Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกิจพอเพียง

Published by รัตน์ ประทุม, 2021-09-10 03:33:56

Description: เศรษฐกิจพอเพียง

Search

Read the Text Version

สรปุ ผลการจดั กิจกรรม การเรียนร้หู ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปี งบประมาณ 2564 (ไตรมาส 3-4 ) โครงการอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ าร การทำเกษตรแบบผสมผสานสู่การแปรรูปผลิตภัณฑ์ วันท่ี 30 มิถุนายน 2564 ณ รงุ่ โรจนฟ์ าร์มปูนา ออรแ์ กนิค 18 หมู่ 5 ตำบลนาวังหนิ อำเภอพนสั นิคม จังหวดั ชลบรุ ี กศน.ตำบลหน้าพระธาตุ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จงั หวัดชลบุรี

คำนำ กศน.ตำบลหน้าพระธาตุ สังกัด ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม ไดจ้ ดั ทำ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การทำเกษตรแบบผสมผสานสูก่ ารแปรรูปผลิตภัณฑ์ โดยมีวตั ถปุ ระสงค์เพ่อื ให้ผเู้ ข้าร่วม กิจกรรมมีความรู้เกย่ี วกับการทำเกษตรแบบผสมผสานและการแปรรูปผลติ ภัณฑ์และมรี ายไดเ้ สริมใหก้ ับตนเอง ซง่ึ มีการ สรุปผลการจดั กิจกรรมโครงการดงั กลา่ วเพ่ือตอ้ งการทราบว่าการดำเนนิ โครงการบรรลุตามวตั ถปุ ระสงคท์ ี่กำหนดไวห้ รอื ไม่ บรรลุในระดบั ใดและไดจ้ ัดทำเอกสารสรุปผลการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเสนอต่อผู้บริหาร ผ้เู กีย่ วข้องเพื่อนำข้อมลู ไปใชใ้ นการปรับปรงุ และพัฒนาการดำเนินโครงการใหด้ ียิ่งขึ้น คณะผูจ้ ดั ทำ ขอขอบคุณผอู้ ำนวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอพนสั นิคม ท่ีใหค้ ำแนะนำ คำปรึกษา ในการจัดทำสรปุ ผลการจัดกิจกรรมการเรยี นรหู้ ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในครง้ั นี้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารสรุปผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงฉบับน้ี จะเป็น ประโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติงานโครงการและหน่วยงานที่เก่ียวข้องในการนำไปใช้ ในการจั ดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย ตอ่ ไป กศน.ตำบลหนา้ พระธาตุ มถิ ุนายน 2564

สารบัญ หนา้ ก หวั เร่ือง ข คำนำ ค สารบญั 1 สารบญั ตาราง 3 บทที่ 1 บทนำ 9 บทที่ 2 เอกสารการศึกษาและงานวิจยั ท่ีเกีย่ วข้อง 12 บทท่ี 3 วิธดี ำเนินงาน 17 บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู บทที่ 5 อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ บรรณานกุ รม คณะผจู้ ัดทำ

สารบัญตาราง หนา้ ตารางที่ 12 12 1. ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการทต่ี อบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามเพศ 13 2. ผ้เู ข้าร่วมโครงการทต่ี อบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามอายุ 13 3. ผู้เขา้ ร่วมโครงการทต่ี อบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามอาชีพ 13 4. ผเู้ ข้าร่วมโครงการท่ตี อบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามระดบั การศึกษา 14 5. แสดงค่ารอ้ ยละเฉล่ยี ความสำเรจ็ ของตัวชว้ี ดั ผลผลติ ประชาชนท่ัวไป 14 6. คา่ เฉลี่ยและสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจฯ โครงการ ในภาพรวม 15 7. คา่ เฉลยี่ และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจฯ โครงการ ดา้ นบรหิ ารจดั การ 15 8. คา่ เฉล่ียและสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานความพึงพอใจฯ โครงการ ด้านการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 9. คา่ เฉล่ียและสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจฯ โครงการ ดา้ นประโยชน์ที่ไดร้ ับ

1 บทท่ี 1 บทนำ หลกั การและเหตุผล จากสถานการณ์ในปัจจุบันท่ีเกิดการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทำให้กิจการต่างๆ ต้องปดิ ตวั ลง ผู้คนตกงานเป็นจำนวนมาก ประชากรวยั แรงงานที่เคยไปทำงานตา่ งพื้นที่ ต้องย้ายกลับมาต้ังหลกั ทำมาหากินที่ บา้ นเกดิ เกษตรผสมผสานเปน็ อีกช่องทางหนึง่ ท่ีคนรุ่นใหม่ได้นำความรูด้ ้านเทคโนโลยีใหม่ๆมาประยุกต์ใชก้ ับภูมิปัญญาของ บรรพบุรุษ ทำให้อาชีพเกษตรกรมีความย่ังยืน สามารถต่อยอดแปรรูปผลติ ภัณฑ์ เพ่ิมมูลค่าให้กับสินค้าทางการเกษตร ทำ ให้มีรายได้หมนุ เวียนตลอดทงั้ ปี สรา้ งรายได้เล้ยี งดูครอบครัวไดอ้ ย่างยั่งยืน จากเหตผุ ลดังกล่าว กศน.ตำบลหัวถนน กศน.ตำบลหน้าพระธาตุ สังกัดศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี ได้เล็งเห็นความสำคัญ จึงได้จัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การทำเกษตรแบบ ผสมผสานสู่การแปรรปู ผลิตภณั ฑ์ขน้ึ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อใหผ้ ู้อบรมมคี วามรู้ความเข้าใจเกี่ยวกบั การทำเกษตรแบบผสมผสานและการแปรรูปผลติ ภณั ฑ์ 2. เพื่อใหผ้ ู้อบรมสามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวนั ได้ เปา้ หมาย (Outputs) เป้าหมายเชิงปรมิ าณ - ประชาชนตำบลหวั ถนน จำนวน 8 คน - ประชาชนตำบลหนา้ พระธาตุ จำนวน 8 คน รวมทง้ั สน้ิ 16 คน เปา้ หมายเชิงคุณภาพ - เพ่ือใหผ้ ้อู บรมมีความรู้ความเขา้ ใจเกยี่ วกับการทำเกษตรแบบผสมผสานและการแปรรูปผลิตภณั ฑ์ ผลลพั ธ์ - ผ้เู ข้ารับการอบรม นำความร้ทู ไ่ี ด้รบั ไปปรับใช้ในชวี ติ ประจำวันและขยายผลสรา้ งวถิ ชี วี ติ ท่ยี ง่ั ยืนได้ ดชั นชี วี้ ดั ผลสำเรจ็ ของโครงการ 1. ตวั ช้ีวดั ผลผลิต (Outputs) - รอ้ ยและ 80 ของผูเ้ ข้ารว่ มกิจกรรมมคี วามรู้ มคี วามรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกบั การทำเกษตรแบบผสมผสาน และการแปรรูปผลิตภัณฑ์ 2. ตวั ชี้วดั ผลลัพธ์ (Outcomes) - ผู้เข้ารบั การอบรม นำความรทู้ ีไ่ ดร้ ับไปปรับใช้ในชวี ติ ประจำวันและขยายผลสร้างวถิ ชี ีวิตที่ยัง่ ยนื ได้

2 วงเงนิ งบประมาณท้ังโครงการ จำนวน ราคา: จำนวนเงนิ (บาท) ท่ี รายการ คน หน่วย หมายเหตุ 1,200.- (บาท) 560.- 1 คน x 400 บาท x 3 ชว่ั โมง 240.- 16 คน x 35 บาท x 1 ม้ือ 1 คา่ ตอบแทนวทิ ยากร 1 400.- 400.- 16 เลม่ x 15 บาท 80.- 16 ใบ x 25 บาท 2 คา่ อาหารว่างและเครอ่ื งดื่ม 16 35 720.- 16 ด้าม x 5 บาท 3,200.- 3 คา่ จ้างทำคู่มอื ประกอบการอบรม 16 15 4 คา่ กระเป๋าใสเ่ อกสาร 16 25 5 คา่ ปากกา 16 5 6 ค่าวัสดุฝกึ รวมเปน็ เงินทั้งส้ิน (-สามพันสองรอ้ ยบาทถ้วน-)

3 บทท่ี 2 เอกสารการศึกษาและงานวิจัยทเ่ี กย่ี วข้อง ในการจดั ทำสรปุ ผลโครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ าร การทำเกษตรแบบผสมผสานสู่การแปรรปู ผลิตภณั ฑ์ครง้ั น้ี คณะ ผู้จัดทำโครงการไดท้ ำการค้นควา้ เนือ้ หาเอกสารการศึกษาและงานวจิ ยั ท่เี กี่ยวขอ้ ง ดังนี้ 1. กรอบการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูห้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. เอกสาร/งานวิจัยที่เกย่ี วขอ้ ง 1. กรอบการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นโยบายเร่งด่วนเพ่ือร่วมขับเคลอื่ นยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศ ภารกิจตอ่ เนือ่ ง 1. ดา้ นการจัดการศกึ ษาและการเรียนรู้ 1.3 การศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง 4) การจดั กิจกรรมการเรียนรตู้ ามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผ่านกระบวนการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ ใน รูปแบบต่างๆ ให้กับประชาชน เพ่อื เสรมิ สรา้ งภมู ิคุ้มกัน สามารถยนื หยัดอยไู่ ด้อยา่ งมน่ั คง และมกี ารบรหิ าร จัดการความเสย่ี ง อย่างเหมาะสม ตามทิศทางการพฒั นาประเทศสู่ความสมดุลและยั่งยืน 2. เอกสาร/งานท่เี กีย่ วขอ้ ง เศรษฐกจิ พอเพยี ง เศรษฐกจิ พอเพยี ง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดำรงอยู่ และปฏิบตั ติ นของประชาชนในทุกระดบั ต้ังแตร่ ะดับครอบครวั ระดับชุมชนจนถึงระดบั รฐั ทงั้ ในการพฒั นา และบริหารประเทศใหด้ ำเนนิ ไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพอื่ ให้กา้ วทนั ต่อโลกยุคโลกาภิวตั น์

4 ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตผุ ล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุม้ กนั ในตวั ที่ดี พอสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปล่ียนแปลงทั้งภายนอก และภายใน ทง้ั น้จี ะต้องอาศัยความรอบรู้ ความ รอบคอบ และความระมดั ระวังอย่างยง่ิ ในการนำวชิ าการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผน และการดำเนนิ การทุกข้ันตอน และ ขณะเดยี วกนั จะต้องเสรมิ สร้างพื้นฐานจติ ใจของคนในชาตโิ ดยเฉพาะเจ้าหน้าท่ีของรัฐ นกั ทฤษฎี และนักธุรกจิ ในทกุ ระดับให้ มสี ำนึกในคุณธรรม ความซ่ือสัตย์สุจรติ และใหม้ ีความรอบร้ทู ีเ่ หมาะสม ดำเนนิ ชวี ติ ด้วยความอดทน ความเพยี ร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพอ่ื ใหส้ มดุล และพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และกว้างขวางท้ังด้านวตั ถุ สิง่ แวดลอ้ ม และวฒั นธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี ประการท่ีสำคญั ของเศรษฐกิจพอเพียง พอมีพอกิน ปลูกพืชสวนครวั ไวก้ ินเองบา้ ง ปลูกไม้ผลไว้หลังบ้าน 2-3 ตน้ พอทจี่ ะมีไวก้ นิ เองในครวั เรอื น เหลือจึง ขายไป พออยู่พอใช้ ทำให้บ้านน่าอยู่ ปราศจากสารเคมี กล่นิ เหมน็ ใช้แตข่ องที่เปน็ ธรรมชาติ (ใช้จลุ นิ ทรีย์ผสมน้ำถูพื้นบ้าน จะสะอาดกวา่ ใช้น้ำยาเคม)ี รายจ่ายลดลง สุขภาพจะดีข้ึน (ประหยัดค่ารกั ษาพยาบาล) พออกพอใจ เราต้องรู้จกั พอ รู้จกั ประมาณตน ไม่ใคร่อยากใคร่มีเช่นผู้อน่ื เพราะเราจะหลงติดกับวตั ถุ ปญั ญาจะไม่เกิด \"การจะเปน็ เสอื นน้ั มันไม่สำคญั สำคัญอยู่ท่เี ราพออยูพ่ อกิน และมีเศรษฐกิจการเป็นอยู่แบบพอมพี อกิน แบบพอมีพอกิน หมายความวา่ อมุ้ ชตู วั เองได้ ใหม้ พี อเพยี งกบั ตัวเอง\" พระราชดำรัสในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัวฯ หลักแนวคดิ ของเศรษฐกจิ พอเพียง การพฒั นาตามหลักเศรษฐกิจพอเพยี ง คือการพัฒนาท่ีตงั้ อยบู่ นพื้นฐานของทางสายกลาง และความไมป่ ระมาท โดย คำนึงถงึ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมคิ ุ้มกันทดี่ ใี นตัว ตลอดจนใชค้ วามรู้ความรอบคอบ และคณุ ธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจ และการกระทำ

5 ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง มหี ลักพิจารณาอยู่ 5 สว่ น ดังนี้ กรอบแนวคดิ เปน็ ปรัชญาทช่ี ี้แนะแนวทางการดำรงอยู่ และปฏิบัติตนในทางท่ีควรจะเป็น โดยมพี ้ืนฐานมาจากวิถี ชีวติ ดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนำมาประยกุ ต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลย่ี นแปลงอยู่ ตลอดเวลา และเปน็ การมองโลกเชิงระบบที่มกี ารเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพน้ จากภัย และวิกฤต เพ่ือความ มัน่ คง และความยงั่ ยนื ของการพฒั นา คณุ ลกั ษณะ เศรษฐกจิ พอเพียงสามารถนำมาประยุกตใ์ ช้กับการปฏิบตั ิตนได้ในทกุ ระดับ โดยเน้นการปฏิบัติบนทาง สายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขนั้ ตอน คำนยิ าม ความพอเพยี งจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลกั ษณะ พร้อม ๆ กันดังนี้ ความพอประมาณ หมายถงึ ความพอดีท่ีไม่น้อยเกนิ ไป และไม่มากเกินไปโดยไมเ่ บียดเบียนตนเอง และผู้อน่ื เช่น การผลติ และการบรโิ ภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสนิ ใจเกี่ยวกับระดบั ของความพอเพยี งน้ัน จะต้องเปน็ ไปอย่างมเี หตผุ ล โดยพจิ ารณา จากเหตุปัจจยั ทเ่ี ก่ียวข้องตลอดจนคำนงึ ถึงผลที่คาดวา่ จะเกิดข้นึ จากการกระทำนน้ั ๆ อย่างรอบคอบ การมภี ูมคิ ุ้มกันท่ีดีในตวั หมายถงึ การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการเปลย่ี นแปลงดา้ นตา่ ง ๆ ท่จี ะเกดิ ข้นึ โดย คำนึงถงึ ความเปน็ ไปได้ของสถานการณ์ ต่าง ๆ ท่คี าดว่าจะเกิดขนึ้ ในอนาคตท้ังใกล้ และไกล เงอ่ื นไข การตดั สินใจและการดำเนินกจิ กรรมตา่ ง ๆ ให้อยูใ่ นระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยท้งั ความรู้ และคณุ ธรรม เปน็ พนื้ ฐาน กล่าวคือ

6 เงือ่ นไขความรู้ ประกอบดว้ ย ความรอบร้เู กีย่ วกับวิชาการตา่ ง ๆ ท่ีเก่ยี วข้องอยา่ งรอบด้าน ความรอบคอบท่ีจะนำ ความรู้เหลา่ นั้นมาพิจารณาให้เชอ่ื มโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในขน้ั ปฏบิ ตั ิ เงื่อนไขคณุ ธรรม ทจ่ี ะต้องเสริมสร้างประกอบดว้ ย มีความตระหนกั ในคณุ ธรรม มีความซ่อื สตั ย์สุจรติ และมีความ อดทน มีความเพียร ใชส้ ติปญั ญาในการดำเนินชีวติ แนวทางปฏิบตั ิ / ผลทคี่ าดว่าจะไดร้ ับ จากการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาประยุกต์ใช้ คอื การพฒั นาท่ี สมดุล และยงั่ ยืน พร้อมรบั ต่อการเปล่ยี นแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม ส่งิ แวดล้อม ความรู้ และเทคโนโลยี การทำแปลงผักถาวร/การปลกู ผกั ปลอดสารพษิ ข้อดีของการปลูกผักปลอดภยั จากสารพษิ 1. ทำ ใหไ้ ดพ้ ืชผักท่มี ีคุณภาพ ไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภยั แก่ผู้บรโิ ภค 2. ช่วยใหเ้ กษตรกรผ้ปู ลูกผกั มีสุขภาพอนามยั ดีข้ึนเนื่องจากไม่มกี ารฉดี พ่นสารเคมปี ้องกัน และกำ จัดศัตรูพชื ทำ ใหเ้ กษตรกรปลอดภัยจากสารพิษเหลา่ นี้ด้วย 3. ลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกรด้านค่าใช้จ่ายในการซื้อสารเคมีป้องกันและกำ จัดศัตรพู ืช 4. ลดปรมิ าณการนำ เข้าสารเคมปี ้องกันและกำ จดั ศตั รพู ืช 5. เกษตรกรจะมรี ายได้เพ่ิมมากขึ้น เนอื่ งจากผลผลติ ทไ่ี ดม้ ีคุณภาพ ทำ ให้สามารถขายผลผลิตได้ในราคา สงู ขึน้ 6. ลดปริมาณสารเคมีป้องกนั และกำ จดั ศัตรพู ืชทจี่ ะปนเปื้อนเข้าไปในอากาศและน้ำ ซง่ึ เป็น การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและลดมลพิษของสิ่งแวดล้อมไดท้ างหนงึ่ การเลยี้ งปูนา ประเทศไทยของเราในอดตี นั้นมีความอุดมสมบูรณข์ องทรัพยากรธรรมชาติพืชและสัตวเ์ ปน็ อยา่ งมากดงั ประโยคท่ี เคยได้ยินมาว่า ในน้ำมปี ลา ในนามีข้าว ในท้องนามีสตั ว์มากมายหลากหลายชนดิ อาศยั อยู่ ไมว่ า่ จะเปน็ กุ้ง หอย ปลา ปู ดังนัน้ ชาวบ้านจึงจบั มาบริโภคเป็นอาหารได้อยา่ งงา่ ยดายโดยไมต่ ้องเพาะเลย้ี งสตั วเ์ หลา่ นี้แต่อยา่ งใด ปูนาซ่งึ ถือวา่ เปน็ แหล่งโปรตีนและแคลเซียมชน้ั ดนี ั้นสามารถจบั ไดง้ ่ายในนาขา้ วและนำไปทำอาหารไดห้ ลายชนดิ เชน่ นำปไู ปดองไว้ใสใ่ นสม้ ตำหรือยำมะมว่ ง เนอื้ ใชท้ ำลาบปู มนั ปูใช้ทำปอู ่อง ก้ามปูใชท้ ำกา้ มปนู ึง่ นำไปจิ้มกับนำ้ จิม้ รสแซบ่ หรอื นำกา้ มไปผัดผงกระหร่ีก็อรอ่ ยเหลือหลาย ส่วนปตู วั เลก็ ๆ ชาวบ้านจะจับมาทำน้ำปูซึง่ เป็นอาหารพืน้ เมืองอันเล่อื งชอื่ ของ ภาคเหนอื นำ้ ปใู ช้เปน็ เครื่องชูรสอาหารใหม้ ีรสชาตอิ ร่อยยง่ิ ขึน้ เชน่ นำนำ้ ปมู าใสใ่ นยำหน่อไม้ แกงหน่อไม้ ส้มตำ ตำส้มโอ นอกจากนีย้ ังสามารถนำไปทำนำ้ พรกิ นำ้ ปู๋แลว้ รบั ประทานร่วมกับหนอ่ ไมต้ ม้ จะเห็นได้ว่าปนู ามีประโยชนม์ ากมาย แม้แต่กากปทู ่ีเหลือจากการทำน้ำปูก็สามารถนำมาใช้เปน็ ปยุ๋ ใสต่ น้ ไม้ เช่น ต้น ลำไย ทำให้เจรญิ งอกงาม และมผี ลดก อยา่ งไรกต็ ามเน่ืองจากปูนาในธรรมชาตินั้นมจี ำนวนลดลงอย่างรวดเร็วสาเหตจุ าก ชาวนาใช้สารเคมีในนาข้าวกนั มาก ดังน้ันทำให้เกิดสภาวะปูนาขาดแคลน วธิ ีหนง่ึ ทสี่ ามารถแกป้ ัญหาน้ีได้กค็ ือการนำปนู าจาก ธรรมชาตมิ าทำการเพาะเลี้ยงซงึ่ เปน็ เร่ืองท่ที ำได้ไม่ยากนักเพราะวา่ สามารถเลีย้ งปูไดใ้ นบ่อซเี มนตเ์ พ่ือไว้ใช้เปน็ แหลง่ อาหารที่ ปลอดภยั ใชบ้ ริโภคในครัวเรอื น หากมปี จู ำนวนมากกส็ ามารถนำไปจำหน่ายเป็นรายไดเ้ สริมอกี ทางหน่ึง ขัน้ ตอนการเลี้ยงปนู า

7 1. การเตรียมบอ่ เลีย้ งปู สรา้ งบ่อซเี มนต์รูปสี่เหลยี่ มผนื ผา้ ท่ีมีความกวา้ ง 2 เมตร ยาว 3 เมตร และสงู 1 เมตร นำ ท่อพวี ีซี จำนวน 2 ท่อ มาใส่ไว้ในบ่อสำหรบั ระบายนำ้ ออกจากบอ่ ในกรณที ี่ทำบ่อใหม่ใหใ้ ส่นำ้ ลงไปเพ่ือลดความเคม็ จาก ปนู ซีเมนตใ์ นบ่อ ทำการเปลยี่ นน้ำในบอ่ ประมาณ 3-4 ครง้ั และอาจนำต้นกลว้ ยมาใส่ลงไปในบ่อเพื่อใหห้ ายเคม็ เรว็ ข้ึน หลังจากน้นั นำดินมาใส่ลงไปจนมคี วามสงู ประมาณ 20-30 เซนติเมตร (อาจปรับเปล่ียนตามความเหมาะสมตามสภาพพนื้ ที่) บอ่ เล้ยี งปูควรอยู่ในทีร่ ม่ เพราะปูไม่ชอบอากาศร้อน ถ้าอากาศร้อนมากปจู ะตายดังน้ันบ่อเลย้ี งควรมรี ม่ เงาจากตน้ ไม้หรือมี หลงั คาหรอื ทำตาขา่ ยพรางแสง ใส่ท่อหรอื แผ่นกระเบื้องเพ่ือให้ปูมแี หลง่ ซอ่ นตวั และหลบหลีกเพราะว่าปูมนี สิ ัยชอบทำรา้ ย กันเอง นอกจากนี้ยังต้องมตี าขา่ ยปิดปากบ่อเพ่อื ป้องกันไมใ่ หป้ หู นี หากเกษตรกรมบี ่อเกา่ อยู่แลว้ กส็ ามารถเลย้ี งปูนาไดโ้ ดยไม่ ต้องทำบ่อใหม่ ทำการจดั สภาพแวดลอ้ มในบอ่ ใหเ้ ลียนแบบที่อยู่อาศยั ตามธรรมชาตขิ องปู โดยการปลูก ขา้ ว ผักบ้งุ หญา้ จอกแหน สาหร่าย เพราะนอกจากท่ีปูจะใช้เปน็ อาหารแล้วยงั ใช้เปน็ แหล่งหลบซอ่ นอกี ด้วย หลงั จากนนั้ ใสน่ ำ้ ลงไปในบ่อให้สูง ประมาณ 30 เซนตเิ มตร 2. นำปูที่จบั มาจากแหล่งนำ้ ธรรมชาติโดยใช้ขนาดความยาวของลำตัวประมาณ 4 เซนตเิ มตร คดั เอาแตต่ ัวท่แี ขง็ แรง และมีขาท่คี รบสมบรู ณม์ าปล่อยลงในบ่อ โดยใชป้ ูตวั ผู้ 25 ตวั ปูตัวเมีย 25 ตวั ปนู าทใ่ี ชเ้ ป็ นพอ่ แมพ่ นั ธุ์ 3. ให้อาหารปูสปั ดาหล์ ะ 3 ครง้ั อาหารทีใ่ ช้เล้ียงปู ไดแ้ ก่ ข้าวสุก (ข้าวเจา้ หรือข้าวเหนียวกไ็ ด้) ปลาที่สับเป็นช้ิน เล็กๆ ก้งุ ฝอย ผกั บงุ้ ผกั กาด ขอ้ ควรระวังกค็ ืออย่าใหอ้ าหารปูมากเกินไปและต้องคอยหมน่ั สังเกตดวู ่าให้อาหารแคไ่ หนปถู ึงจะ กนิ หมดเพราะถา้ มีอาหารเหลือก็จะบดู เนา่ ดังนน้ั จงึ ต้องเก็บออกจากบ่อเพราะหากท้ิงไว้ใหเ้ น่าจะทำให้นำ้ สกปรกทำให้ปเู ปน็ โรค สำหรับการระบายน้ำนั้นตอ้ งระบายนำ้ ออกจากบ่อและเปลีย่ นนำ้ ใหม่ประมาณเดือนละ 2-3 ครง้ั

8 4. ปนู าจะผสมพนั ธกุ์ ันในชว่ งฤดูฝน แมป่ ู 1 ตัว มไี ขป่ ระมาณ 500-700 ฟอง ดงั นั้นปนู า 1 ตัว จะออกลูกไดป้ ระมาณ 500- 700 ตวั และปูนาใช้เวลาในการเจริญประมาณ 6-8 เดอื นจึงจะโตเต็มที่ การพฒั นาการจากไขจ่ นกลายเป็ นลกู ปนู 5. การจบั ปูนานน้ั ควรจบั ในช่วงฤดหู นาวเพราะเป็นเวลาท่ีปูมรี สชาติอร่อยท่สี ดุ ถ้าหากจะนำไปขายก็จะสามารถขายไดใ้ น ราคาท่ีสงู กวา่ เวลาอ่ืนเพราะเปน็ ชว่ งทปี่ ขู าดแคลน โดยจะขายไดร้ าคาตัวละ 2-5 บาท การจบั ปนู าในบอ่ เลยี้ ง อาหารทที่ าจากปนู า

9 บทท่ี 3 วธิ ีดำเนนิ งาน การดำเนนิ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การทำเกษตรแบบผสมผสานสู่การแปรรปู ผลิตภัณฑ์ ได้ดำเนนิ การตาม ขน้ั ตอนตา่ งๆ ดงั นี้ 1. ข้ันเตรยี มการ  การศึกษาเอกสารท่ีเกี่ยวขอ้ งกับโครงการปราชญช์ าวบา้ นกับวิถีเศรษฐกิจพอเพียง ผู้รับผิดชอบโครงการได้ศึกษาคน้ คว้าเอกสารที่เกย่ี วข้องเพ่ือเปน็ ข้อมูลและแนวทางในการดำเนินการโครงการอบรม เชิงปฏิบตั กิ าร การทำเกษตรแบบผสมผสานสู่การแปรรปู ผลติ ภณั ฑ์ ดงั น้ี 1. ศึกษาเอกสาร / คู่มือ ข้อมูลจากหนังสอื เกีย่ วกับการเรยี นรู้มุ่งสู่ความพอเพียงเพื่อเปน็ แนวทางเกยี่ วกบั การจดั โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการ การทำเกษตรแบบผสมผสานสกู่ ารแปรรูปผลิตภัณฑ์ 2. ศึกษาข้ันตอนการดำเนนิ โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการ การทำเกษตรแบบผสมผสานสูก่ ารแปรรปู ผลติ ภณั ฑ์เพ่ือ เป็นแนวทางในการจดั เตรียมงาน วัสดุอปุ กรณ์ และบคุ ลากรให้เหมาะสม  การสำรวจความตอ้ งการของประชาชนในพน้ื ที่ (ตามนโยบายของรัฐบาล) กลุ่มภารกจิ การจัดการศึกษานอกระบบ มอบหมายให้ ครู กศน.ตำบล สำรวจความตอ้ งการของ กลมุ่ เปา้ หมายเพ่ือทราบความต้องการที่แท้จรงิ ของประชาชนในตำบล และมีข้อมูลในการจดั กจิ กรรมที่ตรงกบั ความต้องการ ของชมุ ชน  การประสานงานผู้นำชุมชน / ประชาชน /วิทยากร 1. ครู กศน.ตำบล ได้ประสานงานกับหัวหน้า/ผนู้ ำชมุ ชนและประชาชนในตำบลเพอื่ ร่วมกันปรึกษาหารือใน กลุ่มเก่ยี วกับการดำเนนิ การจัดโครงการใหต้ รงกับความตอ้ งการของชุมชน 2. ครู กศน.ตำบล ไดป้ ระสานงานกบั หนว่ ยงานที่เก่ียวขอ้ งเพ่อื จัดหาวทิ ยากร  การประชาสัมพนั ธโ์ ครงการฯ ครู กศน.ตำบล ไดด้ ำเนินการประชาสมั พันธก์ ารจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร การทำเกษตรแบบ ผสมผสานสกู่ ารแปรรูปผลิตภัณฑ์ เพื่อให้ประชาชนทราบข้อมลู การจัดกิจกรรมดงั กล่าวผ่านผนู้ ำชุมชน  ประชมุ เตรยี มการ / วางแผน 1) ประชุมปรึกษาหารือผ้ทู ่เี กี่ยวข้อง 2) เขยี นโครงการ วางแผนมอบหมายงานใหฝ้ ่ายตา่ งๆ เตรียมดำเนินการ 3) มอบหมายหน้าท่ี แต่งต้งั คณะทำงาน  การรบั สมัครผเู้ ขา้ รว่ มโครงการฯ ครู กศน.ตำบล ไดร้ บั สมัครผู้เข้ารว่ มโครงการอบรมเชงิ ปฏิบัติการ การทำเกษตรแบบผสมผสานสู่การแปร รูปผลิตภัณฑ์ โดยใหป้ ระชาชนทวั่ ไปที่อาศัยอยู่ในพืน้ ท่ีกศน.ตำบลหนา้ พระธาตุ และกศน.ตำบลหัวถนน ตำบลละ 8 คนรวม ทง้ั สนิ้ 16 คน  การกำหนดสถานทแี่ ละระยะเวลาดำเนินการ ครู กศน.ตำบล ได้กำหนดสถานท่ีในการจัดอบรม ณ รุง่ โรจน์ฟารม์ ปูนา ออร์แกนคิ 18 หมู่ 5 ตำบลนาวังหนิ อำเภอพนัสนคิ ม จังหวัดชลบรุ ี ในวันท่ี 30 มถิ ุนายน พ.ศ. 2564 จำนวน 1 วัน เวลา 08.00-15.30 น.

10 2. ขั้นดำเนินงาน  กลุ่มเปา้ หมาย กลุ่มเปา้ หมายของโครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ าร การทำเกษตรแบบผสมผสานสกู่ ารแปรรูปผลติ ภณั ฑ์ - ประชาชนตำบลหน้าพระธาตุ จำนวน 8 คน - ประชาชนตำบลหัวถนน จำนวน 8 คน รวมทงั้ สน้ิ 16 คน  สถานท่ดี ำเนินงาน ครู กศน.ตำบล จดั กจิ กรรมโครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ าร การทำเกษตรแบบผสมผสานสูก่ ารแปรรูปผลิตภณั ฑ์ โดย จดั กจิ กรรมอบรมให้ความรู้ ในวนั ท่ี 30 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2564 เวลา 08.00-15.30 น. ณ รุง่ โรจนฟ์ าร์มปูนา ออรแ์ กนคิ 18 หมู่ 5 ตำบลนาวงั หนิ อำเภอพนสั นิคม จังหวัดชลบรุ ี  การขออนุมัตแิ ผนการจัดกจิ กรรมการเรียนรูห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กศน.ตำบล ไดด้ ำเนินการขออนุมตั ิแผนการจดั กิจกรรมการเรียนรูห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง โครงการอบรมเชิงปฏบิ ัติการ การทำเกษตรแบบผสมผสานสูก่ ารแปรรูปผลติ ภณั ฑ์ ตอ่ สำนกั งาน กศน.จังหวัดชลบุรี เพื่อให้ ต้นสงั กัดอนุมตั ิแผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง  การจดั ทำเครื่องมือการวัดความพึงพอใจของผู้รว่ มกิจกรรม เครื่องมือที่ใชใ้ นการติดตามประเมินผลโครงการ ได้แก่ แบบประเมินความพงึ พอใจ  ขัน้ ดำเนนิ การ / ปฏิบัติ 1. เสนอโครงการเพ่ือขอความเหน็ ชอบ/อนุมตั จิ ากต้นสังกัด 2. วางแผนการจัดกิจกรรมในโครงการอบรมเชงิ ปฏิบัติการ การทำเกษตรแบบผสมผสานสกู่ ารแปรรปู ผลติ ภณั ฑ์ โดยกำหนดตารางกจิ กรรมที่กำหนดการ 3. มอบหมายงานให้แก่ผู้รับผิดชอบฝา่ ยตา่ งๆ 4. แต่งต้งั คณะกรมการดำเนินงาน 5. ประชาสมั พนั ธ์โครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ การทำเกษตรแบบผสมผสานสู่การแปรรูปผลิตภัณฑ์ 6. จดั กจิ กรรมโครงการโครงการอบรมเชิงปฏิบัตกิ าร การทำเกษตรแบบผสมผสานส่กู ารแปรรูปผลติ ภณั ฑ์ ตามตารางกจิ กรรมท่ีกำหนดการ 7. ติดตามและประเมนิ ผลโครงการอบรมเชิงปฏิบัตกิ าร การทำเกษตรแบบผสมผสานสูก่ ารแปรรปู ผลิตภณั ฑ์

11 3. การประเมินผล  วเิ คราะหข์ ้อมลู 1. บันทกึ ผลการสังเกตจากผู้เข้ารว่ มกจิ กรรม 2. วิเคราะห์ผลจากการประเมินในแบบประเมนิ ความพึงพอใจ 3. รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านรวบรวมสรปุ ผลการปฏบิ ตั งิ านของโครงการนำเสนอตอ่ ผู้บริหารนำปัญหา ขอ้ บกพร่องไปแก้ไขครัง้ ตอ่ ไป  ค่าสถติ ทิ ใ่ี ช้ การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ค่าสถิติร้อยละในการประมวลผลข้อมูลส่วนตัวและตัวช้ีวัดความสำเร็จของโครงการ ตามแบบสอบถามคดิ เป็นรายข้อ โดยแปลความหมายค่าสถติ ริ ้อยละออกมาไดด้ งั น้ี คา่ สถิตริ อ้ ยละ 90 ข้นึ ไป ดีมาก ค่าสถติ ริ ้อยละ 75 – 89.99 ดี คา่ สถติ ริ ้อยละ 60 – 74.99 พอใช้ ค่าสถิตริ ้อยละ 50 – 59.99 ปรบั ปรุง ค่าสถติ ิรอ้ ยละ 0 – 49.99 ปรบั ปรุงเร่งด่วน ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามความคิดเห็นรายข้อซึ่งมีลักษณะเป็นค่าน้ำหนักคะแนน และ นำมาเปรียบเทยี บ ไดร้ ะดับคุณภาพตามเกณฑ์การประเมนิ ดงั น้ี เกณฑก์ ารประเมิน (X) ค่านำ้ หนกั คะแนน 4.50 – 5.00 ระดับคณุ ภาพ คือ ดีมาก คา่ นำ้ หนกั คะแนน 3.75 – 4.49 ระดบั คุณภาพ คือ ดี ค่านำ้ หนักคะแนน 3.00 – 3.74 ระดบั คุณภาพ คือ พอใช้ คา่ น้ำหนักคะแนน 2.50 – 2.99 ระดับคณุ ภาพ คอื ตอ้ งปรบั ปรุง คา่ น้ำหนกั คะแนน 0.00 – 2.49 ระดับคุณภาพ คอื ต้องปรับปรงุ เรง่ ด่วน

12 บทท่ี 4 ผลการดำเนินงานและการวิเคราะหข์ อ้ มลู ตอนท่ี 1 รายงานผลการจัดกิจกรรมโครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ การทำเกษตรแบบผสมผสานสู่การแปรรปู ผลติ ภณั ฑ์ การจัดกิจกรรมโครงการอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ าร การทำเกษตรแบบผสมผสานสกู่ ารแปรรูปผลติ ภัณฑ์ สรุปรายงานผล การจัดกิจกรรมได้ดังน้ี ในการจัดกจิ กรรมอบรมให้ความรู้ตามโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร การทำเกษตรแบบผสมผสานสู่การแปรรูป ผลิตภัณฑ์ เปน็ การอบรมใหค้ วามรู้ โดยมี นายสรุ ะ รุง่ โรจน์ เปน็ วทิ ยากรในการบรรยายใหค้ วามรู้ เร่ือง จดุ เริ่มต้นเศรษฐกจิ พอเพยี ง การดำเนนิ ชวี ิตตามแนวพระราชดำริพอเพยี ง การเลีย้ งปนู า การแปรรูปปูนา หลังจากเสรจ็ ส้ินกจิ กรรมดังกล่าวแล้ว ผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรม มคี วามรู้ ความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและนำความรทู้ ีไ่ ด้รับมาปรับใชใ้ นชีวิตประจำวนั ตอนที่ 2 รายงานผลความพึงพอใจของโครงการอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ าร การทำเกษตรแบบผสมผสานสู่การแปรรปู ผลิตภณั ฑ์ การจดั กจิ กรรมโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ การทำเกษตรแบบผสมผสานสูก่ ารแปรรปู ผลิตภัณฑ์ ซ่ึงสรุปรายงาน ผลจากแบบสอบถามความคิดเหน็ ข้อมูลที่ได้สามารถวเิ คราะห์และแสดงคา่ สถิติ ดังนี้ ตารางที่ 1 ผเู้ ข้ารว่ มโครงการท่ีตอบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามเพศ รายละเอียด เพศ ชาย หญิง จำนวน (คน) - 16 ร้อยละ - 100 จากตารางท่ี 1 พบว่าผตู้ อบแบบสอบถามทเี่ ข้ารว่ มกจิ กรรมการเรียนรู้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โครงการอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ าร การทำเกษตรแบบผสมผสานสู่การแปรรูปผลติ ภัณฑ์ เป็นหญิงท้ังหมด จำนวน 16 คน คิดเป็น ร้อยละ 100 ตารางที่ 2 ผเู้ ข้าร่วมโครงการท่ีตอบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามอายุ รายละเอียด อายุ (ป)ี อายุ 15-29 30 - 39 40 - 49 50-59 60 ข้นึ ไป จำนวน (คน) - - 3 8 5 รอ้ ยละ - - 18.8 50.0 31.3 จากตารางท่ี 2 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามท่เี ข้าร่วมกจิ กรรมการเรยี นรูห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง โครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ าร การทำเกษตรแบบผสมผสานสกู่ ารแปรรปู ผลติ ภณั ฑ์ มีอายุ 40 – 49 ปี จำนวน 3 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 18.8 มีอายุ 50 – 59 ปี จำนวน 8 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 50 และมอี ายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน10 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 31.3

ตารางที่ 3 ผู้เขา้ รว่ มโครงการท่ีตอบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามอาชีพ 13 รายละเอยี ด เกษตรกรรม รับจา้ ง อาชพี คา้ ขาย อื่นๆ รบั ราชการ/รฐั วสิ าหกจิ 4 - 25 - จำนวน (คน) 9 3 - รอ้ ยละ 56.3 18.8 - จากตารางท่ี 3 พบวา่ ผูต้ อบแบบสอบถามท่เี ขา้ รว่ มกิจกรรมการเรียนรหู้ ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ การทำเกษตรแบบผสมผสานสกู่ ารแปรรูปผลิตภัณฑ์ มีอาชีพเกษตรกรรม จำนวน 9 คน คิด เป็นร้อยละ 56.3 มีอาชพี รับจา้ ง จำนวน 3 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 18.8 อาชพี คา้ ขาย จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 25 ตารางท่ี 4 ผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการท่ตี อบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามระดับการศึกษา รายละเอยี ด ระดบั การศึกษา การศึกษา ประถม ม.ต้น ม.ปลาย/ปวช. ปวส./ป.ตรีข้นึ ไป - จำนวน (คน) 5 4 9 - รอ้ ยละ 31.3 25 56.3 จากตารางที่ 4 พบวา่ ผูต้ อบแบบสอบถามทเ่ี ขา้ รว่ มกิจกรรมการเรียนรู้หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง โครงการอบรมเชงิ ปฏิบัติการ การทำเกษตรแบบผสมผสานสู่การแปรรูปผลติ ภัณฑ์ มีระดับประถม จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อย ละ 31.3 มรี ะดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 25 และมรี ะดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 9 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 56.3 ตารางที่ 5 แสดงค่าร้อยละเฉล่ียความสำเรจ็ ของตวั ชว้ี ัด ผลผลิต ประชาชนทว่ั ไปเขา้ ร่วมโครงการจำนวน 16 คน เปา้ หมาย(คน) ผลสำเรจ็ ของโครงการ คดิ เปน็ ร้อยละ 4 ผเู้ ข้าร่วมโครงการ(คน) 100 16 จากตารางที่ 5 พบว่าผลสำเร็จของตวั ชี้วดั ผลผลติ กจิ กรรมการเรียนร้หู ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ การทำเกษตรแบบผสมผสานสกู่ ารแปรรูปผลติ ภัณฑ์ มีผูเ้ ข้าร่วมโครงการ จำนวน 16 คน คิด เป็นรอ้ ยละ 100 ซ่งึ บรรลุเป้าหมายด้านตัวชว้ี ดั ผลผลิต

14 ตารางที่ 6 คา่ เฉลีย่ และสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของผ้เู ข้าร่วมกจิ กรรมที่มีความพึงพอใจต่อโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ การทำเกษตรแบบผสมผสานสู่การแปรรูปผลติ ภัณฑ์ ในภาพรวม รายการ คา่ เฉลี่ย สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน ระดับ ความพงึ พอใจ ดา้ นบรหิ ารจัดการ () () ดา้ นการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 4.49 0.56 ดี ดา้ นประโยชน์ทีไ่ ดร้ ับ 4.55 0.60 ดีมาก รวมทุกดา้ น 4.62 0.61 ดีมาก 4.55 0.59 ดีมาก จากตารางท่ี 6 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามทม่ี ีความพึงพอใจต่อโครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการ การทำเกษตรแบบ ผสมผสานสกู่ ารแปรรูปผลติ ภัณฑ์ ในภาพรวมอยใู่ นระดับดีมาก (=4.50) เมื่อพจิ ารณาเปน็ รายดา้ น พบวา่ ด้านประโยชนท์ ี่ ได้รบั อยูใ่ นระดับดีมากมคี า่ เฉล่ยี (= 4.62) รองลงมาคือ ดา้ นการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ มีอยู่ในระดับดีมาก มคี า่ เฉลย่ี (= 4.55) และด้านบรหิ ารจัดการ อยูใ่ นระดบั ดี มีคา่ เฉล่ีย (= 4.49) ตามลำดับ โดยมสี ่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน () อยู่ ระหว่าง 0.56 - 0.61 แสดงวา่ ผ้เู ข้ารว่ มกิจกรรมมีความพึงพอใจสอดคล้องกัน ตารางท่ี 7 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมท่ีมีความพึงพอใจต่อโครงการอบรมเชิง ปฏิบตั ิการ การทำเกษตรแบบผสมผสานสกู่ ารแปรรปู ผลติ ภัณฑ์ ด้านบรหิ ารจัดการ รายการ คา่ เฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบน ระดับ ความพึงพอใจ 1. อาคารสถานที่ () มาตรฐาน () 2. สง่ิ อำนวยความสะดวก 4.77 0.42 ดีมาก 3. กำหนดการและระยะเวลาในการดำเนนิ โครงการ 4.45 0.58 ดี 4. เอกสารการอบรม 4.27 0.45 ดี 5. วทิ ยากรผใู้ ห้การอบรม 4.59 0.72 4.41 0.78 ดีมาก รวม 4.50 0.59 ดี ดีมาก จากตารางท่ี 7 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีความพึงพอใจต่อโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การทำเกษตร แบบผสมผสานส่กู ารแปรรปู ผลิตภัณฑ์ ดา้ นบริหารจดั การ ในภาพรวมอยูใ่ นระดับดีมาก มีค่าเฉลีย่ (= 4.50) เมื่อพจิ ารณา เป็นรายข้อ พบว่า อาคารสถานที่ มีค่าเฉล่ีย (= 4.77) รองลงมา คือ เอกสารการอบรม มีค่าเฉลี่ย (= 4.59) สิ่งอำนวย ความสะดวก มีค่าเฉล่ีย (= 4.45) วิทยากรผู้ให้การอบรม มีค่าเฉลี่ย (= 4.41) กำหนดการและระยะเวลาในการดำเนิน โครงการ มีค่าเฉลี่ย (= 4.27) ตามลำดับ โดยมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน () อยู่ระหว่าง 0.42 - 0.78 แสดงว่า ผู้ตอบ แบบสอบถามมีความคิดเหน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกนั

15 ตารางที่ 8 คา่ เฉลย่ี และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของผู้เข้ารว่ มกจิ กรรมท่ีมคี วามพึงพอใจต่อโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร การทำเกษตรแบบผสมผสานสู่การแปรรปู ผลติ ภณั ฑ์ ด้านการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ รายการ คา่ เฉลี่ย ส่วนเบย่ี งเบน ระดบั () มาตรฐาน () ความพงึ พอใจ 6. การจดั กิจกรรมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การทำ เกษตรแบบผสมผสานสู่การแปรรูปผลติ ภณั ฑ์ 4.41 0.49 ดี 7. การใหค้ วามรู้เร่ืองการเรียนรู้มงุ่ สูค่ วามพอเพยี ง 8. การตอบข้อซักถามของวทิ ยากร 4.50 0.50 ดีมาก 4.86 0.34 ดมี าก 9. การแลกเปลย่ี นเรยี นรขู้ องผเู้ ขา้ รบั การอบรม 4.32 0.47 10. การสรุปองค์ความรู้ร่วมกัน 4.55 0.66 ดี 11. การวัดผล ประเมนิ ผล การฝึกอบรม 4.41 0.49 ดีมาก 4.51 0.49 รวม ดี ดมี าก จากตารางท่ี 8 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การทำเกษตรแบบ ผสมผสานสูก่ ารแปรรูปผลิตภณั ฑ์ ดา้ นการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลีย่ (= 4.51) เมื่อ พจิ ารณาเป็นรายขอ้ พบว่า การตอบข้อซักถามของวิทยากร มีค่าเฉลี่ย (= 4.86) รองลงมาคือ การสรปุ องค์ความรู้รว่ มกัน มีค่าเฉล่ีย (= 4.55 ) การให้ความรู้เร่ืองการเรียนรู้มุ่งสู่ความพอเพียง มีค่าเฉล่ีย (= 4.50 ) การจัดกิจกรรมโครงการ โมเดล 5 ตารางวากับวถิ ีเศรษฐกิจพอเพียง มคี ่าเฉลย่ี (=4.41) การวัดผล ประเมนิ ผล การฝึกอบรม มคี า่ เฉล่ยี (= 4.41) และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้เข้ารับการอบรม ( = 4.32) ตามลำดับ โดยมีส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน () อยู่ระหว่าง 0.34 - 0.66 แสดงว่า ผตู้ อบแบบสอบถามมคี วามคดิ เหน็ สอดคล้องกนั ตารางท่ี 9 ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรมท่ีมีความพงึ พอใจตอ่ โครงการอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ าร การทำเกษตรแบบผสมผสานสกู่ ารแปรรูปผลติ ภัณฑ์ ดา้ นประโยชนท์ ีไ่ ด้รบั รายการ คา่ เฉลยี่ สว่ นเบ่ียงเบน ระดับความ () มาตรฐาน () พงึ พอใจ 12. ไดเ้ รียนรูแ้ ละฝึกตนเอง เกี่ยวกับการทำสบู่ 13. นำความรูท้ ่ไี ด้รบั มาปรับใชใ้ นชีวิตประจำวนั 4.73 0.45 ดีมาก รวม 4.59 0.49 ดมี าก 4.66 0.47 ดีมาก

16 จากตารางที่ 9 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การทำเกษตรแบบ ผสมผสานสู่การแปรรูปผลิตภัณฑ์ ด้านประโยชน์ที่ได้รับ ในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ย (= 4.66) เม่ือพิจารณา เป็นรายข้อ พบว่า ได้เรียนรู้และฝึกตนเอง เก่ียวกับการเรียนรู้มุ่งสู่ความพอเพียง มีค่าเฉลี่ย (= 4.73) รองลงมา นำ ความรู้ท่ีได้รับมาปรบั ใช้ในชีวิตประจำวันมีค่าเฉล่ีย (= 4.59) โดยมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน () อยู่ระหว่าง 0.45 - 0.49 แสดงว่าผ้ตู อบแบบสอบถามมีความคดิ เหน็ ไปในทิศทางเดียวกนั สรุปในภาพรวมของกจิ กรรมคดิ เปน็ ร้อยละ 90.56 มคี า่ น้ำหนกั คะแนน 4.53 ถือว่าผู้รับบรกิ าร มคี วามพงึ พอใจทางดา้ นต่างๆ อยู่ในระดับดีมาก โดยเรียงลำดบั ดังน้ี  อนั ดับแรก ดา้ นดา้ นประโยชน์ทีไ่ ดร้ บั คดิ เป็นร้อยละ 93.18 มคี า่ น้ำหนักคะแนน 4.66 อยูใ่ นระดับคุณภาพ ดีมาก  อนั ดบั สอง ด้านการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ คิดเป็นร้อยละ 90.15 มคี ่าน้ำหนกั คะแนน 4.51 อยู่ในระดบั คุณภาพดี  อนั ดับสาม ด้านบริหารจัดการ คดิ เปน็ ร้อยละ 90.00 มคี ่านำ้ หนกั คะแนน 4.50 อยใู่ นระดับคุณภาพดี

บทท่ี 5 17 อภิปรายและข้อเสนอแนะ ผลการจัดกจิ กรรมโครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการ การทำเกษตรแบบผสมผสานส่กู ารแปรรปู ผลิตภัณฑ์ ได้ผลสรปุ ดงั นี้ วตั ถุประสงค์ 1. เพ่อื ให้ผู้อบรมขยายผลการเรยี นรจู้ ากแหล่งเรียนรู้ในชมุ ชน 2. เพือ่ ให้สง่ เสริมผู้อบรมมีความสัมพนั ธร์ ะหว่างคนในชุมชนกับภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ 3. เพอื่ ให้ผู้อบรมสามารถนำไปประกอบอาชีพ และมีรายได้เสรมิ ใหก้ ับตนเอง เป้าหมาย (Outputs) เป้าหมายเชิงปรมิ าณ - ประชาชนตำบลหน้าพระธาตุ จำนวน 8 คน - ประชาชนตำบลหวั ถนน จำนวน 8 คน รวมทงั้ สนิ้ 16 คน เปา้ หมายเชิงคุณภาพ - ผู้เข้ารว่ มโครงการฯ ร้อยละ 80 มกี ารขยายผลการเรยี นรู้จากแหลง่ เรยี นรู้ในชมุ ชนและสง่ เสริมผอู้ บรมมี ความสัมพนั ธ์ระหว่างคนในชุมชนกบั ภูมิปัญญาทอ้ งถ่นิ และสามารถนำไปประกอบอาชีพ และมรี ายไดเ้ สริมใหก้ บั ตนเอง เครอ่ื งมือทีใ่ ชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมูล เครอ่ื งมอื ที่ใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลในคร้งั นี้ คือ แบบประเมินความพงึ พอใจ การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ไดม้ อบหมายให้ ครู กศน.ตำบล ที่รับผดิ ชอบกจิ กรรมแจกแบบสอบถามความพึงพอใจ ให้กับผรู้ ว่ มกิจกรรม โดยให้ผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรมประเมนิ ผลการจดั กจิ กรรมตา่ งๆ ตามโครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ การทำ เกษตรแบบผสมผสานส่กู ารแปรรูปผลิตภัณฑ์ สรปุ ผลการดำเนนิ งาน กศน.ตำบล ไดด้ ำเนินการจดั กิจกรรมตาม โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการ การทำเกษตรแบบผสมผสานสกู่ ารแปรรปู ผลิตภัณฑ์ โดยดำเนินการเสร็จส้ินลงแล้วและสรปุ รายงานผลการดำเนนิ งานได้ดงั น้ี 1. ผู้รว่ มกิจกรรมจำนวน 15 คน ผูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรมมีการขยายผลการเรยี นรจู้ ากแหลง่ เรียนรใู้ นชมุ ชนและสง่ เสรมิ ผู้ อบรมมีความสัมพันธ์ระหว่างคนในชมุ ชนกับภมู ปิ ัญญาท้องถิน่ และสามารถนำไปประกอบอาชีพ และมรี ายได้เสริมให้กับ ตนเอง 2. ผ้รู ่วมกจิ กรรมรอ้ ยละ 93.20 นำความรู้ที่ได้รบั มาปรับใชใ้ นชีวิตประจำวัน 3. จากการดำเนินกิจกรรมตามโครงการดังกล่าว สรปุ โดยภาพรวมพบวา่ ผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมส่วนใหญม่ ีความพึงพอใจ ตอ่ โครงการ อยใู่ นระดบั “ดีมาก ” และบรรลุความสำเรจ็ ตามเปา้ หมายตัวชี้วัดผลลัพธ์ทีต่ ้ังไว้ โดยมีคา่ เฉลีย่ รอ้ ยละภาพรวม ของกิจกรรม 90.56 และค่าการบรรลเุ ป้าหมายคา่ เฉล่ีย 4.53 ข้อเสนอแนะ - อยากให้มีการจดั กจิ กรรมอีก จะไดน้ ำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชวี ิตตอ่ ไป

บรรณานกุ รม ทม่ี า กรมการศึกษานอกโรงเรียน (2546) บญุ ชม ศรสี ะอาด และ บญุ ส่ง นิลแก้ว (2535 หนา้ 22-25) กระทรวงศึกษาธิการ . (2543). http://singkle.blogspot.com/p/blog-page_6535.html https://www.ajourneyinspiredbytheking.org/th/knowledge/case-study-detail.php?id=17

แบบสอบถามความพึงพอใจ โครงการอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ าร การทำเกษตรแบบผสมผสานสู่การแปรรปู ผลิตภณั ฑ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กศน.อำเภอพนัสนิคม จังหวดั ชลบุรี คำชี้แจง 1. แบบสอบถามฉบับนมี้ วี ตั ถปุ ระสงค์ เพื่อใช้ในการสอบถามความพงึ พอใจตอ่ โครงการอบรมเชิงปฏบิ ัติการ การทำเกษตรแบบ ผสมผสานส่กู ารแปรรปู ผลติ ภัณฑ์ 2. แบบสอบถามมี 3 ตอนดงั นี้ ตอนท่ี 1 ถามข้อมูลเกยี่ วกับผตู้ อบแบบสอบถามจำนวน 4 ขอ้ ให้ทำเครื่องหมาย ✓ ลงในชอ่ งให้ตรงกบั สภาพจรงิ ตอนที่ 2 ความพึงพอใจต่อโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร โคก หนอง นา โมเดล เพ่ือเศรษฐกิจพอเพียงทยี่ ั่งยนื จำนวน 13 ขอ้ ซึ่งมรี ะดบั ความพึงพอใจ 5 ระดบั ดงั นี้ 5 มากทีส่ ุด หมายถงึ มีความพงึ พอใจมากทส่ี ดุ 4 มาก หมายถึง มีความพึงพอใจมาก 3 ปานกลางหมายถงึ มีความพึงพอใจปานกลาง 2 น้อย หมายถงึ มคี วามพึงพอใจนอ้ ย 1 น้อยทสี่ ดุ หมายถึง มีความพึงพอใจนอ้ ยที่สดุ ตอนท่ี 3 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อโครงการปราชญช์ าวบ้านกับวิถีเศรษฐกิจพอเพยี ง ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผตู้ อบแบบสอบถาม หญิง 40 ปี – 49 ปี เพศ 30 ปี – 39 ปี ชาย 60 ปีขึ้นไป อายุ 15 ปี – 29 ปี 50 ปี – 59 ปี การศึกษา ต่ำกว่า ป.4 ป.4 ประถม ม.ต้น ม.ปลาย ประกอบอาชีพ อนปุ ริญญา ปรญิ ญาตรี สงู กวา่ ปรญิ ญาตรี รบั จ้าง ค้าขาย เกษตรกร ลูกจ้าง/ขา้ ราชการหน่วยงานภาครฐั หรือเอกชน อน่ื ๆ ………………………………….

ตอนที่ 2 ความพึงพอใจเกี่ยวกบั โครงการอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ าร การทำเกษตรแบบผสมผสานส่กู ารแปรรปู ผลิตภัณฑ์ ขอ้ ท่ี รายการ ระดบั ความคิดเห็น 5 432 1 ด้านบรหิ ารจดั การ 1. อาคารและสถานที่ 2. สงิ่ อำนวยความสะดวก 3. กำหนดการและระยะเวลาในการดำเนนิ โครงการ 4. เอกสารการอบรม 5. วิทยากรผูใ้ หก้ ารอบรม ดา้ นการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 6. การจัดกิจกรรมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การทำเกษตร แบบผสมผสานสูก่ ารแปรรูปผลิตภัณฑ์ 7. การใหค้ วามรู้เร่ืองปฏบิ ัตกิ ารเรยี นรูม้ งุ่ สู่ความพอเพยี ง 8. การตอบข้อซกั ถามของวิทยากร 9. การแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ของผู้เข้ารับการอบรม 10. การสรุปองค์ความรรู้ ว่ มกัน 11. การวัดผล ประเมินผล การฝึกอบรม ด้านประโยชน์ทไ่ี ด้รับ 12 ได้เรียนรู้และฝึกตนเอง เก่ยี วกับปฏิบตั กิ ารเรียนรู้มุ่งสู่ความ พอเพยี ง 13 นำความรทู้ ่ีได้รบั มาปรบั ใช้ในชวี ติ ประจำวนั ตอนท่ี 3 ข้อคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะ ข้อคดิ เหน็ .............................................................................................................................................................................. ขอ้ เสนอแนะ ........................................................................................................................................................................ ขอบขอบคณุ ทใี่ ห้ความรว่ มมอื กศน. อำเภอพนัสนคิ ม จังหวัดชลบรุ ี

คณะผู้จดั ทำ ท่ีปรึกษา หมน่ื สา ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอพนัสนิคม การงานดี ครู 1. นางณชั ธกัญ ศรเี ทพ บรรณารักษป์ ฏบิ ตั ิการ 2. นางสาวมุทกิ า ทำทอง ครูผู้ชว่ ย 3. นางปลมื้ จิตร ศรบี ณุ ยะแก้ว ครผู ู้ช่วย 4. นางพริ ุฬห์พร คลังสินธ์ ครู อาสาสมคั ร กศน. 5. นางสาวณภษร อดุ านนท์ ครู อาสาสมัคร กศน. 6. นางสาวเฟ่ืองฟ้า 7.นายวชั รนิ ทร์ ประทุมทอง ครู กศน.ตำบลหน้าพระธาตุ เคนรำ ครู กศน.ตำบลหวั ถนน คณะทำงาน 1.นางสาวพจนีย์ 2.นางสาวทวีพร บรรณาธิการ ประทุมทอง ครู กศน.ตำบลหน้าพระธาตุ เคนรำ ครู กศน.ตำบลหวั ถนน 1.นางสาวพจนีย์ 2.นางสาวทวีพร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook