Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคม public

พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคม public

Published by creamwithcake, 2021-07-14 11:44:55

Description: พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคม public
วิทยากร นางสาวขวัญฤทัย ฤทธิ์เรืองเดช
เจ้าพนักงานป้องกันการทุจริตชำนวญการ

Search

Read the Text Version

พลเมืองกบั ความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม

รอ้ งเพลง ▰ เพลงทาดีไดด้ ี ▰ เพลงหนา้ ที่เด็ก 2

เมื่อพดู ถึงคนดีจะนึกถึงอะไรบา้ ง 3

เมอ่ื พดู ถงึ คนดจี ะนกึ ถึงอะไรบา้ ง ? ซ่ือสตั ย์ 21 มีวนิ ยั เข้าแถว 7 ให้เกยี รติผอู้ ื่น 4 เคารพกฎจราจร 6 รบั ผดิ ชอบ 8 สามคั คี 14 ขยนั อดทน 9 พอเพียง 7 รู้จักสิทธแิ ละหน้าท่ี 16 มนี า้ ใจเอือ้ เฟ้อื 5 รักษาความสะอาด 3 แบบสอบถามจากคน 100 คน เรอ่ื งคนดที ช่ี าตติ อ้ งการ 4

1 พลเมืองกบั ความ รบั ผิดชอบต่อสงั คม 5

6

ประชาชน VS พลเมอื ง ▰ ประชาชน คำว่ำ ประชำชน ประกอบดว้ ย ประชา หมำยถึง หมู่คน ชน หมำยถงึ คน ประชาชน หมำยถงึ คนทเ่ี กิดและอำศยั อยู่ในประเทศใดประเทศหนงึ่ ถอื วำ่ เปน็ เจำ้ ของหรอื สมำชกิ ของประเทศ คำว่ำประชำชน มักใช้ในควำมหมำยพหพู จน์ คือ หมำยถึง หมูค่ น หรือ คนจำนวนมำก 7

ประชาชน VS พลเมือง ▰ พลเมอื ง พลเมอื ง หมำยถึง คนท่มี ีสิทธแิ ละหนำ้ ท่ีในฐำนะประชำชน ของประเทศใดประเทศหน่ึง หรอื ประชำชนท่ีอยู่ภำยใต้ ผู้ปกครองเดียวกนั มกั มีวัฒนธรรมเดยี วกนั 8

“พลเมือง” (citizen) “พลเมอื ง” (citizen) ก้าหนดไว้ ๒ ระดบั คอื ▰ 1. ระดับของการเปน็ พลเมอื งตามสภาพทางกฎหมายและการเมอื ง ซึ่งเปน็ ความหมายพื้นฐานทว่ี า่ “พลเมอื ง” คือ ฐานะสมาชิกของรฐั และชุมชน มีสทิ ธิ หน้าท่ี และความรับผิดชอบตามกา้ หนดในกฎหมาย เช่น การเคารพกฎหมาย การออกเสยี งเลือกตงั้ การชา้ ระภาษี และการเป็นทหาร 9

“พลเมอื ง” (Citizen) 2. ระดบั ของการมสี ว่ นร่วมในกิจการสาธารณะ (Publiclife) มีพฤตกิ รรมที่แสดงออกตอ่ กจิ การสาธารณะที่มุ่งใหช้ ีวติ สาธารณะหรือชีวิตสว่ นรวมดขี นึ้ มกี ารแสดงความคิดเห็นและวิพากษ์วิจารณอ์ ย่างสร้างสรรคต์ อ่ สภาพส่วนรวมและการเมอื ง มีส่วนรว่ มในการพัฒนาคุณภาพทางการเมืองและชวี ิตสาธารณะ 10

หลกั การ คุณลักษณะของพลเมืองในวธิ ปี ระชาธิปไตย Citizen 1. มอี ิสระพึง่ พาตนเอง 2. เห็นคนเท่าเทยี มกนั 3. ยอมรบั ความแตกต่าง 4. เคารพสทิ ธผิ อู้ ่นื 5. รับผดิ ชอบตอ่ สังคม 6. เข้าใจระบอบประชาธิปไตยและมีส่วนรว่ ม

แนวทางการปฎิบตั ติ นเป็ นพลเมอื งดตี ามวิถีประชาธิปไตย ดา้ นสงั คม - การแสดงความคิดเห็นอยา่ งมเี หตผุ ล - รบั ฟังความคิดเห็นของผอู้ ่ืน - ยอมรับเม่อื ผอู้ ื่นมเี หตผุ ลทด่ี กี วา่ - ตดั สินใจโดยการใชเ่ หตผุ ลมากกวา่ อารมณ์ - เคารพกฎระเบียบของสงั คม - มจี ิตสาธารณะ คือ เห็นแกป่ ระโยชนส์ ว่ นรวม และ รกั ษาสาธารณะสมบตั ิ

แนวทางการปฎิบตั ติ นเป็ นพลเมอื งดตี ามวิถีประชาธิปไตย ดา้ นเศรษฐกจิ - รจู้ กั ประหยดั และอดออมในครอบครวั - มคี วามซื่อสตั ยส์ จุ ริตตอ่ อาชพี ทท่ี า - พฒั นางานอาชพี ใหก้ า้ วหนา้ - ใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ป็ นประโยชนต์ อ่ ตนเองและสงั คม - สรา้ งงานและสรา้ งสรรคส์ ง่ิ ประดษิ ฐใ์ หมๆ่ เพื่อใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ สงั คมไทยและสงั คมโลก - เป็ นผผู้ ลิตและผบู้ ริโภคทด่ี ี มคี วามซ่ือสตั ยย์ ดึ มนั่ อดุ มการณท์ ่ีดตี อ่ ชาติ เป็ นสาคญั

แนวทางการปฎิบตั ติ นเป็ นพลเมอื งดตี ามวิถีประชาธิปไตย ดา้ นการเมอื งการปกครอง - เคารพกฎหมาย - รบั ฟังความคิดเห็นของทกุ คนและมคี วามอดทนตอ่ การขดั แยง้ - ยอมรบั เหตผุ ลทีด่ กี วา่ - ซ่ือสตั ยต์ อ่ หนา้ ทโี่ ดยไมเ่ ห็นแกป่ ระโยชนส์ ว่ นตน - กลา้ เสนอความคิดเห็นตอ่ สว่ นรวม กลา้ เสนอตนเองในการทาหนา้ ท่ี สมาชกิ ผแู้ ทนราษฎร หรือ สมาชกิ วฒุ ิสภา - ทางานอยา่ งเต็มความสามารถ เต็มเวลา

องคป์ ระกอบของการศึกษาความเป็ นพลเมือง ความรบั ผิดชอบทางสงั คม (Social Responsibility) การเรียนรขู้ องเด็กจะเริ่มตน้ จากความไวใ้ จตนเอง เกีย่ วกบั สงั คม ศีลธรรม พฤติกรรมความรบั ผดิ ชอบทงั้ ในและอย่เู หนอื หอ้ งเรียน การเรียนรขู้ องเด็กควรทาหรือ แสดงบทบาทในกลมุ่ หรอื มสี ว่ นรว่ มในกิจกรรมของชมุ ชน ความเกี่ยวพนั ชมุ ชน (Community Involvement) การเรียนรผู้ า่ นชมุ ชนหรือการบริการใน ชมุ ชนมี 2 สาขาของความเป็ นพลเมอื ง มนั ไมจ่ ากดั เวลาของเด็กทโี่ รงเรียน แตค่ วรรบั รใู้ นฐานะเป็ น กลมุ่ อาสาสมคั รท่ีไมเ่ ป็ นการเมอื ง ความสามารถในการอ่านและเขียนทางการเมือง (Political Literacy) ทาให้ ”ชวี ิตสาธารณะ” มปี ระสิทธิผล โดย ผา่ นความรู้ ทกั ษะ และค่านยิ ม การมีสว่ นร่วมในการแกป้ ัญหาความขดั แยง้ และการตดั สินใจดา้ นเศรษฐกิจหลักและปัญหา สงั คมของทกุ วนั รวมทง้ั ความคาดหมายของบคุ คลในการเตรียมการจา้ งงาน และการอภปิ รายของการจดั สรรทรพั ยากร 15 ภาครฐั และความสมเหตสุ มผลของระบบการจดั เก็บภาษี

หลกั การทางประชาธิปไตย หลักการ หลกั อา้ นาจ หลกั ความ ประนีประนอม อธปิ ไตย เสมอภาค หลักเสยี งขา้ ง หลกั นติ ธิ รรม หลกั การทาง มาก ประชาธิปไตย หลักเหตผุ ล 16

หนา้ ท่ีของปวงชนชาวไทยในรฐั ธรรมนญู มาตรา 50 บุคคลมีหนา้ ท่ี ดังตอ่ ไปนี้ (1) พิทกั ษร์ กั ษาไว้ซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ และการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มี พระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมขุ (2) ปอ้ งกันประเทศ พทิ กั ษร์ กั ษาเกียรติภูมิผลประโยชน์ของชาติและสาธารณสมบตั ขิ องแผ่นดนิ รวมทงั้ ให้ความร่วมมอื ในการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั (3) ปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายอยา่ งเครง่ ครดั (4) เขา้ รบั การศึกษาอบรมในการศกึ ษาภาคบงั คบั (5) รบั ราชการทหารตามที่กฎหมายบญั ญัติ 17

หนา้ ที่ของปวงชนชาวไทยในรฐั ธรรมนญู (6) เคารพและไม่ละเมิดสทิ ธแิ ละเสรีภาพของบคุ คลอื่น และไมก่ ระทา้ การใดท่อี าจกอ่ ใหเ้ กดิ ความแตกแยกหรือเกลยี ดชงั ในสงั คม (7) ไปใชส้ ทิ ธิเลอื กตง้ั หรอื ลงประชามตอิ ยา่ งอสิ ระโดยค้านงึ ถงึ ประโยชนส์ ่วนรวมของ ประเทศเปน็ สา้ คญั (8) รว่ มมอื และสนับสนุนการอนุรักษแ์ ละคุ้มครองสงิ่ แวดลอ้ มทรพั ยากรธรรมชาติความ หลากหลายทางชีวภาพ รวมทงั้ มรดกทางวฒั นธรรม (9) เสยี ภาษีอากรตามท่ีกฎหมายบญั ญตั ิ (10) ไมร่ ่วมมือหรือสนับสนนุ การทจุ ริตและประพฤตมิ ิชอบทกุ รูปแบบ 18

แนวทางปฏบิ ตั ติ นเป็ นพลเมอื งดี ดา้ นสงั คม การแสดงออกความคิดอยา่ งมีเหตผุ ล การรบั ฟังความคิดเห็นของผอู้ ื่น การยอมรบั เมอ่ื ผอู้ ื่นมเี หตผุ ลทด่ี กี วา่ การตดั สินใจใชเ้ หตผุ ลมากกวา่ อารมณ์ การเคารพระเบียบของสังคม การมจี ิต สาธารณะ ดา้ นเศรษฐกจิ การประหยดั และอดออมในครอบรวั การซ่ือสตั ยส์ จุ ริตตอ่ อาชพี การพฒั นา งานใหก้ า้ วหนา้ การใชเ้ วลาว่างใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ ตนเองและสงั คม การสรา้ งงานและ สรา้ งสรรคส์ ่งิ ประดษิ ฐใ์ หม่ ๆ เพอื่ ใหเ้ กิดประโยชนต์ อ่ สงั คมไทยและสงั คมโลก ดา้ นการเมืองการปกครอง การเคารพกฎหมาย รบั ฟังขอ้ คิดเห็นของทกุ คนโดยอดทนต่อ ความขดั แยง้ ทีเ่ กิดขน้ึ การยอมรบั ในเหตผุ ลท่ดี กี ว่า การซื่อสตั ยต์ อ่ หนา้ ท่ี การกลา้ เสนอ 19 ความเห็นตอ่ สว่ นรวม การทางานอย่างเต็มความสามารถเต็มเวลา

20

ใหแ้ ต่ละกลม่ ุ สง่ ผแู้ ทน จบั สลากใบงาน รว่ มกนั อภิปราย เขียนสรปุ ความรใู้ นรปู Mind Mapping ในเวลา 20 นาที พรอ้ มสง่ ผแู้ ทนรายงาน ต่อที่ประชมุ กลม่ ุ ละ 5 นาที 21

ใบงานงานกลม่ ุ กลม่ ุ 1ในฐานะที่ท่านเป็ นพลเมืองคนหนึ่งของประเทศไทย ท่านคิดว่าพลเมอื งควร มีความรบั ผิดชอบต่อสงั คม มีอะไรบา้ ง อธิบาย กลม่ ุ 2 การปฏบิ ตั ิตนเป็ นพลเมืองดี เช่น ดา้ นสงั คม ดา้ นเศรษฐกจิ ดา้ นการเมือง การปกครอง มีความสาคญั และมีลกั ษณะอยา่ งไร อธิบาย กลม่ ุ 3 รฐั ธรรมนญู หมายถึงอะไร และรฐั ธรรมนญู ปี ๒๕๖๐ ไดก้ าหนดใหค้ นไทย มีหนา้ ที่อะไรบา้ ง อธิบาย กลม่ ุ 4 หลกั การสาคญั ของความเป็ นพลเมืองในวิถีประชาธิปไตย มีอะไรบา้ ง อธิบาย กลม่ ุ 5 ในฐานะพลเมืองท่านจะมีสว่ นรว่ มในการต่อตา้ นการทจุ รติ อยา่ งไร อธิบาย22



หลักสูตรต้านทจุ ริตศกึ ษา (Anti - Corruption Education) สานกั งาน ป.ป.ช. ประจาจงั หวดั นครสวรรค์ 24



หลกั สูตรตา้ นทจุ รติ ศกึ ษา ๑. ความเปน็ มาของหลักสตู ร-มติของคณะรัฐมนตรี ๒. หลกั สูตรต้านทจุ ริตศกึ ษา 5 หลักสูตร เน้อื หา/ชุดการสอน องคป์ ระกอบของหลักสูตร 3. การขับเคลอ่ื นหลักสูตรตา้ นทจุ รติ ศึกษา 26

ยทุ ธศาสตร์ชาตวิ า่ ด้วยการป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) วิสัยทัศน์ ประเทศไทยใสสะอาด ไทยทงั้ ชาตติ า้ นทจุ ริต พันธกจิ : สร้างวฒั นธรรมตอ่ ต้านการทจุ ริต ยกระดบั ธรรมาภบิ าลในการบริหารจดั การทกุ ภาคส่วนแบบบรู ณาการ และปฏริ ูปกระบวนการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจรติ ท้งั ระบบ ให้มีมาตรฐานสากล เปา้ ประสงค์เชงิ ยทุ ธศาสตร์ : ระดับคะแนนของดัชนกี ารรับรกู้ ารทจุ รติ (Corruption Perceptions Index: CPI) สงู กวา่ ร้อยละ 50 ยุทธศาสตรท์ ี่ ยุทธศาสตร์ท่ี 2 ยุทธศาสตร์ที่ ยุทธศาสตรท์ ี่ ยุทธศาสตรท์ ี่ ยุทธศาสตร์ที่ 6 1 ยกระดับ 3 4 5 ยกระดับคะแนน เจตจานง สรา้ งสงั คม สกดั กน้ั การ พฒั นาระบบ ปฏิรูปกลไก ดชั นี ท่ีไมท่ นต่อการ ทางการเมอื งใน ทุจริต ป้องกนั และ การต่อตา้ นการ การรบั รกู้ ารทุจรติ ทจุ ริต เชงิ นโยบาย การทุจริตเชงิ กระบวนการ ทจุ ริต รุก การปราบปราม (Corruption Perceptions Index: CPI) การทจุ ริต ของประเทศไทย

ยุทธศาสตร์ท่ี 1 “สรา้ งสงั คมไมท่ นตอ่ การทุจรติ ” กลยุทธ์ 4 กลยทุ ธ์ คอื ต้องจดั ทาหลกั สตู ร กลยุทธ์ที่ 1 ปรับฐานความคิดทุกช่วงวัย ตั้งแต่ปฐมวัยให้ สามารถแยกระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชน์สว่ นรวม กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมให้มีระบบและกระบวนการกล่อมเกลา ทางสังคมเพ่อื ตา้ นทุจริต กลยุทธ์ที่ 3 ประยุกต์หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็น เคร่ืองมือตา้ นทุจรติ กลยทุ ธท์ ี่ 4 เสรมิ พลังการมีส่วนร่วมของชมุ ชน และบูรณาการ ทุกภาคส่วนเพ่ือตอ่ ต้านการทุจรติ 28

คาสง่ั แตง่ ตัง้ คณะอนุกรรมการฯ คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีคาส่งั เมื่อวนั ท่ี 26 เมษายน 2560 แต่งต้ังคณะอนกุ รรมการจัดทาหลกั สตู รหรอื ชดุ การเรยี นรู้ และส่อื ประกอบการเรยี นรู้ ด้านการปอ้ งกนั การทจุ ริต 29

ความเหน็ ชอบรว่ มกนั จัดทา “หลกั สูตรต้านทจุ รติ ศกึ ษา” ความร่วมมือระหว่างหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง กระทรวงศึกษาธิการ (5 แท่ง) ที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย ท่ีประชุมอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ คณะกรรมการอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สถาบันวิชาการป้องกัน ประเทศ กรมยุทธศึกษาทหารบก กรมยุทธศกึ ษาทหารเรอื กรมยทุ ธศกึ ษาทหารอากาศ กองบญั ชาการศึกษา สานักงานตารวจแห่งชาติ 30

กระบวนการ พจิ ารณากรอบเนอ้ื หาหลกั สูตร ฯ ประกอบด้วย ดาเนินการจดั ทาเนอ้ื หาหลักสูตร ฯ ประกอบด้วย พิจารณาตรวจทานเนื้อหาหลกั สตู ร ฯคดั เลอื กส่อื ประกอบการเรียนรูฯ้ คณะอนุกรรมการฯ พจิ ารณาใหค้ วามเห็นชอบหลักสูตรฯ (28 ธันวาคม 2560) คณะกรรมการ ป.ป.ช. พจิ ารณาใหค้ วามเหน็ ชอบหลักสตู รฯ และใหน้ าเสนอคณะรัฐมนตรี (27 กุมภาพนั ธ์ 2561) คณะรัฐมนตรพี ิจารณาให้ความเห็นชอบ ขับเคลอ่ื นการนาหลกั สูตรไปสกู่ ารปฏิบัติ หลกั สูตรฯ (22 พฤษภาคม 2561) 31

มตคิ ณะรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี ในการประชุมเม่ือวันท่ี 22 พฤษภาคม 2561 ได้มีมติเก่ียวกับหลักสูตรต้านทุจริต ศกึ ษา ดงั น้ี 1. เห็นชอบตามท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. เสนอ ให้หน่วยงานที่เก่ียวข้องนาหลักสูตรดังกล่าวไป พิจารณาปรับใช้กับกลุ่มเป้าหมาย ท้ังนี้ ให้หน่วยงานที่ต้องนาหลักสูตรไปดาเนินการรับความเห็นของ กระทรวงศกึ ษาธิการ สานักงาน ก.พ. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และ ฝา่ ยเลขานกุ ารคณะกรรมการนโยบายและพัฒนาการศึกษาไปพิจารณาดาเนินการต่อไป โดยให้ประสานงาน กบั สานกั งาน ป.ป.ช. อย่างใกลช้ ิด สาหรับภาระงบประมาณ ใหจ้ ดั ทาแผนการปฏิบตั ิงานและแผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณเพ่ือเสนอขอต้ัง งบประมาณรายจา่ ยตามความจาเปน็ และเหมาะสมตอ่ ไป 32

มติคณะรัฐมนตรี (ต่อ) 2. ให้กระทรวงศึกษาธิการ และหน่วยงานที่เก่ียวข้อง หารือร่วมกับสานักงาน ป.ป.ช. เพ่ือพิจารณา นาหลกั สูตรนไี้ ปปรบั ใชใ้ นโครงการฝึกอบรมหลักสตู รขา้ ราชการ บุคลากรภาครัฐ หรือพนักงานรัฐวิสาหกิจที่ บรรจุใหม่ รวมท้ังให้พิจารณากาหนดกลุ่มเป้าหมายของหลักสูตรโค้ชให้มีความชัดเจน โดยให้หมายความ รวมถึงบุคลากรทางการศึกษา เช่น ครู อาจารย์ หรือผู้ที่ทาหน้าที่เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ทั้งในหลักสูตร การศึกษาขั้นพ้ืนฐานและหลักสูตรอุดมศึกษาด้วย ทั้งนี้ เพ่ือให้สามารถนาไปใช้ในการถ่ายทอดความรู้หรือ ช่วยในการจดั การเรยี นใหเ้ ป็นไปอยา่ งมีประสทิ ธิภาพมากย่ิงข้ึน ทงั้ น้ี ให้กระทรวงศกึ ษาธกิ ารเร่งดาเนนิ การและรายงานผลสัมฤทธข์ิ องการดาเนนิ โครงการดังกล่าวให้ คณะกรรมการนโยบายและพฒั นาการศกึ ษาทราบเป็นระยะๆ ดว้ ย 33

มตคิ ณะรัฐมนตรี (ตอ่ ) 3. ให้กระทรวงศึกษาธิการเตรียมความพร้อมในด้านต่างๆ เช่น ตาราเรียน ครู อาจารย์ รายละเอียดหลักสูตร เพื่อนาหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา ไปปรับใช้ในการจัดการเรียนการสอนของ สถานศึกษา โดยมุ่งเน้นการสร้างความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้องเกี่ยวกับความหมายและขอบเขตของ การกระทาทุจริตในลักษณะต่างๆ ความเสียหายท่ีเกิดจากการทุจริต ความสาคัญของการต่อต้าน การทุจริต รวมทง้ั จัดใหม้ ีการประเมินผลสมฤทธ์ขิ องการจัดหลกั สูตรในแตล่ ะช่วงวัยของผเู้ รยี นดว้ ย 34

หลักสูตรต้านทุจริตศกึ ษา ประกอบด้วย 1. หลักสูตรการศึกษาข้นั พื้นฐาน (15 ปี ต้งั แตอ่ นบุ าล 1 จนถงึ มัธยมศึกษาปที ี่ 6) 2. หลกั สตู รอดุ มศกึ ษา (1 วชิ า 3 หนว่ ยกติ ) 3. หลกั สตู รกลมุ่ ทหารและตารวจ (สอดแทรกในการฝึกอบรมหลักสตู รหลักๆ) 4. หลกั สตู รวทิ ยากร ป.ป.ช./บคุ ลากรภาครฐั และรัฐวสิ าหกิจ (สร้างวิทยากรตวั คณู ) 5. หลักสตู รโคช้ (สร้างโคช้ สาหรบั โครงการตา้ นทุจริต) เน้อื หา/ชดุ การสอน 1. การคดิ แยกแยะผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชนส์ ่วนรวม 2. ความละอายและความไม่ทนตอ่ การทุจรติ 3. STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต 4. พลเมอื งกับความรบั ผิดชอบต่อการสังคม 35

หลกั สูตรการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน 1) ชอ่ื หลักสูตร “รายวชิ าเพมิ่ เติม การป้องกันการทจุ ริต” 2) ตารางชว่ั โมงการจดั การเรียนการสอน ท่ี หน่วย ระดบั ประถมฯ ตอนต้น ประถมฯ ตอนปลาย มธั ยมฯ ตอนต้น มัธยมฯ ตอนปลาย อนบุ าล ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖ ชว่ั โมง การคดิ แยกแยะระหวา่ ง ๑ ผลประโยชน์สว่ นตนและ 14 16 16 16 16 ๑๔ ๑๔ ๑๒ ๑๒ ๑๒ ๑๓ ๑๒ ๑๒ ประโยชน์ส่วนรวม ๒ ความไม่ทนและความ 12 ๖ ๖ ๖ ๘ ๕ ๖ ๘ ๘ ๕ ๔ ๕ ๘ ละอายตอ่ การทุจรติ ๓ STRONG : จติ พอเพยี ง 9 ๘ ๘ ๘ ๖ ๑๑ 10 10 10 ๑๓ ๘ ๘ ๘ ต้านทจุ รติ พลเมืองกบั ความ ๔ รบั ผิดชอบ ตอ่ 5 10 10 10 10 10 10 10 10 10 ๑๕ ๑๕ ๑๒ สงั คม 36 รวม แยกเป็นแผนการจ4ัด0การเร4ีย0นรู้ 1430ช้นั ป4ี 0แต่ละ4ช0้ันปจี ะ4ใ0ช้เวล4า0เรียนท4ั้ง0ปี จา4น0วน 4400 ชวั่ โ4ม0ง 40 40

5) แนวทางการนาไปใช้ แนวทาง หมายเหตุ ประกอบดว้ ย วิธกี ารปฏิบัตใิ ห้ 1. เปิดรายวิชาเพิม่ เติม สถานศึกษาเปน็ ผู้ 2. บูรณาการเรียนการสอนกับกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ พิจารณาวา่ จะ ดาเนนิ การใน วฒั นธรรม แนวทางใด 3. บูรณาการเรียนการสอนกับกลมุ่ กลุ่มสาระอนื่ ๆ 4. จดั ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น 5. จัดเป็นกิจกรรมเสรมิ หลกั สูตร หรอื บรู ณาการกบั วถิ ีชีวติ ในโรงเรยี น 37

หลักสูตรอุดมศกึ ษา 1) ชอ่ื หลกั สตู ร “วยั ใส ใจสะอาด “Youngster with good heart” 2) ตารางชว่ั โมงการจดั การเรยี นการสอน ระดับการเรียน รวม หัวขอ้ วิชา การสอน ชั่วโมง ระดับอุดมศึกษา 45 1) การคิดแยกแยะผลประโยชนส์ ่วนตนกับผลประโยชนส์ ่วนรวม (9 ชว่ั โมง) 2) สร้างสังคมที่ไม่ทนตอ่ การทจุ ริต (12 ชว่ั โมง) 3) ยกระดับดัชนี สรา้ งพลเมืองดีในสังคม (6 ช่ัวโมง) 4) ปราบทุจรติ ดว้ ยจิตพอเพยี ง (18 ชวั่ โมง) 3) สือ่ ประกอบการเรยี นรู้ จัดกิจกรรมดว้ ยสื่อการเรยี นรู้ เช่น วีดิทัศน์ของสานักงาน ป.ป.ช. สถานการณ์ปัจจุบัน/ข่าวห้องสมุด ฟลิปชาร์ต PowerPoint ตามความเหมาะสม การจัดกิจกรรมแบบ Active Learning กรณีศึกษา มาตรการทางกฎหมายทเ่ี กี่ยวขอ้ ง 38

4) แนวทางการนาไปใช้ แนวทาง ประกอบด้วย 3 แนวทาง 1. จดั ทาเปน็ 1 รายวิชา จานวน 3 หนว่ ยกิต 2. จัดทาเป็นหน่วยการเรียนรู้ โดยอาจารย์ผู้สอนสามารถนา เนอ้ื หาในหน่วยการเรียนรู้ต่างๆ ไปปรบั ใช้/ประยุกต์ใช้ในรายวิชาของ ตนเอง 3. จดั ทาเป็นวชิ าเลอื ก 39

หลักสูตรกลุ่มทหารและตารวจ 1) ช่ือหลักสูตร “หลักสูตรตามแนวทางรับราชการ กลุ่มทหารและ 2)ตตาารรวาจง”ชั่วโมงการจดั การเรยี นการสอน ระดบั การเรยี น รวม หัวขอ้ วชิ า การสอน ช่วั โมง การฝกึ อบรม 12 1) การคิดแยกแยะผลประโยชนส์ ว่ นตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม (3 ชัว่ โมง) - ทหาร 2) จิตพอเพยี งต่อตา้ นการทจุ ริต (3 ชั่วโมง) - ตารวจ 3) ความละอายและความไมท่ นตอ่ การทจุ ริต (3 ช่ัวโมง) 4) พลเมอื งกบั ความรบั ผิดชอบตอ่ การสงั คม (3 ชว่ั โมง) 3) ส่อื ประกอบการเรยี นรู้ จัดกิจกรรมด้วยส่ือการเรียนรู้ ได้แก่ สื่อส่ิงพิมพ์ โจทย์สัมมนา บ่งการ ส่ือเทคโนโลยีหรือสื่อ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ส่ือบุคคล แหล่งเรยี นรู้ 40

4) แนวทางการนาไปใช้ กล่มุ ระยะเวลา ทหาร หลักสูตรตามแนวทางรบั ราชการและหลักสตู รเพิม่ พูนความรู้ ( 3 ระยะ ) - ระยะสัน้ ๒ - ๔ เดือน ให้มกี ารเรยี นการสอนไมน่ อ้ ยกวา่ ๓ - ๔ ชม. - ระยะกลาง ๔ - ๖ เดือน ให้มีการเรียนการสอนไมน่ ้อยกวา่ ๖ - ๘ชม. - ระยะยาว ๖ - ๑๒ เดือน ใหม้ ีการเรยี นการสอนไมน่ อ้ ยกวา่ ๙ - ๑๒ ชม. สาหรับหลักสูตรทมี่ รี ะยะเวลาการอบรมนอ้ ยกว่า ๒ เดอื น ใหใ้ ชร้ ปู แบบการ บรรยายพิเศษหรอื ใช้ส่อื ประกอบการเรยี นการสอน ตารวจ - หลกั สตู รการฝึกอบรมทีเ่ ลอื่ นตาแหนง่ สูงขน้ึ ให้มกี ารเรยี นการสอนไมน่ ้อยกว่า ๓ ชม. - หลกั สูตรนักเรียนนายสิบตารวจ ใหม้ ีการเรยี นการสอนไมน่ อ้ ยกว่า ๑๖ ชม. สาหรับหลักสูตรอน่ื ๆ นอกเหนอื จากทกี่ ลา่ วมา ให้ใชร้ ปู แบบการบรรยาย พเิ ศษหรอื ใชส้ ่ือประกอบการเรียนการสอน 41

หลกั สตู รวทิ ยากร ป.ป.ช. / บุคลากรภาครัฐและรฐั วิสาหกิจ 1) ชือ่ หลกั สูตร “สร้างวทิ ยากรผ้นู าการเปลยี่ นแปลงส่สู งั คมทไี่ ม่ทนต่อการทจุ ริต” 2) ตารางชั่วโมงการจดั การเรยี นการสอน ระดบั การเรียน รวม หวั ข้อวิชา การสอน ชัว่ โมง การฝกึ อบรม 18 1) การคดิ แยกแยะผลประโยชนส์ ่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม (6 ช่ัวโมง) สร้างวทิ ยากร ป.ป.ช. 2) ความไม่ทนและความอายตอ่ การทุจรติ (3 ชัว่ โมง) บุคลากรภาครัฐ และ 3) STRONG : จิตพอเพยี งตา้ นทุจรติ (3 ชั่วโมง) พนักงานรัฐวสิ าหกจิ 4) การฝึกปฏิบตั กิ ารเป็นวิทยากร (6 ชว่ั โมง) 3) สอื่ ประกอบการเรยี นรู้ จัดกิจกรรมดว้ ยสอ่ื การเรียนรู้ ไดแ้ ก่ PowerPoint วิดโี อ ภาพยนตร์สน้ั ใบงาน หรือสอ่ื อ่นื ๆ ที่ เหมาะสม 42

4) แนวทางการนาไปใช้ แนวทาง ประกอบด้วย 3 แนวทาง 1. ใชฝ้ ึกอบรมให้กับบุคลากรของสานักงาน ป.ป.ช. 2. ใชฝ้ ึกอบรมให้กับบุคลากรภาครฐั และพนกั งานรฐั วสิ าหกิจ 3. บูรณาการกับหลักสูตรฝึกอบรมในระดับต่างๆ ของสานักงาน ก.พ. 43

หลกั สูตรโคช้ 1) ชื่อหลักสูตร “โค้ชเพื่อการรู้คิดต้าน 2)ทตจุาริตาง”ชัว่ โมงการจดั การเรยี นการสอน ระดับการเรยี น รวม หวั ข้อวิชา การสอน ช่วั โมง การฝึกอบรม 15 1) แนวคดิ หลกั การโคช้ เพอ่ื การรคู้ ดิ ตา้ นทจุ ริต (3 ชว่ั โมง) สรา้ งตวั แทน 2) กลไกและกระบวนการโคช้ (3 ชวั่ โมง) ของสานกั งาน 3) การวิเคราะห์และกระตุน้ ผ้เู รยี น (3 ชวั่ โมง) ป.ป.ช. ในแต่ละ 4) เทคนคิ สาคญั ในการโคช้ (3 ช่วั โมง) จงั หวัด 5) การประเมินผลการเรยี นรู้ (3 ชัว่ โมง) 3) ส่อื ประกอบการเรียนรู้ เอกสารประกอบการบรรยาย ส่ือการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิและปราชญ์ชาว บานผนู้ าชมุ ชน ชดุ ฝกึ ทักษะการเรียนรู้ ฯลฯ 44

4) แนวทางการนาไปใช้ แนวทาง ประกอบดว้ ย 3 แนวทาง (1) ใชฝ้ ึกอบรมให้กบั เจ้าหนา้ ทีข่ องสานกั งาน ป.ป.ช. (2) ใช้ฝกึ อบรมให้กบั โคช้ STRONG : จติ พอเพยี งต้านทจุ รติ (3) ใชฝ้ ึกอบรมใหก้ บั บุคลากรภาครัฐ 45

หลักสตู รตา้ นทุจรติ ศกึ ษา องคป์ ระกอบของ หลกั สูตร 1. หลกั การและเหตผุ ล - ยุทธศาสตรช์ าติฯ - สถานการณก์ ารทุจริตในประเทศไทย - แนวทางแกไ้ ข → โดยจัดทาหลกั สูตรฯ ใช้ในการเรยี นการสอน และหลักสตู รฯ ใชใ้ นการฝกึ อบรม 46

หลกั สูตรตา้ นทจุ ริตศกึ ษา องคป์ ระกอบของ หลกั สูตร 2. จดุ มงุ่ หมายรายวชิ า 1. มคี วามรู้ ความเข้าใจเก่ียวกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์สว่ นรวม 2. มีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั ความละอายและความไมท่ นต่อการทุจริต 3. มคี วามรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ STRONG : จติ พอเพียงตา้ นทจุ ริต 4. มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกบั พลเมืองกับความรับผิดชอบตอ่ สงั คม 5. สามารถคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชนส์ ่วนรวมได้ 6. ปฏิบัติตนเปน็ ผลู้ ะอายและไมท่ นต่อการทุจรติ ทกุ รูปแบบ 7. ปฏิบตั ติ นเป็นผทู้ ี่ STRONG : จติ พอเพยี งต้านทจุ ริต 8. ปฏิบตั ิตนตามหนา้ ท่ีพลเมืองและมีความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม 9. ตระหนักและเห็นความสาคญั ของการตอ่ ตา้ นและปอ้ งกนั การทุจรติ 47

หลกั สตู รต้านทจุ ริตศกึ ษา องค์ประกอบของ หลกั สตู ร 3. คาอธิบายรายวชิ า 1. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม 2. มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกบั ความละอายและความไมท่ นต่อการทุจรติ 3. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั STRONG : จติ พอเพียงต้านทจุ รติ 4. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกับพลเมืองกับความรับผิดชอบตอ่ สังคม 5. สามารถคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวมได้ 6. ปฏบิ ัตติ นเปน็ ผู้ละอายและไมท่ นต่อการทุจรติ ทกุ รูปแบบ 7. ปฏบิ ัติตนเปน็ ผทู้ ่ี STRONG : จิตพอเพยี งต้านทจุ ริต 8. ปฏบิ ตั ติ นตามหนา้ ทพ่ี ลเมอื งและมีความรบั ผิดชอบต่อสังคม 9. ตระหนกั และเห็นความสาคัญของการต่อต้านและปอ้ งกันการทุจริต 48

หลกั สูตรต้านทจุ ริตศกึ ษา องค์ประกอบของ หลักสตู ร 4. ผลการเรยี นรู้ รวมทัง้ หมด 9 ผลการเรยี นรู้ 1. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกีย่ วกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์ส่วนรวม 2. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกับความละอายและความไม่ทนต่อการทุจรติ 3. มคี วามรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกับ STRONG : จติ พอเพยี งตา้ นทจุ รติ 4. มคี วามรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกบั พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสงั คม 5. สามารถคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชนส์ ่วนรวมได้ 6. ปฏบิ ตั ติ นเป็นผูล้ ะอายและความไม่ทนต่อการทุจริตทุกรปู แบบ 7. ปฏิบัตติ นเป็นผู้ที่ STRONG : จิตพอเพยี งตา้ นทุจริต 8. ปฏบิ ตั ติ นตามหนา้ ที่พลเมอื งและมคี วามรับผดิ ชอบต่อสงั คม 9. ตระหนกั และเหน็ ความสาคญั ของการต่อต้านและปอ้ งกนั การทจุ รติ 49

หลักสตู รตา้ นทุจริตศกึ ษา องค์ประกอบของ หลกั สูตร 5. โครงสร้างรายวชิ า 1) 4 หนว่ ยการเรียนรู้ -การคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม -ความละอายและความไม่ทนตอ่ การทุจรติ -STRONG: จติ พอเพียง -พลเมืองกับความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม 2) เน้ือหา แตล่ ะหน่วย เรียงจากงา่ ย-หายาก (ปฐมวัย-ม.6) 3) เวลาเรยี น (ทัง้ ปี 40 ช.ม.) 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook