Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความรู้รอบตัว (3)

ความรู้รอบตัว (3)

Published by ชาคริต จิตวิขาม, 2022-06-16 06:40:01

Description: ความรู้รอบตัว (3)

Search

Read the Text Version

1 หนองนำ้ ทใี่ หญท่ ส่ี ดุ หนองหาร อย่ทู ่ีจงั หวดั สกลนคร หนองหาร หรือ หนองหานหลวง เป็นบงึ นำ้ จืดธรรมชาติท่ีมีพืน้ ท่ีถงึ 77,016 ไร่ และมคี วามลกึ เฉลย่ี ประมาณ 3-6 เมตร กินพนื้ ท่ถี งึ สองอำเภอ คือ อำเภอเมอื ง และ อำเภอโพนนาแกว้ จงั หวดั สกลนคร เปน็ แหล่งนำ้ จืดทใ่ี หญท่ ส่ี ุดในภาคอีสาน และมคี วามกว้างใหญ่ท่ีสุดในประเทศไทยรองลงมาจาก บงึ บอระเพ็ด จงั หวัดนครสวรรค์แหล่งต้นนำ้ ของ หนองหาร ประกอบไปด้วยลำน้ำทง้ั หมด 14 สาย โดยมี ลำนำ้ พุง เป็นสายหลกั ที่ไหลเข้าสู่ หนองหาร ตลอดปี จาก น้นั น้ำจะไหลสู่ ลำนำ้ ก่ำ ซึ่งเปน็ ทางระบายน้ำไปบรรจบกับแม่นำ้ โขงท่ี อำเภอธาตุพนม จงั หวัดนครพนม เดิม หนองหาร เปน็ แหล่งปรบั ปรุง บำรงุ และสงวนพันธ์ุ สัตว์นำ้ แตใ่ นปัจจบุ ันได้พฒั นาใหเ้ ปน็ แหล่งประมง การอปุ โภค บรโิ ภค การเกษตรกรรม และเปน็ สถานทท่ี อ่ งเที่ยวให้ผคู้ นไปลอ่ งเรือชมววิ ทิวทัศน์ และวิถชี วี ิต ของชาวบา้ นในระแวกน้ันคะ่ 2 ทางรถไฟสายแรกของไทย ทางรถไฟสายกรงุ เทพฯ-ปากน้ำ

ทางรถไฟสายปากน้ำ ต่อมาเรยี ก รถไฟสายกรุงเทพฯ–สมุทรปราการ เปน็ ทางรถไฟเอกชนที่เดินรถระหว่างสถานรี ถไฟหัวลำโพง กรุงเทพมหานคร กบั สถานรี ถไฟ ปากนำ้ จังหวัดสมทุ รปราการ เป็นระยะทาง 21.3 กโิ ลเมตร ต้งั แต่ พ.ศ. 2436 ถึง พ.ศ. 2503 เปน็ ทางรถไฟสายแรกของประเทศไทย ท่กี ่อตั้งขนึ้ ก่อนการเดนิ รถ ของรถไฟหลวงสายกรงุ เทพ-อยุธยาถึงสามปี 3 ส้มเขยี วหวาน ที่นยิ มกันวา่ มีรสชาดดีอยูท่ ่ี อ.บางมด กรุงเทพมหานคร

เร่ืองท่เี ล่าสู่กนั ฟงั ไดอ้ ยา่ งชวนเอาไปคดิ ตอ่ เห็นจะมีว่า เมอ่ื ผมโตข้นึ ไดร้ จู้ กั เพ่ือนหลายคน พวกเขาเลา่ ตรงกันว่า ส้มบางมดนน้ั “เด๋ียวนไ้ี มอ่ ร่อยแลว้ ส้แู ต่ก่อนไม่ ไดเ้ ลย” เนอ่ื งจากดนิ จดื บ้าง นำ้ เค็มหนุนจนเสยี หายบ้าง หากจะหมายเอาชว่ งเวลาคร่าวๆ กต็ ้องวา่ ส้มบางมดเมื่อสกั 20 กวา่ ปกี ่อน (ตอนท่เี พ่อื นเล่าใหผ้ มฟัง) ก็ อรอ่ ยส้สู มัยเขาเดก็ ๆ (คอื ราว 40-50 ปีก่อน) ไม่ไดแ้ ลว้ ความรสู้ กึ ทีว่ า่ อะไรตอ่ มิอะไรในชว่ งเวลาร่วมสมัยของเรา ลว้ นแต่ลดนอ้ ยดอ้ ยคณุ ภาพลงน้นั ชา่ งเป็นเร่อื ง แปลก เพราะดเู หมือนจะเกดิ แก่ผู้คนทกุ ยุคทกุ สมยั กรณสี ม้ บางมดน้ี หนังสือตำราแมค่ รัวหัวป่าก์ ของทา่ นผหู้ ญิงเปลีย่ น ภาสกรวงศ์ (พ.ศ. 2452) แบบน้ีก็เลย ชวนฉงนวา่ ตกลงแล้วชว่ งท่ีดีๆ ของส้มบางมดเคยมีอยจู่ รงิ หรอื ไหม หรือท่แี ทม้ ันก็เป็นแคค่ วามรู้สึกโหยหาอดีต (Nostalgia) ล้วนๆ ทมี่ ีในคนทกุ รุ่น ความโหยหา อนั ตกอยู่ภายใต้กรอบคิดแบบไตรภมู ิพระร่วง คือเช่อื อย่างแน่นแฟ้นว่า ชีวิตเราดนั เกิดมาใน “ขาลง” ทุกที ยุคทองลว้ นแต่ผา่ นพ้นไปแล้ว ฉะนั้นไม่มที างอื่น นอกจากยอมรับและประกอบสร้างผลบุญทำทานเพ่อื ให้ไดไ้ ปเกดิ ในภพชาตใิ หมท่ ีด่ กี ว่านี้ ทวา่ เรื่องเล่าจากประสบการณ์ใหม่ๆ บางเร่ือง กช็ วนให้ตั้งคำถามถงึ กรอบคดิ เดมิ ๆ และความเป็นไปไดข้ องการเปลี่ยนแปลงด้วยนำ้ มอื มนุษย์ 4 จอมพลคนแรกของเมอื งไทย จอมพล สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ เจ้าฟ้าฯกรมพระยาภาณพุ ันธว์ งศ์วรเดช จอมพล จอมพลเรือ สมเดจ็ พระราชปติ ลุ า บรมพงศาภมิ ขุ เจ้าฟา้ ภาณุรังษสี วา่ งวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช (11 มกราคม พ.ศ. 2403 - 13 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2471) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจา้ อยูห่ ัว และสมเดจ็ พระเทพศริ ินทราบรมราชนิ ี เปน็ พระโสทรานชุ าในพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั สมเด็จเจา้ ฟา้ ฯ กรมพระยาภาณุพันธวุ งศว์ รเดช ชาววังมักเอย่ พระนามอย่างลำลองวา่ \"สมเด็จพระราชปิตลุ าฯ\" สว่ นชาวบ้านมกั ออกพระนามว่า \"สมเดจ็ วังบูรพา\" เพราะทรงมวี งั ช่อื วา่ \"วังบรู พาภิรมย\"์ ซ่ึงกค็ ือตำแหน่งที่เป็นยา่ นวังบรู พาในปจั จบุ ัน ตามพระประวัตินน้ั ทรงเปน็ จอมพลในรัชกาลที่ 7 ที่ทหาร รักมาก เล่ากนั มาว่าพวกทหารมกั จะแบกพระองค์ทา่ นข้ึนบนบา่ แหแ่ หนในวาระที่มีการฉลองต่าง ๆ เชน่ ฉลองคลา้ ยวันประสูติ เปน็ ต้น เปน็ ผู้ใหก้ ำเนดิ กิจการไปรษณยี ์ในประเทศไทย เป็นต้นราชสกุลภาณพุ ันธ[์ุ 6

5 โรงเรียน \"หลวง\" สำหรบั ราษฎรแห่งแรกคอื โรงเรยี นวดั มหรรณพาราม

“เจา้ นายราชตระกูล ต้ังแตล่ กู ฉันเป็นต้นไป ตลอดจนถงึ ราษฎรท่ีต่ำท่ีสดุ จะได้มีโอกาสเล่าเรยี นเสมอกัน ไม่ว่าเจา้ ว่าไพร่ เพราะฉะนนั้ จงึ ขอบอกได้ ว่า การเล่าเรียนในเมอื งเรานจี้ ะเปน็ ข้อสำคัญหนึ่งซึ่งฉนั จะอุตส่าหจ์ ัดขึน้ ใหเ้ จรญิ จงได้”พระบรมราโชวาท พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยูห่ วั สมเดจ็ พระ ปยิ มหาราช รชั กาลที่ 5 เม่ือวันศุกร์ เดอื น 5 ขนึ้ 12 คำ่ ปีระกา พ.ศ.2427ปเี ดยี วกนั นน้ั ทรงโปรดเกลา้ ฯใหพ้ ระองค์เจ้าดิศวกมุ าร ตง้ั โรงเรยี นหลวงเพิม่ ข้นึ ในวดั หลายแหง่ ทง้ั ในกรุงเทพฯ และหัวเมือง แห่งแรกสรา้ งท่วี ัดมหรรณพารามเดมิ ชื่อโรงเรยี นวดั มหรรณพาราม ตอ่ มาเรียกวา่ โรงเรยี นวัดมหรรณพ์ สงั กัดกระทรวง ศกึ ษาธิการพ.ศ.2479 กระทรวงศกึ ษาธิการยบุ เลิกโรงเรยี นมธั ยมวัดมหรรณพ์ มอบใหจ้ ังหวัดพระนครจดั ตงั้ เปน็ โรงเรียนประชาบาล เมอ่ื วนั ที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2480 มีหลวงอกั ษรศาสตรส์ มบูรณ์ นายอำเภอพระนครเป็นผจู้ ดั ตั้งโรงเรียนประชาบาลข้ึน ตงั้ ชื่อโรงเรยี นประชาบาลเสาชิงชา้ (วดั มหรรณพ)์ ตอ่ มา วนั ที่ 27 พฤศจกิ ายน 2480 จังหวัดพระนครโอนโรงเรยี นประชาบาลเสาชิงช้า (วัดมหรรณพ)์ ใหเ้ ทศบาลนครกรงุ เทพ และเปล่ยี นชือ่ เปน็ โรงเรียนเทศบาล 22 (วัดมหรรณพ)์ 6 เจดยี ์ทีเ่ ก่าแก่ และใหญ่ที่สดุ พระปฐมเจดยี ์ ที่ จ.นครปฐม วัดพระปฐมเจดีย์ เปน็ พระอารามหลวงช้นั เอก ชนดิ ราชวรมหาวหิ าร[1] ต้ังอยู่ที่ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมอื งนครปฐม จังหวดั นครปฐม มจี ุดเดน่ ที่ สำคญั คอื พระปฐมเจดยี ์ หรือ พระธมเจดยี ์ ซ่ึงเป็นเจดยี ์ท่ีใหญแ่ ละสูงท่ีสดุ แหง่ หนง่ึ ในประเทศไทย (120.45 เมตร) องค์พระปฐมเจดีย์ปัจจุบันนี้ เปน็ พระเจดยี ท์ รงลังกา แบบสุโขทัย สร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอย่หู วั ซงึ่ สร้างครอบเจดยี ์เดมิ ถึงสอง องค์ ไดแ้ ก่ เจดียท์ รงสถปู สาญจีตามแบบอนิ เดยี ยคุ พระเจ้าอโศกมหาราช และเจดยี ์ทรงขอมโบราณ นอกจากองค์พระปฐมเจดยี ์แลว้ ในลานชน้ั ลดด้านทศิ ใตอ้ งค์พระปฐมเจดีย์และพระอุโบสถมพี ระประธาน พระพทุ ธรปู ศิลาขาว ซง่ึ เป็นสองในส่ีพระพุทธ รูปประทบั น่งั ห้อยพระบาท ปางแสดงธรรม ทสี่ รา้ งขน้ึ ในยุคทวารวด[ี 2]

7 จงั หวดั ทเี่ คยมรี ถรางเดินประจำ นอกจากกรงุ เทพฯแล้วคือ จ.ลพบุรี รถรางลพบรุ ี เป็นระบบรถรางสายสั้นท่เี ดินรถจากทา่ โพธ์ิ–เอราวณั [2] ภายในเขตเมืองลพบุรี จงั หวดั ลพบรุ ี เปดิ ใหบ้ รกิ ารเดนิ รถครั้งแรกเม่อื วนั ที่ 31 มกราคม พ. ศ. 2498 หากไม่รวมทางรถไฟสายปากน้ำทใ่ี ช้รถรางวงิ่ แทนตั้งแตป่ ี พ.ศ. 2468 แลว้ [5][6] ก็ถอื วา่ ลพบรุ เี ป็นจงั หวดั แรกในภูมิภาคและจังหวัดเดียวนอกจากจงั หวดั

พระนครที่มรี ะบบรถรางใช้[4][1][7]แต่ในเวลาตอ่ มา ไดม้ ีรถเมลร์ ะบบขนส่งมวลชนแบบใหมค่ อยรบั สง่ ผโู้ ดยสารมากขนึ้ แมร้ าคาจะแพงแตก่ ร็ วดเรว็ กวา่ รถราง กอปร กับประชาชนในเมืองลพบุรใี ชร้ ถสว่ นตัวเพม่ิ ขนึ้ รถรางลพบุรจี งึ ประสบสภาวะขาดทนุ และงดให้บริการถาวรในวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2505[3][4] 8เคร่อื งหมายตราประจำชาตไิ ทยคอื ตราครฑุ ในรัชสมยั พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ใหใ้ ชต้ ราอารม์ เป็ นตรา แผน่ ดนิ ใน พ.ศ. 2416 ตอ่ มาพระองคม์ พี ระราชดำรวิ า่ ตราอารม์ ทใี่ ชเ้ ป็ นตราแผน่ ดนิ ในเวลานัน้ เป็ นอยา่ ง ฝร่ังเกนิ ไป และทรงระลกึ ไดว้ า่ พระเจา้ แผน่ ดนิ สมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยาเคยใชต้ ราพระครฑุ พา่ หม์ ากอ่ น (ตราท่ี กลา่ วถงึ คอื ตราพระราชลญั จกรพระครฑุ พา่ หอ์ งคเ์ ดมิ ) จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหส้ มเด็จฯ เจา้ ฟ้า กรมพระยานรศิ รานุวดั ตวิ งศท์ รงเขยี นพระราชลญั จกรพระครฑุ พา่ หข์ นึ้ เป็ นตราแผน่ ดนิ เพอื่ ใชแ้ ทนตรา อารม์ โดยครัง้ แรกทรงเขยี นเป็ นรปู ตราพระนารายณท์ รงครฑุ จับนาค ตรานไี้ ดใ้ ชอ้ ยรู่ ะยะหนง่ึ กโ็ ปรดเกลา้ ฯ ใหส้ มเด็จฯ เจา้ ฟ้ากรมพระยานรศิ รานุวดั ตวิ งศท์ รงเขยี นตราครฑุ ขนึ้ ใหมอ่ กี ครัง้ เป็ นตราวงกลม โดยยก รปู พระนารายณแ์ ละนาคออกเสยี คงเหลอื แตร่ ปู ครฑุ ซง่ึ เขยี นเป็ นรปู ครฑุ รำตามแบบครฑุ ขอม พน้ื เป็ น

ลายเปลวไฟ เมอื่ นำขน้ึ ทลู เกลา้ ฯ ถวายกช็ อบพระราชหฤทยั และมพี ระราชประสงคท์ จี่ ะใหใ้ ชต้ รานเี้ ป็ น ตราแผน่ ดนิ ถาวรสบื ไป จะไดไ้ มต่ อ้ งสรา้ งขน้ึ ใหมเ่ มอ่ื เปลย่ี นรัชกาล 9วัดท่ไี ม่มพี ระจำพรรษาเลย วัดพระศรีรัตนศาสดาราม วัดพระหยกสร้างข้ึนด้วยการก่อสรา้ งพระบรมมหาราชวัง และการสถาปนาเมืองหลวงกรงุ เทพฯ ในปี พ.ศ. 2325 ในสมยั รชั กาลที่ 1 ในรัชสมัยของจกั รพรรดยิ ดุ ฟาจรุ าโร ไดม้ กี ารสร้างตามประเพณกี ารสรา้ งวัดหลวงในเขตวังทเ่ี คยมีอย่คู อื พระราชวังสโุ ขทัย สมัยวัดมหาธาตุ (วดั มหาธาต)ุ และวดั ตา่ งๆ พระศรี

สรรเพชญเ์ ป็นวัดในสมยั อยุธยาที่ไม่มอี ยู่ในเขตสงั คหวา เดมิ มพี ระเจดีย์ พระอุโบสถ วหิ าร พระมณเฑยี รและพระไตรปิฎกต่อมาในปี ค.ศ. 1788-1809 มณฑปได้ ถกู สร้างขึ้นเพอ่ื แทนท่ีโถงมณฑปเดิม และสร้างหอพระมณเฑียรธรรมใหม่ ตอ่ มา มกี ารสร้างหอนาฬกิ าระหวา่ งพระอุโบสถกับระเบียงทศิ ใต้ และแขวนหอระฆังวดั ระฆงั โฆสติ ารามวรมหาวหิ ารซ่งึ ถกู ขดุ ขึน้ มาในระหว่างการบูรณะ นอกจากนีเ้ ขามคี วามสขุ มากทจี่ ะสรา้ งเฮปนั นาท่ีมมุ ระเบียงทิศตะวนั ตกเฉยี งเหนอื และหลังจากตง้ั ของในวดั แลว้ จึงมพี ิธเี ฉลิมพระเกียรติพระมหามณรี ัตน ปฏมิ ากร และไดเ้ ฉลิมฉลองวัดพระศรรี ตั นศาสดารามอย่างย่งิ ใหญใ่ นปี พ.ศ. 2352 10 วิทยุ โทรทัศน์ มีขน้ึ ครง้ั แรกในประเทศไทยเมอื่ ปี พ.ศ.2497(สมยั จอมพล ป.พบิ ลู สงคราม) วันท่ี 24 มิ.ย. ซ่ึงถอื เป็นวนั ชาตใิ นสมยั นน้ั จอมพล ป. พิบลู สงคราม ได้เปน็ ประธานในพธิ ีเปิดสำนกั งานและท่ที ำการสถานวี ทิ ยุโทรทศั น์ ไทยทวี ชี อ่ ง 4 บางขุน พรหม เมือ่ 24 มิ.ย. 2498 นับเปน็ วนั เร่ิมสง่ ออกอากาศอยา่ งเปน็ ทางการ และนับเปน็ สถานีวทิ ยุโทรทัศนแ์ หง่ แรกบนผนื แผ่นดนิ ใหญ่แหง่ เอเชีย เครื่องส่งโทรทัศน์ เคร่อื งน้ีมีกำลังส่ง 10 กโิ ลวัตต์ ขาวดำ ระบบ 525 เส้น ต่อ 30 ภาพ ต่อวนิ าที ซ่ึงเปน็ ระบบท่เี หมาะสมกบั กระแส ไฟ ฟ้า 110 โวลท์ 60 ไซเคลิ ของเมืองไทย ขณะน้นั โทรทศั น์ไทยเกิดขึ้นเป็นแห่งแรกในเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ แพรภ่ าพออกอากาศเป็นคร้ังแรกในวันที่ 24 ม.ิ ย. 2498 ในสมยั จอมพล ป. พิบูลสงคราม เปน็ นายกรฐั มนตรี กรมประชาสมั พนั ธใ์ ห้ “กำเนดิ โทรทัศน์ไทย” โดยมีข้าราชการกลุ่มหน่ึงของกรมประชาสัมพนั ธ์ แสดงความคดิ เหน็ มาตัง้ แต่ พ.ศ. 2493 ว่า ถงึ เวลาแลว้ ท่ปี ระเทศไทยควรมี Television

11 หนังสือไทยเล่มแรก หนังสือไตรภูมิพระรว่ ง ไตรภมู กิ ถา หรอื ไตรภูมพิ ระร่วง เปน็ วรรณกรรมช้ินเอกสมยั กรุงสโุ ขทัยนบั เป็นวรรณคดีเรื่องแรกของไทย เป็นพระราชนิพนธ์ใน สมเด็จพระศรสี รุ ยิ พงศร์ ามมหา ธรรมราชาธิราช หรอื พระมหาธรรมราชาลิไทย เปน็ วรรณคดไี ทยที่มีอทิ ธพิ ลตอ่ สังคมไทย ต้ังแตส่ มัยกรงุ สโุ ขทยั กรุงศรีอยธุ ยามาจนถึงปจั จุบนั เพราะไดร้ วบรวม เอาคติความเช่ือทกุ แงท่ กุ มมุ ของทกุ ชนช้ันหลายเผ่าพันธมุ์ าร้อยเรยี งเปน็ เรื่องราวใหผ้ ู้อา่ นผู้ฟงั ยำเกรงในการกระทำบาปทุจริต และเกิดความปติ ยิ ินดใี นการทำบญุ ทำกศุ ล อาจหาญม่งุ มนั่ ในการกระทำคณุ งามความดีพระมหาธรรมราชาลิไทย มพี ระปรชี ารอบร้แู ตกฉานในพระไตรปิฎก อรรถกถาฎีกาอนฏุ กี า และปกรณ์พิเศษ ต่าง ๆ พระองคย์ ังเชีย่ วชาญในวชิ าโหราศาสตร์ ดาราศาสตร์ และไสยศาสตร์จนถึงข้นั ทรงบญั ญัตคิ มั ภรี ์ศาสตราคมเป็นปฐมธรรมเนยี มสบื ต่อมา จนถงึ ปัจจบุ นั

12 โรงภาพยนตรโ์ รงแรกใน กทม.ทีฉ่ ายภาพยนตรจ์ อซนี มี าสโคป โรงภาพยนตร์ ศาลาเฉลิมไทย ศาลาเฉลิมไทย เป็นอดีตโรงมหรสพและโรงภาพยนตรแ์ ห่งหนึง่ ตั้งอยทู่ ่มี ุมถนนราชดำเนินกลางกับถนนมหาไชย ได้รบั การสร้างขึน้ ตามความประสงค์ของ จอมพลแปลก พบิ ลู สงคราม ศาลาเฉลิมไทยไดส้ รา้ งขน้ึ ราวปี พ.ศ. 2483 แตก่ ็ได้หยุดไปชว่ งหนึ่งเนอ่ื งจากสงครามโลกครง้ั ที่ 2 และไดเ้ ปดิ อยา่ งเปน็ ทางการครง้ั แรกเมือ่ วันท่ี 10 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2492อาคารกอ่ สร้างข้นึ ดว้ ยรปู ทรงโมเดิรน์ ตามแบบตะวนั ตกไม่มหี ลงั คา คล้ายคลึงกบั ศาลาเฉลมิ กรงุ อาคารได้รับการออก แบบโดยจิตรเสน อภยั วงศ์ ทจ่ี บการศึกษาด้านสถาปัตยกรรมจากประเทศฝร่ังเศส และตกแตง่ ภายในโดยศวิ วงศ์ กญุ ชร ณ อยธุ ยาศาลาเฉลมิ ไทยเมื่อเปดิ ใหม่ ได้ กลายเปน็ หนง่ึ ในโรงมโหรสพท่ีทนั สมัยท่ีสดุ แหง่ หนง่ึ ในขณะนั้น ด้วยท่นี ง่ั ราว 1,200 ทนี่ ่ัง พร้อมทนี่ ่ังชนั้ บน เวทเี ป็นแบบมีกรอบหนา้ มเี วทีแบบเลอ่ื นบนราง (Wagon Stage) เพอื่ ความรวดเร็วในการเปลีย่ นฉาก กอ่ นจะเปลีย่ นไปเป็นโรงภาพยนตร์ในปพี .ศ. 2496[2]


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook