Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Complication in Operative dentistry

Complication in Operative dentistry

Published by kamoltip.eun, 2018-07-05 03:02:09

Description: ภาวะแทรกซ้อนทางทันตกรรมหัตถการ

Search

Read the Text Version

ภาวะแทรกซ้อนและไม่พงึ ประสงค์ ทางทนั ตกรรมบูรณะ อ.นันทะนิจ ด่อนแผ้ว

ชนิดของภาวะแทรกซ้อน• เกิดขนึ ้ ระหวา่ งการรักษา• ภายหลงั การรักษาทางทนั ตกรรมบรู ณะ

ภาวะแทรกซ้อนท่เี กดิ ขนึ้ ระหว่างการรักษา• กรอโดนเนือ้ เยื่ออ่อน• กรอโดนฟันข้างเคยี ง• กรอฟันทะลโุ พรงประสาท

กรอโดนเนือ้ เย่อื อ่อนสาเหตุ• ขาดความระมดั ระวงั• ตาแหนง่ เข้าทางานได้ยาก เชน่ ด้าน buccal ของฟันกรามบน ลา่ ง ซี่ สดุ ท้าย บริเวณ lingual ของฟันกรามลา่ ง เป็นต้น• ฟันผดุ ้านประชิดผลุ กึ โดนเหงือก ทาให้เป็ นแผล รบกวนการมองเห็น และทางานทนั ตกรรมบรู ณะได้ไมด่ ี• ผ้ปู ่ วยไมใ่ ห้ความร่วมมอื ในการรักษา

กรอโดนเนือ้ เย่อื อ่อนการรักษา• ควรล้างทาความสะอาดบาดแผลด้วยนา้ เกลือ• กรณีเลอื ดออกมาก ให้ใช้ผ้าชบุ นา้ เกลอื กดแผลห้ามเลือดกดไว้สกั ครู่ แล้วประเมินวา่ – แผลไมล่ กึ และกว้าง ไมต่ ้องเยบ็ แผล – แผลลกึ และแคบ ให้เยบ็ แผล เพ่ือห้ามเลือดและให้แผลหายเร็วขนึ ้ – แผลไม่ลกึ ไมก่ ว้าง หรือแผลบริเวณเหงือกด้านประชิด ปลอ่ ยให้แผลหายเอง ได้เองใน 1 สปั ดาห์

กรอโดนเนือ้ เย่อื อ่อนการป้ องกัน• การกรอฟันด้วยความระมดั ระวงั กรณีด้ามกรอฟันเร็วให้หวั กรอหยดุ หมนุ ก่อนจงึ เอาด้ามกรอฟันออกจากปากผ้ปู ่ วย• บริเวณท่ีเข้าทายาก ควรระมดั ระวงั และใช้กระจกกนั เนือ้ เย่ือออ่ นเวลากรอ ฟัน• กรณีอดุ ฟันด้านประชิดที่อยใู่ ต้เหงือก อาจใสเ่ มทริกซ์เพ่ือกนั เนือ้ เย่ือออ่ น ออกไป กรณีท่ีมีเลือดออกมาอาจใช้ wedge ใสก่ ดด้านประชิดเพอื่ ห้ามเลือด และสามารถทางานตอ่ ไป• ผ้ปู ่ วยเดก็ ท่ีไม่ให้ความร่วมมือควรจดั การให้มีความร่วมมือและหากมีความ จาเป็ นต้องรักษาอาจต้องใช้ผ้าหอ่ ตวั ร่วมกบั ผ้ชู ว่ ยทนั ตกรรมในการจบั ผ้ปู ่ วย อยนู่ ่ิง



กรอโดนฟันข้างเคยี งสาเหตุ• ขาดความระมดั ระวงั• มีทกั ษะการในการกรอและการใช้กระจกชว่ ยมองที่ไมด่ ี• ไมม่ ีทกั ษะการพกั มือท่ีดี• บริเวณที่เข้าทายาก เชน่ ฟันบน หรือด้านประชิดฟันหลงั หรือในผ้ปู ่ วย เด็กที่ไมใ่ ห้ความร่วมมอื• ผ้ปู ่ วยท่ีอ้าปากได้น้อย ทาให้การเข้าทางานและการมองเห็นไมด่ ี

กรอโดนฟันข้างเคยี งการรักษา• กรอโดนเฉพาะสว่ นเคลอื บฟัน อาจทาการกรอลบมมุ ให้ได้รูปร่างฟันที่ดี และขดั ฟันให้เรียบ• กรอลกึ ถงึ ชนั้ เนือ้ ฟัน หรือผิดรูปไปมากต้องทาการบรู ณะให้ได้ดงั เดมิ• อธิบายให้ผ้ปู ่ วยหรือผ้ปู กครองเข้าใจถงึ ความจาเป็ นท่ีต้องรักษาเพ่ิม

กรอโดนฟันข้างเคยี งการป้ องกัน• กรณีอดุ ด้านประชิดฟัน ทกั ษะไมด่ ี บริเวณท่ีเข้าถึงยาก อาจใส่ wedge หรือ matrix ร่วมกบั wedge• กรอฟันด้วยความระมดั ระวงั• ผ้ปู ่ วยเดก็ ท่ีไมใ่ ห้ความร่วมมือควรจดั การให้ผ้ปู ่ วยร่วมมือ และหากมี ความจาเป็ นต้องรักษาอาจใช้ผ้าหอ่ ตวั ร่วมกบั ผ้ชู ว่ ยทนั ตกรรมในการจบั ผ้ปู ่ วยให้อยนู่ ่ิง

กรอฟันทะลุโพรงประสาทสาเหตุ• ขาดความระมดั ระวงั• ทกั ษะการกรอและใช้กระจกสอ่ งปากไม่ดี• ขาดทกั ษะการกาจดั รอยผรุ ่วมกบั รอยผลุ กึ อยแู่ ล้ว• ขาดความรู้ด้านทนั ตกายวิภาคศาสตร์• ผ้ปู ่ วยเดก็ ไมใ่ ห้ความร่วมมือ

กรอฟันทะลุโพรงประสาทการรักษา• กรณีฟันนา้ นม ให้กนั นา้ ลาย แล้วใช้สาลีก้อนเลก็ ๆชบุ นา้ เกลอื บริเวณท่ี ทะลโุ พรงประสาทประมาณ 10-15 นาที เพ่ือห้ามเลอื ด จากนนั้ ใส่ แคลเซยี มไฮดรอกไซด์ และ IRM ตามลาดบั ตรวจการสบฟัน แล้วสง่ ตอ่ ให้ทนั ตแพทย์ทาการรักษารากฟัน

กรอฟั นทะลุโพรงประสาท• กรณีฟันแท้ กนั นา้ ลายและห้ามเลือดด้วยสาลชี บุ นา้ เกลือ – รูทะลเุ ทา่ ปลายหวั เข็มหมดุ และสามารถหยดุ เลือดได้ ให้ทา direct pulp capping โดยใสแ่ คลเซียมไฮดรอกไซด์เป็นชนั้ บางๆ หนาไมเ่ กิน 0.5 มิลลเิ มตร บริเวณทที่ ะลโุ พรงประสาท ปิ ดด้วย GI และบรู ณะด้วยอะมลั กมั หรือคอมโพสติ และอธิบายข้อมลู การรักษากบั ผ้ปู ่ วย แล้วนดั มาดอู าการ – รูทะลใุ หญ่ ไมส่ ามารถห้ามเลือดได้ แสดงถงึ ฟันมีการอกั เสบ ให้ใส่ แคลเซียมไฮดรอกไซด์และ IRM ตามลาดบั และสง่ ให้ทนั ตแพทย์รักษาราก ตอ่ ไป

กรอฟันทะลุโพรงประสาทการป้ องกัน• ควรกรอฟันด้วยความระมดั ระวงั• ทบทวนความรู้ ทกั ษะการกาจดั รอยผแุ ละทนั ตกายวภิ าคของฟันแตล่ ะซ่ี• กรณีผ้ปู ่ วยเดก็ ไมใ่ ห้ความร่วมมอื ควรจดั การให้ผ้ปู ่ วยร่วมมือ และหากมี ความจาเป็ นต้องรักษาอาจใช้ผ้าหอ่ ตวั ร่วมกบั ผ้ชู ่วยทนั ตกรรมในการจบั ผ้ปู ่ วยให้อยนู่ ่ิง

ภาวะแทรกซ้ อนท่ีเกิดขนึ ้ ภายหลังการรักษาทางทนั ตกรรมบูรณะ• Dislodged restoration• การแตกหกั ของวสั ดบุ รู ณะหรือสว่ นของเนือ้ ฟันท่ีเหลืออยู่• Marginal Failure• Secondary caries• Periodontal related – Overhang Restoration – Overcontour/Undercontour – Traumatic Occlusion – Surface Roughness

ภาวะแทรกซ้อนท่เี กดิ ขนึ้ ภายหลังการรักษาทางทนั ตกรรมบูรณะ• Post-Operative Hypersensitivity – Operative Trauma – Marginal leakage – Traumatic occlusion – Root dentin exposed• เศษอาหารตดิ• ความสวยงาม• การสกึ กร่อนของวสั ดเุ กา่

Dislodged restorationสาเหตุ• ผ้ปู ่ วยมีนิสยั การสบฟันผดิ ปกติ สบฟันแรงมากกวา่ ปกติ• เลือกวสั ดไุ มเ่ หมาะสม วสั ดมุ ีความแข็งแรงไมเ่ พียงพอ• โพรงฟันใหญ่และกว้างเกินไป จนไมใ่ ช่ข้อบง่ ชีใ้ นการอดุ ฟัน• กรอแตง่ โพรงฟันมี resistance form และ retention form ไม่เพยี งพอ เช่น กรอฟันตนื ้ เกินไป ไม่เพียงพอตอ่ ความแขง็ แรงของวสั ดชุ นดิ นนั้ ๆ• เทคนิคการอดุ ไมด่ ี การใช้ bonding ไมถ่ กู วิธี มีปนเปื อ้ นนา้ ลายขณะอดุ• เกิดข้อผดิ พลาดที่อตั ราสว่ นผสมของวสั ดุ ทาให้วสั ดอุ ดุ สญู เสยี คณุ สมบตั ิ เชิงกลไปทงั้ ในเร่ืองความแขง็ แรงและการยดึ ติดกบั ผนงั ของโพรงฟัน

Dislodged restorationอาการ• มีเศษอาหารตดิ หรืออาจมีอาการเสยี วฟันขณะบดเคยี ้ ว

Dislodged restorationการแก้ไข• กรอเตรียมโพรงฟันใหมใ่ ห้มีรูปร่างทเ่ี หมาะสมสาหรับกบั วสั ดอุ ดุ• ทาการบรู ณะวสั ดทุ ่ีเหมาะสมและเทคนิคที่ถกู ต้อง• ในกรณีท่ีมีการผตุ อ่ ตามขอบหรือผนงั โพรงฟันโดยรอบหรือใต้ตอ่ วสั ดอุ ดุ เก่า จะต้องกาจดั เนือ้ ฟันที่ผอุ อกจนหมดก่อน แล้วจงึ ออกแบบโพรงฟัน ใหมใ่ ห้เหมาะสม และทาการอดุ ใหมต่ อ่ ไป

Dislodged restorationการป้ องกัน• เลอื กรายผ้ปู ่ วย และชนิดวสั ดใุ ห้ถกู ต้อง กรณีในรายท่ีซบั ซ้อนควรสง่ ตอ่ ทนั ตแพทย์เพื่อใช้วิธีการท่ีเหมาะสมตอ่ ไป

การแตกหกั ของวัสดุบูรณะหรือส่วนของเนือ้ ฟันท่ี เหลืออยู่สาเหตุ• การแตกหกั ของเนือ้ ฟันที่ยงั หลงเหลอื อยู่ – โพรงฟันมีขนาดใหญ่ – มีการกรอเตรียมโพรงฟันท่ีไมถ่ กู ต้อง เชน่ การกรอเตรียมโพรงฟันสาหรับวสั ดุ อดุ อะมลั กมั เมื่อกรอให้ Surrounding Wall มีลกั ษณะ Converge Occlusally มากเกินไป – มีการกรอแตง่ บริเวณขอบของโพรงฟันโดยรอบเป็นมมุ แหลม จะทาให้เนือ้ ฟัน ที่เหลืออยโู่ ดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ บริเวณยอดฟันออ่ นแอ และจะแตกหกั ได้งา่ ยเม่ือ ใช้บดเคีย้ ว

Angle departure 90 องศา (reverse curve)

การแตกหกั ของวัสดุบูรณะหรือส่วนของเนือ้ ฟันท่ี เหลืออยู่• การแตกหกั ของวสั ดอุ ดุ – การเลอื กใช้วสั ดอุ ดุ ไมเ่ หมาะสมกบั บริเวณทเ่ี กิดรอยโรค คณุ สมบตั ขิ องวสั ดุ อดุ บางชนิดพบวา่ ไมเ่ หมาะที่จะนามาใช้ในการบรู ณะด้านบดเคีย้ วของฟัน หลงั เนื่องจากมีคา่ Compressive Strength ไมเ่ พียงพอ เชน่ Conventional Glass Ionomer Cement เป็นต้น เม่ือพจิ ารณานามาใช้เป็น Permanent Restoration – การกรอเตรียมโพรงฟันไมเ่ หมาะสม เช่น ตืน้ เกินไปทาให้มีความหนาของวสั ดุ อดุ ไมพ่ อเพียง – การเกิด secondary caries ขนาดใหญ่ใต้ตอ่ วสั ดอุ ดุ – มีการใช้เบสไมเ่ หมาะสมใต้วสั ดอุ ดุ

การแตกหกั ของวัสดุบรู ณะหรือส่วนของเนือ้ ฟันท่ี เหลืออยู่การแก้ไข• กรณีที่มีการแตกหกั ของเนือ้ ฟัน คอื จะต้องรือ้ วสั ดอุ ดุ เก่าออกให้หมดและ ออกแบบกรอเตรียมโพรงฟันใหม่ ให้มีการต้านทานตอ่ การหลดุ และการ ต้านทานตอ่ การแตกหกั ของวสั ดอุ ดุ และของเนือ้ ฟันท่ีเหลอื อยอู่ ยา่ งเหมาะสม หรือเปลย่ี นแปลงวิธีการรักษา เชน่ พจิ ารณาทาครอบฟันแทนการอดุ ด้วย วสั ดอุ ดุ ในกรณีท่ีวสั ดอุ ดุ มีขนาดใหญ่ และไมส่ ามารถเสริมความแขง็ แรง ให้แก่เนือ้ ฟันท่ีเหลอื อยไู่ ด้เป็ นต้น• กรณีท่ีมีการแตกหกั ของวสั ดอุ ดุ ให้รือ้ วสั ดอุ ดุ เก่านนั้ ออกแล้วพิจารณากรอ แก้ไขตามสาเหตทุ ี่ทาให้เกิดการแตกหกั นนั้ เช่น การเพ่ิมความหนาของวสั ดุ อดุ ให้เหมาะสม หรือกรอกาจดั เนือ้ ฟันสว่ นท่ีผเุ พิ่มพร้อมทงั้ กรอแตง่ โพรงฟัน ใหม่ให้เหมาะสมแล้วจงึ อดุ ใหม่

Marginal Failure• แบง่ ออกได้เป็ นสองแบบ คือ – marginal leakage คือ การท่ีไมส่ ามารถอดุ วสั ดใุ ห้แนบสนิทกบั ผนงั และขอบของโพรงฟันได้ จงึ ทาให้เกิดลกั ษณะการรั่วซมึ ตามขอบ

Marginal leakageสาเหตุ• เทคนคิ การอดุ ไม่ดี ทาให้มีช่องวา่ งบริเวณขอบ• เทคนิคการ bonding ในการอดุ คอมโพสติ ไมด่ ี การมกี ารปนเปื อ้ นของ ความชืน้ เลือด นา้ ลาย

Marginal fracture• marginal fracture คอื การที่วสั ดอุ ดุ บริเวณขอบแตกสาเหตุ• การสนิ ้ สดุ ขอบเขตของโพรงฟันบริเวณจดุ กดั สบ ร่วมกบั การกรอเตรียม โพรงฟันที่มี cavosurface margin ไมเ่ ทา่ กบั 90 องศาในกรณีของวสั ดุ อดุ อะมลั กมั

Marginal fracturecavosurface margin เทา่ กบั 90 องศา

Marginal Failureอาการ• มีอาการเสียวฟันเวลาทานอาหารหวาน ร่วมกบั เสยี วฟันเวลาด่ืมนา้ ร้อน นา้ เย็น หรือเสียวฟันทนั ทีเม่ือใช้ลมเป่ าบริเวณขอบของวสั ดทุ ี่เกิด ชอ่ งวา่ ง

Marginal Failureการแก้ไข• กรณี marginal leakage – ให้รือ้ วสั ดอุ ดุ เกา่ ออกแล้วทาการอดุ ใหมใ่ ห้แนบสนิทกบั ผนงั และขอบของโพรง ฟันทกุ สว่ น โดยจะต้องทาอยา่ งระมดั ระวงั ทกุ ขนั้ ตอน – การป้ องกนั การปนเปื อ้ นจากความชืน้ และนา้ ลาย

Marginal Failure• กรณี Marginal Fracture – ให้รือ้ วสั ดอุ ดุ เกา่ ออกแล้วทาการอดุ ใหม่ โดยมีการกรอแตง่ โพรงฟันโดยเฉพาะ อยา่ งย่ิงบริเวณขอบใหม่ ให้มี Cavosurface Margin เทา่ กบั 90 องศาสาหรับ การอดุ ด้วยวสั ดอุ ดุ อะมลั กมั และจะต้องไมส่ นิ ้ สดุ ขอบเขตของโพรงฟันไว้ บริเวณจดุ กดั สบสาหรับวสั ดบุ รู ณะทกุ ชนิด – วสั ดอุ ดุ ที่มีขนาดใหญ่ แตม่ ี Marginal Fracture เกิดขนึ ้ เลก็ น้อยเพียงบาง ตาแหนง่ อาจใช้วิธีกรอแตง่ เฉพาะสว่ นที่มีปัญหาแล้วคอ่ ยอดุ เพ่มิ เตมิ เฉพาะ สว่ นนนั้ เรียกว่าเป็นการ Repair แตต่ ้องให้วสั ดอุ ดุ สว่ นที่ Repair แนบสนิทกบั เนือ้ วสั ดอุ ดุ เดมิ ให้มากท่ีสดุ และจะต้องแก้ไขความผิดพลาดเดมิ ด้วย เช่น เรื่อง Cavosurface Margin หรือ Location of Margin

Secondary Caries• คือ พบการผตุ อ่ ใต้หรือบริเวณขอบของวสั ดอุ ดุ• ตรวจในชอ่ งปาก พบร่องระหวา่ งวสั ดอุ ดุ กบั ขอบของโพรงฟัน สามารถใช้ Explorer เข่ียรู้สกึ สะดดุ• ในบางครัง้ กรณีของ Secondary Caries ท่ี Gingival Margin หรือ Secondary Caries ที่เกิดใต้ตอ่ วสั ดอุ ดุ เดมิ อาจตรวจพบได้จากภาพถา่ ยรังสี หรืออาจพิจารณา จากสที ี่เปล่ยี นแปลงไปของฟันรอบๆวสั ดอุ ดุ เก่าก็ได้

Secondary Cariesสาเหตุ• การผตุ อ่ ใต้วสั ดอุ ดุ – มกั เกิดจากกาจดั ออกไมห่ มดในการกรอเตรียมโพรงฟันเพ่ือทาการบรู ณะใน ครัง้ แรก• การผตุ อ่ บริเวณขอบของวสั ดอุ ดุ – อาจเกิดได้จากกรอแตง่ โพรงฟันได้ไมเ่ รียบโดยเฉพาะอยา่ งยิ่งบริเวณ cavosurface margin – อดุ วสั ดไุ ด้ไมแ่ นบสนิทกบั ขอบหรือผนงั ของโพรงฟัน – มีการแตกท่ีขอบของวสั ดอุ ดุ และเกิดเป็นชอ่ งวา่ งระหวา่ งวสั ดอุ ดุ กบั ผนงั ของ โพรงฟัน ทาให้เศษอาหารตดิ บ่อยนาไปสกู่ ารผตุ อ่ ซา้



Secondary Cariesอาการ• มีอาการเสยี วหรืออาจปวดเป็ นบางครัง้ หลงั อดุ ไปแล้วเป็นเวลานาน พอสมควร ซง่ึ อาการจะมากหรือน้อยก็ขนึ ้ อยกู่ บั การลกุ ลามของรอยโรคการแก้ไข• กรณีเกิดการผตุ อ่ ต้องรือ้ วสั ดอุ ดุ เก่าออก กาจดั เนือ้ ฟันสว่ นที่ผเุ พ่ิมเตมิ กรอแตง่ โพรงฟันใหมใ่ ห้เหมาะสมแล้วอดุ ให้ใหม่ แตถ่ ้าการผตุ อ่ ใต้วสั ดุ อดุ เก่าลกุ ลามจนกระทงั่ ถงึ ทะลโุ พรงประสาทฟัน ก็ต้องรักษารากฟัน และพิจารณาเลือกวธิ ีการบรู ณะท่ีเหมาะสม

Periodontal related• Overhang Restoration• Overcontour/Undercontour• Traumatic Occlusion• Surface Roughness

Overhang Restoration• หมายถึง การอดุ เกินบริเวณ Gingival marginสาเหตุ• ใช้ Matrix & Wedge ได้ไมถ่ กู ต้อง

Overhang Restorationอาการ• มีการอกั เสบของเหงือกรอบๆ จนกระทง่ั อาจเกิดการละลายของ Alveolar Bone ได้

Overhang Restorationการแก้ไข• ใช้เครื่องมือกาจดั สว่ นเกินออก จะต้องระวงั ไม่ทาอนั ตรายแก่เหงือกหรือเนือ้ ฟันสว่ นอ่ืนๆ ถ้าพบวา่ Overhang Restoration ท่ีเกิดขนึ ้ มีขนาดใหญ่เกินไป หรืออยลู่ กึ ลงใต้เหงือกมากเกินไป จนไมส่ ามารถนาเคร่ืองมือเข้ากาจดั วสั ดุ อดุ สว่ นเกินได้ อาจต้องรือ้ และอดุ ใหม่ไม่ให้มี Overhang เกิดขนึ ้ โดยใช้ Matrix & Wedge อยา่ งถกู ต้อง• รือ้ อดุ ใหม่เฉพาะบางสว่ น ถ้าไม่สามารถรือ้ วสั ดอุ ดุ เก่าออกเพอื่ อดุ ให้ใหม่ได้ เนื่องจากเป็ น Complex Restoration ขนาดใหญ่ท่ีอดุ ยากมาก และอาจใช้ ศลั ยกรรมปริทนั ต์ช่วยร่วม• ลองกรอแตง่ แล้ว พบวา่ วสั ดอุ ดุ ยงั มีข้อบกพร่องอ่ืนๆอีก เช่น Marginal Leakage ที่ Gingival Margin ร่วมด้วย ก็ให้ทาการรือ้ ออกแล้วอดุ ใหม่

Overcontour/Undercontour• หมายถึง การอดุ วสั ดมุ ีลกั ษณะป่ องนนู หรือแบนราบเกินไปLoose Contact เกิดปัญหาเศษอาหารติด และเกิดโรคปริทนั ต์ตามมาได้การแก้ไข• Overcontour ให้ Recontour• Undercontour ก็จะต้องรือ้ และอดุ ใหม่



Traumatic Occlusionสาเหตุ• เกิดจากการอดุ ฟันและตรวจสอบการสบฟันไมด่ ที าให้มีการกระแทกท่ี ฟันท่ีได้รับการบรู ณะอาการ• มีอาการเสยี วฟันหรือปวดฟันเฉพาะเวลาเคยี ้ วอาหาร เมื่อตรวจการสบ ฟันจะพบจดุ สงู กรณีปลอ่ ยทิง้ ไว้นานๆไม่ได้รับการรักษาอาจตามมา ด้วยฟันไวตอ่ การกระต้นุ จนถงึ ปวดฟันได้เองโดยไมต่ ้องเคยี ้ ว

Traumatic Occlusionการแก้ไข• ตรวจสอบการสบฟันและกรอปรับการสบฟันให้พอดี โดยใช้กระดาษเช็ค สงู ตรวจทงั้ การกดั ตรงๆ การเคยี ้ ว และการเยือ้ งคางย่ืนคาง และบริเวณ ท่ีตรวจสอบการสบฟันควรแห้งจะทาให้กระดาษเช็คสงู ตรวจสอบเหน็ ได้ ชดั เจนและถกู ต้อง• แนะนาให้ผ้ปู ่ วยพกั การเคยี ้ วด้านดงั กลา่ ว และนดั มาตรวจอาการอีก ครัง้ ประมาณ 1 สปั ดาห์ กรณีไมห่ าย แนะนาสง่ ตอ่ ทนั ตแพทย์เพอ่ื ทา การที่รักษาท่ีเหมาะสมตอ่ ไป

Surface Roughness• ความไมเ่ รียบของผวิ ของวสั ดอุ ดุ จะมีผลเสียคือ เกิดการระคายเคอื งตอ่ เหงือก และเกิดการสะสมคราบฟันและเศษอาหารได้ง่าย ทาให้มีการ อกั เสบและมกั เกิดการผตุ อ่ บริเวณขอบตามมาได้การแก้ไข• ขดั แตง่ วสั ดอุ ดุ ให้ได้ผวิ ที่เรียบมนั แตถ่ ้าเป็ นวสั ดอุ ดุ เก่าท่ีไม่สามารถขดั แตง่ ให้เรียบได้ก็จะต้องรือ้ อดุ ใหม่

Post-Operative Hypersensitivity• Operative Trauma• การร่ัวซมึ ที่ขอบของวสั ดอุ ดุ• การเลอื กใช้วสั ดอุ ดุ ท่ีไมเ่ หมาะสม• การอดุ ด้วยวสั ดแุ ล้วไมไ่ ด้ทาการตรวจสอบการกดั สบ• การบรู ณะฟันขนาดใหญ่• Root dentin exposed

Operative Traumaสาเหตุ• กรอฟัน โดยมีนา้ หลอ่ ไม่เพียงพอ การสน่ั สะเทือน หรือการใช้ลมเป่ า จะ ทาให้เกิดการเคลื่อนไหวของ Dentinal Fluidอาการ• เสยี วฟัน ถ้าไมร่ ุนแรงก็จะมอี าการเสยี วเป็ นระยะเวลาสนั้ ๆแล้วจะคอ่ ยๆ ดีขนึ ้ และหายไปในที่สดุ สว่ นมากจะใช้เวลาประมาณ 3-4 สปั ดาห์ เน่ืองจากวา่ ร่างกายจะมีการสร้าง Sclerotic Dentin และ Reparative Dentin ขนึ ้ มาเพือ่ ลด Permeability ของ Dentin

Operative Traumaการแก้ไข• อธิบายให้ผ้ปู ่ วยเข้าใจ และรอดอู าการ ถ้าอาการไมด่ ขี นึ ้ ยงั ไมค่ วรรีบ กรอรือ้ วสั ดอุ ดุ ออก เนื่องจากโพรงฟันในมกั จะคอ่ นข้างลกึ อยแู่ ล้ว การ กรอรือ้ วสั ดอุ ดุ ออกจะเป็ นการไปเพ่ิม Trauma ซา้ ซงึ่ ไมเ่ ป็นผลดตี อ่ ขบวนการหาย• ถ้าผ้ปู ่ วยไมส่ ามารถทนตอ่ อาการเสียวฟันที่เกิดขนึ ้ ได้ ก็อาจทาการกรอ วสั ดอุ ดุ ออกแล้วอดุ ชวั่ คราว ด้วยวสั ดใุ นกลมุ่ Zinc Oxide Eugenol (IRM) จนกระทงั่ อาการดีขนึ ้ จงึ ทาการอดุ วสั ดอุ ดุ ถาวร• ถ้าอาการมากขนึ ้ จนปวดเอง สง่ ตอ่ ทนั ตแพทย์เพ่อื ทาการรักษารากฟัน

Operative Traumaการป้ องกัน• ต้องกรอฟันด้วยความระมดั ระวงั ทกุ ครัง้ จะต้องมกี ารระบายความร้อน อยา่ งพอเพยี งขณะกรอตดั เนือ้ ฟัน ไมค่ วรมีกลน่ิ ไหม้ เพ่ือป้ องกนั ไมใ่ ห้ เกิดอนั ตรายแก่เนือ้ เย่ือโพรงประสาทฟัน โดยจะต้องตรวจดู Water Spray ของหวั กรอทกุ ครัง้ กอ่ นการทางานและขณะทางาน จะต้องมี Water Coolant ฉีดลงไปในตาแหนง่ ที่เป็ นจดุ สมั ผสั ระหวา่ งเขม็ กรอฟัน กบั เนือ้ ฟันเสมอ หากไมเ่ พียงพอให้ผ้ชู ว่ ยทนั ตกรรมใช้ triple syringe ฉีดนา้ หลอ่ เยน็ เพม่ิ

Operative Trauma

Operative Traumaการป้ องกัน• การทาความสะอาดโพรงฟันภายหลงั การใช้นา้ ล้างในกรณีท่ีโพรงฟันลกึ ควรใช้สาลีซบั ให้แห้งและใช้ลมเป่ าเพียงเบาๆจะดกี วา่ การใช้ลมเป่ า อยา่ งแรงและตอ่ เนื่อง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook