 ศลิ ปะบารอกและรอกโกโก (Baroque and Rococo Art) อยูใ นระหวาง ค.ศ. 1545-1563 คําวา Baroque และ Rococo ในปจ จบุ ัน หมายถงึ สิง่ ทม่ี ีการตกแตงประดับประดา ดว ยเครื่องอลังการ วิจิตรพสิ ดารจนเกนิ งาม หรอื บางครั้งกเ็ รียกกนั วา \"ศิลปะแบบหลุยสท่ี 14\"

18 ศลิ ปะบารอกและรอกโกโก ภาพซา ยจติ กรรม ภาพขวาประติมากรรม จิตรกรรม และประติมากรรม ยงั คงเนนรปู รา ง รูปทรงธรรมชาติ (Realistic) แตใชส ี รนุ แรงขึ้น งานประติมากรรมประกอบดวยเสน โคงมนตกแตง โครงสรา งเดิม มลี วดลายออนชอย งดงาม สถาปต ยกรรม เปนสถาปต ยกรรมทบ่ี งถึงความหรหู ราโออ า และความมีอาํ นาจของ สถาบนั คริสตศาสนาและการปกครอง โดยจะเนนเร่อื งแสง สี เงา และคณุ คาของประตมิ ากรรม อาคารท่ีถือเปนแบบฉบับของศลิ ปะบารอก และรอกโกโก ไดแ ก โบสถเ ซนตคารโ ล (Church of St. Carlo) ท่ีกรงุ โรมและพระราชวงั แวรซ าย (Versailes palace) ประเทศฝรงั่ เศษ 4. ทัศนศลิ ปย คุ ใหม (Modern Age) ศิลปะสมัยใหม (Modern Art) เริ่มข้ึนตอนปลายศตวรรษท่ี 18 ในประเทศฝรงั่ เศส สบื เนอื่ งจากความเจรญิ ทางวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี มผี ลทําใหเกดิ การเปลย่ี นแปลงทางศิลปะ อยา งขนานใหญ ท้ังรปู แบบและจดุ ประสงค โดยเฉพาะการสรางสรรคง านจิตรกรรม ศิลปนยคุ ใหม ตางพากนั ปลกี ตวั ออกจากการยึดหลักวิชาการ ซึ่งเปน กฎเกณฑท ่มี รี ากฐานมาจากศิลปะกรีกและ โรมนั มาใชค วามรสู กึ นกึ คดิ และความคิดสรา งสรรคของแตละคนอยา งอิสระ แยกศลิ ปะออกจาก ศาสนาโดยสนิ้ เชิง ศิลปะจึงเปน เรอื่ งสว นตัวของบคุ คลอยา งแทจ ริง ในการใชส ิทธเิ สรภี าพในการ แสดงออกอยา งเตม็ ท่ี จงึ ทาํ ใหเ กิดรปู แบบศลิ ปะใหม ๆ ขนึ้ มากมาย ท้ังในยุโรปและสหรัฐอเมริกา

19 ทัศนศิลปย คุ ใหม ค.ศ. 1800 – ปจจบุ นั ทศั นศลิ ปยุคใหมประกอบดวยศิลปะ 5 รูปแบบคอื 4.1 ศลิ ปะแบบนีโอคลาสสกิ (Neo-Classic) 4.2 ศิลปะแบบโรแมนตกิ (Romanticism) 4.3 ศลิ ปะแบบเรยี ลิสม (Realism) 4.4 ศลิ ปะแบบอิมเพรสชันนิสม (Impressionism) 4.5 ศลิ ปะแบบโพสต – อมิ เพรสชนั นสิ ม (Post-Impressionism) จิตรกรรมสีนํา้ มนั ยคุ นีโอคลาสสกิ ช่อื “การสาบานของโฮราต”ี ศิลปน จาค หลยุ ส เดวิด 4.1 ศลิ ปะแบบนีโอคลาสสกิ (Neo-Classic) นีโอคลาสสิกเปนรปู แบบศลิ ปะทอี่ ยูใน ระยะหัวเลยี้ วหวั ตอระหวางสมัยใหมกบั สมยั เกา ยคุ นี้ จิตรกรรมมีความเจรญิ มากทสี่ ดุ ซึ่งเรอื่ งราว เนอื้ หาที่ถา ยทอด มักเปนเรื่องราวตามเทพนยิ ายของกรีก ภาพเขยี นจะสะทอนเรือ่ งราวทาง อารยธรรม เนนความสงา งามของรปู รา งทรวดทรงของคนและสวนประกอบของภาพ ภาพจะมี ขนาดใหญโต แข็งแรง ม่นั คง ใชส กี ลมกลนื มดี ลุ ยภาพของแสง และเงาที่งดงาม ศลิ ปนทส่ี าํ คัญของศลิ ปะแบบนโี อคลาสสกิ ไดแก จาค – ลุย ดาวดิ (Jacque Louis David ค.ศ. 1748-1825) ไดร บั การยกยองวาเปนผวู างรากฐานของศลิ ปะแบบนีโอคลาสสิก ผลงานจิตรกรรมที่มีชือ่ เสียง เชน การสาบานของโฮราตี (The Oath of Horatij) การตายของ มาราต (The Death of Marat)

20 ศลิ ปะแบบโรแมนตกิ ภาพการอบั ปางของเรือเมดูซา ศิลปน เจริโคต 4.2 ศลิ ปะแบบโรแมนตกิ (Romanticism) ศิลปะแบบโรแมนติก เปน ศลิ ปะรอยตอ จากแบบนีโอคลาสสกิ แสดงถงึ เร่อื งราวทตี่ นื่ เตน เรา ใจ สะเทอื นอารมณแกผูพ บเหน็ ศลิ ปนโร แมนติก ศลิ ปนทสี่ าํ คญั ของศิลปะโรแมนติก ไดแก เจริโคต (Gericault) ผลงานจติ รกรรมท่มี ี ชือ่ เสียงมาก คอื การอับปางของเรือเมดูซา (Raft of the Medusa) เดอลาครวั (Delacroix) ชอบเขยี นภาพท่ีแสดงความตนื่ เตน เชน ภาพการประหารที่ ทชิ โิ อ ความตายของชาดารนาปาล การฉดุ ครา ของนางรเี บกกา เปนตน ฟรานซิสโก โกยา (Francisco Goya) เปนศลิ ปนท่ีชอบเขียน ภาพแสดงการทรมาน การฆากันในสงคราม คนบา ตลอดจนภาพเปลือย เชน ภาพเปลอื ยของ มายา (Maya the nude) เปนตน ศิลปะแบบเรยี ลิสม จิตรกรรมสีน้าํ มนั บนผาใบโดยกรู แ แบร( Gustave Courbet)

21 4.3 ศิลปะแบบเรียลสิ ม (Realism) ศลิ ปนกลุมเรยี ลสิ มมคี วามเชอื่ ในความจริงของ ชีวติ มนุษย ดงั น้ัน ศลิ ปนกลมุ นีจ้ งึ เขยี นภาพที่เปน ประสบการณต รงของชีวิต เชน ความยากจน การปฏิวตั ิ ความเหลื่อมลาํ้ ในสงั คม โดยการเนนรายละเอียดเหมือนจริงมากทสี่ ุด ศิลปนสําคัญใน กลุมน้ี ไดแก โดเมยี ร (Daumier) ชอบวาดรปู ชีวติ จริงของความยากจน คูรเบต (Courbet) ชอบ วาดรูปชวี ิตประจําวันและประชดสังคม มาเนต (Manet) ชอบวาดรูปชวี ิตในสังคมเชน การ ประกอบอาชีพ ศิลปะแบบอิมเพรสชนั นสิ มภาพชือ่ งานบอลลท ม่ี แู ลงเดอกาเล ศลิ ปน เรอนัวร 4.4 ศลิ ปะแบบอมิ เพรสชันนสิ ม (Impressionism) กลมุ ศลิ ปน อิมเพรสชนั นิสมเ รมิ่ เบอื่ รปู แบบทม่ี ีหลกั ความงามแบบเหมอื นจริงตามธรรมชาติ เปล่ียนเปนสิ่งเช่ือมโยง เนนดวยแสง สี บรรยากาศ ภาพวาดแบบอมิ เพรสช่นั นสิ ม ประกอบดวยการตระหวัดพกู นั แบบเปนเสนสั้น ๆ ของสี ไมไดผสมหรอื แยกเปนสีใดสหี นึ่ง ซ่งึ ไดใ หภาพที่เกดิ ขน้ึ ตามธรรมชาติและมชี ีวิตชวี า พืน้ ผวิ ของภาพวาดนนั้ มักจะเกิดจากการระบายสีแบบหนา ๆ องคป ระกอบของอมิ เพรสช่นั นสิ ม ยังถกู ทําใหงา ยและแปลกใหม และจะเนนไปยงั มมุ มองแบบกวา งๆ มากกวา รายละเอยี ด ศิลปน ท่สี าํ คัญ ของกลมุ อิมเพรสชนั นิสม ไดแก ซสิ เลย( Sisley) เดอกาส (Degas) ปซาโร(Pissaro) มาเนต (Manet) เรอนัว(Renoir)

22 “ภาพเขยี นตวั เอง”โดยฟนเซนต ฟน โคค(วนิ เซนต แวนโกะ ) ศิลปะโพสต – อิมเพรสชันมิสม 4.5 ศลิ ปะแบบโพสต – อิมเพรสชันมสิ ม (Post - Impressionism) ศิลปะแบบ โพสต- อมิ เพรสชันนิสมจ ะไมเลียนแบบจากสิ่งที่เปน จริงโดยการสรา งรปู ทรงใหม แตนาํ วธิ ีการทาง วทิ ยาศาสตรมาประยุกตใช เชน การระบายสีดว ยเทคนคิ ขีด ๆ จดุ ๆ เนนสี แสง เงาใหเ กิดมติ ิ บรรยากาศ ความงามและความประทับใจ ศลิ ปนในกลมุ นี้ ฟนเซนต ฟน โคค (วนิ เซนต แวนโกะ ) (Vincent Willem van Gogh) มาตสิ (Matisse) บงนารด (Bonnard) เซซาน (Cezanne) โกแกง (Gauguin) เซอราต (Seurat) 5. ทศั นศลิ ปส มยั ใหม ไดแ กท ัศนศลิ ปที่เกิดข้นึ ในศตวรรษที่ 20 หรอื ในยุคปจ จบุ ันน้นั เอง ทศั นศลิ ปสมยั ใหมไดแ ก 5.1ศิลปะโฟวสิ ซึม 5.2 ศลิ ปะควิ บิสม

23 ภาพ Green Stripe ศิลปน อองรี มาตสิ 5.1 ศลิ ปะโฟวิสซมึ คําวา “โฟวิสม” Fauvist เปน ภาษาฝร่ังเศส แปลวา “สัตวป า” ลักษณะงานศลิ ปะแบบโฟวสิ มน ้ี สรา งงานจิตรกรรมแนวใหม ใชรูปทรงอิสระ แสดงออกในเรื่องสี ท่ีสดใส ตัดกนั อยางรุนแรงศิลปน ทส่ี าํ คัญในลทั ธินี้ ไดแก อองรี มาติส ศิลปะนามธรรม เปนศลิ ปะที่ไมแสดงรูปทรงเหมอื นจริง แตแสดงเร่ืองสีและพลังทางอารมณและความรูสกึ ภาพจิตรกรรมศลิ ปะคิวบสิ ม ชือ่ ภาพ”ยคุ คลาสสกิ และเหนอื จริง”ศิลปน ปกาสโซ 5.2 ศลิ ปะควิ บิสม เปน ศิลปะกงึ่ นามธรรม แสดงออกดวยการเช่ือมโยงความสมั พนั ธกัน ของปริมาตร มีความงามตามหลกั ของสนุ ทรียศาสตรอยางแทจริง ศิลปนผนู าํ ศิลปะควิ บิสม ไดแ ก ปกาสโซ ศิลปะรว มสมยั (ยุคปจจุบัน) ศิลปะรวมสมัยหมายถงึ การนําแนวคดิ ของลทั ธิศลิ ปะสมยั เกา กลับมาใชใ หม โดยมกี าร ปรับปรงุ เปล่ยี นแปลงเร่ืองราวหรือลวดลายบางสวนใหมคี วามทันสมยั ทันเหตุการณในสมัย ปจจบุ ัน

24 ภาพจติ รกรรมรวมสมัย ศลิ ปน จริ ภทั ร ทศั นสมบูรณ เรือ่ งท่ี 1.2 การวพิ ากษวจิ ารณง านทศั นศิลปสากล การวจิ ารณงานศลิ ปะหมายถึงอะไร หมายถงึ การแสดงออกทางดา นความคิดเห็นตอผลงานทางศิลปะที่ศลิ ปน สรางสรรคข ้ึน โดยผวู จิ ารณใหค วามคดิ เห็นตามหลกั เกณฑแ ละหลกั การของศลิ ปะ ทง้ั ในดา นสนุ ทรยี ศาสตรและ สาระอื่นๆ ดว ยการติชม การวิเคราะหง านศิลปะหมายถึงอะไร หมายถงึ การพจิ ารณาแยกแยะศกึ ษาองคป ระกอบของผลงานศลิ ปะออกเปน สว นๆ ทีละ ประเดน็ เพ่อื นาํ ขอมลู ที่ได มาประเมินผลงานศลิ ปะ วา มคี ุณคา ทางดา นความงาม ทางดา นสาระ และทางดา นอารมณ และความรูสึกอยา งไร นกั วิจารณท ่ดี คี วรมคี ณุ สมบตั อิ ยา งไร นักวิจารณท่ีดคี วรมีคุณสมบตั ิดังน้ี 1. ควรมีความรูเกยี่ วกับศิลปะทง้ั ศลิ ปะประจําชาติและศิลปะสากล 2. ควรมีความรเู กยี่ วกับประวัติศาสตรศลิ ปะ 3. ควรมคี วามรูเกี่ยวกับสนุ ทรยี ศาสตร ชวยใหร แู งมมุ ของความงาม 4. ตองมีวิสยั ทัศนก วางขวาง และตองไมค ลอ ยตามคนอ่ืนงาย 5. กลา ทจ่ี ะแสดงออกตามหลกั วิชาการ ตามความรูสึกท่แี ทจ รงิ และประสบการณ 6. เปน ผทู ่ีสนใจ และทนั สมัยตอ ขอ มูลขา วสาร 7. มีความสามารถวเิ คราะหต ีความ และประเมนิ คางานศิลปะ 8. ตอ งเปน ผูท่มี ีความเปนประชาธิปไตยรับฟงความคิดเห็นของผูอ่ืนดวย

25 ทฤษฎกี ารสรา งงานศลิ ปะมกี ลี่ กั ษณะอะไรบา ง ทฤษฎกี ารสรา งงานศิลปะ จดั เปน 4 ลกั ษณะ ดังน้ี 1. ทฤษฎกี ารเลียนแบบ (Imitationalism Theory) เปนการเห็นความงามในธรรมชาติ แลวเลยี นแบบไวใ หเหมอื นท้ังรปู ราง รูปทรง สสี นั ฯลฯ 2. ทฤษฎีสรางรปู ทรงทส่ี วยงาม (Formalism Theory) เปน การสรางสรรคร ปู ทรงใหมใ ห สวยงามดว ยทศั นธาตุ (เสน รปู ราง รปู ทรง สี น้ําหนัก พื้นผวิ บรเิ วณวาง) และเทคนิควธิ ีการตางๆ 3. ทฤษฎแี สดงอารมณ (Emotional Theory) เปน การสรา งงานใหดมู ีความรสู ึกตางๆ ท้งั ท่ี เปนอารมณอันเนือ่ งมาจากเรื่องราวและอารมณของศิลปน ทีถ่ า ยทอดลงไปในช้ินงาน 4. ทฤษฎนี ิยมแสดงจนิ ตนาการ (Imagination Theory) เปนงานท่ีแสดงภาพจนิ ตนาการ แสดงความคดิ ฝน ทแ่ี ตกตางไปจากธรรมชาติและส่ิงที่พบเห็นอยเู ปนประจํา เราสามารถวเิ คราะหวิจารณง านศลิ ปะโดยพิจารณาจากอะไร การวิเคราะหแ ละการประเมินคณุ คาของงานศิลปะโดยทัว่ ไปจะพิจารณาจาก 3 ดา นดังนี้ 1.ดา นความงาม เปน การวิเคราะหและประเมินคณุ คา ในดานทกั ษะฝมอื การใชท ศั นะธาตุ ทางศิลปะ และการจัดองคป ระกอบศิลป 2.ดานสาระ การวิเคราะหแ ละประเมินคุณคา ของผลงานศลิ ปะแตละช้ินวา มีลักษณะสงเสรมิ คุณธรรมจรยิ ธรรม ตลอดจนจดุ ประสงคต า งๆ ทางจิตวิทยาวา ใหสาระอะไรกับผูช ม 3. ดานอารมณค วามรสู ึก เปนการคิดวเิ คราะหและประเมินคณุ คา ในดานคณุ สมบัตทิ ี่ สามารถกระตนุ อารมณความรูส กึ และสอ่ื ความหมายไดอยางลึกซงึ้ ของผลงาน

26 ตัวอยางการวิจารณงานศลิ ปะสากล ภาพคนกินมนั ฝรงั่ จติ รกร ฟน เซนต วินเลย่ี ม ฟน โคค(วินเซนต แวนโกะ ) (Vincent Willem van Gogh) เขียนเมอ่ื พ.ศ.๒๔๒๘สนี ้ํามนั บนผา ใบขนาด ๘๐× ๑๑๐ เซนติเมตร วิจารณด านความงาม ภาพนี้เปนการการผสานรวมตัวกนั ของ เสน สี แสง เงา รปู รา ง รปู ทรง และพืน้ ผวิ สําหรับรูปน้ีเดน ในการใชรปู ทรงของสิ่งมีชีวติ คอื คน และรองลงมาเปนรูปทรงของสิง่ ไมม ชี ีวติ คอื สง่ิ ของตัวคนเองมีรปู รางรูปทรงอสิ ระมากแตก ารเนนเสน สี ใหทึบและหนานี่เอง ทาํ ใหตวั คน ของภาพนแี้ สดงความหยาบของผวิ หนัง ซํา้ สขี องผวิ หนงั ท่ีปาดลงไปเปน ทแี ปรงหยาบๆ ยง่ิ ตอกยาํ้ ใหร ปู นี้ดหู ยาบกรานมากข้ึนสวนมันฝรั่ง และ ขา วของเคร่ืองอุปโภคบรโิ ภคตา งๆไมวา จะเปน โตะ จาน ถวยชา กานาํ้ รอ นอื่นๆเขยี นออกมาไดเหมือนในชวี ติ จรงิ วจิ ารณดานสาระ ภาพชีวิตความเปน อยู ของกรรมกรเหมอื ง การใชชีวิตแตละวนั ของการกนิ มันฝรง่ั ซ้ําแลว ซาํ้ เลา ทุกวนั แสดงใหเหน็ ความจริงของคนเหลานน้ั ทีแ่ สนขัดสน สะทอ นชีวิตจรงิ อีกมมุ หนงึ่ ที่ไมได ดูสดใสสวยงาม แตเ ปนชวี ติ ท่ีตอ งเหนื่อยยากทต่ี องตอสเู พ่อื ปากทอ งไปวันๆ

27 วจิ ารณด า นอารมณค วามรสู ึก การใชสหี มนหมองทําใหภาพอึดอดั กดดัน บรรยากาศโดยรวมในภาพบีบคน้ั อารมณให ความรสู ึกวาชวี ิตกรรมกรเหมืองเหลา นี้นาสงสารเพียงใด ตอ งจาํ นนตอสภาพทต่ี นเปนอยา งหลกี หนไี มไดตองใชชีวิตดวยการรอความหวังไปเรอื่ ยไมจ บสนิ้ แตอ ารมณข องตัวละครในรปู แสดงออก ตอ กนั ดวยความอาทร แววตาท่ยี อมตอทุกส่งิ ทกุ อยาง ไมมขี อยกเวนแกค นกลุมน้ี ตะเกียงเพียงอนั เดียวพอท่ีจะใหรูสึกถงึ ความหวงั ทีน่ อยนิดเหลอื เกิน บางกอ็ ยากจะหลุดพนจาก ภาระมากมายท่ี ผูกพันกับชวี ติ พวกเขา แตอีกมมุ หนงึ่ กลบั รูส กึ ถงึ ความอบอนุ ทผ่ี คู นเหลานี้มีใหกนั ซงึ่ มองไดจ าก สายตาของกรรมกรเหมืองพวกน้ี เรอื่ งท่ี 1.3 ทศั นศิลปสากลท่เี กดิ จากความงามตามธรรมชาตแิ ละธรรมชาตกิ บั ทศั นศิลป ธรรมชาติตางกบั ศลิ ปะอยา งไร ธรรมชาติ (Natural) หมายถงึ สง่ิ ท่ีมนษุ ยไ มไดเ ปนผูสรรคสรางขึน้ เชน กลางวนั กลางคนื เดอื นมืด เดอื นเพญ็ ภเู ขา นํา้ ตก ทะเล ถอื วาเปน ธรรมชาติ ศิลปะ (Art) คอื ผลแหง ความคดิ สรา งสรรคข องมนุษยท แ่ี สดงออกในรปู ลกั ษณต า งๆ ให ปรากฏซ่ึงสนุ ทรียภาพ ความประทบั ใจ หรอื ความสะเทือนอารมณ ธรรมชาตสิ ัมพันธก บั งานศิลปะ ธรรมชาติเปนทรพั ยากรอนั สาํ คญั ของศิลปะ เปนแหลงกระตุน ใหมนษุ ยเกดิ แรงดลใจใน การสรา งสรรคศลิ ปะทกุ แขนง ในการสรา งสรรคง านศิลปะของศลิ ปน แบง ออกไดเปน 3 กลุมซงึ่ ใน แตละกลุมจะเหน็ ไดวา ไดพ ื้นฐาน หรอื แหลง กระตุนมาจากธรรมชาตทิ ั้งสิน้ ดงั น้ี จติ รกรรมสีนํ้าทศ่ี ิลปนยดึ หลกั รปู แบบจากธรรมชาติ

28 1.กลมุ ทยี่ ดึ รปู ธรรม (REALISTIC) หมายถึง กลุม ที่ยดึ รูปแบบที่เปนจริงในธรรมชาตมิ า เปนหลักในการสรางงานศิลปะ สรางสรรคอ อกมาใหม ลี กั ษณะคลา ยกบั กลองถายภาพ หรือตดั ทอนบางสิง่ ออกเพยี งเล็กนอย ทาํ ใหศ ลิ ปน กลุมนสี้ ามารถสอ่ื ความหมายระหวา งศิลปะกับผูดไู ด งา ยกวา การสรา งสรรคผ ลงานในลกั ษณะอ่นื ๆ ภาพเขียนรปู แบบนามธรรม ลดและตดั ทอนจากธรรมชาติ 2. กลมุ นามธรรม (ABSTRACT) หมายถึง กลุมทีย่ ึดแนวทางการสรางงานทต่ี รงขา มกบั กลุมรูปธรรม ซง่ึ ศิลปนกลมุ น้มี งุ ทีจ่ ะสรางรูปทรง (FORM) ข้นึ มาใหมโดยท่ีไมอ าศยั รูปทรงทาง ธรรมชาติ หรอื หากนําธรรมชาตมิ าเปนขอมลู ในการสรางสรรคก จ็ ะใชวิธลี ดรายละเอยี ด ตัดทอน จนในที่สุดจะเหลอื แตโครงสรา งทเี่ ปน เพียงสัญลักษณ จิตรกรรมสีน้าํ มนั แบบกง่ึ นามธรรม (SEMI-ABSTRACT)

29 3.กลุมกงึ่ นามธรรม (SEMI-ABSTRACT) เปน กลุมอยูกง่ึ กลางระหวางกลุม รปู ธรรม (REALISTIC) และกลมุ นามธรรม (ABSTRACT) หมายถึง กลมุ ทีส่ รา งงานทางศลิ ปะโดยใชว ิธลี ด รายละเอียด ตดั ทอน หรอื เพมิ่ เตมิ ในรายละเอียดท่มี ใี นธรรมชาติใหป รากฏออกมาเปน รปู แบบทาง ศิลปะ เพอื่ ผลทางองคประกอบ หรอื ผลของการแสดงออก แตย งั มีโครงสรางอันบง บอกถงึ ทีม่ าวา มาจากการเลียนแบบธรรมชาติ ทศั นธาตคุ อื อะไร และประกอบดว ยอะไรบาง ทัศนธาตุ หมายถึง สว นสําคัญทีร่ วมกันเปนรปู รา งของส่ิงท้งั หลายตามท่ตี ามองเหน็ ทัศนธาตุ ไดแก 1. จุด (PointหรือDot) หมายถึง รอยหรอื แตมทีม่ ลี กั ษณะกลมๆ ปรากฏที่ผิวพ้ืน ไมม ี ขนาด ความกวาง ความยาว ความหนา เปนสงิ่ ท่ีเล็กทสี่ ุดและเปนธาตเุ ริม่ แรกท่ที าํ ใหเ กิดธาตุ อืน่ ๆ ข้ึน 2. เสน (Line) คือ จดุ หลาย ๆ จุดตอ กนั เปน สาย เปน แถวแนวไปในทศิ ทางใดทศิ ทางหนึง่ เปน ทางยาว 3. สี (Colour) หมายถงึ ลกั ษณะของแสงสวา งท่ปี รากฏหรอื สะทอ นแกสายตา ใหเหน็ เปน สีขาว ดํา แดง เขียว นํ้าเงิน เหลอื ง สีเปนส่ิงที่มีอทิ ธิพลตอความรสู ึก จากการมอง ทําใหเกดิ อารมณ และสะเทอื นใจได 4. รปู รา งและรปู ทรง (Shape and form) หมายถงึ เสนรอบนอกของวัตถุ คน สตั ว ส่งิ ของ รูปรา งจะมี 2 มติ ิ คอื ความกวา ง และความยาว สว นรูปทรงจะมองเหน็ เปน 3 มิติ คอื มคี วามกวางความยาวและความหนาลึก 5. คาน้ําหนกั (value) หมายถงึ ความออ นแกของสี หรือแสงเงาทีน่ าํ มาใชใ นการเขยี นภาพ 6. ชอ งวาง (space) ระยะหางของรูปทรง หรือชองไฟ 7. ลกั ษณะผิว (Texture) หมายถงึ ลักษณะภายนอกของวตั ถุที่มองเหน็ และสัมผสั พ้นื ผิว ได แสดงความรสู ึกหยาบ ละเอยี ด ขรขุ ระ มันวาว ดา น ฯลฯ

30 เสนแตล ะแบบใหค วามรูสกึ ตอ การมองเหน็ อยางไร 1. เสน ตรง 1.1. เสน ด่ิง คือ เสนตรงที่ตั้งฉากกบั พืน้ ระดบั ใหความรูส กึ มัน่ คง แข็งแรง สงา รงุ เรือง สมดลุ พุงขน้ึ 1.2. เสน นอน คอื เสน ตรงที่นอนราบไปกบั พ้นื ระดับ ใหความรูสึกกวางขวาง สงบ เงยี บ เยอื กเย็น ผอนคลาย 1.3.เสนเฉยี ง คอื เสนตรงเอนไมต ง้ั ฉากกบั พ้ืนระดับใหความรสู ึกไมม่ันคง เคลื่อนไหว แปรปรวน ไมส มบูรณ 1.4. เสนฟน ปลา คือ เสน ตรงหลายเสน ตอกนั สลบั ขึน้ ลงระยะเทา กนั ใหความรูสกึ รนุ แรง กระแทก ตื่นเตน อันตราย ขัดแยง 1.5. เสน ประ คอื เสน ตรงทีข่ าดเปนชว ง ๆ มรี ะยะเทากัน ใหค วามรูสกึ ตอเนื่องขาด ระยะใจหาย ไมแ นน อน 2. เสนโคง 2.1. เสนโคงลง คือ เสนทเ่ี ปนทอ งกระทะคลา ยเชือกหยอน ใหความรูสึกออนโยน เคลอ่ื นไหวไมแ ข็งแรง 2.2. เสนโคง ขึ้น คือ เสน ทีโ่ คงเปนหลังเตาคลา ยคนั ธนใู หความรูส ึกแขง็ แรง เช่ือม่นั เคล่อื นไหว 3. เสน คด คือ เสนโคงขึ้นโคง ลงตอ เนอ่ื งกันคลา ยคลนื่ ในทะเล ใหความรูส ึกเล่อื นไหล ตอ เน่อื ง ออ นชอย นมุ นวล 4. เสน กน หอย คือ เสนโคง ตอ เนื่องกันวนเขา เลก็ ลงเปนจดุ คลายกน หอย ใหความรูสึกอดึ อัด เคลอื่ นไหวคลค่ี ลาย 5. เสน โคง อิสระ คือ เสนโคง ตอเน่ืองกันไปไมม ีทศิ ทาง คลายเชือกพนั กนั ใหค วามรสู กึ วนุ วาย ยงุ เหยิง ไมเปนระเบยี บ

31 สีและวงจรสี สธี รรมชาติ คือสีจากวตั ถุธาต(ุ ดิน หนิ แรฯลฯ) หรอื แมสที ช่ี า งเขียนใชน ่ันเอง สวนวงจรสี คอื การนําเอาแมส ีท่ีเปน วัตถธุ าตุ หรอื สชี างเขียน มาผสมกันมี 3 ขนั้ ตอน รวมท้ังหมด 12 สี ดังนี้ สีข้นั ท่ี 1 แมสี คือ สที ไี่ มม สี ีใดสามารถผสมใหไ ดสีนัน้ ไดแก สีแดง สีเหลอื ง สีนาํ้ เงนิ สขี นั้ ท่ี 2 เกดิ จากการนาํ เอาแมส ีทเี่ ปนวตั ถุทัง้ 3 สีมาผสมกนั เกดิ สใี หมข ึน้ มาอกี 3 สี คอื สม เขียว มวง แดง ส้ม ม่วง สีขนั ที เหลือง เขยี ว นําเงิน

32 สีข้นั ท่ี 3 เกิดจากการนาํ เอาสขี น้ั ที่ 1 กบั สขี น้ั ที่ 2 มาผสมกนั ทลี ะคูท อี่ ยตู ดิ กัน จะไดส ีเพม่ิ ขนึ้ อกี 6 สี แดง ส้มแดง ม่วงแดง ส้ม สีขันที ม่วง ส้มเหลอื ง ม่วงนําเงิน เหลือง เขียวเหลอื ง เขยี ว เขยี วนาํ เงนิ นําเงิน สีใหความรสู ึกทางอารมณ สแี ตล ะสีจะมีอทิ ธิพลตอความรสู ึกและอารมณผ ูดตู างกันออกไปดังน้ี สแี ดง = ต่ืนเตน เราใจ อนั ตราย พลงั อํานาจ สีสม = ตื่นตวั ตน่ื เตน เราใจ สนกุ สนาน สีเหลอื ง = ศรทั ธา สดใส ราเริง ฉลาด เปรี้ยว สเี ขียวออน = สดชน่ื ราเรงิ เบกิ บาน สีเขียวแก = สะอาด ปลอดภัย สดช่ืน ธรรมชาติ สนี ้าํ เงนิ = สภุ าพ เชือ่ ม่ัน หนักแนน ถอ มตัว สฟี า = ราบร่ืน สวาง วยั รุน ทันสมยั สมี ว ง = ฟมุ เฟอ ย ลึกลับ ขเ้ี หงา สีชมพู = ความรกั ออ นหวาน นมุ นวล หอม สีขาว = ความบรสิ ทุ ธิ์ สะอาด ปลอดภัย เด็กทารก สดี ํา = ทกุ ข ลึกลบั สบื สวน หนกั แนน สีเทา = สุภาพ ขรึม สนี ํา้ ตาล = อนรุ ักษ โบราณ ธรรมชาติ

33 เร่อื งท่ี 1.4 ความคดิ สรางสรรค กบั การออกแบบเครือ่ งตกแตง รางกาย ทอี่ ยอู าศยั และ ผลติ ภณั ฑ การออกแบบแบง ออกเปนกปี่ ระเภทอะไรบาง การออกแบบแบงออกไดดงั น้ี 1. ออกแบบตกแตงท่ีอยอู าศัย 2. ออกแบบเครือ่ งรางกาย 3. ออกแบบผลติ ภัณฑ 4. ออกแบบสํานักงาน ออกแบบตกแตง ทีอ่ ยอู าศัย เปน การออกแบบเพอ่ื เสรมิ แตง ความงามใหกับอาคารบานเรอื นและบริเวณท่ีอยอู าศยั เพือ่ ใหเกิดความสวยงามนา อยูอาศัย การออกแบบตกแตง ในที่น้หี มายถึงการออกแบบตกแตง ภายนอกและการออกแบบตกแตงภายใน การออกแบบตกแตงภายใน หมายถงึ การออกแบบตกแตงทเ่ี สริมและจดั สภาพภายใน อาคารใหสวยงาม นาอยอู าศัย การออกแบบตกแตง ภายนอก เปน การออกแบบตกแตง นอกอาคารบานเรอื น ภายในรั้ว ที่สมั พนั ธกับตวั อาคาร เชน สนาม ทางเดิน เรือนตนไม บรเิ วณพกั ผอ น และสว นอื่นๆบรเิ วณบาน การออกแบบตกแตงท่อี ยูอ าศัยมีหลักการดังน้ี 1. ขนาดและสัดสว นเหมาะสมกับการใชงานและจํานวนคน 2. ความกลมกลนื ของสสี ันหอ งและเครือ่ งเรือน 3. มีความเปนเอกภาพ หรอื ดโู ดยรวมแลว เปนอันหน่ึงอนั เดียวกัน 4. ชอ งวา งและจังหวะในการจดั วางเครือ่ งใชและสิง่ ตกแตง 5. สีท่สี ัมพันธกบั จิตใจของผูใชง าน ออกแบบเครอ่ื งประดบั รา งกาย ออกแบบเครือ่ งรา งกาย เปนการออกแบบรางกาย และส่ิงตกแตงรางกายใหส วยงาม เหมาะสม และถูกใจ เชน การออกแบบทรงผม เสือ้ ผา เครอื่ งประดบั การใชเ ครื่องสําอาง โดยใช วธิ กี ารทางศิลปะและความคิดสรา งสรรค แตตองคํานึงถึงหลกั การดงั นี้

34 1. ราคาวัสดุกับพื้นฐานทางเศรษฐกจิ ของผูใ ช 2. พน้ื ฐานทางวัฒนธรรมของผูใช 3. สภาพแวดลอมของผใู ช แนวคิดที่ควรคํานึงถึงในการออกแบบเคร่อื งประดบั ขั้นพ้นื ฐานไดแ ก 1. พ้ืนฐานความงามทางศิลปะดานการออกแบบ 2. ความเรียบงา ยของรปู ทรงและมีความสมบูรณใ นตวั เอง 3. ความคิดสรา งสรรคท งั้ ดา นการออกแบบและวสั ดุ 4. เทคนิคทางการผลิตทไี่ มซ า้ํ ของเดิม 5. รักษาคุณสมบตั ิของโลหะ หนิ และวสั ดอุ ื่นๆ ออกแบบผลติ ภณั ฑ เปน การออกแบบเพ่ือการผลติ ผลติ ภณั ฑช นดิ ตา ง ๆงานออกแบบสาขาน้ี มขี อบเขต กวา งขวางมากทีส่ ดุ และแบง ออกไดม ากมาย เชนงานออกแบบเฟอรนเิ จอรงานออกแบบครุภณั ฑ งานออกแบบเคร่อื งสขุ ภณั ฑ งานออกแบบภาชนะบรรจุผลิตภัณฑ งานออกแบบผลิตเคร่ืองมอื ตางๆ ฯลฯ โดยรวมหลักการออกแบบผลิตภณั ฑมหี ลกั การเหมือนกนั ดังน้ี 1. ตรงตามประโยชนใ ชสอย 2. ปลอดภยั ตอผูใชง าน 3. แข็งแรง ปกปอ งสนิ คา 4. ใชงานงาย ทงั้ ตอผูบรรจแุ ละผูใ ช 5. มีความสวยงามดึงดูดใจ 6. วสั ดุที่ใชเ หมาะสมตอ วธิ กี ารผลิตจาํ นวนมาก 7. ประหยดั ตนทุนการผลิต 8. งายตอ การขนสง การออกแบบสํานกั งาน ออกแบบสํานักงาน ไดแ กก ารจดั หอ งทาํ งาน ทั้งในและนอกสถานท่ที ํางาน ใหนา ทํางาน ตลอดจนสะดวกในการใชสอย โดยคาํ นงึ ถงึ หลกั เกณฑดงั นี้ 1.การจดั วางอปุ กรณก ารทาํ งานสะดวกกบั การใชงานและเคลอ่ื นไหวในสํานกั งาน 2. รูปแบบการออกแบบ โดยมงุ เนนใหตรงตอความตอ งการของลูกคา

35 3. ออกแบบใหด เู ปนภาพลกั ษณของบรษิ ัทน้นั ๆใหมีจุดเดน ชัดเจน 4 .การออกแบบใหอ ยูในงบประมาณที่กาํ หนด 5. ประหยัดพลงั งานในการใชงานประจาํ วัน 6. รวดเร็วในการออกแบบ โดยนําเสนอเปนภาพ Perspective ใหล ูกคา ดกู อนสรางจริง 7. ความรวดเร็วในการผลิตงานและกอ สรา งเสร็จตามกําหนดการ

36 กจิ กรรมทา ยบทท่ี 1 กจิ กรรมที่ 1.1 ใหผเู รยี นศึกษาเน้ือหาจากเรือ่ งทัศนศิลปสากล แลว เขยี นตอบคาํ ถามในชอ งวา งท่ีกาํ หนด (ขอละ 0.5 คะแนน รวม 5 คะแนน) 1. ศลิ ปะคอื ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ 2. ทัศนศลิ ป คอื ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ 3. ประเภทของงานทัศนศิลปม ีก่ีประเภทอะไรบา ง ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ 4. ผทู ส่ี รางสรรคผ ลงานศลิ ปะทุกแขนงโดยรวมเรียกวา ....................................................................................................................................... 5. จิตรกรรมหมายถงึ ....................................................................................................................................... 6. ประติมากรรมหมายถงึ ....................................................................................................................................... 7. สถาปต ยกรรมหมายถงึ ....................................................................................................................................... 8. ภาพพิมพหมายถงึ ....................................................................................................................................... 9. จิตรกรรมมี........ประเภทคือ ........................................................................................................................................ 10. ประเภทของงานประตมิ ากรรมสากล แบงได .......................ลักษณะคอื ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................

37 กจิ กรรมที่ 1.2 ใหผ ูเรยี นศกึ ษาภาพและโยงเสนไปยังคําตอบทถ่ี กู ตอ งท่ีสดุ (คําตอบมีมากกวา ภาพ) (ขอละ 0.5คะแนน 10 ภาพ รวม 5 คะแนน) ภาพจิตรกรรมลายเสน้ ประติมากรรมแบบลอยตวั สถาปัตยกรรมไทย จิตรกรรมฝาผนงั ไทย ประฏมิ ากรรม สถาปัตยกรรมอิทธิพลยโุ รป จิตรกรรมสีนาํ ภมู สิ ถาปัตย์ ภาพพิมพแ์ ม่พิมพแ์ กะไม้ ประติมากรรมนูนตาํ ออกแบบตกแต่งภายใน ออกแบบผงั เมอื ง ประติมากรรมนูนสูง

38 กจิ กรรมที่ 1.3 ใหผูเรยี นเขียนอธิบายภาพดานซายมอื ลงในบรรทัดท่ีกาํ หนดใหดา นขวามอื วาทศั นศิลปใ นภาพ เปนทัศนศลิ ปป ระเภทอะไร อยูในยุคสมยั ใด และมีลักษณะเดนในยุคนั้นอยา งไรบาง (ขอละ 0.5 คะแนน 12 ขอ รวม 6 คะแนน) ตวั อยา ง ทศั นศิลปประเภท จิตรกรรม ยคุ สมัย กรกี ลกั ษณะเดน จิตรกรรมกรีกสวนใหญเ ปน รูปแบบการประดบั ตกแตงบนภาชนะเครือ่ งปน ดินเผาตางๆ เชน ไห แจกนั และภาพ บนผนงั สที ใ่ี ชไ ดแ ก สีดนิ คอื เอาสดี าํ อมนา้ํ ตาลผสมบาง ๆ ระบาย สีเปนภาพบนพืน้ ผิวแจกนั ทเี่ ปนดินสีนาํ้ ตาลอมแดง แตบางทีกม็ สี ีขาวและสีอืน่ ๆ รว มดว ย เทคนคิ การใชร ปู รา งสีดาํ ระบายพื้นหลังเปน สีแดงนี้ เรยี กวา “จติ รกรรมแบบรปู ตัวดํา” 1. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………..............

39 2. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… 3. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………

40 4. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………

41 6. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… 7. ……………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………

42 8. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… 9. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… 10. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………

43 11. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 12. ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………

44 กิจกรรมท่ี 1.4 ใหผ ูเรียนฝกวิเคราะหแ ละประเมินคณุ คาของงานศลิ ปะ จากภาพตวั อยางดา นลางน้โี ดยใชหลักการ วเิ คราะหแ ละประเมนิ คณุ คา ของงานศลิ ปะทัว่ ไป 3 ดาน (ขอ ละ 2 คะแนน 3 ภาพ รวม 6 คะแนน) ภาพที่ 1 .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook