Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 10สุขศึกษา พลศึกษา-ทช11002

10สุขศึกษา พลศึกษา-ทช11002

Published by sawitree.icando9, 2022-05-18 02:00:33

Description: 10สุขศึกษา พลศึกษา-ทช11002

Search

Read the Text Version

1

เอกสารสรุปเน้อื หาทต่ี อ งรู รายวิชาสุขศึกษา พลศึกษา ระดับประถมศึกษา รหสั ทช11002 หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สํานกั งานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สํานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร หา มจาํ หนาย หนังสอื เรยี นน้ีจัดพมิ พด วยเงนิ งบประมาณแผน ดนิ เพ่ือการศกึ ษาตลอดชีวิตสาํ หรับประชาชน ลิขสิทธ์เิ ปนของสํานกั งาน กศน.สาํ นักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร



สารบัญ หนา คํานํา คาํ แนะนาํ การใชเ อกสารสรปุ เนื้อหาทตี่ อ งรู บทที่ 1 รา งกายของเรา 1 เรื่องที่ 1 วฏั จักรชวี ติ ของมนษุ ย 2 เรื่องท่ี 2 โครงสรา ง หนา ที่และการทาํ งานของอวยั วะภายนอก ภายใน ทสี่ าํ คัญของรา งกาย 3 เรื่องที่ 3 การดูแล รักษา ปองกนั ความผิดปกติของอวัยวะสาํ คัญของรา งกาย 8 กจิ กรรมทายบท 14 บทท่ี 2 การวางแผนครอบครัว และพัฒนาการทางเพศของวยั รุน 17 เรอื่ งท่ี 1 การวางแผนชวี ติ และครอบครัว 19 เรือ่ งที่ 2 ปญ หาและสาเหตคุ วามรนุ แรงในครอบครัว 23 เรอ่ื งท่ี 3 การสรา งสมั พันธภาพทด่ี รี ะหวาง พอ แม ลูก และคูสามี ภรรยา 24 เรื่องท่ี 4 พฒั นาการทางเพศในแตล ะชวงวัย 26 เรอ่ื งที่ 5 โรคติดตอ ทางเพศสมั พันธ 28 กิจกรรมทา ยบท 31 บทท่ี 3 การดแู ลสขุ ภาพ 32 เรอ่ื งที่ 1 สารอาหารท่ีจําเปน ตอ รา งกาย 34 เรื่องท่ี 2 หลักโภชนาการ 40 เรอ่ื งท่ี 3 หลกั การดแู ลสขุ ภาพเบื้องตน 41 เร่อื งที่ 4 คณุ คา และประโยชนของการออกกําลงั กาย 43 เรอ่ื งที่ 5 หลกั และวธิ ีออกกาํ ลงั กายเพ่อื สขุ ภาพ 44 เรื่องที่ 6 กิจกรรมนันทนาการรปู แบบตา งๆ 44 กจิ กรรมทา ยบท 47

สารบญั (ตอ ) หนา บทท่ี 4 โรคติดตอ 48 เรอ่ื งที่ 1 โรคไขห วัดใหญ 49 เรอื่ งท่ี 2 โรคตาแดง 50 เรือ่ งที่ 3 โรคผวิ หนัง 52 เรอ่ื งท่ี 4 โรคเลป็ โตสไปโรซิส (ฉ่หี นู) 53 กิจกรรมทา ยบท 56 57 บทท่ี 5 ยาสามญั ประจาํ บาน 59 เรื่องที่ 1 หลักการและวิธีการใชยาสามัญประจาํ บาน 64 เรอ่ื งที่ 2 อนั ตรายจากการใชย าทผี่ ดิ 67 กิจกรรมทา ยบท 68 69 บทที่ 6 สารเสพตดิ อนั ตราย 70 เรอ่ื งที่ 1 ความหมาย ประเภท และลกั ษณะของสารเสพตดิ 71 เรื่องท่ี 2 อันตรายและการปองกนั สารเสพตดิ 72 กิจกรรมทา ยบท 73 74 บทท่ี 7 ความปลอดภัยในชีวิตและทรพั ยสนิ 75 เร่ืองที่ 1 อันตรายทอ่ี าจเกดิ ขึ้นในบาน 78 เรอื่ งท่ี 2 อนั ตรายท่อี าจจะเกดิ ขึ้นจากการเดินทาง 79 เร่อื งที่ 3 อนั ตรายจากภัยธรรมชาติ 80 กจิ กรรมทา ยบท 82 87 บทที่ 8 ทกั ษะชีวติ เพื่อการคดิ เรอ่ื งท่ี 1 ความหมาย ความสาํ คัญของทกั ษะชีวติ เร่ืองท่ี 2 ทักษะชวี ิตท่จี าํ เปน กิจกรรมทา ยบท

สารบัญ (ตอ ) หนา บทที่ 9 อาชีพกบั งานบรกิ ารดา นสุขภาพ 88 เรอ่ื งท่ี 1 ความหมายงานบริการดา นสขุ ภาพ 89 เร่ืองท่ี 2 วธิ ีการนวดแผนไทยแบบตางๆ 92 เร่ืองที่ 3 ธรุ กิจนวดแผนไทย 93 กจิ กรรมทา ยบท 98 99 เฉลยกิจกรรมทายบท 112 บรรณานกุ รม 114 คณะผจู ัดทาํ

คาํ แนะนําในการใชเอกสารสรุปเนือ้ หาทีต่ อ งรู รายวิชา ทช11002 สุขศึกษา พลศึกษา ระดับประถมศึกษา สรปุ เนื้อหาหนังสือเรียนสาระทกั ษะการดําเนินชีวิต รายวิชา ทช11002 สขุ ศึกษา พลศึกษา ระดับประถมศึกษา หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 จัดทาํ ข้ึนเพ่ือสรุปเนื้อหาใหกับผูเรียน กศน. จงึ ควรทําความ เขา ใจและปฏิบัตดิ งั นี้ 1. ศึกษาโครงสรา งของรายวิชา ทช11002 สขุ ศึกษา พลศกึ ษา ระดบั ประถมศกึ ษา โดยสามารถศึกษาไดจากมาตรฐานการเรียนรู สาระตามหลักสูตรและผล การเรียนรทู ี่คาดหวัง 2. หนังสือสรปุ เนื้อหาเลม นี้ เปน เพยี งการสรปุ เนอื้ หา มีสาระสาํ คัญโดย คณะผจู ดั ทาํ ไดสรุปเนื้อหา เพอื่ ใหง าย สะดวกและอํานวยใหเกิดกระบวนการเรียนรู ที่ใชเวลา ในการศึกษานอ ยลง หากไมเขาใจในเรอ่ื งใด ใหกลับไปศกึ ษาจากหนังสอื เรียนของสํานักงาน กศน. หรือหนังสือเสรมิ อื่นๆ เพมิ่ เติมเพื่อความเขาใจท่ีเพิ่มข้ึน 3. หนังสือเลมน้ี ไดสรปุ และแบง เนอื้ หาออกเปน 9 บท แตล ะบทมสี าระการ เรียนรู ครบถวนตามตารางวิเคราะหห ลกั สูตร บทท่ี 1 รา งกายของเรา บทที่ 2 การวางแผนครอบครวั และพฒั นาการทางเพศ บทที่ 3 การดูแลสขุ ภาพ บทที่ 4 โรคติดตอ บทที่ 5 ยาสามัญประจําบาน บทที่ 6 สารเสพตดิ บทท่ี 7 ความปลอดภยั ในชีวติ และทรัพยสนิ บทท่ี 8 ทกั ษะชวี ติ เพ่อื การคิด บทที่ 9 อาชพี กบั งานบริการดา นสขุ ภาพ

1 บทที่ 1 รางกายของเรา สาระสําคญั รางกายของมนุษยประกอบดวยอวัยวะตางๆ ท้ังภายใน และภายนอกท่ีทําหนาท่ี ตางๆ ตามความสําคัญของโครงสรางรางกายมนุษย รวมถึงการปองกันดูแลรักษาไมใหเกิด อาการผดิ ปกติ เพอื่ ใหรางกายไดมีการพัฒนาและเปล่ียนแปลงตามวัฏจักรชีวิตของมนุษยและ มีสขุ ภาพกายทส่ี มบรู ณตามวัย ผลการเรยี นรทู ่ีคาดหวงั 1. อธบิ ายวฏั จกั รของชีวติ มนษุ ยตั้งแตแรกเกดิ จนตายไดอ ยางถกู ตอง 2. อธบิ ายลกั ษณะโครงสรางหนาทแี่ ละการทํางานของอวยั วะภายนอก และภายในได 3. อธิบายวิธีการดแู ล รักษา ปอ งกันความผดิ ปกติของอวัยวะที่สําคญั ของรา งกายได ขอบขา ยเนือ้ หา เรอ่ื งท่ี 1 วัฏจกั รชวี ิตของมนุษย เรอ่ื งที่ 2 โครงสราง หนา ท่แี ละการทํางานของอวัยวะภายนอก และอวยั วะภายใน ท่ีสาํ คญั ของรางกาย เรอ่ื งท่ี 3 การดูแลรกั ษาปองกัน ความผิดปกติของอวัยวะสาํ คญั ของรางกาย อวยั วะภายนอกและภายใน

บทท่ี 1 รางกายของเรา เรอื่ งที่ 1 วัฎจกั รชวี ิตของมนษุ ย ธรรมชาตขิ องชีวติ มนุษย ธรรมชาติของมนษุ ยประกอบไปดว ยการเกดิ แก เจบ็ ตาย ซึ่งเปน ธรรมดาของชีวติ ท่ที กุ คนหลกี ไมพน ดงั น้ันควรเรียนรูและปฏิบตั ติ นดวยความไมประมาท 1. การเกดิ ทุกคนเกิดมาจากพอซึ่งเปนเพศชาย และแมซึ่งเปนเพศหญิงโดยธรรมชาติ ไดกําหนดใหเพศหญิงเปนคนอุมทองตามปกติประมาณ 9 เดือน จะคลอดจากครรภมารดา เจริญเติบโตเปนทารก แลวพัฒนาการเปนวัยเด็ก วัยรุน วัยผูใหญ วัยชรา ตามลําดับ รางกาย ของคนเรากจ็ ะคอ ย ๆ เปลี่ยนไปตามวัย 2. การแก เมอ่ื อายมุ ากขน้ึ รางกายจะมีการเปลีย่ นแปลงทเี่ หน็ ไดช ัด เชน เม่อื อยใู นชวงชรา รา งกายจะเสอ่ื มสภาพลง ผวิ หนงั เหี่ยวยน การเคล่อื นไหวชา ลง คนสว นใหญเรยี กวา “คนแก” 3. การเจบ็ การเจบ็ ปว ยของมนษุ ยสวนใหญเกดิ จากการขาดดแู ลรักษาสขุ ภาพที่ถูกตองและ สมํ่าเสมอ คนสวนใหญมักเคยเจ็บปวย บางคนเจบ็ ปว ยเลก็ ๆ นอย ๆ หรือมาก จนตองรับ การรักษาจากแพทย ถา ไมด ูแลรักษาสุขภาพตนเอง รางกายยอมออนแอและมีโอกาสจะรับ เชอื้ โรคเขา สรู า งกาย ไดงายกวาบุคคลท่ีรักษาสขุ ภาพสมํา่ เสมอ 4. การตาย ความตายเปน สิ่งที่ทกุ คนหนไี มพ น เกิดแลวตอ งตายดว ยกันทุกคน แตการตายตองถึง วัยท่ีรางกายเส่ือมสภาพไปตามธรรมชาติ เม่ืออยูในวัยหนุมสาวจึงควรดูแลรักษาสุขภาพและ ดํารงชวี ิตดวยความไมประมาท

เรอ่ื งที่ 2 โครงสรา ง หนา ทีแ่ ละการทาํ งานของอวยั วะภายนอก อวยั วะภายในทีส่ าํ คญั ของรา งกายอวยั วะและระบบตาง ๆ ในรา งกาย รางกายของมนุษยประกอบดวยอวัยวะตาง ๆ ท่ีมีลักษณะและหนาที่แตกตางกัน อวัยวะเหลา นม้ี ีความสําคญั ตอการดาํ รงชีวิต จึงตองปอ งกนั ดูแลรักษาไมใหอวัยวะเหลาน้ีไดรับ อนั ตราย อวัยวะของรา งกายมนษุ ยป ระกอบไปดว ย 2.1 อวยั วะภายนอก เปนอวัยวะที่มองเห็นได เชน ตา หู จมูก ปาก และ ผวิ หนัง อวยั วะเหลาน้มี ีหนา ทก่ี ารทาํ งานตางกัน อวยั วะภายนอกมดี งั นี้ 2.1.1 ดวงตา เปนอวัยวะท่ีทําใหมองเห็นสิ่งตางๆ และชวยใหเกิดการเรียนรู เพราะถาไมมีดวงตา สมองจะไมสามารถรับรูและจดจําสิ่งที่อยูรอบตัว นอกจากน้ัน ดวงตายงั แสดงออกถงึ อารมณ ความรูสกึ ตาง ๆ เชน ดีใจ เสียใจ ตกใจ สว นประกอบของตา ที่สําคัญมดี ังน้ี 1) คิ้ว เปนสวนประกอบที่อยูเหนือหนังตาบน ทําหนาท่ีปองกันอันตราย ไมใหเ กดิ กับดวงตา โดยปองกันส่ิงสกปรก เหงื่อ นํ้า และสิ่งแปลกปลอมที่อาจไหลหรือตก มาจากหนา ผาก หรือศีรษะ เขาสูดวงตาได 2) หนังตา และเปลือกตา ทําหนาท่ีเปดปดดวงตา เพื่อรับแสง และปองกัน อนั ตรายทีอ่ าจเกิดขึน้ แกดวงตา และกระจกตาโดยอตั โนมตั ิ เม่ือมสี ง่ิ อนั ตรายเขามาใกลด วงตา 3) ขนตา เปน สว นประกอบท่ีอยูหนงั ตาบน หนังตาลาง ทาํ หนา ท่ีปองกนั อนั ตราย เชน ฝุน ละออง ไมใหทาํ อันตรายแกดวงตา 4) ตอ มนํ้าตา เปนสวนประกอบของตาที่อยูในเบาตา ทางดาน หางคิ้วบริเวณ หนงั ตาบน ทําหนา ที่ซบั นา้ํ ตา ชว ยใหด วงตาชมุ ช้ืน และขบั สง่ิ สกปรกออกมากับนํา้ ตา 2.1.2 หู เปนอวัยวะรับสัมผัสที่ทําใหไดยินเสียงตาง ๆ เชน เสียงเพลง เสยี งพดู คยุ การไดยนิ เสยี ง ทาํ ใหเ กดิ การสอ่ื สารระหวางกนั ถาหูผิดปกติไมไดยินเสียงใดเลย สมองจะไมสามารถแปลความไดวา เสียงตา ง ๆ เปน อยา งไร สวนประกอบของหู สว นประกอบของหูแบง เปน 3 สวน คือ 1) หูชน้ั นอก ประกอบดว ยสว นตา ง ๆ ดังน้ี 1. ใบหู ทําหนา ท่รี ับเสียงสะทอนเขาสรู ูหู 2. รูหู ทําหนาท่ีเปนทางผานของเสียง ใหเขาไปสูสวนตาง ๆ ของรหู ู ภายในรหู จู ะมตี อมนา้ํ มนั ทําหนาทผี่ ลติ ไขมันทาํ ใหห ชู มุ ชื้น ดกั จับฝนุ ละอองและ

ส่ิงแปลกปลอมที่เขามาภายในรหู ู และเกิดเปนขี้หู นอกจากนั้นภายในรูหูยังมีเยื่อแกวหู ซงึ่ เปนเยือ่ แผนกลมบาง ๆ กั้นอยรู ะหวา งหชู ้ันนอกกับหูช้ันกลาง ทําหนาที่ถายทอดเสียงผานหู ชัน้ กลาง 2) หูช้ันกลาง มีลักษณะเปนโพรง ประกอบดวยสวนตางๆ ไดแก กระดูกรูปคอน กระดูกรูปท่ัง และกระดูกรูปโกลน เปนกระดูกชิ้นนอกติดอยูกับหูชั้นใน กระดูกทงั้ 3 ชิน้ ดังกลาว ทาํ หนาท่ีรับคลื่นเสยี งตอ จากเยือ่ แกวหู 3) หูช้ันใน มีลักษณะเปนรูปหอยโขง เปนสวนที่อยูดานในสุด ทาํ หนา ทข่ี ับคลน่ื เสยี งโดยผานประสาทรบั เสียงสง ตอไปยังสมอง และสมองก็แปลผล ทําใหรูวา เสียงทีไ่ ดยนิ คอื เสียงอะไร 2.1.3 จมูก เปนอวัยวะรับสัมผัส ทําหนาท่ีหายใจเอาอากาศเขาและออกจาก รางกาย และมีหนา ที่รับกล่ินตาง ๆ ถาจมูกไมสามารถทําหนาท่ีไดตามปกติ จะไมไดกลิ่นอะไร เลย หรอื ทําใหระบบการหายใจและการออกเสยี งผดิ ปกติ สวนประกอบของจมูก จมูกเปนอวัยวะภายนอกที่อยูบนใบหนา ชว ยเสรมิ ใหใ บหนา สวยงามจมกู แบงออกเปน 3 สว น ดงั น้ี 1) สันจมกู เปนสว นท่ีมองเห็นจากภายนอก เปนกระดูกออ น ทําหนาท่ีปอ งกนั อันตรายใหก ับอวยั วะภายในจมูก 2) รูจมูก รูจมูกมี 2 ขาง ทําหนาท่ีเปนทางผานของอากาศท่ีหายใจ เขาออก ภายในรูจมกู มขี นจมกู และเยือ่ จมูก ทําหนาที่กรองฝุนและเชื้อโรคไมใหเขาสูหลอดลม และปอด 3) ไซนัส เปนโพรงอากาศครอบจมูกในกะโหลกศีรษะ จํานวน 4 คู ทาํ หนา ทีพ่ ดั อากาศเขา สปู อด และปรับลมหายใจใหมอี ุณหภมู แิ ละความชน้ื พอเหมาะ 2.1.4 ปากและฟน ปากเปนอวัยวะสําคัญของรางกายที่ใชในการพูด ออกเสยี งและรับประทานอาหาร หนา ทขี่ องฟน ฟน มีหนาท่ีในการเคย้ี วอาหาร เชน ฉีก กัด บดอาหารใหละเอียด ฟนจึงมีหนาที่และรูปรางตางกันไป ไดแก ฟนหนา มีลักษณะคลายลิ่ม ใชกัดตัด ฟนเข้ียว

มีลกั ษณะปลายแหลม ใชฉีกอาหาร และฟนกราม มีลักษณะแบน กวาง ตรงกลางมีรองใชบด อาหาร โดยฟนของคนเราจะมี 2 ชดุ คือ ฟนนํา้ นมและฟน แท 1) ฟนน้ํานม เปนฟนชุดแรก มีทง้ั หมด 20 ซี่ เปนฟนบน 10 ซี่ ฟนลาง 10 ซ่ี ฟน นํ้านมเริ่มงอกเมอื่ อายปุ ระมาณ 6-8 เดือน จะงอกครบเมื่ออายุ 2 ขวบ ถึง 2 ขวบคร่ึง และจะคอ ย ๆ หลดุ ไปเมอื่ อายุประมาณ 6 ขวบ 2) ฟนแท เปน ฟนชดุ ทส่ี อง ที่เกิดข้นึ มาแทนฟนน้ํานมท่ีหลุดไป ฟนแท มี 32 ซี่ ฟนบน 16 ซี่ ฟนลาง 16 ซ่ี ฟนแทจะข้ึนครบเม่ืออายุประมาณ 21- 25 ป ถาฟนแทผุ หรือหลุดไป จะไมมฟี น งอกข้นึ มาอีก 2.1.5 ผิวหนัง เปนอวัยวะรับสัมผัส ทําใหรูสึก รอน หนาว เจ็บปวด เพราะภายใตผิวหนังเปนที่รวมของเซลลประสาทรบั ความรสู กึ นอกจากน้ันผิวหนังยังทํา หนาที่ปกคลุมรางกาย ชวยปองกันอวัยวะภายในไมใหไดรับอันตราย และยังชวยระบายความ รอนภายในรางกายทางรเู หงื่อตามผิวหนังอีกดว ย สว นประกอบของผิวหนงั แบง ออกเปน 2 ชน้ั ดงั น้ี 1) ชั้นหนังกําพรา เ ปน ชั้น บ น สุด เ ปน ชั้น ที่จ ะ ห ลุด เ ปน ข้ีไคลแลวมีการสรางขึน้ มาทดแทนข้นึ เร่ือย ๆ และเปนผิวหนังชั้นท่ีบงบอกความแตกตางของ สผี ิวในแตล ะคน 2) ชนั้ หนงั แท เปนผวิ หนังท่ีหนากวาช้ันหนงั กําพรา เปน แหลงรวม ของตอมเหงอ่ื ตอ มไขมัน และเซลลประสาทรบั ความรสู กึ ตา ง ๆ 2.2 อวัยวะภายใน เปนอวัยวะที่อยูใตผิวหนัง ซึ่งเราไมสามารถมองเห็น อวยั วะภายในเหลานม้ี ีมากมายและทํางานประสานสมั พันธกันเปน ระบบอวยั วะภายในมดี งั นี้ 2.2.1 ปอด เปนอวัยวะภายในอยางหนึ่ง อยูในระบบหายใจ ปอดมี 2 ขาง ตั้งอยูบริเวณทรวงอกทั้งทางดานซายและดานขวา จากตนคอลงไปจนถึงอก ปอดมี ลกั ษณะน่มิ และหยุน เหมอื นฟองนํ้า ขยายใหญเทากับซี่โครงเวลาที่ขยายตัวเต็มท่ีมีเยื่อบางๆ หุม เรยี กวา เยอ่ื หุมปอด ปอด ประกอบดว ยถงุ ลมเลก็ ๆ จํานวนมากมาย เวลาหายใจเขาถุงลม จะพองออกและเวลาหายใจออกถุงลมจะแฟบ ถุงลมนี้ประสานติดกันดวยเยื่อประสาน ละเอียดเต็มไปดวยเสนเลือดฝอยมากมาย เลือดดําจะไหลผานเสนเลือดฝอยเหลานั้น แลวคายคารบ อนไดออกไซดออก และรับเอาออกซิเจนจากอากาศท่ีเราหายใจเขาไปในถุงลม

ไปใชในกระบวนการเคมีในการสันดาปอาหารของรางกาย กระบวนการท่ีเลือดคาย คารบอนไดออกไซด และรบั ออกซิเจนขณะที่อยใู นปอดนี้ เรยี กวา การฟอกเลอื ด หนา ท่ีของปอด ปอดจะทาํ หนาท่ีสูบและระบายอากาศ ฟอกเลือดเสยี ใหเปนเลือด ดี การหายใจมีอยู 2 ระยะ คอื หายใจเขาและหายใจออก หายใจเขา คือ การสูดอากาศเขาไป ในปอดหรอื ถุงลมปอด เกิดข้นึ ดว ยการหดตัวของกลา มเนอ้ื กะบงั ลม ซงึ่ กัน้ อยรู ะหวางชองอกกับ ชองทอง เม่ือกลามเน้ือกะบังลมหดตัวจะทําใหชองอกมีปริมาตรมากข้ึน อากาศจะว่ิงเขาไป ในปอด เรยี กวาหายใจเขา เม่ือหายใจเขาสุดแลว กลามเนื้อกะบังลมจะคลายตัวลง กลามเน้ือ ทองจะดันเอากลามเน้ือกะบังลมขึ้น ทําใหชองอกแคบลง อากาศจะถูกบีบออกจากปอด เรียกวา หายใจออก ปกตผิ ูใหญห ายใจประมาณ 18 - 22 คร้ังตอนาที ผูท่ีมีอายุนอยการหายใจ จะเร็วข้ึนตามอายุ 2.2.2. หัวใจ เปนอวัยวะที่ประกอบดวยกลามเน้ือ ภายในเปนโพรง รูปรางเหมือนดอกบัวตูม มีขนาดราวๆ กําปนของเจาของ รอบๆ หัวใจมีเยื่อบางๆ หุมอยู เรียกวา เยอ่ื หมุ หวั ใจ ซึง่ มีอยู 2 ชน้ั ระหวางเย่อื หมุ ทง้ั สองชั้นจะมชี อง ซ่ึงมีนํ้าใสสีเหลืองออน หลออยูต ลอดเวลา เพอ่ื มิใหเยื่อท้ังสองชั้นเสียดสีกัน และทําให หัวใจเตนไดสะดวก ไมแหงติด กับเย่ือหุมหัวใจ หัวใจตั้งอยูระหวางปอดท้ังสองขาง แตคอนไปทางซายและอยูหลังกระดูก ซ่ีโครงกบั กระดกู อก โดยปลายแหลมชีเ้ ฉยี งลงทางลาง และช้ีไปทางซาย ภายในหัวใจจะมีโพรง ซงึ่ ภายในโพรงนจ้ี ะมผี นังก้นั แยกออกเปน หองๆ รวม 4 หอง คือ หองบน 2 หอง และหองลาง 2 หอง สาํ หรับหอ งบนจะมขี นาดเลก็ กวาหอ งลา ง หนาท่ขี องหัวใจ หวั ใจมีจังหวะการบบี ตัว หรือที่เราเรยี กวาการเตนของหวั ใจ เพอ่ื สูบฉีด เลือดแดง ไปหลอเลีย้ งตามสวนตางๆ ของรางกาย ขณะที่คลายตัวหัวใจหองบนขวาจะรับเลือด ดํามาจาก ทวั่ รางกาย และจะถกู บบี ผา นล้ินทีก่ นั้ อยูล งไปทางหอ งลางขวา ซง่ึ จะถูกฉดี ไปยังปอด เพ่อื คายคารบอนไดออกไซดและรับออกซิเจนใหมกลายเปนเลือดแดง ไหลกลับเขามายังหัวใจ หองบนซาย และถูกบีบผานลิ้นท่ีกั้นอยูไปทางหองลางซาย จากน้ันก็จะถูกฉีดออกไปเล้ียงทั่ว รางกาย ถาเราใชน้ิวแตะบริเวณเสนเลือดใหญ เชน ขอมือ หรือขอพับตาง ๆ เราจะรูสึกไดถึง จงั หวะการบบี ตัวของหวั ใจ ซง่ึ เราเรยี กวา ชีพจร

หัวใจเปนอวยั วะทส่ี ําคัญทส่ี ดุ เพราะเปน อวัยวะที่บอกไดวา คนน้ันยังมี ชวี ติ อยไู ดหรือไม ถาหากหัวใจหยุดเตนก็หมายถึงวา คนคนนั้นเสียชีวิตแลว การเตนของหัวใจ น้ัน ในคนปกติหัวใจจะเตนประมาณ 70 - 80 ครงั้ ตอนาที 2.2.3 กระเพาะอาหาร มีรูปรางเหมือนน้ําเตา คลายกระเพาะหมู มีความจุประมาณ 1 ลติ ร อยตู อ จากหลอดอาหารและอยใู นชอ งทองคอนไปทางดานซา ย หนาที่สําคญั ของกระเพาะอาหาร คือ มีหนาที่ในการยอยอาหารให มีขนาดเลก็ ลง และละลายใหเปนสารอาหาร แลวสงอาหารที่ยอ ยแลวไปยังลําไสเล็ก ลําไส เล็กจะดูดซึมสารอาหารไปใชประโยชนแ กร า งกายตอไป สวนท่ีไมเปนประโยชนที่เรียกวา กากอาหารจะถกู สง ตอ ไปยังลาํ ไสใ หญ เพ่ือขับถา ยออกจากรา งกายเปนอจุ จาระตอ ไป 2.2.4 ลําไสเล็ก มลี ักษณะเปน ทอกลวงยาวประมาณ 6 เมตร ขดอยูในชอง ทองตอนบน ปลายบนเชื่อมกับกระเพาะอาหาร สวนปลายลา งตอกับลาํ ไสใหญ หนาท่ีสําคัญของลําไสเล็ก คือ ยอยอาหารตอจากกระเพาะอาหาร จนอาหารมีขนาดเล็กพอที่จะดดู ซมึ เขา สกู ระแสเลือด เพื่อนําไปเลี้ยงสว นตา ง ๆ ของรา งกาย 2.2.5 ลําไสใ หญ เปนอวยั วะที่อยูในระบบทางเดินอาหาร ลําไสใหญของคน มีความยาวประมาณ 1.5 เมตร เสน ผา นศูนยก ลางประมาณ 6 เซนตเิ มตร แบง ออกเปน 3 สวน คอื 1) กระเปาะลําไสใหญ เปนลําไสใหญสวนแรกตอจากลําไสเล็ก ทําหนา ทรี่ บั กากอาหารจากลําไสเ ลก็

2) โคลอน (Colon) เปน ลาํ ไสใหญสว นท่ียาวท่ีสุดประกอบดวยลําไส ใหญขวา ลําไสใหญกลาง และลําไสใหญซาย มีหนาท่ีดูดซึมน้ํา และพวกวิตามินบี 12 ที่แบคทเี รียในลาํ ไสใหญ สรา งข้นึ และขบั กากอาหารเขา สลู าํ ไสใหญส ว นตอไป 3) ไสตรง เมื่อกากอาหารเขาสูไสตรง จะทําใหเกิดความรูสึก อยากถายขึน้ เพราะความดนั ในไสต รงเพิม่ ขนึ้ เปนผลทําใหกลามเน้ือหูรูดท่ีทวารหนักดานใน ซ่ึงจะ ทําใหเ กิดการถา ยอจุ จาระออกทางทวารหนกั ตอ ไป หนา ท่ีของลาํ ไสใหญ (1) ชว ยยอ ยอาหารเพยี งเลก็ นอย (2) ถายระบายกากอาหารออกจากรางกาย (3) ดูดซึมนํ้าและสารอิเล็คโตรลัยต เชน โซเดียม และเกลือแร อ่ืนๆ จากอาหารท่ีถูกยอยแลว ท่ีเหลืออยูในกากอาหาร รวมทั้งวิตามินบางอยางท่ีสรางจาก แบคทีเรียซ่ึงอาศัยอยูในลําไสใหญ ไดแก วิตามินบีรวม วิตามินเค ดวยเหตุน้ีจึงเปนชองทาง สําหรับใหนํ้า อาหารและยาแกผูปวยทางทวารหนักได ทําหนาที่เก็บอุจจาระไว จนกวาจะถงึ เวลาอนั สมควรทีจ่ ะถายออกนอกรางกาย 2.2.6 ไต เปนอวัยวะสวนหน่ึงในระบบขับถาย จะขับถายของเสียจาก รางกายออกมาเปนน้ําปสสาวะ ไตของคนเรามี 2 ขาง มีรูปรางคลายเมล็ดถั่วแดงยาว ประมาณ 12 เซนติเมตร อยูติดผนังชอ งทอ งดา นหลงั ตา่ํ กวากระดกู ซี่โครงเลก็ นอย หนา ที่สาํ คญั ของไต คือ กรองของเสยี ออกจากเลือดแดง แลวขับออก นอกรา งกายในรูปของปสสาวะ เร่อื งที่ 3 การดูแล รักษา ปองกันความผิดปกติของอวัยวะสาํ คัญของรางกาย การดูแลรักษาปองกัน ความผิดปกติของอวัยวะสําคัญของรางกาย อวัยวะภายนอก และภายในมีความสําคัญของรางกาย จําเปนตองดูแลรักษาใหสามารถทํางานไดตามปกติ เพราะถา อวยั วะสวนใดสว นหนึ่งเกดิ ความบกพรอ งหรอื เกดิ ความผดิ ปกติ ระบบการทํางานน้ันก็ จะบกพรองหรือผิดปกติดว ย มีวธิ กี ารงาย ๆ ในการดูแลรักษาอวัยวะตาง ๆ ดงั นี้ 3.1 การดแู ลรักษาดวงตา มีขอควรปฏบิ ตั ดิ งั น้ี ดวงตามีความสําคัญ ทําใหมองเห็นส่ิงตาง ๆ จึงควรดูแลรักษาดวงตาใหดี ดวยวิธี ดงั ตอไปน้ี

3.1.1 ไมควรใชส ายตาจอ งหรือเพง สิ่งตาง ๆ มากเกินไป ควรพกั สายตาโดย การหลบั ตา หรอื มองออกไปยังทกี่ วา ง ๆ หรือพนื้ ทีส่ ีเขียว 3.1.2 ขณะอา นหรือเขยี นหนงั สือ ควรใหแสงสวา งอยางเพยี งพอ และควร วางหนังสอื ใหหา งจากตาประมาณ 1 ฟุต 3.1.3 ไมควรอานหนังสือขณะอยูบนยานพาหนะ เชน รถ หรือรถไฟที่กําลัง แลน 3.1.4 ดโู ทรทัศนใหห างจากจอภาพไมนอ ยกวา 3 เทา ของขนาดจอภาพ 3.1.5 เมือ่ มฝี นุ ละอองเขา ตา ไมค วรขย้ตี าควรใชวธิ ีลืมตาในนํา้ สะอาด หรอื ลางดวยนา้ํ ยาลา งตา 3.1.6 ไมค วรใชผ าเชด็ หนา รวมกับผูอน่ื เพราะอาจตดิ โรคตาแดงจากผูอืน่ ได 3.1.7 หลกี เลยี่ งการมองบริเวณทแี่ สงจา หรือหลกี เลย่ี งสถานที่ท่มี ฝี ุนละออง ฟุง กระจาย 3.1.8 อยา ใชย าลา งตาเมอื่ ไมม คี วามจําเปน เพราะตามธรรมชาตนิ า้ํ ใน เปลือกตา ทําหนา ที่ลางตาดีท่ีสุด 3.1.9 บรหิ ารเปลือกตาบน และเปลือกตาลางทกุ วัน ดว ยการใชนิ้วช้รี ูดกดไป บนเปลอื กตาจากคว้ิ ไปทางหางตา 3.2 การดแู ลรักษาหู มีขอควรปฏิบัติดังน้ี หูมีความสําคัญตอการไดยิน ถาหูผิดปกติจนไมสามารถไดยินเสียงตางๆ การ ทาํ กิจกรรมในชีวติ ประจําวัน ก็ไมราบรน่ื เกิดอุปสรรค ดังนัน้ จึงควรดูแลรักษาหู ใหทําหนาท่ีให ดอี ยเู สมอ 3.2.1 หลกี เลี่ยงแหลง ทีม่ เี สยี งดังอึกทึก ถาหลีกเล่ียงไมไดควรปองกันตนเอง โดยหาอปุ กรณม าอุดหู หรอื ครอบหู เพ่ือปอ งกันไมใ หแ กว หูฉกี ขาด 3.2.2 ไมควรแคะหดู วยวัสดุใด ๆ เพราะอาจทาํ ใหห อู ักเสบเกดิ การติดเชอ้ื 3.2.3 เม่ือมีแมลงเขาหู ใหใชนํ้ามันมะกอก หรือน้ํามันพาราฟลหยอดหู ท้งิ ไวส กั ครูแมลงจะตาย แลวจงึ เอยี งหใู หแ มลงไหลออกมา 3.2.4 ขณะวายน้ํา หรืออาบน้ํา พยายามอยาใหนํ้าเขาหู ถามีนํ้าเขาหูให เอียงหูใหน ํา้ ออกมาเอง

3.2.5 เม่ือเปนหวดั ไมควรส่ังนํ้ามูกแรงๆ เพราะเช้ือโรคอาจผานเขาไปในรูหู เกิดอกั เสบ ติดเช้ือกลายเปน หนู าํ้ หนวก และเมือ่ มีสิ่งผิดปกติเกดิ ขนึ้ กบั หู ควรปรกึ ษาแพทย 3.3 การดูแลรกั ษาจมูก มขี อ ควรปฏบิ ตั ดิ งั น้ี จมูกเปนอวยั วะรบั สมั ผสั ที่มีความสําคญั ทาํ ใหไดกลิ่น และหายใจเอาอากาศ บรสิ ุทธเิ์ ขา สูป อด ควรดแู ลรักษาจมกู ใหท าํ หนาท่ไี ดตามปกติดวยวธิ ดี ังน้ี 3.3.1 หลกี เล่ยี งบรเิ วณที่มฝี นุ ละอองฟงุ กระจาย 3.3.2 ไมควรแคะจมูกดว ยวัสดุแข็ง เพราะอาจทาํ ใหจ มูกอกั เสบ 3.3.3 ไมค วรสงั่ น้ํามูกแรง ๆ ถา เปนหวัดเรื้อรงั ควรปรกึ ษาแพทย 3.3.4 ถามคี วามผิดปกติเกิดข้ึนกบั จมกู ควรปรกึ ษาแพทย 3.4 การดแู ลรกั ษาชอ งปากและฟน มขี อควรปฏบิ ตั ิดังน้ี 3.4.1 ดแู ลความสะอาดและตรวจเหงอื กและฟน ดวยตนเองอยา งสม่ําเสมอ 3.4.2 ควรแปรงฟนใหถ ูกวิธีหลังอาหารทุกมื้อ หรือควรแปรงฟนอยางนอย วันละ 2 ครง้ั 3.4.3 ไมควรกดั หรอื ฉีกของแข็งดว ยฟน และควรพบทนั ตแพทยเพื่อตรวจฟนทุก 6 เดือน 3.4.4 ออกกําลังเหงือกดวยการถู นวดเหงือก ตอนเชา และกลางคืนกอน นอนโดยการอมเกลอื หรอื เกลอื ปน ผสมสารสมปนประมาณ 5 นาที แลว นวดเหงอื ก 3.4.5 รับประทานผัก ผลไมสดมาก ๆ และหลีกเล่ียงการรับประทาน ลูกอมช็อคโกแลตและขนมหวาน ๆ 3.4.6 หลีกเลยี่ งพฤติกรรมเสย่ี ง เชน การสูบบหุ ร่ี ด่ืมแอลกอฮอล 3.4.7 ควรไปพบแพทยเ พ่ือตรวจสขุ ภาพชอ งปาก อยางนอ ยปล ะ 2 ครัง้ 3.5 การดแู ลรกั ษาผวิ หนงั มีขอควรปฏบิ ัตดิ ังน้ี 3.5.1 อาบนา้ํ อยา งนอยวันละ 2 ครัง้ หลังจากอาบน้ําเสร็จ ควรเชด็ ตัวใหแ หง 3.5.2 สวมเส้ือผาท่ีสะอาด ไมเปยกช้นื และไมร ัดรปู จนเกินไป 3.5.3 รับประทานอาหารทมี่ ีประโยชนแ ละด่มื นํ้ามาก ๆ ออกกาํ ลังกายอยาง สมํา่ เสมอ หลีกเล่ยี งแสงแดดจา และระมดั ระวังในการใชเ ครอื่ งสาํ อาง 3.5.4 เมื่อผิวหนังผดิ ปกติควรปรกึ ษาแพทย

3.6 การดูแลรักษาปอด มีขอควรปฏบิ ตั ิดงั นี้ 3.6.1 ควรอยูในสถานที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ถายเทไดเสมอหลีกเลี่ยงอยูใน สถานที่ที่มีฝูงชนแออัด 3.6.2 ควรหายใจทางจมูก เพราะในจมูกมขี นจมูกและเยื่อเสมหะ ซ่ึงจะชวย กรองฝุน ละออง และเชื้อโรคไมใ หเขาไปในปอด หลีกเล่ียงการหายใจทางปาก 3.6.3 ไมควรนอนควํา่ นาน ๆ จะทาํ ใหปอดถูกกดทบั ทาํ งานไมสะดวก 3.6.4 ไมค วรสบู บุหร่ี เพราะจะสง ผลใหเปน อันตรายตอปอด 3.6.5 ควรนัง่ หรอื ยนื ตัวตรง ไมค วรสวมเสอ้ื ผาที่รดั แนน เพราะจะทําใหปอด ขยายตวั ไมส ะดวก 3.6.6 ควรรกั ษารางกายใหอบอุน เพ่ือปอ งกันการเปนหวัด 3.6.7 ควรบรหิ ารปอด ดว ยการหายใจยาว ๆ วนั ละ 5 - 6 คร้ังทกุ วัน ทําให ปอดขยายตัวไดเตม็ ที่ 3.6.8 ควรระวงั การกระทบกระเทอื นอยา งรุนแรงจากภายนอก เชน หนาอก แผน หลัง เพราะจะกระทบกระเทอื นไปถงึ ปอดดวย 3.6.9 ควรพกั ผอนใหเต็มท่ี การออกกําลงั กายหรอื การเลนกฬี าใด ๆ อยาให เกนิ กาํ ลังหรือเหนอื่ ยเกินไป เพราะจะทาํ ใหปอดตองทาํ งานหนกั 3.6.10 ควรตรวจสขุ ภาพ หรอื เอ็กซเรยป อดอยา งนอ ยปล ะ 1 ครง้ั 3.7 การดแู ลรักษาหัวใจ มวี ธิ กี ารปฏบิ ตั ดิ งั น้ี 3.7.1 ควรออกกาํ ลงั กายสมาํ่ เสมอ เหมาะสมกับสภาพรา งกาย และวยั ไมหัก โหมเกินไป เพราะจะทาํ ใหห ัวใจตองทํางานมาก อาจเปน อันตรายได 3.7.2 ไมด่ืมนํ้าชา กาแฟ สูบบุหรี่ ด่ืมสุราหรือเคร่ืองด่ืมท่ีมีสารกระตุน เพราะทาํ ใหห ัวใจทาํ งานหนกั จนอาจเปน อันตรายแกกลามเนอ้ื หวั ใจได 3.7.3 ไมร บั ประทานยาที่กระตุนการทาํ งานของหวั ใจ โดยไมป รกึ ษาแพทย 3.7.4 การนอนควํ่า เปนเวลานานๆ จะสงผลทําใหหัวใจถูกกดทับทํางาน ไมส ะดวก 3.7.5 ไมควรนอนในสถานท่อี ากาศถา ยเทไมสะดวก หรือสวมเสื้อผาที่รัดรูป จนเกนิ ไป จะทําใหระบบการทาํ งานของหัวใจไมสะดวก

3.7.6 ระมัดระวังไมใหหนาอกไดรับความกระทบกระเทือน เพราะอาจเปน อันตรายกบั หวั ใจได 3.7.7 ไมค วรวิตกกงั วล กลวั ตกใจ เสียใจมากเกนิ ไป เพราะจะสงผลตอ การ ทาํ งานของหวั ใจ 3.7.8 ไมควรรับประทานอาหารท่ีมีไขมันและนํ้าตาลมากเกินไป เพราะจะ ทําใหเ กดิ ไขมนั เกาะภายในเสนเลือด และกลามเนื้อหัวใจ ทาํ ใหหัวใจตองทํางานหนักขึ้นจะเปน อันตรายได 3.7.9 เม่ือเกดิ อาการผดิ ปกติของหวั ใจ ควรปรกึ ษาแพทย 3.8 การดแู ลรกั ษากระเพาะอาหารและลาํ ไส ควรปฏบิ ตั ิดงั นี้ 3.8.1 ควรรับประทานอาหาร ทมี่ ีประโยชน ไมแข็ง ไมเหนียว หรือยอยยาก หรือมีรสจัดเกนิ ไป เพราะทาํ ใหกระเพาะอาหารทาํ งานหนักหรอื ทําใหเกดิ เปน แผลได 3.8.2 ควรใหร างกายอบอนุ ในเวลานอนตองสวมเสื้อผา หรือหม ผาเสมอ เพอ่ื มใิ หทองรับความเย็นจนเกนิ ไป จนอาจเกดิ อาการปวดทอ ง 3.8.3 ควรควบคุมอารมณ เพราะความเครียด ความวิตกกังวล ก็ทําให กระเพาะอาหารหลงั่ นา้ํ ยอ ยออกมามาก 3.8.4 เคี้ยวอาหาร ใหละเอียดกอนกลืน และไมรีบรับประทาน เพราะจะทํา ใหอาหารยอ ยยาก 3.8.5 ไมควรสวมเส้ือผาคับหรือรัดเข็มขัดแนนเกินไป จะทําใหกระเพาะ อาหารทํางานไมสะดวก 3.8.6 ไมควรรับประทานจุบจิบ เพราะจะทําใหกระเพาะอาหารตองทํางานอยู เสมอไมมเี วลาพัก 3.8.7 ควรรับประทานอาหารใหเปนเวลา ไมปลอยใหหิวมาก หรือ รับประทานอาหารมากเกินไป จะทาํ ใหกระเพาะอาหารตองทํางานหนัก หรือเกิดอาการอาหาร ไมย อย แนนทอ งได 3.8.8 ไมร บั ประทานของหมกั ดอง จะทาํ ใหเ กิดอาการทองเสียหรือทอ งรวงได 3.8.9 ปฏบิ ตั ิตนตามหลกั สุขนิสัยท่ดี ี โดยกนิ รอน ชอนกลาง ลางมือ เพอื่ ปอ งกันเชื้อโรคท่อี าจกอ ใหเ กดิ อันตรายตอ กระเพาะอาหารได

3.8.10 ควรรบั รบั ประทานอาหารทปี่ รุงสกุ ใหมๆ เพื่อปองกันการเกดิ โรคตดิ ตอ เชน อหิวาตกโรค โรคบิด พยาธิตาง ๆ ทอ งรวง 3.9 การดแู ลรกั ษาไต ควรปฏบิ ตั ิดังนี้ 3.9.1 ควรรบั ประทานอาหาร นา้ํ เกลือแร ใหเหมาะสมตามสภาวะของ รางกาย 3.9.2 ควรหลกี เล่ยี งการใชย าหรอื รับประทาน ยาทม่ี ีผลเสียตอไต เชน ยา ซลั ฟา ยาแกป วด และแกอ กั เสบตอเนื่องเปนเวลานาน 3.9.3 ไมค วรกลน้ั ปสสาวะเอาไวน าน ๆ หรือสวนปส สาวะ 3.9.4 ผูท่ีมอี าการของโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ควรรักษาเพราะ จะสง ผลกระทบตอการทํางานของไต 3.9.5 เมอื่ เกิดอาการผดิ ปกตทิ ่ีสงสัยวาจะเปนโรคไต เชน เทา ตัว หรือหนา บวม ปสสาวะเปน สคี ลํา้ เหมือนสีน้าํ ลา งเน้ือ หรือปสสาวะบอ ยผดิ ปกติ ควรปรกึ ษาแพทย 3.9.6 ควรตรวจสุขภาพ ตรวจปสสาวะ อยางนอยประจําปล ะ 1-2 ครั้ง

กจิ กรรมทา ยบทที่ 1 กิจกรรมที่ 1 ใหผ เู รียนอธิบายตามประเด็นดังตอ ไปน้ี 1. จงอธิบายวฏั จกั รของชวี ิตมนุษยตั้งแตแรกเกิดจนตายโดยสังเขป 2. จงอธิบายลักษณะโครงสรา งหนาที่ และการทํางานของอวยั วะภายนอก มา 1 อยา ง 3. จงอธิบายลกั ษณะโครงสรา งหนา ทแ่ี ละการทํางานของอวัยวะภายใน มา 1 อยาง 4. จงอธบิ ายวิธีการดแู ลอวัยวะภายนอกและภายใน มาพอสังเขป กิจกรรมที่ 2 ใหผ ูเรยี นเลอื กคาํ ตอบที่ถูกทส่ี ดุ 1. ใครคือผูที่ดูแลรักษาตาไดเหมาะสมท่สี ดุ ก. แกวใชนํ้ายาลางตาทกุ ครงั้ เมื่อฝนุ เขาตา ข. กา นดูโทรทศั นโดยหา งเปน 2 เทาของจอภาพ ค. ก่ิงอา นหนงั สือบนรถประจําเพอื่ บรหิ ารกลา มเน้อื ตา ง. กอยบรหิ ารเปลือกตาโดยใชนว้ิ กดรูดไปบนเปลอื กตาจากคิ้วไปหางตา 2. ขอใดกลาวถงึ หนา ท่ีของหูช้นั กลางไดถ ูกกตอ ง ก. ผลติ ไขมันใหร หู ชู ุมช้นื ข. รบั คล่นื เสียงตอ จากเย่ือแกว หู ค. ขบั เคล่อื นเสยี งสงตอไปยงั สมอง ง. กาํ จดั ฝุนละออง 3. เมอ่ื ใดท่คี นเราจะรูวาเสยี งหัวใจทไ่ี ดย นิ คือเสียงอะไร ก. เม่ือหูช้ันกลางถายทอดเสียงผา นหูชั้นใน ข. เมอ่ื หชู ้ันกลางรับคลืน่ เสียงจากแกวหู ค. เมอ่ื หูชน้ั ในแปลความหมายของเสยี ง ง. เมือ่ หูชั้นในรับเสียงโดยผานประสาทรับเสียงไปยงั สมอง

4. เมอื่ แมลงเขาหคู วรแกไขดว ยวิธีใด ก. ใชน ้ํามันพืชหยอดหูแลว ทําใหแมลงไหลออกมา ข. ใชนาํ้ มนั มะพราวหยอดหแู ลวทาํ ใหแมลงไหลออกมา ค. ใชน าํ้ มนั มะกอกหยอดหูแลว ทาํ ใหแมลงไหลออกมา ง. ใชนํ้ามนั หมหู ยอดหูแลวทําใหแมลงไหลออกมา 5. ขอใดคือส่งิ ที่เกิดขึ้นจากการหายใจเขา ก. กลามเนื้อกระบงั ลมหดตัว ข. กลา มเน้อื กระบงั ลมคลาย ค. กลามเนือ้ ทอ งดันเอากลามเนอื้ กระบงั ลมขึน้ ง. ชอ งอกแคบลง 6. ขอ ใดคอื ลกั ษณะของฟนน้ํานม ก. มีทัง้ หมด 22 ซ่ี ข. มีทัง้ หมด 32 ซ่ี ค. จะขึ้นครบเมือ่ อายุ 2 ขวบ ง. จะข้ึนครบเมือ่ อายุ 6 ขวบ 7. ขอ ใดกลา วถึงชั้นหนงั แทไ ดถูกตอ ง ก. เปนชั้นทบ่ี งบอกความแตกตางของสผี ิวในแตล ะคน ข. เปนแหลง รวมของตอมเหง่ือ ค. เปน ชั้นทห่ี ลดุ เปนขีไ้ คล ง. เปน ชั้นผิวหนงั สาํ หรับปองกันเชอ้ื โรคเขาสรู างกาย 8. ขอ ใดคอื การดูแลรกั ษาปอดทถี่ ูกตอง ก. หายใจทางปากเมื่อสมั ผสั กบั อากาศบรสิ ุทธิ์ ข. ไมนอนควํา่ เพราะปอดจะทํางานไมส ะดวก ค. นอนคว่าํ เปนครง้ั คราวเพ่ือใหปอดมีความสมดุล ง. น่งั ตามสบายเพราะทาํ ใหปอดขยายตัว

9. อตั ราการเตนของหัวใจในคนปกติ มีคาเทา ใด ก. 60 – 70 คร้ังตอนาที ข. 70 – 80 ครง้ั ตอ นาที ค. 80 – 90 คร้งั ตอ นาที ง. 90 – 100 คร้งั ตอ นาที 10. ขอใดคอื สงิ่ ที่เกิดขึ้นในขณะที่หวั ใจบบี ตวั ก. เลือดแดงถกู ฉดี ไปทปี่ อดเพอ่ื รบั ออกซเิ จน ข. เลือดดําถกู ฉีดไปที่ปอดเพือ่ รบั ออกซเิ จน ค. หวั ใจหองบนขวารับเลือดดํามาจากทว่ั รา งกาย ง. หัวใจหอ งบนขวารบั เลอื ดแดงมาจากทั่วรา งกาย

บทท่ี 2 การวางแผนครอบครัวและพฒั นาการทางเพศ สาระสําคญั มีความรูความเขาใจเก่ียวกับการวางแผนครอบครัวและการพัฒนาทางเพศของ วัยรุนในเรื่องตาง ๆ ทั้งเพศชาย และเพศหญิง ท่ีมีปญหาที่แตกตางกันออกไปตลอดจนเรียนรู ในเรื่องของกฎหมายที่เกี่ยวของกับการลวงละเมิดทางเพศ และมีความรูในการดูแลรักษา สุขภาพของตนเองใหพน จากโรคตดิ ตอจากการมเี พศสัมพันธ ผลการเรียนรทู ่คี าดหวงั 1. บอกความหมายของการวางแผนชีวติ 2. อธบิ ายการวางแผนชีวติ และครอบครัว 3. อธิบายการปรับตวั ในชวี ิตสมรสได 4. อธบิ ายปญหาและสาเหตุความรนุ แรงในครอบครัวได 5. ยกตวั อยา งวิธกี ารแกไขปญ หาเม่อื เกิดความรนุ แรงในครอบครัวได 6. บอกบทบาทหนา ท่ีของตนเองและครอบครัวได 7. อธิบายวธิ ีการสรางสมั พันธภาพที่ดีระหวา งบุคคลในครอบครัวได 8. อธิบายลําดบั ขัน้ ตอนของการพัฒนาการทางเพศในแตล ะชวงไดถกู ตอง 9. เลือกวิธกี ารปรับตนเองใหสอดคลอ งกบั พฒั นาการทางเพศในแตละชว งวัย ไดอ ยางถกู ตอ ง 10. บอกวิธปี องกันโรคติดตอทางเพศสัมพันธได ขอบขา ยเน้ือหา เรอ่ื งท่ี 1 การวางแผนชีวติ และครอบครัว  การวางแผนชีวิต  การเลอื กคคู รอง  การปรับตวั ในชวี ติ สมรส  การต้ังครรภ การมีบตุ ร และการเล้ยี งดูบตุ ร

เรอ่ื งที่ 2 ปญหาและสาเหตุความรนุ แรงในครอบครัว เร่อื งที่ 3 การสรางสมั พนั ธธ ภาพที่ดรี ะหวา ง พอ แม ลกู และคูสามี ภรรยา เรื่องท่ี 4 พัฒนาการทางเพศในแตล ะชว งวยั เรอ่ื งท่ี 5 โรคตดิ ตอทางเพศสมั พันธ

บทที่ 2 การวางแผนครอบครัวและพฒั นาการทางเพศ เรอ่ื งที่ 1 การวางแผนชวี ติ และครอบครัว 1. การวางแผนชวี ติ และครอบครัว 1.1 การวางแผนชีวิต จะชวยใหบุคคลมีทิศทางในการดําเนินชีวิตใหบรรลุ เปาหมายทต่ี งั้ ไว มคี วามสขุ และประสบความสําเรจ็ การวางแผนชีวติ ครอบครัวเปนการวางแผนรวมกันของคูสมรส ชวยใหมี ชีวิตคูที่ยั่งยืน ผาสุข รวมทั้งเปนการวางแผนดวยวาจะไมมีลูกหรือมีลูกเมื่อใด มีก่ีคน หางกันก่ีป เพ่ือใหลูกท่ีเกิดมามีความสุข สุขภาพแข็งแรง เปนการชวยกันสรางคนท่ีมี คุณภาพใหส ังคมดวย 1.2 การเลอื กคคู รอง กา ร มีคูค ร อ ง เ ปน ค ว า ม ป ร า ร ถน า ท า ง เ พ ศ ต า ม ห ลัก ธ ร ร ม ช า ติ เพ่อื การดํารงเผาพันธุของมนุษยเปนปจจัยแรก ดังนั้นเมื่อยางเขาสูวัยหนุมสาว จึงมักมีการ เลอื กคูครองตามมา เหตผุ ลในการเลือกคูค รองอาจแตกตา งกนั ดงั น้ี 1.2.1 เพอ่ื ความรักความอบอุน เนื่องจากความรักเปนพัฒนาการทางเพศโดยมี พ้ืนฐานมาจากแรงขับทางเพศหรือความตองการทางเพศ เมื่อความสัมพันธกาวหนามาถึง ระดบั หนงึ่ จากมิตรภาพหรอื เพ่ือนท่ีดกี ็กลายมาเปน ความรัก อันจะเปนแรงสงไปถึงระดับของ การมสี ัมพนั ธทางเพศ ความสัมพันธของชายหญิงท่ีเรียกวา ความรักนั้น จะทําใหมีความเขาใจ กนั เหน็ อกเหน็ ใจอยากใกลช ิดกันอยากใชชีวิตรวมกัน การมีชีวิตคูจะชวยใหสมหวังในความรัก และชวยใหเกิดความรูสึกอบอุนที่ไดอยูรวมชีวิตกับคนที่ตนรัก อันเปนพ้ืนฐานที่ดีของ ครอบครัวตอไป 1.2.2 เพ่ือการดํารงเผาพันธุ นอกจากความรักแลว บางคนตองการจะมี คคู รองเพื่อมีลูกสบื สกุล บางคนอาจจะไมมีความรักเลยก็ได แตต อ งแตงงานหรอื มีคูครองเพ่ือทํา หนาท่ีของความเปนมนุษยที่ตองขยายเผาพันธุของมนุษยใหดํารงสืบตอไป อันเปนความ ตองการทางธรรมชาติ 1.2.3 เพ่ือการสรางฐานะครอบครัว บางคนมีปญหาในเรื่องฐานะทาง ครอบครวั อาจมีความคิดวาการมีคูครองจะทําใหพนจากสภาพที่ไมพึงปรารถนา ไปสูสภาพ

ครอบครวั ใหมท ่ีมีฐานะท่ีดกี วา เดิม หรือการมีคูครองจะชวยใหฐานะท่ีมีอยูเดิมนั้นดีขึ้น ผูท่ีใช เหตุผลน้ี ในการเลือกคูครองมักคํานึงถึงฐานะทางเศรษฐกิจของอีกฝายหนึ่งเปนสําคัญ สมัยกอนพอแมหรือญาติผูใหญจะเปนผูเลือกคูครองใหลูกทั้ง ช าย แ ละ ห ญิง ไ มมี โ อ ก า ส เ รี ย น รู นิ สั ย ห รื อ ใ จ ค อ กั น แ ล ะ กั น ก อ น แ ต ง ง า น แ ต ป จ จุ บั น ค า นิ ย ม เปลี่ยนไป ชายและหญิงมีโอกาสตัดสนิ ใจเลอื กคูครองดวยตนเองโดยขอคําปรึกษาจากพอแมและญาติ ผูใหญ 1.3 การปรบั ตวั ในชวี ติ สมรส 1.3.1 การเตรียมตัวกอ นสมรส คูสมรสจะตองมีการเตรียมตัวเพ่ือใหความพรอมในการท่ีจะจัดงาน สมรสใหราบรื่น เพื่อใหการใชชีวิตสมรสมีความราบรื่นตามมา ซึ่งนอกจากจะตองเตรียมตัวใน เรื่องการวางแผนการจัดงานตามประเพณีแลว คูสมรสจะตองเตรียมตัวเองใหพรอม เพื่อไมให เกิดปญ หาหลังการสมรส ขอสําคัญที่ควรพิจารณาในการเตรียมตัวกอ นสมรสมีดังนี้ 1) สํารวจวฒุ ภิ าวะทางอารมณ กอ นการตดั สินใจแตงงานจําเปน ที่ท้ัง สองฝา ยจะตองสํารวจตัวเองวามีความพรอมทีจ่ ะแตงงานแลวหรือยังโดยเฉพาะความพรอมของ วุฒภิ าวะทางอารมณ ความลมเหลวหรอื ผดิ หวังในชีวติ สมรสสว นใหญ มกั มีสาเหตุมาจากคูสมรส ฝายหน่ึงหรือท้ังสองฝายยังมีพัฒนาการทางดานอารมณไมเพียงพอ ซ่ึงโดยปกติอายุเปนสวน หนง่ึ ที่แสดงถงึ ความพรอ มทางอารมณ ทัง้ น้เี พราะอายุมากขนึ้ กจ็ ะมีพฒั นาการทางอารมณมาก ขึน้ อายทุ ีเ่ หมาะสมกบั การแตงงานโดยเฉล่ียแลว ฝายชายควรมีอายุ 23 ป ฝายหญิงควรมีอายุ 20 ป เปน อยา งตํ่า 2) สํารวจสุขภาพเม่ือตกลงปลงใจแลววาจะแตงงาน และสํารวจวา ตนเองมีความพรอมในดานอื่นๆ แลว ส่ิงท่ีสําคัญอีกประการหน่ึง คือ ความพรอมดานสุขภาพ ของทั้งสองฝาย ท้ังทางดานรางกายและจิตใจ คูสมรสจึงควรไปปรึกษาแพทยกอนแตงงาน เพื่อใหต รวจรา งกายโดยละเอยี ด และขอคําปรกึ ษาในดา นสขุ ภาพ 1.3.2 การปรับตวั ในการใชช วี ติ สมรส การที่หญิงและชายจะประสบความสําเร็จในชีวิตคูนั้นมิใชของงาย ถงึ แมว า จะมีความรักเปน รากฐานท่สี ําคญั กช็ ว ยไมไดม ากนกั เพราะคูสมรสจาํ เปน จะตองศึกษา ทําความเขาใจซึ่งกันและกัน รับรูทั้งขอดีและขอเสียของกันและกัน รูจักสภาวะทางอารมณ

ความตอ งการ ความสนใจ เจตคติตางๆ ของคูครอง ตลอดจนรูจักผอนปรน และใหอภัยซึ่งกัน และกัน เปน ทัง้ คสู ุขและคทู กุ ข หลักการปรบั ตัวในการใชชีวิตคู มีดังน้ี 1) การปรับตวั ดานความสมั พนั ธในครอบครัว (1) ใหเ กียรติ ยกยอง และยอมรับซึ่งกันและกัน ตางฝายตางก็ แนะนาํ ใหเพ่ือน และญาติพ่ีนอง ไดรูจักวาเปนภรรยาและสามีอยางเปดเผย ไมปดบังซอนเรน หรือดหู มิน่ เหยียดหยามกัน (2) มีความซื่อสัตยตอกัน ไมประพฤตินอกใจ มีความจริงใจตอ กัน เม่ือมีปญ หากพ็ ูดหรือบอกความจริงแกก นั ไมม คี วามลับตอ กัน (3) รูจ ักผอ นปรน อดทนเม่ือเกิดความขัดแยงกันก็ผอนปรนเขา หากัน ถา ฝายใด ฝายหน่งึ รุนแรงมาอีกฝายจะตอ งโอนออนไมแรงเขาใสดวยกัน เพราะจะทําให เกดิ ความแตกรา วกันได (4) แสดงความสัมพันธอันดีตอกัน สรางบรรยากาศท่ีอบอุน มีความสุขใหก ับครอบครัว มคี วามหว งใย เออื้ เฟอ เผื่อแผ ชวยเหลอื กันและกัน (5) มีความรับผิดชอบในหนาท่ีของตน สามีปฏิบัติตามหนาที่ ของสามีอยา งดี ภรรยาปฏิบัตหิ นา ทีข่ องภรรยาอยา งครบถวน เมื่อมีบตุ รกป็ ฏิบตั ติ นเปนพอแมที่ ดีมคี วามรับผดิ ชอบตอ บตุ ร (6) เม่ือเกิดปญหาที่ตองแกไข ท้ังสองฝายจะตองใหความ รว มมอื รว มใจแกป ญหาน้ันใหล ลุ ว งดว ยเหตผุ ล ไมใชอารมณแ ละความคิดของตนเปนใหญ 2) การปรบั ตัวดา นเศรษฐกจิ ปญหาเรอื่ งเงิน มกั เปน ปญ หาใหญกับคสู มรสใหม เนือ่ งจากกาํ ลงั อยูใ นชวงสรางครอบครัว และมภี าวะท่ตี องใชจายมากกวาชีวิตโสด ดังน้ันจึงตองมีการวางแผน เกี่ยวกับการใชจายใหสมดุลกับรายได โดยการประหยัดและใชในเร่ืองท่ีจําเปน สวนหนึ่งตอง เกบ็ ออมไว เพอ่ื สมาชกิ ใหมในอนาคต 3) การปรบั ตัวดา นเพศสัมพนั ธ ความสมั พันธทางเพศทสี่ มดลุ ยอมนําความพึงพอใจมาสู คูสมรสและเปนปจจัยที่สําคัญอยางยิ่งที่จะชวยใหชีวิตครอบครัวราบร่ืนและเปนสุข เปนการ ปอ งกันปญหาการนอกใจท่ีอาจจะเกดิ ข้นึ คสู มรสจําเปนตองเรียนรูความตองการซึ่งกันและกัน และรูจักปรับปรุงความสัมพันธทางเพศใหเหมาะสมและสมดุลกัน โดยคํานึงถึงสุขภาพและ ความสมบรู ณข องรา งกายดว ย

1.4 การตง้ั ครรภ การมีบตุ ร และการเลี้ยงดบู ุตร 1.4.1 การตั้งครรภ (Pregnancy) คือ ภาวะที่เกิดจากการปฏิสนธิ ระหวางไขกับอสุจิแลว ไดตัวออนเกิดขึ้น ในการตั้งครรภที่ปกติตัวออนจะไปฝงที่เยื่อบุ โพรงมดลูก จากน้ัน ตัวออนซึ่งมีเซลลเดียว ก็จะแบงตัวและพัฒนาเปนอวัยวะตางๆ และ เจริญเปนทารกตอไป ซ่ึงผูหญิงโดยท่ัวไป มีประจําเดือนปกติและสมํ่าเสมอ ทุกๆ 28–30 วัน จะมีอายุครรภประมาณ 40 สัปดาห หรือประมาณ 280 วัน นับจากวันแรกของการมี ประจําเดือนครั้งลาสุด ในทางการแพทยก ารต้งั ครรภ แบง ออกเปน 3 ระยะ คอื ระยะทม่ี ี การตง้ั ครรภ ระยะท่มี ีการเจบ็ ครรภคลอด และระยะหลังคลอด 1) ระยะทม่ี ีการตั้งครรภในชวง 3 เดือนแรกของการต้ังครรภ อาจจะ มีอาการคลื่นไส วิงเวียนศีรษะ ซ่ึงสวนใหญจะมีอาการตอนเชา รับประทานอาหารไมคอยได อาการจะดีข้ึน เมอ่ื ผา นชว ง 3 เดือนแรกไปแลว นอกจากน้ันอาจจะมีอาการออนเพลีย ทองผูก ไดบางในบางคนเมื่ออายุครรภม ากขนึ้ ประมาณ 20 สัปดาห จะรสู กึ ไดถ งึ การด้ินของทารก หญิง ท่ีต้ังครรภจะตองสังเกตการด้ินของทารกในครรภทุกวัน เพ่ือดูวาทารกในครรภยังมีชีวิตดีอยู หรอื ไม 2) ระยะทม่ี ีการเจ็บครรภคลอด จะมีอาการปวดทั่วทอ งท้ังหมด โดยอาการปวดจะบีบและคลายเปนพักๆ สมาํ่ เสมออยา งนอย 10 นาทีตอคร้ัง ในบางรายอาจมี อาการปวดรา วไปทเ่ี อวรวมดว ย มีมูกปนเลือดออกทางชองคลอด ซ่ึงเปนอาการท่ีแสดงวาปาก มดลูกเริ่มเปดพรอมท่ีจะคลอดแลว การมีน้ําเดิน คือ การมีนํ้าใสใสไหลออกทางชองคลอด ซึ่งเกิดจากถงุ นาํ้ คร่าํ แตก 3) ระยะหลังคลอด ในระยะหลังคลอดจะยังคงมีเลือดไหลออกทาง ชองคลอดในปรมิ าณไมมาก ซึ่งเรียกวานํ้าคาวปลา ในชวงแรกจะมีสีแดงสด จากน้ันจะคอย ๆ จางลงเปน สนี ้ําตาล และเปลย่ี นเปน สใี สๆ โดยน้ําคาวปลาควรจะหมดภายใน 2-4 สัปดาห ซึ่งถาน้ําคาวปลาผิดปกติ เชน เปนเลือดสดตลอดเวลา หรือมีกลิ่นเหม็นผิดปกติ หรือเมื่อผาน ระยะเวลาน้ีไปแลวยังคงมนี าํ้ คาวปลาอยู ควรรบี พบสตู ินรเี วช 1.4.2 การเลี้ยงดูบุตร ประกอบดวย 1) การดูแลเลี้ยงดูใหมีสุขภาพรางกายแข็งแรง กินอาหารครบทั้ง 5 หมู

ของบุตร 2) การใหค วามรัก ดแู ล เอาใจใส ใหค วามอบอนุ แกบุตร ในอนาคต 3) การใหบ ุตรไดรบั การศกึ ษาตามความสามารถและความในใจ 4) การอบรมสง่ั สอนบตุ ร ใหเ ปน คนดขี องสังคม และเปนผใู หญท ด่ี ี 5) การหาคูครองทเี่ หมาะสม 6) การมอบหมายกจิ การหรือทรัพยสมบตั ิเม่อื ถึงวัยอนั ควร เรื่องที่ 2 ปญ หาและสาเหตคุ วามรุนแรงในครอบครัว ความรุนแรง เปนผลกระทบทีเ่ กดิ ขึน้ ทง้ั ตอรา งกายและจิตใจของผูถูกกระทํา และ คนที่อยูรอบขาง ซ่ึงความรุนแรง คือ พฤติกรรมการใชอํานาจในการควบคุมหรือบังคับขูเข็ญ ผูอ่ืนใหเกิดความกลัว เชน การทํารายรางกาย การขมขืน และการทารุณกรรมทางดานจิตใจ เปน การแสดงออกทางอารมณที่ผดิ ปกติ และสาเหตสุ ว นใหญจะมาจากปญหาเศรษฐกิจ ปญหา ทางเพศ ปญ หาการกดข่ีแรงงานเด็ก ฯลฯ ดังตัวอยางใหพบเห็นตามหนาหนังสือพิมพอยูทุกวัน เชน กรณพี อ ทบุ ตีแม เด็กกอ็ าจจะถกู ทบุ ตีไปดว ย เด็กท่ีถูกทบุ ตี ทําราย หรือไดเ หน็ ความรุนแรง เสมอ ๆ จะฝง ใจเรอ่ื งความรุนแรง เด็กจะเขาใจผิดวา ปญหาแกไขไดดวยความรุนแรง ซึ่งแทท่ี จริงแลว ปญ หาทุกปญหาควรแกไขดวยเหตผุ ล ดวยการพดู จาทําความเขา ใจ ความรุนแรงในครอบครัว (Violence in the Family) สามารถจําแนกเปน 2 ประเภท คือ 1. การทํารายทบุ ตีภรรยา (Wife Battering) เกิดขึน้ ไดท ุกชนช้นั ในสงั คม สาเหตุ เกดิ จากการทําความผดิ ของสมาชิกครอบครัว ทําใหเกิดขอขัดแยงและการพิพาทในครอบครัว ถา ปลอยทิ้งใหเ ปน ความขัดแยงที่เร้ือรังไมไดแกไข ผลสุดทายจะเกิดภาวะท่ีไมสามารถควบคุม ได เชน สามีท่ีไมประสบความสําเร็จทางสังคมในหนาท่ีการงาน มักจะแสดงความวิตกกังวล หงดุ หงิดไปสูภรรยา 2. การกระทําทารุณตอเด็ก (Child Abuse) เกิดขึ้นไดหลายสาเหตุ ตั้งแตเรื่อง ความขัดสน ดอยโอกาส ขาดแคลนความจําเปน พ้ืนฐานของชวี ิต ดา นอาหาร เส้ือผา ที่อยูอาศัย ไปจนถงึ เร่อื งการขาดความรกั ความอบอุนในครอบครวั การกระทาํ ทารุณทางรา งกาย ถูกกักขัง

หนวงเหน่ียว นําไปเรขาย ทอดท้ิงใหอดอยากหิวโหย ตองเรรอน และการทําแทงจากการ ตงั้ ครรภท่ไี มพ งึ ประสงค แนวทางในการปอ งกันการใชค วามรนุ แรงในครอบครัวและสังคม มีดังนี้ 1. ปลกู ฝง ความรักและความเขา ใจกนั ในครอบครัว พดู จากันดวยเหตุผล เห็นใจผูอ ่นื ออ นแอกวา ไมใ ชความรนุ แรงตอ กนั 2. หลกี เล่ียงปจจัยทอ่ี าจกอใหเกิดความรุนแรง เชน การด่มื สรุ า การคบชู เลนการพนนั การทะเลาะเบาะแวง มเี ร่อื งกันปจจยั เหลานีก้ อใหเ กดิ ความรุนแรงได 3. จดั การกับอารมณและความเครยี ด เพราะเมือ่ เกิดอารมณไมดี อาจกอ ใหเ กดิ การใชค วามรนุ แรง 4. มคี านยิ มท่ถี ูกตอ ง เชน ผชู ายไมถอื อาํ นาจและทํารนุ แรงกบั ผูหญงิ ไมมี เพศสมั พันธกอ นวัยอันควร รูจ กั ใชถงุ ยางอนามยั และไมก อ คดขี มขนื 5. เจา หนาท่ีตาํ รวจตองใหค วามรว มมือ โดยควบคุมและปอ งกนั ปญหา อาชญากรรมทเี่ กดิ ขึ้นใหน อยทสี่ ดุ เม่ือเกดิ ความรนุ แรงในครอบครวั และสงั คม ควรปฏบิ ัติดงั นี้ 1. พาผูบาดเจบ็ ไปรบั การรักษาจากแพทย 2. พาผูปวยไปพบจติ แพทย ถาเปนความกระทบกระเทือนทางจิตใจ เชน ถูกขมขนื ถกู ทํารางกายจนเสยี ขวัญ ถูกขูอาฆาต ถกู หนว งเหนียวใจกกั ขงั จนเปน เหตใุ หเ สีย สุขภาพจิตควรไปพบแพทย 3. พาผทู ่ชี อบใชค วามรุนแรงไปพบจติ แพทย เพ่ือตรวจสอบความผดิ ปกติของ เขาวา มคี วามผดิ ปกติทางจิตหรอื ไม 4. ควรมีการไกลเ กลี่ยประนปี ระนอมกัน 5. แจง ความดําเนินคดีเอาผดิ กบั ผูกอความรนุ แรง จะไดไมกอ ใหเกิดความรุนแรง ซํ้าอกี เรอ่ื งท่ี 3 การสรา งสมั พนั ธภาพทดี่ ีระหวาง พอ แม ลกู และคสู ามี ภรรยา การไดอยูในครอบครัวที่มีความสัมพันธภาพอบอุนเปนความสุขอยางหนึ่งท่ีคนทุก เพศทกุ วัยและทกุ ฐานะ ปรารถนาและเปนกุญแจสําคัญของการมีสุขภาพจิตท่ีแข็งแรงสมบูรณ สมาชิกในครอบครัวไมวาจะเปนสามีภรรยา หรือลูกก็ตามที่ไดอยูในครอบครัว อันอบอุนจะ

รูสกึ วา อยากกลบั บา นเมอื่ เลกิ งานหรอื เลกิ เรียน อยากมีกิจกรรมกับคนที่บาน เชน รับประทาน อาหารเยน็ รว มกนั เลน กีฬารว มกนั มีขาวรายขาวดีอยากบอกคนท่ีบาน เพ่ือใหความชวยเหลือ หรอื รว มดีอกดใี จดว ย สวนครอบครัวที่มีสัมพันธภาพไมดีนั้นไมมีใครอยากอยูบาน ไมมีใครอยากปฏิบัติ กจิ กรรมรว มกบั ใคร ทุกคนไขวควาหาความสุขนอกบาน จะกลับบานเมื่อจําเปน เชน เงินหมด หรือตอ งการพกั ผอ นนอนหลับเทา น้ัน การสรางเสริมสัมพันธภาพกบั บคุ คล ในครอบครัวมแี นวทางในการปฏบิ ตั ิดงั นี้ 1. ความผูกพันในครอบครัว สามีภรรยาตองชวยกับประคับประคองชีวิต ครอบครัวใหร าบรนื่ ม่ันคงและชวยกนั เลย้ี งดูลูกดวยความรักและเอาใจใส ในครอบครัวท่ีพอแม หยา รา งกันใหมๆ ความผูกพันฉันสามีภรรยาและพอแมลูกที่เคยมีถูกตัดหายไป คนเหลาน้ีจะ รสู กึ ขาดความรกั ความอบอนุ ถกู ทอดทง้ิ ใหอยูอยางโดดเดย่ี ว โดยเฉพาะเด็กท่ียังพ่ึงตนเองไมได จะรูสึกวาเหวมาก ดังน้ันการท่ีจะสรางเสริมสัมพันธภาพที่อบอุนในครอบครัวจึงจําเปนตอง รักษาความผูกพนั ไวเ ปนอนั ดับแรก ความผูกพนั ระหวางแมก ับลูกนนั้ เปน ความผูกพนั ทแ่ี นน แฟนดวยการที่แมเปนผูใหกําเนิดและฟูมฟกดูแลจนลูกเจริญเติบโต สวนผูเปนพอนั้นมีความ ผูกพันการลูกดวยการชวยเล้ียงดู ปกปองคุมครองเปนตัวอยาง และชี้แนะแนวทางใหลูกเดิน ในทางทีถ่ กู ตอ ง สําหรับผูเ ปนลกู นั้นกค็ วรใหความเคารพเช่ือฟง คาํ ส่งั สอนอบรมของพอแม และ แสดงความรักตอพอแมโดยการขยันหม่ันเพียรในการศึกษาเลาเรียน ประพฤติตนเปนคนดี ชวยพอแมท ํางานบา น ไมเ กเร เสพสารเสพติด เลนการพนัน รวมทั้งปฏิบัติกิจกรรมภายในยาม วางรวมกบั ครอบครวั 2. การเอาใจใส คือ การใหความสนใจและสนับสนุนตามความตองการอยาง เหมาะสม การเอาใจใสตองมีความพอดี เชน ลูกจะเรียนแลวกลับบานกี่โมงก็ได ไมมีใครสนใจ จะทําใหครอบครัว มีสภาพเหมือนตางคนตางอยู การเอาใจใสมากเกินไปก็จะทําใหรําคาญ ไมเ ปนตวั ของตัวเองนอกจากนีก้ ารเอาใจใสตอ งมีความเปน ธรรม ไดร ับความ สาํ คญั เทาเทียมกัน ทุกคนไมวาจะเปน พอแมหรือลูกก็ตามการเอาใจใสท่ีควรระมัดระวัง คือ การใชเงินทดแทนการ เอาใจใส พอแมไ มม ีเวลากใ็ หเ งนิ ลูกไวใชเท่ียวเตรหรือซื้อของตามท่ีตองการ เม่ือถึงวันเกิดก็ซ้ือ ของมีย่ีหอราคาแพงใหเพื่อแสดงถึงความสนใจใสใจของพอแม สิ่งเหลานี้จะสรางความอบอุน แบบจอมปลอมและความเปน นักวตั ถุนิยมใหแกลกู

3. ความเขา ใจ คําน้ีเปนปญหาสําหรับครอบครัวเสมอมา สามีภรรยาไมเขาใจ กัน พอ แมไ มเ ขาใจลูก ลูกไมเขาใจพอแม สิ่งที่ครอบครัวควรเขาใจกันก็คือ ลักษณะนิสัยใจคอ ขอดี ขอบกพรอ งของแตละคนเพื่อเปน พืน้ ฐานในการอยูรวมกันหรอื ปรับตัวเขาหากัน 4. การพูดจา เปนสิ่งสําคัญท่ีจะสรางหรือทําลายสัมพันธภาพอันอบอุนใน ครอบครัว นอกจากการพูดจาสุภาพและใหเกียรติกันแลว สมาชิกในครอบครัวควรรูจัก การแสดงความรูสึกที่ดีตอกัน เชน การแสดงความรัก คําชมเชย การใหกําลังใจ การปลอบใจ การพดู ถึงขอดีและขอเสนอแนะใหแกไขปรบั ปรงุ อปุ สรรคสําคญั ของการสรางสมั พนั ธภาพทอี่ บอนุ ในครอบครวั ไดแ ก 1. การอางวาไมมีเวลา ตองทํามาหากิน งานยุง เปนสาเหตุสําคัญ ท่ีทําให สมั พนั ธภาพของครอบครัวแยลง 2. การอา งวาใหแลว เชน ใหเ งินลูกแลวอยากไดอะไรก็ไปซื้อเอาเอง ใหเวลากับ ครอบครัวแลว แตเ วลาท่ีใหคือดูรายการโทรทัศนรว มกนั 3. การอางวา จะทําใหเหลงิ คาํ น้ีมักเปนคาํ อางของพอที่ไมอยากแสดงทาทางให ลกู รวู า พอรักลูก ทําใหลูกกลัวไมกลาใกลชิดพอ ซึ่งบางครั้งกวาจะถึงเวลาที่พอบอกวารักลูกก็ สายเกนิ ไปเสยี แลว เร่ืองที่ 4 พัฒนาการทางเพศในแตละชวงวยั ธรรมชาติและพัฒนาการของมนุษยจะเปนไปตามวัยตามลําดับขั้นตอน ทําใหเห็น การเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้นกับรางกาย จิตใจ อารมณ และพัฒนาการทางเพศไดอยางชัดเจน เราจึงตองรูจักและเขาใจตนเองอยางถูกตอง พรอมท่ีจะยอมรับการเปลี่ยนแปลง และพัฒนา ตนเองใหม คี วามสมบรู ณ เกิดความพรอ มในทุกดาน โดยพฒั นาการทางเพศในแตละชวงวยั ดังนี้ 1. วัยแรกเกดิ – 1 ป วัยน้ีเด็กยังเล็กมาก พัฒนาการทางจิตใจที่สําคัญคือ การแยกแยะตนเองจาก สิ่งแวดลอมเกิดในระยะ 6 เดือนแรกของชีวิต หลังจากนั้น เด็กจะเรียนรูการเช่ือใจในพอแม ทใี่ หความม่ันใจในชวี ติ วา เม่อื เด็กรสู ึกไมส บายกายจากความหิว จะไดรับอาหาร เมื่อขับถายจะ มีคนมาชวยทําความสะอาด ความรูสึกมั่นใจในผูอื่นนี้ ทําใหเด็กเกิดความไววางใจใน ความสัมพนั ธกบั ผูอืน่ ความรสู กึ ที่ดีตอ ผูอ่ืน และตอ โลก วยั นีเ้ ด็กตอ งการการสัมผัสกอดรัด และ การอยูใกลชิดของพอ แม หรอื ผูเล้ียงดอู ยางมาก

2. วยั 1 - 3 ป วัยนี้เด็กเริ่มเคล่ือนไหวไดมากขึ้น เดินได เร่ิมซนและสํารวจสิ่งแวดลอม เมื่อเด็กอายุ 2 ขวบเด็กเริ่มเรียนรูวาตนเองเปนเพศใด โดยเรียนรูจากการท่ีพอแมเรียก และ กําหนดบทบาทใหต ามเพศ ไดแ ก การแตงกาย การเลน ของเลน การเรียกช่ือ การเรียกสรรพ นาม เรมิ่ สามารถแยกเพศตนเองได รูวาตนเองเปนเพศหญิงหรอื ชาย 3. วัย 3 – 6 ป เด็กอายุ 3 – 6 ป เร่ิมสนใจและอยากรูเร่ืองเพศ เลียนแบบพฤติกรรมทางเพศ จากพอ หรือแมต ามเพศของตน เพลดิ เพลนิ กบั การเลน และสํารวจเรือ่ งทางเพศ เด็กชายจะหวง แมและเกรงกลวั พอ แตพยายามเลยี นแบบพอเพ่ือใหเปน พวกเดยี วกัน และเปนทีย่ อมรบั ของพอ เพศหญิงจะหวงพอและเกรงกลัวแม แตเลียนแบบแม เพื่อใหเปนที่ยอมรับของแมเชนกัน ความรสู ึกวาตนเองไมม ีอวัยวะเพศชาย ทําใหเ ดก็ ผูห ญิงเกดิ ความอิจฉา การถายทอดแบบอยาง ทางเพศของทัง้ ชายและหญงิ นีจ้ ะกาํ หนดใหเด็กมีบทบาททางเพศ (gender role) อยางถูกตอง เดก็ เรยี นรบู ทบาททางเพศจากครอบครัวเปน หลกั และเรียนรูท โ่ี รงเรยี นและสังคมภายนอก 4. วัย 6 - 12 ป วัยนี้ยังไมมีอารมณเพศหรือความรูสึกทางเพศ เด็กเลนเปนกลุมเฉพาะเพศ เดียวกนั เด็กเรียนรบู ทบาททางเพศจากการสงั เกตและเลยี นแบบพอ แมญาติพ่ีนองในครอบครัว เพ่ือน ครู เพื่อนบานและคนอ่ืนๆในสังคม เด็กผูชายที่มีลักษณะคอนขางไปทางหญิง เชน เรยี บรอ ย ไมเ ลนซน มกั ถูกกีดกันจากกลุมเด็กผูช าย จะหันไปสนิทสนมกบั เดก็ ผูหญิง และอาจมี พฤติกรรมเปน หญงิ มากขนึ้ ทาํ ใหถ ูกกดี กันจากเด็กผชู ายมากข้ึน 5. วัย 12 – 18 ป เด็กอายุ 12 ป เริ่มเขาสูวัยรุน มีการเปลี่ยนแปลงทางรางกาย จิตใจ และ สังคม เริม่ มคี วามรูส ึกและความตองการทางเพศ มเี อกลักษณท างเพศ มคี วามพงึ พอใจทางเพศ พัฒนาการทางรางกาย มีการเปลี่ยนแปลงทางรางกายทั่วไป และการเปล่ียนแปลงทางเพศ เน่อื งจากวัยน้ี มกี ารหล่งั ฮอรโมนเพศและสรา งฮอรโมนในของการเจริญเติบโตของรางกายเปน จํานวนมาก ทําใหรางกายเติบโตขึ้นอยางรวดเร็ว แขนขายาวขึ้นกอนการเปล่ียนแปลงอ่ืน ประมาณ 2 ป เพศหญิงมไี ขมันมากกวาชาย ชายมกี ลามเน้อื มากกวา ทําใหเ พศชายแขง็ แรงกวา การเปลยี่ นแปลงทางเพศท่เี ห็นไดชดั เจน คือวัยรุนชายเกิดนมข้ึนพาน (หัวนมโต ข้นึ เล็กนอย กดเจ็บ) เสียงแตก หนวดเคราข้นึ และเริ่มมีฝนเปยก (การหลั่งน้ําอสุจิในขณะหลับ

มกั สัมพันธก บั ความฝน เร่ืองเพศ) การเกิดฝนเปยกครง้ั แรกเปนสัญญาณวัยรุนของเพศชาย สวน วยั รนุ หญิงเปน สาวข้นึ เตา นมมีขนาดโตข้ึน ไขมันที่เพิ่มขึ้นทําใหมีรูปรางทรวดทรง สะโพกผาย ออก และเร่ิมมีประจาํ เดอื นครงั้ แรก การมปี ระจําเดอื นครัง้ แรก เปนสัญญาณเขาสูวัยรุนในหญิง ท้ังสองเพศมีการเปลี่ยนแปลงของอวัยวะเพศขนาดโตข้ึน และเปลี่ยนเปนแบบผูใหญ มีขนขึ้น บรเิ วณอวัยวะเพศ มกี ลน่ิ ตวั มีสิวขนึ้ วัยน้ีจะมีเอกลักษณทางเพศ (sexual identity) ชัดเจนข้ึน ประกอบดวย การรบั รวู า ตนเองเปนเพศใด (core gender identity) พฤติกรรมท่ีแสดงออกทางเพศ (gender role) คือพฤติกรรมซ่ึงเด็กแสดงออกใหผูอื่นเห็นไดแก กิริยาทาทาง คําพูด การแตงกาย เหมาะสมและตรงกับเพศตนเอง อารมณเพศเกิดขึ้นวัยนี้มาก ทําใหมีความสนใจเรื่องทางเพศ หรือมีพฤติกรรม ทางเพศ เชน การมีเพ่ือนตางเพศ การดูสื่อยั่วยุทางเพศรูปแบบตาง การสําเร็จความใครดวย ตนเอง ซ่ึงถอื วา เปน เรอ่ื งปกติในวัยน้ีสามารถมไี ดแตไมควรหมกมุนจนเกินไป เรอ่ื งท่ี 5 โรคตดิ ตอ ทางเพศสมั พนั ธ โรคติดตอทางเพศสัมพันธ หรือโรคสงผานทางเพศสัมพันธ เกิดจากการรวมเพศ ผา นทางชองคลอด ทางปาก หรือทวารหนักกบั ผูท่ีกําลงั มีเชอื้ โรคติดตอทางเพศสัมพันธ เปนโรคทส่ี ามารถเปน ไดทกุ เพศ ทุกวัย แตพบมากในหมู วัยรุนท่ีขาดความรูความเขาใจเก่ียวกับการปองกันตัวเอง รวมทั้งโรคติดตอทางเพศสัมพันธ ตาง ๆ นอกจากน้ีในปจจุบัน คูแตงงานมีอัตราการหยารางสูงขึ้น ทําใหคนมีสามี หรือภรรยา หลายคน จึงเกิดโรคติดตอทางเพศสัมพนั ธมากขึน้ สาเหตุของการติดเชื้อทางเพศสัมพันธแ บงออกเปน 3 กลุม คอื 1. เกิดจากเชื้อไวรัส ซึ่งบางชนิดสามารถรักษาใหหายขาดได บางชนิดไมมียา รกั ษา และบางชนิดยังสามารถฝง ตัวอยู ทําใหกลบั มาเปนซาํ้ ไดอ กี โรคติดตอ ทางเพศสัมพนั ธ ที่เกิดจากเชือ้ ไวรสั ไดแก เริมทีอ่ วยั วะเพศ หดู หงอนไก ไวรสั ตับอกั เสบบี ฯลฯ 2. เกิดจากเช้ือแบคทีเรีย สามารถรักษาใหหายขาดได ดวยการใชยาปฏิชีวนะ ไดแ ก ซฟิ ลสิ หนองใน หนองในเทียม ทอ ปส สาวะอกั เสบ ชอ งคลอดอกั เสบ ฯลฯ

3. เกิดจากเชื้ออ่ืน ๆ เชน พยาธิ สามารถรักษาใหหายขาดได ดวยการใชยา ปฏชิ วี นะ กลุม เสีย่ งตอ การเปน โรคติดตอทางเพศสัมพนั ธ มีดังน้ี 1. คนท่ีมเี พศสมั พนั ธกับชาย หรอื หญงิ บริการ ใน 3 เดอื นกอ นหนา 2. คนทมี่ คี นู อนมากกวา 1 คน ในชว ง 3 เดอื นกอ นหนา 3. คนทีม่ เี พศสัมพนั ธกับคูค นใหม ในชวง 3 เดอื นกอนหนา 4. ผทู ม่ี ปี ระวัติปวยเปน โรคตดิ ตอทางเพศสัมพนั ธ ใน 1 ปทีผ่ านมา โรคตดิ ตอ ทางเพศสมั พันธทสี่ าํ คญั ไดแก 1. โรคเอดส (AIDS) หรือกลุมอาการภูมิคุมกันเสื่อม เกิดจากการรับเชื้อ Human immune deficiency virus หรือ HIV เขาไปทําลายเม็ดเลือดขาว ท่ีเปนแหลงสราง ภูมคิ ุมกนั โรค ทาํ ใหภูมคิ มุ กันโรคลดนอ ยลง 2. หนองในเทียม เปนโรคติดตอทางเพศสัมพันธ เกิดจากเช้ือแบคทีเรีย ทาํ ใหเกดิ อาการระคายเคืองในทอปสสาวะ แสบขัดเวลาปสสาวะ และมีหนองไหลออกจากทอ ปส สาวะ อาจทาํ ใหเกดิ การอักเสบในชองทอง หรือเปนหมันหากไมไ ดร บั การรักษา 3. หนองในแท เปนโรคติดตอทางเพศสัมพันธ ท่ีทําใหมีอาการแสบปลายทอ ปสสาวะ ปสสาวะขัดและมีหนองไหล และมีมูกออกเล็กนอยโดยเฉพาะในชวงเชา สวนผูหญิง อาจมีอาการตกขาวผดิ ปกติ 4. แผลรมิ ออน เปนโรคติดตอทางเพศสัมพันธ ทําใหเกิดแผลท่ีอวัยวะเพศ บวม และเจบ็ บางคนมตี อมนาํ้ เหลอื งท่ีขาหนีบหรือที่ชาวบานเรียกไขดันบวม หากไมรักษาหนองจะ แตกออกจากตอมนํ้าเหลือง มักมีหลายแผล ขอบแผลนุมและไมเรียบ กนแผลสกปรกมีหนอง มเี ลอื ดออกงา ย เวลาสมั ผสั เจบ็ ปวดมาก 5. เริมท่ีอวัยวะเพศ เปนโรคติดตอทางเพศสัมพันธ ที่เกิดเชื้อไวรัส herpes simplex virus ทําใหเ กิดอาการปวดแสบบริเวณขา กนหรืออวัยวะเพศ และตามดวย ผ่ืนเปนตุมน้ําใส แผลหายไดเองใน 2-3 สัปดาห แตเช้ือยังอยูในรางกาย เม่ือรางกายออนแอ เชอื้ กจ็ ะกลับเปน ใหม

การปอ งกันโรคตดิ ตอ ทางเพศสมั พันธ ไดแ ก 1. ใสถ ุงยางอนามยั หากจะมเี พศสมั พนั ธกับคนที่ไมแนใจวามีเชื้อหรอื ไม 2. รกั ษาความสะอาดของรา งกายและอวยั วะเพศอยา งสมํ่าเสมอ 3. ไมเ ปลี่ยนคนู อน ใหมีสามี หรอื ภรรยาคนเดียว 4. ไมควรมีเพศสมั พนั ธต้งั แตยงั อายนุ อ ย มีสถิตวิ า ผทู ีม่ เี พศสมั พนั ธตั้งแตอายุยงั นอ ย จะมีโอกาสติดโรคตดิ ตอทางเพศสมั พนั ธสงู 5. ตรวจโรคเปนประจําทุกป เพ่ือหาเชอ้ื โรค แมจ ะไมมีอาการใด ๆ โดยเฉพาะคู ท่ีกําลังจะแตงงาน 6. เรียนรู ศกึ ษาอาการของโรคตดิ ตอทางเพศสมั พันธ 7. ไมควรมเี พศสัมพันธข ณะมีประจาํ เดือน เพราะจะทําใหเ กิดโรคติดตอทาง เพศสมั พนั ธไดง าย 8. ไมค วรมีเพศสมั พนั ธทางทวารหนกั หากจําเปน ใหสวมถุงยางอนามยั 9. ไมค วรสวนลางชอ งคลอด เพราะทาํ ใหเกิดการติดเช้ือโรคติดตอ ทาง เพศสัมพนั ธไดง า ย วธิ ปี ฏิบตั ติ วั ของผทู ่ีเปนโรคตดิ ตอ ทางเพศสัมพนั ธ ไดแก 1. ตองรกั ษาอยา งรวดเรว็ เพ่อื ปอ งกันการแพรเ ชอื้ โรค 2. แจงคนู อนใหทราบวา เปน โรคตดิ ตอ ทางเพศสัมพันธ เพื่อจะไดปองกนั ไมใ หเชอื้ แพรไ ปสคู นอ่ืน 3. รักษาอาการ และปฏิบัติตวั ตามคําแนะนาํ ของแพทยอยางเครงครัด 4. หลกี เลี่ยงการมีเพศสัมพนั ธ หรอื การสาํ เร็จความใครดวยตัวเอง เพือ่ ปองกนั ไมให อาการอกั เสบลกุ ลาม 5. งดด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล ของมึนเมาทกุ ชนดิ 6. ไมค วรซอ้ื ยามารกั ษาเอง ควรปรึกษาแพทย เพ่ือใหไดรับการรกั ษาที่ถกู ตอง

กจิ กรรมทายบทท่ี 2 ใหผเู รยี นอธิบายตามประเดน็ ดงั ตอ ไปน้ี 1. การวางแผนชีวิต หมายถงึ อะไร 2. การเตรียมตัวกอนสมรสควรปฏิบัตติ นอยางไร 3. การปรบั ตัวในชีวติ สมรสควรปฏิบัติตนอยางไร 4. ผเู รยี นมีแนวทางในการปอ งกนั การใชค วามรนุ แรงในครอบครัวและสงั คม อยา งไร 5. ผเู รยี นจะปฏิบัติตัวอยา งไรใหค รอบครัวมีความสุข 6. จงเปรยี บเทียบพัฒนาการทางดา นรางกายของวยั รนุ ชายและวยั รุนหญงิ 7. ผูเ รียนจะมีการจัดการกบั ปญ หาดา นอารมณ และความตองการทางเพศของ ตนเองไดอ ยา งไร 8. ใหผ ูเ รียนบอกวธิ กี ารปองโรคติดตอทางเพศสัมพันธ มาพอเขา ใจ

บทที่ 3 การดแู ลสุขภาพ สาระสาํ คัญ มีความรใู นเร่ืองคุณคาของอาหารตามหลักโภชนาการรูจักวิธกี ารถนอมอาหาร เพื่อคงคุณคา สาํ หรบั การบรโิ ภค ตลอดจนวางแผนการดูแลสุขภาพตามหลักการและวิธีการ ออกกาํ ลงั กายเพอื่ สขุ ภาพ รปู แบบตา งๆ ของกจิ กรรมนันทนาการ เพอ่ื ใหเกดิ ผลดีกบั รา งกาย ผลการเรียนรทู ่คี าดหวัง 1. อธิบายความหมาย ความสาํ คญั คุณคา อาหาร และหลักโภชนาการได 2. อธิบายสารอาหารทจ่ี ําเปน ตอรางกายได 3. รูและสามารถเลอื กบรโิ ภคอาหารทีเ่ หมาะสมกับรางกาย 3. อธบิ ายหลกั ในการดแู ลตนเองใหม สี ุขภาพทดี่ ีได 4. อธิบายถงึ คณุ คา และประโยชนข องการออกกาํ ลังกายได 5. อธบิ ายหลกั การออกกําลังกายเพ่อื สขุ ภาพท่ถี ูกตอ งและปลอดภยั 6. อธิบายประเภทและรูปแบบของกิจกรรมนนั ทนาการไดอ ยา งถูกตอง 7. เลอื กใชก ิจกรรมนันทนาการไดอ ยา งเหมาะสม ขอบขา ยเน้อื หา เร่ืองท่ี 1 สารอาหารท่ีจาํ เปน ตอรา งกาย เรื่องที่ 2 หลักโภชนาการ เรือ่ งที่ 3 หลักการดแู ลสุขภาพเบือ้ งตน เรอ่ื งที่ 4 คุณคา และประโยชนข องการออกกาํ ลังกาย เร่ืองท่ี 5 หลักและวธิ กี ารออกกาํ ลงั กาย 5.1 อบอนุ รา งกายและผอนคลาย 5.2 ระยะเวลาในการออกกําลงั กาย 5.3 จํานวนครั้งตอสัปดาห 5.4 ความหนักในการออกกาํ ลงั กาย

เร่อื งท่ี 6 กจิ กรรมนันทนาการรปู แบบตา งๆ 6.1 กจิ กรรมเขาจงั หวะ 6.2 ลลี าศ 6.3 อานหนังสอื 6.4 ปลกู ตน ไม 5.5 ทัศนศกึ ษา ฯลฯ

บทที่ 3 การดแู ลสุขภาพ เรือ่ งที่ 1 สารอาหารทจี่ าํ เปนตอ รา งกาย อาหารเปนปจ จยั สําคัญตอ การดาํ รงชีวิต รางกายจะเจริญเตบิ โตมสี ุขภาพที่สมบูรณ เมื่อไดรบั อาหารที่มีคุณคาทางโภชนาการครบถวน ถูกลักษณะ และเพียงพอตอความตองการ ของรางกาย ไมมีสารพิษหรือสิ่งเจือปนที่กอใหเกิดอันตรายตอรางกาย ดังน้ันอาหารและ โภชนาการจงึ มีความสาํ คญั ตอรา งกายของมนษุ ยตงั้ แตวัยเดก็ จนถึงวยั ชรา ความหมายของอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่มนุษยและสัตวกินดื่มเขาไปแลวบํารุงรางกายให เจริญเติบโต และดํารงชีวิต รวมทั้งสิ่งท่ีตนไมดูดเขาไปหลอเล้ียงสวนตาง ๆ ของตนไมให เจริญเตบิ โตและดาํ รงอยู ในประเทศไทยมักจําแนกเปน 5 หมู หรือ 5 กลุม เพ่ือเปนแนวทางใหคนไทย บริโภคอาหารทีห่ ลากหลายและครบสวน อาหาร 5 หมู ไดแ ก หมูท ่ี 1 ไดแก ขา ว แปง นํ้าตาล เผือก มนั หมูที่ 2 ไดแ ก เนื้อสตั ว นม ถว่ั ไข หมูที่ 3 ไดแก ไขมนั และนาํ้ มัน หมูท่ี 4 ไดแก ผกั หมูท่ี 5 ไดแ ก ผลไม ความสําคญั ของอาหาร รางกายของคนเราตองการอาหาร เพราะอาหารเปนสิ่งจําเปนตอรางกาย คือ เพอ่ื บาํ บดั ความหวิ และเพอ่ื นําสารอาหารไปสรา งสขุ ภาพอนามัย และเสรมิ สรางพฒั นาการทาง สมอง สําหรับทางดานจิตใจนั้น คนเรารับประทานอาหารเพ่ือสนองความอยาก สรางสขุ ภาพจติ ท่ีดี อาหารคือ สิ่งท่ีรบั ประทานเขา ไปแลวกอใหเ กดิ ประโยชนแ กรางกาย ในดาน ตาง ๆ เชน ใหกําลังและความอบอุน เสริมสรางความเจริญเติบโต ซอมแซมสวนที่สึกหรอ ตลอดจนทาํ ใหอ วยั วะตา ง ๆ ของรา งกายทาํ งานอยา งเปนปกติ

ประโยชนแ ละคณุ คาของอาหาร อาหารเปนสารวตั ถุดบิ ทีร่ า งกายนาํ มาผลติ เปน พลงั งาน รางกายนําพลงั งานท่ไี ด จากอาหารไปใชใ นการรักษาสภาวะทางเคมี และนาํ ไปใชเกี่ยวกับการทาํ งานของระบบตาง ๆ เชน การไหลเวียนโลหิต การเคลื่อนที่ของอากาศเขาและออกจากปอด การเคล่อื นไหวของรา งกาย การออกกาํ ลงั กาย และการทาํ กิจกรรมตา ง ๆ สารอาหาร สารอาหาร หมายถึง สารที่ไดรับจากอาหารท่ีรับประทานเขาไปในรางกายแลว จะนําไปใชประโยชนตามสวนตางๆของรางกาย เชน ใหพลังงานในการดํารงชีวิต เปนสว นประกอบของเนือ้ เยอ่ื ในสวนตา งๆ ของรางกาย ประเภทและประโยชนของสารอาหาร ในทางโภชนาการไดแบงอาหารตามสารอาหารออกเปน 6 ประเภทใหญ ดังนี้ 1. คารโบไฮเดรต เปน สารอาหารประเภทแปง และน้ําตาล ซึง่ สวนใหญไ ดจาก การสงั เคราะหแ สงของพชื ไดแก แปง และนํา้ ตาล คารโบไฮเดรต เปนสารอาหารที่ใหพ ลงั งาน แกรางกาย โดยคารโ บไฮเดรต 1 กรมั จะสลายใหพ ลงั งาน 4 กิโลแคลอรี (K.cal) ประโยชนค ารโบไฮเดรต (1) ใหพ ลงั งานและความรอนแกรางกาย (2) ชวยในการเผาผลาญอาหารจาํ พวกไขมนั เพือ่ ใหรางกายสามารถ นําไปใชได (3) กําจดั สารพษิ ที่เขาสรู า งกาย (4) ทาํ ใหการขับถา ยเปนไปตามปกติ ความตองการคารโบไฮเดรต ในวันหนึ่ง ๆ คนเราตองการใชพลังงาน ไมเทา กันข้ึนอยูกับขนาดของรา งกาย อายุ และกิจกรรม 2. โปรตนี เปน สารอาหารทจ่ี าํ เปน ตอ รางกายของส่ิงที่มีชีวิต ประกอบดวยธาตุ สําคัญ ๆ คอื คารบอน โฮโดรเจน ออกซิเจน และไนโตรเจน นอกจากน้ยี งั มธี าตอุ ื่นอกี ดวย

ประโยชนโ ปรตนี ไดแ ก (1) ชว ยซอมแซมสว นทส่ี กึ หรอของรา งกาย (2) ใหพ ลงั งานและความอบอนุ แกร า งกาย โดยโปรตนี 1 กรมั ใหพ ลังงาน 4 กิโลแคลอร่ี เด็กทารกถา ไดรับโปรตีนนอ ยจะมผี ลทาํ ใหสมองไมพฒั นา ทําใหรางกายแคระ สติปญ ญาตา่ํ (3) ทําใหส ขุ ภาพรางกายแข็งแรง ไมอ อ นเพลยี (4) ทําใหร างกายมีภมู ติ า นทานโรคสูง (5) เปนสารที่จาํ เปน ในการสรา งฮอรโมน และเอนไซม และเปน สว นประกอบที่สาํ คญั ของเม็ดเลือดแดง ผลเสยี ที่เกิดจากการท่รี า งกายขาดโปรตนี ไดแก (1) ทาํ ใหตัวเลก็ ซูบผอม (2) การเจรญิ เติบโตชะงกั (3) กลา มเน้อื ออนปวกเปย ก 3. ไขมัน (Lipid Fat) เปนสารอาหารท่ีประกอบดวย คารบอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน ไขมันเปนสารอาหารที่ไมสามารถละลายในน้ําได ไขมันถาอยูในของแข็งจะ เรยี กวา ไข หรือไขมัน ถาอยใู นสภาพของเหลวเรยี กวา นํา้ มัน กรดไขมัน เปนสวนประกอบที่สําคัญของไขมัน และมีความสําคัญตอรางกาย มี 2 ประเภท คอื 1. กรดไขมนั อม่ิ ตัว พบมากในไขมันสตั วและมะพราว 2. กรดไขมนั ไมอ ่มิ ตวั พบนา้ํ มนั พืช เชน นํ้ามันถัว่ เหลอื ง ประโยชนของไขมนั ชนิดอ่มิ ตวั ตอรางกาย คือ (1) ชว ยทําใหรา งกายมีสุขภาพดี (2) ชวยสรา งความเจริญเติบโตในเดก็ (3) ชว ยทําใหผ ิวพรรณงดงาม (4) ชวยลดระดับคอเลสเตอรอลในเสนเลือด

4. วติ ามนิ (Vitamin) เปน สารอาหารทม่ี ีหนาทีช่ ว ยการทํางานของระบบตางๆ ในรางกาย การขาดวติ ามินอาจเปน สาเหตุของโรคตางๆ ในสมยั โบราณ มนุษยรูจักวิตามินในรูป ของอาหารทใ่ี ชร บั ประทาน การแบง กลมุ วติ ามินแบงไดเ ปน 2 ประเภทใหญ ๆ คือ 1. วิตามินที่ละลายไดในนา้ํ มันหรอื ไขมนั ไดแ ก วติ ามินเอ วติ ามินดี วิตามนิ อี และวิตามินเค 2. วิตามินท่ีละลายไดใ นน้าํ ไดแก วติ ามนิ บี วิตามนิ ซี ประโยชนข องวติ ามนิ ตอรา งกาย คือ (1) ชว ยพฒั นาสมอง เสน ประสาท ใหมีการเจริญเติบโต และสามารถทํางาน ปกติไมวา จะเปน ขณะท่ีเราหลบั หรือต่ืนนอนอยูก็ตาม (2) เสริมสรางความเจรญิ เติบโตและเพ่ิมความแขง็ แรงใหกับกระดูก ฟน และ กลา มเนอ้ื (3) เสริมสรางระบบภูมิคุมกันตานทานโรคของรางกายใหแข็งแรง และ ทําหนาท่ีตานทานโรคภยั ไขเจบ็ ไดเปนอยา งดี (4) ชวยใหร างกายนาํ สารอาหาร เชน โปรตีน ไขมัน คารโบไฮเดรต เกลือแร มาเปน ตัวตง้ั ตน ในการสรา งเมด็ เลอื ดแดง (5) ชวยใหอ วยั วะตางๆในรา งกายสามารถใชพ ลังงานจากไขมนั ได (6) ชวยใหร า งกายเผาผลาญสารอาหารที่บริโภคเขาไป และสามารถนําไปใช ใหเ กดิ ประโยชนใ นการดํารงชีวติ (7) ชวยสรางฮอรโมนซึ่งเปนสารเคมีท่ีจําเปนตอการทํางานของอวัยวะและ ระบบตางๆในรางกาย (8) ชวยรกั ษาสภาพผวิ หนงั ของคนเราใหเปน ปกติ (9) ชวยในการดูดซมึ เกลอื แรท ไ่ี ดจากรบั ประทานอาหาร (10) เปน สวนประกอบในการสรา งและสงั เคราะหทางพันธกุ รรม ผลเสียที่เกิดจากการที่รางกายขาดวติ ามิน (1) ขาดวิตามินเอทําใหผิวพรรณขาดความชุมช้ืน หยาบกราน แหงแตก โดยเฉพาะผิวหนังบริเวณขอ ศอก ตาตุม และขอตอดางๆ ซึ่งอาจนําไปสูโรคผิวหนัง เชน สิวและ โรคติดเชือ้ อ่นื ๆ ได

(2) ขาดวิตามินซีมักมีอาการออนเพลีย เบ่ืออาหาร ปวดตามขอตอของ รางกาย เลือดออกตามไรฟน เจ็บกระดูก แผลหายชา เปนโรคลักปดลักเปด (3) ขาดวิตามินบ1ี มีอาการเหนบ็ ชาท่ปี ลายมือและปลายเทา ปวดกลามเน้ือ ท่ีนอง กลามเนื้อกระตุกบางเวลา ขาลีบ กลามเน้ือไมทํางาน หอบเหน่ือยงาย ถาไมไดรักษา จะเสยี ชวี ติ ดว ยโรคหวั ใจวาย (4) ขาดวิตามินอี การไดรับวิตามินอีต่ํากวาปริมาณที่กําหนดอาจทําใหเกิด ความเสียหายตอระบบประสาท และเปนโรคโลหิตจางได เน่ืองจากเซลลเม็ดเลือดแดง ในรางกายถกู ทาํ ลาย จนทาํ ใหมีอายสุ ั้นลง (5) ขาดวิตามินดี จะทําใหเกิดโรคกระดูกออน เกิดโรคกระดูกพรุนทองเสีย นอนไมห ลับ ปส สาวะบอย กระวนกระวาย กลามเนื้อกระตุก เปนหวัดบอย กลามเน้ือออนแอ ขาดความคลองแคลวกระฉบั กระเฉง และความตานทานโรคลดนอยลง เปนตน 5. เกลือแร (Mineral Salt) เปนสารอาหารที่ไมไดใหพลังงานแกรางกาย แตชว ยเสรมิ สรา งใหเ ซลลหรอื อวัยวะบางสวนของรา งกายทนทานไดเ ปนปกติ เชน (1) แคลเซียม (Calcium) พบในพืชผกั กงุ แหง กงุ ฝอย กบ มีประโยชน คือ 1. เปนสว นประกอบทส่ี าํ คญั ของกระดกู และฟน 2. ชวยควบคุมการทํางานของหัวใจและระบบประสาท 3. ชว ยทาํ ใหเลือดเกดิ การแขง็ ตัว ถารางกายขาดแคลเซียมทําใหเกิดโรคกระดูกออน มีอาการชัก เพราะ แคลเซยี มในเลือดไมพ อและทาํ ใหเ ลือดไหลหยุดชา เมอื่ มีบาดแผล (2) เหล็ก (Ferrus) พบมากในตบั หัวใจ เนอ้ื ถัว่ ผกั สเี ขยี วบางชนิด เชน กระถิน ผักโขม ผกั บงุ มปี ระโยชน คือ 1. เปนสวนประกอบสําคญั ของเมด็ โลหติ แดง 2. ปองกนั โรคโลหิตจาง หญิงมคี รรภ หรือมปี ระจาํ เดือน ควรไดรบั ธาตุเหลก็ มาก เพ่ือไปเสริมและสรา งโลหิตทีเ่ สยี ไป (3) ไอโอดนี (Iodine) พบมากในอาหารทะเล เชน กุง หอย ปู ปลา มีประโยชน คือ ชว ยใหตอมไทรอยดผลิตฮอรโ มนขนึ้ เพื่อใหค วบคุมการเผาผลาญสารอาหารในรางกาย เด็ก ที่ขาดไอโอดีนจะไมเจริญเติบโตจะเปนเด็กแคระแกร็น ยาบางอยางและผักกะหลํ่าปลี จะขดั ขวางการทาํ งานของฮอรโ มนไทรอกซิน

(4) โปแตสเซียม (Potassium) พบในเนื้อ นม ไข และผักสีเขียว มีประโยชน คอื ควบคมุ การทํางานกลามเนอื้ และระบบประสาท 6. นํ้า (Water) เปนสารอาหารทส่ี ําคัญที่สดุ สิ่งมีชีวติ โดยรางกายเรามนี า้ํ เปนองคประกอบอยปู ระมาณ 70 % ของนา้ํ หนกั ตวั ประโยชนข องนา้ํ (1) ชว ยทาํ ใหผ วิ พรรณสดชื่น (2) ชวยหลอเลีย้ งอวัยวะสวนตางๆ ที่มกี ารเคลอ่ื นไหว (3) ชวยขับของเสยี ออกจากรางกาย (4) ชวยรกั ษาอุณหภูมขิ องรางกาย (5) ชวยยอยอาหารและลาํ เลียงอาหาร สดั สวนของสารอาหารทร่ี างกายตอ งการ (1) ความตองการพลงั งานของรา งกายในแตล ะวนั จะมากหรือนอยในแตละ บุคคลข้ึนอยูก ับ - เพศ กลาวคือ เพศชายสวนมากตองการมากกวา เพศหญิง - วยั กลาวคือ วยั รุนมคี วามตอ งการพลังงานมากวา วยั เดก็ และวยั ชรา - อาชีพ กลาวคือ ผูมีอาชีพไมตองใชแรงงานจะใชพลังงานนอยกวาผูใช แรงงาน - นํ้าหนักตัว กลาวคือ ผูมีนํ้าหนักตัวมากจะใชพลังงานมากกวาผูมีนํ้าหนัก ตวั นอย - อุณหภูมิ กลาวคือ ผูที่อยูในบริเวณภูมิอากาศหนาว จะใชพลังงานมากกวา ผูอาศัย ในบริเวณภูมิอากาศรอน โดยปกติในวัยเรียนพลังงานที่จะใชปริมาณ 44 แคลอรี่ ตอ กโิ ลกรมั ตอ วัน (2) บุคคลที่ตองการลดความอวนแตไมตองการอดอาหาร จะทําไดโดยลด สารอาหารบางอยางท่ีใหพลังงานสูง และกินสารอาหารอ่ืนแทน สารอาหารท่ีควรลดคือ คารโ บไฮเดรตและไขมนั เพราะอาหาร 2 อยา งนีใ้ หพลงั งานสงู

เร่อื งท่ี 2 หลักของโภชนาการ หลักโภชนาการ คือ การบริโภคอาหารเพ่ือใหไดปริมาณและคุณภาพคุณคาอาหาร อยางพอเพียงโดยท่ีสารอาหารตาง ๆ และพลังงานท่ีไดรับควรจะสมดุลกันไมมากหรือนอย จนเกินไปเพ่ือที่รางกายมีภาวะโภชนาการท่ีดี ไมเปนโรคขาดสารอาหารหรือเปนโรครับ สารอาหารเกนิ การเลอื กบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการ 1. รับประทานอาหารใหไดสารอาหารครบถวนตามที่รางกายตองการและ รบั ประทานอาหารหลกั 5 หมูใหค รบในแตละวัน 2. ตองไมรับประทานอาหารมากเกินไปหรือนอยเกินไป แตละคนตองการ อาหารในปริมาณท่ีไมเ ทา กนั ขนึ้ อยกู บั อายุ ขนาดของรางกาย การใชแรงงาน และเพศ 3. คนที่ชางเลือกในการรับประทานอาหาร ตองระมัดระวังมากขึ้น เพราะถา รบั ประทานแตอาหารทต่ี นชอบ อาจทาํ ใหเ ปนโรคขาดสารอาหารบางอยา งได 4. เลือกรับประทานอาหารท่ีสดสะอาด อยาเลือกซ้ืออาหารตามคําโฆษณา ควรคาํ นึงถึงคุณคาท่ีไดรบั จากอาหารดวย อาหารที่ควรหลกี เลี่ยง ไดแ ก อาหารท่ีควรหลีกเลี่ยง คือ อาหารที่รับประทานเขาไปแลวไมมีประโยชนและ อาจเกดิ โทษแกร างกาย คือ 1. อาหารทไี่ มสะอาด ไดแ ก อาหารที่มีแมลงวันตอม 2. อาหารที่เปนพษิ ไดแ ก อาหารท่ีมสี ารพษิ เจอื ปน เชน ผกั ท่ีมียาฆา แมลง ถัว่ ลิสงที่มีเชอื้ รา 3. อาหารปลอมปน ไดแก อาหารที่ผูขายใสสารอื่นลงไป เพ่ือลดตนทุนในการ ผลิตหรือเพื่อปรุงแตงสีและรสชาติใหนากินข้ึน เชน นํ้าสมสายชูปลอม ขนมท่ีผสมสียอมผา นา้ํ ปลาทเี่ จือสี ลกู ชิ้นทีใ่ สส ารบอแรกซ 4. อาหารท่เี สื่อมคุณภาพ ไดแ ก อาหารกระปองท่หี มดอายุ หรอื อาหารทม่ี ีกล่นิ บูดเนา 5. อาหารทไ่ี มมีประโยชน ไดแ ก ของหมักดอง นาํ้ อดั ลม

ปรมิ าณและคณุ คาอาหารทเ่ี หมาะสมกบั วัย ความตองการปริมาณอาหารแตละชนิดของรางกายข้ึนอยูกับวัย อาชีพ และ สภาพของรา งกาย เชน เด็กตอ งการอาหารประเภทโปรตีนมากกวาผูใหญ ผูใชแรงงานตองการ อาหารประเภท คารโบไฮเดรตมาก หรือพวกทอ่ี ยใู นเขตหนาวตองการอาหารประเภทไขมันมาก เปน ตน อยา งไรก็ตามมหี ลักงา ย ๆ คอื รับประทานอาหารที่เพยี งพอและใหค รบทุกประเภทของ สารอาหาร เรื่องท่ี 3 หลกั การดูแลสขุ ภาพเบื้องตน คนที่มีสขุ ภาพทด่ี ี จงึ เปนผูที่มีความสขุ เพราะมรี างกายและจติ ใจท่ีสมบรู ณห รือ ท่เี รียกวาสุขกาย สบายใจ ถาเราตอ งการเปนผูมสี ขุ ภาพดกี จ็ ะตอ งรจู กั วธิ กี ารดแู ลรา งกาย โดยการ ปฏิบัตติ นใหถ กู สขุ ลักษณะอยา งสมา่ํ เสมอจนเปนกจิ นสิ ัย หลกั การดแู ลสขุ ภาพเบอ้ื งตน มี 6 วธิ คี ือ 1. การรบั ประทานอาหาร การรบั ประทานอาหาร โดยยดึ หลักโภชนาการใหครบ 5 หมู ตามหลัก โภชนบญั ญตั ิ 9 ประการ เพ่ือแนะนาํ สัดสวนใน 1 วัน มดี ังนี้ (1) ทานอาหารครบ 5 หมู แตละหมูต อ งหลากหลาย และหมั่นดูแลนํ้าหนกั ตัว (2) ทานขาวเปนอาหารหลักสลบั กบั อาหารประเภทแปงเปนบางม้อื (3) ทานพืชผัก ผลไมใหมากและเปน ประจาํ (4) ทานปลา เนือ้ สตั วไ มติดมนั ไข และถว่ั เมล็ดแหง เปนประจาํ (5) ด่มื นมใหพอดี และเหมาะสมตามวยั (6) ทานอาหารทมี่ ีไขมนั แตพอสมควร (7) หลกี เลย่ี งการกนิ อาหารรสหวานจดั และเค็มจดั (8) ทานอาหารท่ีสะอาดปราศจากการปนเปอน (9) งดหรือลดเครอื่ งด่มื ทมี่ ีแอลกอฮอล

2. การพกั ผอ น การนอนหลับและพักผอนใหเพียงพอ อยางนอยวันละ 6 ชั่วโมง จะทําให รางกายและจิตใจไดผอนคลายความตึงเครียด หัวใจและอวัยวะตางๆ ทํางานลดลง เปนการยืดอายุการทํางานของรางกาย เมื่อคนเราไดพักผอนอยางเพียงพอจะทําใหสดช่ืน แจม ใส รา งกายแข็งแรง พรอมที่จะเคลอ่ื นไหว ประกอบกิจการงานไดอ ยา งมีประสทิ ธิภาพ 3. การออกกําลงั กาย การออกกําลังกายอยางสมาํ่ เสมอ จะชว ยสง เสริมการมีสขุ ภาพดี ในชีวิตประจําวัน เชน ทาํ งานบา น การขน้ึ ลงบันได ถือเปนการทาํ ใหร างกายไดใ ชพลังงานท้ังสิ้น ควรออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอ วันละ 30 นาที อยางนอย 3 วัน ตอสัปดาห จึงจะเพียง พอที่จะทําใหมีรา งกายแขง็ แรง ผลดีของการออกกาํ ลังกาย มีดงั น้ี (1) ชว ยใหร า งกายมภี มู ติ านทานโรค (2) ทําใหหัวใจ กลามเนื้อ และกระดกู แข็งแรง (3) ชวยลดความดันโลหติ (4) ชว ยลดคลอเลสเตอรอล ทําใหมนี าํ้ หนกั ตวั คงทแ่ี ละเหมาะสม (5) ชว ยลดความเครยี ด ทําใหน อนหลบั และสงเสริมการหมนุ เวยี นของเลอื ด 4. การจัดการอารมณแ ละความเครียด การรูจักระวังรักษาอารมณใหดีอยูเสมอ เชน พยายามหลีกเลี่ยงสถานการณ ใหเ กิดความเศรา กลัว วิตกกังวล ตกใจจะชว ยใหระบบตางๆ ของรางกายทํางานอยางเปนปกติ ดงั น้นั จึงควรยิม้ แยม แจมใส มีอารมณขันอยูเสมอ ทํางานที่เปนกิจวัตรประจําวันใหเพลิดเพลิน จะสามารถปรับตัวอยใู นสถานการณป จ จุบนั ไดอ ยางเปน สุข 5. การขับถาย การถา ยอจุ จาระควรทําเปนเวลาทุกวัน ชวยปองกันโรคทองผูก ริดสีดวงทวาร ควรรับประทานอาหารพวกผกั ผลไมทุกวัน และดื่มนํ้าสุกสะอาดอยางนอยวันละ 6-8 แกว ซ่ึง การขับถายเปนประจําจะสงผลใหมีสุขภาพกายและจิตที่ดี เพราะของเสียจะไมหมักหมมใน รา งกาย

6. การตรวจสขุ ภาพประจําป โดยปกติบุคคลควรตรวจสุขภาพประจําปอยางนอยปละ 1- 2 ครั้ง ตรวจหา ความผิดปกติของรางกาย เม่ือพบสิ่งผิดปกติควรรีบปรึกษาแพทยผูชํานาญในเรื่องนั้น ๆ และ ปฏบิ ตั ิตนตามคําแนะนาํ ของแพทยอ ยางเครง ครดั เรื่องที่ 4 คณุ คา และประโยชนของการออกกําลังกาย การออกกาํ ลงั กายอยา งสม่าํ เสมอจะเปนประโยชนต อ สุขภาพรางกาย เสมือนเปนยา บํารงุ ที่สามารถเพ่ิมสมรรถภาพทางรางกายไดและสามารถปองกันโรคได เชน โรคระบบ ทางเดนิ หายใจ เปน ตน ทั้งนก้ี ารออกกําลงั กายจะตอ งมคี วามถูกตองและเหมาะสม และรูจักวิธี ในการออกกําลังกาย จะตองเลอื กใหเหมาะสมกับเพศ วัย สถานที่ และอุปกรณ ซ่ึงปจจุบันมัก นิยมท่ีจะออกกําลังกาย เพ่ือสุขภาพดวยการเลนกีฬา พัฒนาสุขภาพกายและสุขภาพจิต การดํารงรักษาสขุ ภาพทีด่ ีไมใหลดถอยลง ปรับปรงุ สขุ ภาพท่ีทรดุ โทรมใหดขี นึ้ ประโยชนของการออกกําลังกาย มดี ังน้ี 1. ประโยชนต อ ระบบหายใจ ทาํ ใหห วั ใจ ปอด แข็งแรง ไดออกกําลังกลามเนื้อ หวั ใจไดท าํ งานเต็มท่ี ถุงลมเลก็ ๆ ภายในปอดมโี อกาสสูดลมเต็ม และไลอากาศออกไมหมด ทํา ใหป อดมีพลงั ในการฟอกโลหติ 2. ประโยชนตอระบบไหลเวียนของโลหิตดี สืบเน่ืองจากการทํางานของหัวใจ และปอดดี มีพลังในการบีบตัวไดดี สูบฉีดโลหิต และฟอกโลหิตไดดีมีประสิทธิภาพ ไมเปน โรคหวั ใจไดง า ย 3. ประโยชนต อ ระบบกลามเน้อื กลามเน้อื เสนเอน็ ตา งๆ ไดออกกําลัง ยืดและหดตัวไดเต็มที่ ทําใหมีความแข็งแรงยืดหยุนไดอยางมีประสิทธิภาพ ทําใหสามารถ ทาํ งานไดทนไมเ หน่อื ยงาย เพราะกลามเน้อื มพี ลงั มาก 4. ประโยชนต อ การเผาผลาญในรา งกาย การเผาผลาญ ทําใหอ าหาร ทร่ี ับประทานเขา ไปถกู นํามาใชอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ ไมเหลอื สะสมโดยเฉพาะไขมนั ทใ่ี หพ ลังงาน มาก จะไมถูกสะสมในรา งกาย จนทาํ ใหเกดิ โรคอวน 5. ประโยชนต อระบบขบั ถา ย การเคลอื่ นไหว และภายหลังการออกกาํ ลังกาย ทําใหด ื่มน้าํ ไดม าก กระเพาะ สําไส ไดเคลื่อนไหวในการออกกําลังกายดว ย ทาํ ใหระบบยอ ย อาหารดี กระเพาะอาหาร สาํ ไส บีบรัดตัวไดดี 6. มปี ระโยชนต อสขุ ภาพจติ และอารมณไมเ ครียด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook