Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัย 5 บท เชิดชู ดำรงเกียรติพนา

วิจัย 5 บท เชิดชู ดำรงเกียรติพนา

Description: วิจัย 5 บท เชิดชู ดำรงเกียรติพนา

Search

Read the Text Version

วิจยั เรื่อง การจดั การเรียนรโู้ ดยเน้นทกั ษะกระบวนการทางาน เรอ่ื ง วิธีการขยายพนั ธไ์ุ ม้ดอกไมป้ ระดบั วิชาการงานอาชีพ (งานเกษตร) ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาตอนต้น โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 อาเภอแม่แจม่ จงั หวดั เชียงใหม่ โดย นายเชิดชู ดารงเกียรติพนา พนักงานราชการ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ อาเภอแมแ่ จ่ม จงั หวดั เชียงใหม่ สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ

บทท่ี 1 บทนำ ความเป็นมาและความสำคญั การจัดการเรยี นร้โู ดยเนน้ ทักษะกระบวนการทำงาน เรือ่ ง วธิ กี ารขยายพนั ธ์ุไม้ดอกไม้ประดับ วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี(งานเกษตร) เนื่องจากมีจุดมุ่งหมายให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาทักษะ กระบวนการทำงานได้อย่างถูกต้องคิดเป็นเน้นปฏบิ ัตแิ ละจัดการได้เพราะผ้เู รยี นบางครั้ง เรียนแบบไม่ มสี มาธจิ ึงไมส่ ามารถพฒั นาทักษะกระบวนการทีเ่ นน้ การทำงานไดจ้ ึงทำใหเ้ กิดการเบ่ือหน่ายในการจัด กจิ กรรมการเรยี นการสอนแต่ละคร้ัง จะมนี ักเรียนส่วนหนงึ่ ขาดทักษะและนิสยั ท่ี ดีในการทำงาน ขาด ความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย นักศึกษาไม่ได้รับการฝึกทักษะและนิสัยที่ ดีในการทำงาน ซึ่งนักเรียนสามารถนาความรู้ที่ได้รับไปใช้ ในชีวิตประจำวันได้ ด้วยสาเหตุนี้จึงทำให้มีนักเรียนส่วน หนึ่งไม่ได้รับการฝึกทักษะ เนื่องจากนักศึกษาแต่ละคนมีพื้นฐานการเรียนที่ ไม่เหมือนกัน ปัญหา ดังกล่าวส่งผลกระทบถึงผลการเรียนรู้ต่ำกว่าเกณฑ์ผู้วจิ ัยจึงค้นคว้าหาวิธีเพ่ือแก้ไขปัญหาดังกล่าวและ เพอ่ื ใหเ้ กิดประโยชนต์ ่อผู้เรยี นและผสู้ อนอีกท้งั ชว่ ยให้กระบวนการเรียนการสอนบรรลุวัตถุประสงค์ให้ มีผลการเรียนรู้ที่ดีขึ้นตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ผู้วิจัยจึงพยายามคิดค้นหาวิธีการที่ จะทำให้ผู้เรียนเกิด ความสนใจกระตือรือร้นอยากจะเรยี นอยากจะคิดและเรยี นอย่างมีความสุขสนุกกับการเรียนการสอน โดยการให้ทดลองใช้ กับนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 และไดใ้ หผ้ ู้เรียนทราบเน้ือหาเก่ียวกับวิธีการ ขยายพนั ธุไ์ มด้ อกไม้ประดับ วชิ าการงานอาชพี และเทคโนโลย(ี งานเกษตร) เนื่องจากด้านสังคมและด้านเศรษฐกิจไม้ดอกไม้ ประดับมี ความสวยงามจึงมีความเกีย่ วข้อง ในชีวิตประจำวันของมนุษย์ ในยุคปัจจุบันสำหรับประเทศไทยมี การใช้ ไม้ ดอกไม้ ประดับใน วัฒนธรรมประเพณี และพิธีกรรมทางศาสนามายาวนานใช้เนื่องในโอกาสต่างๆมีการนำพรรณไม้ที่มี ชือ่ เปน็ มงคลใช้ในพธิ ีแตง่ งานเช่นใช้ใบเงนิ ใบทองส่วนการใช้ดอกไม้ในพิธีกรรมทางพุทธศาสนาเราใช้ ดอกบัวดอกมะลิ ดอกไม้ทีม่ สี ี ขาวอ่ืนๆ และดอกไม้ท่ีมีกลนิ่ หอมส่วนงานสำคัญอีกงานหนงึ่ ได้ แก่ งาน วาระสุดท้ายของชีวิตดอกไม้ก็มีบทบาทช่วยทำให้งานมีสีสัน คลายจากความโศกเศร้าสะเทือนใจได้ บ้างซึ่งงานในสมัยที่วิทยาการทางการแพทย์ยังไม่เจริญก้าวหน้า การตั้งศพของชาวบ้านไม่ มี การฉีด สารเคมี ป้องกันการเนา่ เปื่อยดอกไม้ท่ีมีกลน่ิ หอมแรงจึงมบี ทบาทเข้ามาช่วยดับกลิ่นที่ไม่พึงปรารถนา เชน่ ดอกซ่อนกลน่ิ ไทยนยิ มใชป้ ระดบั ในงานศพแต่ปจั จุบันเราไม่ มี ความจำเป็นต้องใชก้ ลิน่ ของดอกไม้ มาช่วยจึงสามารถจัดตกแต่งดอกไม้ในงานได้ อย่างสวยงามตามความพอใจและกำลังทรัพย์ของ เจา้ ของงานนอกจากน้ีไทยยังรับวฒั นธรรมของชาติ ตะวันตกมาใช้ มากมายเช่นการเยีย่ มไข้ การเย่ียม

คลอด การแสดงความยินดีในโอกาสต่างๆเช่นงานขึ้นบ้านใหม่เปิดสำนักงานใหม่ วันรับพระราชทาน ปริญญา วันรับปริญญาและมีการนำไมด้ อกไม้ประดับไปตกแต่งอาคารสถานทีต่ ลอดจนบา้ นพักอาศยั ทำให้ร่มรื่นสวยงาม มองดูแล้วสบายตาสบายใจอย่างย่ิงจึงถือว่าไม้ดอกไม้ประดับเป็นพรรณพืชที่มี คุณค่าทางใจอย่างหาที่เปรียบได้ยากและนักเรียนมีทักษะมีวิธีการทำงานได้ตามกระบวนการโดย แทจ้ รงิ จงึ ได้ศกึ ษาค้นคว้าเกบ็ รวบรวมข้อมลู เพื่อปรับปรงุ พัฒนาใหเ้ หมาะสมกบั สภาพของผเู้ รียน จากทก่ี ล่าวมาแลว้ ในขา้ งต้นผ้ศู ึกษาจึงมีความสนใจในการศกึ ษาผลการจดั การเรียนรู้โดยเน้น ทกั ษะกระบวนการทำงาน เรื่อง วิธีการขยายพันธ์ุไม้ดอกไม้ประดบั วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี (งานเกษตร) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์31 ตำบลช่างเคิ่ง อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อแก้ปัญหาให้ผู้เรียนที่ขาดการพัฒนาที่เน้นทักษะกระบวนการทำงานและศึกษา ความต้องการในการเรียนเนื้อหา เรื่องวิธีการขยายพันธ์ุไมด้ อกไม้ประดบั และผู้สอนยังสามารถนำมา เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอน รูปแบบกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้หลังจากที่ผู้เรียนได้ผ่านการ เรยี นการสอน เร่ืองวิธีการเพาะพนั ธ์ุไม้ดอกไมป้ ระดับแลว้ จะสามารถนำความรู้ทไี่ ด้ไปใช้เป็นแนวทาง ในการปฏบิ ัติงาน และการดำรงชวี ติ ในสงั คมท่มี ีความก้าวหนา้ ทางแนวคิดตอ่ ไป จดุ ประสงคข์ องการศกึ ษา 1. เพื่อศึกษาสถานภาพทั่วไปของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 โรงเรียนราชประชานุ เคราะห์31 ตำบลช่างเคง่ิ อำเภอแมแ่ จ่ม จงั หวัดเชยี งใหม่ 2. เพื่อศึกษาการพัฒนาผลการจัดการเรียนรู้โดยเน้นทักษะกระบวนการทำงาน เรื่อง วิธีการ ขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี(งานเกษตร) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 โรงเรียนราชประชานุเคราะห3์ 1 ตำบลชา่ งเคง่ิ อำเภอแม่แจ่ม จงั หวดั เชยี งใหม่ 3. เพื่อนำมาเป็นแนวทางแก้ไขปัญหาในการจัดการเรียนการสอนการพัฒนาผลการจัดการ เรียนรู้โดยเน้นทักษะกระบวนการทำงาน ของกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (เกษตร) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์31 ตำบลช่างเคิ่ง อำเภอแม่แจ่ม จังหวดั เชยี งใหม่ ประโยชนท์ ีค่ าดวา่ จะไดร้ บั 1. ทราบถึงสถานภาพทั่วไป ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์31 ตำบลช่างเคง่ิ อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชยี งใหม่ 2. ทราบถึงการพัฒนาผลการจดั การเรียนรโู้ ดยเนน้ ทกั ษะกระบวนการทำงาน เรอื่ ง วธิ ีการ

ขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี(งานเกษตร) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห3์ 1 ตำบลช่างเคง่ิ อำเภอแม่แจม่ จังหวัดเชียงใหม่ 3. สามารถนำมาเป็นแนวทางแก้ไขปัญหาในการจัดการเรียนการสอนการพัฒนาผลการ จัดการเรยี นรู้โดยเน้นทักษะกระบวนการทำงาน ของกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชพี แลเทคโนโลยี (เกษตร) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์31 ตำบลช่างเคิ่ง อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชยี งใหม่ ขอบเขตของการศึกษา การพัฒนาผลการจัดการเรียนรูโ้ ดยเน้นทักษะกระบวนการทำงาน เรื่อง วิธีการขยายพันธุ์ไม้ ดอกไม้ประดับ วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี(งานเกษตร) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 โรงเรียนราช ประชานเุ คราะห3์ 1 ตำบลช่างเคิ่ง อำเภอแมแ่ จม่ จังหวดั เชยี งใหม่ มีขอบเขตดงั นี้ สถานทดี่ ำเนินการศึกษา การศึกษาครง้ั น้ี ดำเนินการศึกษาในโรงเรียนราชประชานุเคราะห3์ 1 ตำบลชา่ งเคิ่ง อำเภอแม่ แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งโรงเรียนดังกล่าวได้เปิดสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยี (เกษตร) ในระดบั มธั ยมศึกษา ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2561 1. ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 โรงเรียนราช ประชานุเคราะห์31 ตำบลช่างเคิ่ง อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ จำนวนทั้งหมด 50 คน แบ่งกลุ่ม ประชากรออกเปน็ ดังน้ี ระดับชั้น จำนวน มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 19 มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 15 มัธยมศึกษาปีที่ 3 16 รวม 50 1. เพื่อศึกษาสถานภาพทั่วไปของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 โรงเรียนราชประชานุ เคราะห์31 ตำบลชา่ งเคง่ิ อำเภอแมแ่ จ่ม จงั หวดั เชยี งใหม่ 2. เพ่ือศึกษาการพัฒนาผลการจัดการเรยี นร้โู ดยเน้นทักษะกระบวนการทำงาน เร่อื ง วิธกี าร

ขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี(งานเกษตร) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห3์ 1 ตำบลช่างเคง่ิ อำเภอแมแ่ จม่ จงั หวดั เชยี งใหม่ 3. เพื่อนำมาเป็นแนวทางแก้ไขปัญหาในการจัดการเรียนการสอนการพัฒนาผลการจัดการ เรียนรู้โดยเน้นทักษะกระบวนการทำงาน ของกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (เกษตร) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์31 ตำบลช่างเคิ่ง อำเภอแม่แจ่ม จงั หวัดเชยี งใหม่ นยิ ามคำศัพท์ ในการทำการศึกษาครั้งนี้บางครั้งจำเป็นต้องใช้คำศัพท์ทางการศึกษาให้เหมาะสมกับการ ทำการศึกษา และการสื่อสารความหมายทางด้านภาษา ผู้ศึกษาจึงเสนอคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องใน การศกึ ษามาประกอบเพ่อื ให้เขา้ ใจมากยง่ิ ข้นึ 1. ทักษะกระบวนการทำงานหมายถึงการลงมือทำงานต่างๆดว้ ยตนเองโดยมุ่งเนน้ การ ฝึกฝนวิธีการทำงานอยา่ งสม่ำเสมอโดยมีขั้นตอนต่างๆดงั นี้ 1. การวเิ คราะห์งาน เปน็ การมองภาพรวมของงานเม่ือได้รับเปา้ หมายวา่ เป้าหมาย ของงานคอื อะไรและทำอยา่ งไรจะไดผ้ ลลัพธท์ ี่ต้องการ 2. การวางแผนในการทำงาน เป็นการกำหนดเป้าหมายของงานระยะเวลาในการ ดำเนนิ งานกำลังคนที่ใช้ในการทำงานคา่ ใชจ้ า่ ยในการดำเนนิ การ 3. การลงมือทำงาน เป็นการลงมือทำงานตามแผนที่วางไว้ด้วยความมุ่งมั่นอดทน และรับผิดชอบตอ่ งานที่ได้รบั มอบหมายจนสำเร็จ 4. การประเมินผลการทำงาน เป็นการตรวจสอบ ทดสอบหรือทดลองใช้ตั้งแต่การ วางแผนการทำงานวา่ รอบคอบ ครอบคลมุ และสามารถปฏบิ ตั ิตามไดห้ รือไม่ 2. วิธสี อนวิชาเกษตร หมายถงึ บทเรยี นเรอื่ งหนึง่ อาจจะใชว้ ิธีสอนมากกวา่ หนง่ึ วิธีก็ไดด้ งั น้ัน ครจู ะตอ้ งเลือกวิธีสอนให้เหมาะสมกบั วัตถุประสงค์เชงิ พฤติกรรมของบทเรียนนั้น ๆ เช่นถ้ากำหนดว่า ให้นักเรียนสามารถติดตาตน้ ไม้ได้ ผู้สอนอาจต้องใชว้ ิธีการบรรยาย สาธิตและการฝึกปฏิบัติจรงิ ควบกู่ กนั ไป 3. กลมุ่ สาระการเรียนรู้ หมายถึง รายละเอียดของกลุ่ม แตล่ ะสาระการเรยี นรู้

4. การขยายพนั ธุ์ หมายถงึ วธิ ีการทที่ ำใหเ้ กดิ การเพิ่มปรมิ าณให้มากขน้ึ เพ่อื ดำรงสายพันธุ์ ชนิดต่างๆ ไวไ้ ม่ให้สญู พนั ธุ์ ซ่ึงวิธกี ารทนี่ ิยมปฏิบตั โิ ดยทั่วไป (การขยายพันธุไ์ ม้ดอกไมป้ ระดบั 2555) 5. ไม้ดอก หมายถงึ พืชท่ปี ลูกขน้ึ เพอ่ื ใช้ประโยชนจ์ ากดอก พืชชนดิ นม้ี ลี กั ษณะดอกสวยงาม มีทั้งไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ไม้พุ่ม และไม้ล้มลุก บางชนิดมีดอกสวยงามติดต้นนิยมปลูกประดับตกแต่ง อาคารสถานที่ เรียกว่า ไม้ดอก เช่น ลั่นทม ยี่โถ ยี่เข่ง เข็ม ชวนชม ดาวกระจาย บานชื่น พุทธรักษา โปย๊ เซยี น เป็นต้น บางชนดิ ปลกู เพอ่ื ตดั ดอกนำไปใชป้ ระโยชน์โดยตรง เรยี กวา่ ไม้ตดั ดอก เช่น กุหลาบ ดาวเรือง หน้าวัว เบญจมาศ ซ่อนกลิ่น ขิงแดง กล้วยไม้ เป็นต้น(การขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ 2555) 6. ไมป้ ระดบั หมายถงึ พชื ทป่ี ลูกขึน้ เพ่ือใชป้ ระโยชนจ์ ากรปู รา่ ง รปู ทรง สสี ันของลำต้น และใบ พืชชนิดนี้จะมีรูปทรง รูปร่าง สีสีนของลำต้นและใบสวยงามแตกต่างกันไป นิยมปลูกประดับ ตกแต่งอาคารสถานที่ทั้งในพื้นดินและในกระถาง มีทั้งไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ไม้พุ่ม และไม้ล้มลุก เช่น ปาล์มต่าง ๆ ข่อย สนชนิดต่าง ๆ ไทรยอดด่าง ฤาษีผสม เฟิร์นชนิดต่าง ๆ สาวน้อยประแป้ง ว่าน กาบหอย เปน็ ต้น(การขยายพันธ์ุไมด้ อกไมป้ ระดับ 2555) 7. ไมด้ อกไมป้ ระดับ หมายถงึ ไมด้ อกท่นี ำมาใช้ในการประดับตกแตง่ สวน หรือสถานท่ี ต่างๆ โดยไม้ดอก (Flowering plant) หมายถึง พรรณไม้ที่ออกดอกมีสีสันสวยงาม หรือมีกล่ิน หอม(การขยายพนั ธ์ไุ ม้ดอกไมป้ ระดับ 2555)

บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ท่ีเกยี่ วขอ้ ง เอกสารและงานวิจัยทเี่ ก่ยี วข้อง หลกั และวิธสี อนวชิ าเกษตร การสอนเปน็ ทัง้ ศิลป์และวิทยาศาสตร์ ทีอ่ าจจะเปน็ เทคนคิ เฉพาะตัวหรือสรา้ งสรรคใ์ ห้เกิดข้ึน มาภายหลังก็ได้ การสอนคนมีเป้าหมายอันสุดท้ายว่าให้ผู้เรยี นได้มีความรู้ ความเข้าใจในศาสตร์นั้นๆ และสามารถทำให้ผู้เรียนนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการดำรงชีพหรือเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของ ตนเองใหส้ อดคลอ้ งกบั ส่ิงท่ีพงึ ประสงค์ได้ ในกระบวนการสอนการเรียนใดๆ ก็ตาม ครูหรือผู้อำนวยการสอนเป็นองค์ประกอบที่สำคัญ ทส่ี ดุ และนา่ จะกลา่ วไดว้ า่ ครูดเี ปน็ ศรแี ก่ชาติ ครูเกง่ กาจชาติมน่ั คง และการทเี่ รา หรือใครจะเปน็ ครูดี ได้นั้นกย็ ังมสี ว่ นประกอบที่สำคญั อีก 3-4 ประการคอื 1. มีความร้ทู างวชิ าการในสาขาเฉพาะของตนเอง สาขาใกลเ้ คยี ง และความรทู้ ั่วไปดี 2. มเี ทคนิคและทำการสอนดี 3. มีคณุ ธรรม จริยธรรม วฒั นธรรมและมนษุ ยส์ มั พันธด์ ี 4. มีความรับผิดชอบ กระตือรอื ร้น และตรงตอ่ เวลา ทกั ษะการบวนการทำงาน ทักษะกระบวนการทำงาน หมายถึงการลงมือทำงานต่างๆด้วยตนเองโดยมุ่งเน้นการฝึกฝน วธิ กี ารทำงานอย่างสม่ำเสมอโดยมีข้ันตอนตา่ งๆดังนี้ 1. การวเิ คราะหง์ าน เปน็ การมองภาพรวมของงานเมื่อได้รับเป้าหมายวา่ เปา้ หมายของงานคือ อะไรและทำอย่างไรจะได้ผลลพั ธ์ที่ต้องการ 2. การวางแผนในการทำงาน เป็นการกำหนดเปา้ หมายของงานระยะเวลาในการดำเนินงาน กำลงั คนท่ใี ชใ้ นการทำงานค่าใชจ้ า่ ยในการดำเนนิ การ 3. การลงมือทำงานเป็นการลงมือทำงานตามแผนที่วางไว้ด้วยความมุ่งมั่นอดทนและ รับผดิ ชอบต่องานท่ีไดร้ ับมอบหมายจนสำเร็จ

4. การประเมินผลการทำงาน เป็นการตรวจสอบ ทดสอบหรือทดลองใช้ตั้งแต่การวาง แผนการทำงานวา่ รอบคอบ ครอบคลมุ และสามารถปฏิบัตติ ามได้หรือไม่ ทกั ษะกระบวนการแก้ปัญหา จะช่วยให้เกิดความคิดในการหาทางออก เทื่อพบปัญหาในเวลาหรือสถานการณ์การทำงาน โดยมขี ้ันตอน ดังน้ี 1. สังเกต นักเรียนควรฝกึ ตนเองให้เป็นคนช่างสังเกต สามารถศึกษาหรือรับรู้ขอ้ มูลมองเหน็ และเขา้ ใจปญั หาสำคญั ทเ่ี กดิ ข้นึ ได้ 2. วิเคราะห์ เมื่อทราบปัญหาที่เกิดขึน้ แล้ว ควรวิเคราะห์ว่าปัญหาที่มีมากน้อยเพยี งใดและ ลำดบั ความสำคญั ของปัญหา 3. สร้างทางเลือกควรสร้างทางเรื่องในการแก้ปัญหาซึ่งอาจจะมีมากมายโดยการสร้าง ทางเลือกนั้นอาจจะมาจากการศึกษาค้นคว้าการทดลอง การตรวจสอบ เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการ แก้ปัญหา 4. ประเมินทางเลือก ทางเลือกต่างๆที่สร้างขึ้นมาจากการศึกษาค้นคว้าหรืการตรวจสอบ ตา่ งๆควรพิจารณาใหล้ ะเอียดวา่ ทางเลอื กใดทเ่ี หมาะสมกับการแกป้ ัญหาทีส่ ุด ทักษะการทำงานร่วมกัน ขัน้ ตอนการทำงานมีหลกั การดังนี้ 1. รู้จักบทบาทหน้าที่ภายในกลุ่ม ในการทำงานร่วมกับคนอื่นนั้น ควรรู้จักหน้าที่และความ รบั ผิดชอบของตนเอง 2. มีทักษะในการพูดแสดงความคิดเห็นและอภิปรายในกลุ่ม เมื่อทำงานร่วมกับคนอื่นควร ฝึกฝนท่ีจะเปน็ ผฟู้ งั ทดี่ ี ยอมรับความคดิ เห็นของคนอื่น 3. มีคุณธรรมในการทำงานร่วมกัน เพื่อความสุขในการทำงานร่วมกับผู้อื่น และหลีกเลี่ยง ไมใ่ หเ้ กิดความขดั แยง้ 4. สรุปผลโดยการจัดทำรายงาน การทำงานกลุ่มใดๆก็ตามควรมีการสรุปผลออกมาอย่าเปน็ รปู ธรรม อาจอยู่ในรปู แบบของการจดั ทำรายงาน 5. นำเสนองาน เมื่อมีรายงานออกมาอย่างชัดเจน เป็นเอกสารแล้วควรมีทักษะในการ นำเสนองานการปฏิบัตงิ านของกลุม่ ในรุ)แบบตา่ งๆ

ทกั ษะการแสวงหาความรู้ ทักษะการแสวงหาความรูด้ ว้ ยตนเอง สามารถฝกึ ฝนไดจ้ ากการปฏบิ ตั ิตอ่ ไปนี้ 1. กำหนดปัญหาในการสืบค้นขอ้ มูลความรู้ คอื การต้งั หัวขอ้ ต้ังประเด็นในการศึกษาคน้ ควา้ 2. การวางแผนในการสืบค้นข้อมูลความรู้ เมื่อคิดหาหัวข้อหรือประเด็นที่เราต้องการจะ สบื ค้นไดแ้ ล้ว ควรวางแผน กำหนดเป้าหมายวา่ จะสืบคน้ ข้อมลู ความรู้จากท่ใี ด 3. การดำเนินการสืบค้นข้อมูลความรู้ตามแผนที่กำหนดไว้ คือการดำเนินการสืบค้นข้อมูล ความร้ใู นหัวข้อท่ตี อ้ งการ ตามแผนงานทวี่ างไว้ 4. การวิเคราะห์ข้อมลู จากการสบื คน้ ความรู้ การนำขอ้ มลู ตา่ งๆมาพจิ ารณาอย่างละเอียดถึง องคป์ ระกอบและความสมั พันธ์ของข้อมลู 5. การสรปุ ผลจากการสบื ค้นความรู้และการบนั ทึกจัดเก็บเม่ือวิเคราะหข์ ้อมลู ต่างๆได้ออกมา ตามต้องการควรบนั ทกึ จัดเกบ็ ขอ้ มลู ทรี่ วบรวมมาไดต้ ่างๆในรปู แบบที่งา่ ยตอ่ การคน้ หา ทกั ษะการจดั การ ทักษะการจดั การแบ่งออกเปน็ 2 กลมุ่ ดังน้ี 1. การจัดการระบบงานโดยสามารถจัดสรรเวลาทำงานให้เป็นระบบปฏิบัติงานตาม กฎระเบยี บแบบแผนและขั้นตอนตา่ งได้ 2. การจัดการระบบคนโดยมีความสามารถในการคัดเลือกคนเข้าทำงาน แบ่งปัน จัดสรรให้ เหมาะสมกับงาน หลกั การสอนวิชาเกษตรสำหรับเดก็ หรอื ยคุ เกษตรกร 1. ครูควรยดึ เดก็ เปน็ หลัก คอื พยายามสอนในส่ิงท่เี ด็กอยากรู้อยากเห็น 2. ครคู วรสอนโดยใชว้ ธิ งี า่ ย ๆ ทจ่ี ะช่วยใหเ้ ด็กสนใจและต้งั ใจจะเรยี นในวิชาน้นั ๆ 3. ครูควรส่งเสริมให้เด็กคิดหาเหตุผล และการสร้างสรรค์ โดยการทำกิจกรรมร่วม การ ทดลอง การแสดงและการอภปิ ราย 4. ครคู วรสอนจากความรูเ้ ดิม แลว้ โยงไปสู่ประสบการณใ์ หม่ 5. ครูควรจัดบทเรียนให้เหมาะตามฤดูกาล เช่นหน้าฝนควรสอนเรื่องการทำนา และสอนวิธี ปลกู แตงโมในระยะปลายฝน 6. ครคู วรสอนให้เด็กคดิ และทำด้วยตนเอง มอบงานใหเ้ ด็กทำเป็นหมู่ หรือเปน็ รายบคุ คล

7. ครคู วรจัดบรรยากาศและอปุ กรณ์การสอนใหเ้ หมาะสมนา่ เรียน 8. ครูควรเตรียมการสอนมาอย่างดี เช่นเสนอหลักการและทฤษฏีเสร็จก็ตามด้วยภาคปฏิบัติ และการวัดผล หลกั การสอนสำหรับผู้ใหญ่ 1. ต้องยกย่องและให้เกียรติผู้ฟัง (เกษตรกร) ด้วยความจริงใจ อย่ากล่าวคำใด ๆ ที่จะส่อไป ในทางดูหมน่ิ ดูแคลนหรือตำหนิต่าง ๆ 2. ต้องสอนในสิ่งที่เขาต้องการ และเป็นปัญหาที่สำคัญแท้จริงของเขา และสิ่งที่สอนนั้นควร จะเหน็ ผลในทางปฏบิ ัตใิ นระยะเวลาส้นั ๆ 3. ตอ้ งบอกจุดมุง่ หมายของการสอนให้ชัดเจน เชน่ เรยี นครง้ั นแ้ี ลว้ ต้องตอนไก่เป็น ต้องติดตา ยางได้ 4. ควรสอนในส่งิ ทส่ี อดคลอ้ งกบั ประสบการณ์เดมิ 5. สอนโดยใช้วิธปี ฏิบัติจริง หรอื เรยี นโดยการกระทำ 6. สร้างบรรยากาศให้เปน็ กนั เองแบบพป่ี ้าน้าอา 7. ใช้วิธีสอนผสมผสานกันหลาย ๆ วิธี เช่นอธิบาย บรรยาย สาธิต คู่กับวัสดุ ของจริงและใช้ โสตทศั นูปกรณต์ า่ ง ๆ 8. ผใู้ หญ่ต้องการการแนะแนว และคำแนะนำมากกว่าคะแนนหรือการสอบไล่ ความมุ่งหมายของวชิ าเกษตรกรรม ความม่งุ หมายใหญ่ ๆ ของวชิ าเกษตรกรรมมีอยู่ 4-5 ประการดว้ ยกนั ดงั นั้นผูส้ อนวชิ าเกษตร ควรจะไดส้ อนเพื่อสนองวัตถปุ ระสงคก์ วา้ ง ๆ ดังน้ี 1. เพ่ือใหม้ ีความรู้ความเข้าใจเร่ือง ดนิ 2. เพอ่ื ให้มีความรคู้ วามเขา้ ใจเรอ่ื ง พชื กรรม 3. เพอ่ื ใหม้ คี วามร้คู วามเข้าใจเรื่อง สัตวบาล 4. เพ่อื ให้มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจทางช่างเกษตร 5. เพ่อื ให้มคี วามรคู้ วามเข้าใจทางเศรษฐศาสตร์เกษตร

หลักการสอนและการวเิ คราะหห์ ลกั สตู ร หลักการสอน หรือการสอนที่นั้นจะต้องมีการวิเคราะห์หลักสูตรและตอบคำถาม 4 ประการ ขา้ งล่างน้ใี ห้ได้คือ 1. สอนทำไม (why) ในการสอนนั้นผู้สอนจะต้องตอบคำถามให้ได้ว่า ตัวเองจะสอนเรื่องนี้ ทำไม น้นั กค็ ือผู้สอนจะต้องระบุวัตถุประสงค์ หรือจดุ มุง่ หมายปลายทางท่ีตอ้ งการไว้อย่างชัดแจ้ง เช่น ความตอ้ งการท่ีพึงประสงค์ทางด้านปัญญาและความคิด (cognitive Domain) ด้านอารมณ์หรือจิตใจ (Affective Domain) และในด้านทักษะหรือประสาท และกล้ามเนื้อ (psychomotor Domain) วัตถุประสงค์มีทั้งวัตถุประสงค์ทั่วๆไปและวัตถุประสงค์เฉพาะ ในการสอนที่ดีเราค วรจะต้ัง วตั ถปุ ระสงค์เชิงพฤตกิ รรมซง่ึ เป็นวตั ถุประสงค์ทจ่ี ำเป็นต่อการเรยี นรู้อย่างยิง่ วัตถุประสงค์เชิงพฤตกรรม (Behavioral Objectives) วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม (B.O.) เป็นวัตถุประสงค์ทีเ่ ขียนในรูปของพฤติกรรมว่า ผู้เรียนจะต้องทำอะไร แสดงออกอย่างไร เพื่อให้ผู้อนื่ ไดเ้ หน็ ว่าเขาได้เขา้ ถึงจดุ มุ่งหมายทต่ี ้องการแลว้ การเขยี นวัตถปุ ระสงค์เชิงพฤตกิ รรม จะตอ้ งประกอบไปดว้ ยสิง่ 3 ประการคอื 1) เงือ่ นไข (condition) หรือสถานการณ์ท่ีกำหนดให้ 2) พฤตกิ รรมทีค่ าดหวงั หรอื เนอื้ หาท่ตี อ้ งการ เรยี กวา่ Terminal behavior หรือ Desired behavior 3) เกณฑ์ (criteria) คอื มาตรฐานหรือระดบั ของพฤตกิ รรมท่ีครตู ้องการจะใหน้ ักเรียนกระทำ 2. สอนอะไร (what to teach) เมื่อได้ตั้งวัตถุประสงค์หรือความมุ่งหมายไว้แล้ว ขั้นต่อไป ผู้สอนจะต้องวางแผนและเตรียมเนื้อหาวิชาให้ครบ ในส่วนนี้ผู้สอนจะต้องมีความรู้ในเนื้อหาวิชาเป็น อย่างดี และแตกย่อยหลักสูตรออกไปเป็นส่วน ๆ วางให้แน่ชัดลงไปว่า วิชานี้ บทนี้ หน่วยนี้ และ ชั่วโมงน้ี จะสอนอะไร สอนสักเทา่ ไร โดยการแตกเนอ้ื หาวิชาออกเปน็ ปญั หาย่อยๆ และมกี ารจัดลำดับ เนือ้ หาวิชาคกู่ ับกิจกรรมตามลำดับกอ่ นหลงั อย่างมีระบบเพ่ือใหส้ อดคล้องกบั ข้นั ตอนแห่งการเรยี นรู้ 3. สอนอย่างไร (How) เมื่อได้กำหนดวัตถุประสงค์และเลือกเนื้อหาที่จะสอนได้ครบแล้วก็ ควรพิจารณาว่าเราจะสอนอย่างไรจึงจะทำให้เนื้อหาหรือวิชานั้นถูกถ่ายทอดไปอยู่ในตัวผู้เรียนได้ ซึ่ง เทคนิคอันนี้จะครอบคลุมไปถึงศิลป์ของการสอน วิธีสอน การจัดกิจกรรม การจัดอุปกรณ์การสอน

การสร้างแรงจูงใจ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนมีความคล่องตัว และสามารถจะนำ ความรไู้ ปใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ติ และสังคมของตนได้ 4. สอนแล้วจะวัดผลอย่างไร (Evaluation) ในเรื่องนี้ผู้สอนจะต้องทราบ อย่างแน่ชัดตั้งแต่ ก่อนลงมือสอนว่า การกำหนดความมุ่งหมาย เนื้อหา และวิธีสอนดังกล่าวแล้วนั้น จะได้ผลสักเท่าใด เข้าเกณฑ์ (criteria) หรือมาตรฐาน (standard) ตามที่ต้องการหรือไม่ ณ ระดับใดจึงจะเป็นที่พอใจ ของผูส้ อน น่นั ก็คอื ผ้สู อนจะต้องรู้และกำหนดวธิ ีวัด และ ประเมินผลการสอนไว้ดว้ ย ลำดบั ข้ันตอนของการสอน โดยท่วั ๆ ไปการสอนวชิ าใด ๆ กต็ ามมักจะมีขน้ั ตอนของการสอน 4 ข้นั ตอนด้วยกัน คอื 1. การเตรยี มการสอน (preparation) คอื ครทู ำการกำหนดความม่งุ หมายเตรยี มเน้ือหา และ อุปกรณ์ ศกึ ษาสภาพของผเู้ รยี น แบ่งกลมุ่ และกำหนดงานใหน้ ักเรยี นทำ 2. ขั้นการสอน (presentation) เป็นขนั้ ทคี่ รูลงมือสอนจริง เชน่ ทำการบรรยาย สาธติ ฯลฯ 3. ข้ันนิเทศและสอนภาคปฏบิ ตั หิ รือขนั้ ประยกุ ต์ (Application) เช่นการมอบหมายงานให้ นกั เรยี นทำ 4. ข้ันทดสอบ วดั ผลและติดตามผล (Testing, Evaluation and Follow-up) เช่นทำการ ประเมินผลโดยการสังเกต สมภาษณ์ เขยี นตอบ เปน็ ต้น การเตรียมการสอนตามข้อ 1 นั้น สำหรับวิชาทางด้านอาชีวศึกษาและวิชาเกษตร ครู ควร จะต้องเตรียมหนักเป็นพิเศษ โดยเฉพาะวิชาที่มีภาคปฏิบัติด้วยเพราะว่านักเรียนจะต้องเรียนรู้ ภาค ทฤษฏี และเสริมด้วยภาคปฏิบัติที่สอดคล้องกัน ดังนั้น ครูควรจะต้องเตรียมใบช่วยสอน (instructional Sheet) ใหน้ ักเรียนด้วย ใบชว่ ยสอนมี 4 ประเภทคอื 1. ใบงาน (job Sheet) คือใบที่บอกนักเรียนว่าในการเรียนวิชานั้นๆ เขาจะต้องฝึกงาน อะไรบา้ ง แต่ละงานมีข้ันตอนและวิธปี ฏิบัติงานอยา่ งไร 2. ใบปฏิบัตงิ าน (operation Sheet) คือใบท่ีบอกให้นักเรียนทราบว่า เขาจะต้องปฏิบัติตาม ขน้ั ตอนอยา่ งไร และตอ้ งรทู้ ฤษฏีอะไรประกอบบา้ ง 3. ใบความรู้ (information Sheet) เป็นการกล่าวถึงทฤษฎี หรือหลักการที่เป็นความรู้ เพื่อ นกั เรยี นจะไดใ้ ชป้ ระกอบการฝกึ งานตามใบงานและใบปฏบิ ตั งิ าน

4. ใบมอบงาน (Assignment Sheet) เป็นการบอกให้นักเรียนรู้ว่า เขาต้องเตรียมอะไร ต้อง ฝึกปฏิบตั เิ ร่ืองใด และมกี ำหนดเวลาอย่างไร ดังนั้น ไม้ดอกไม้ประดับ จึงหมายถึงพันธุ์ไม้ที่ปลูกขึ้นเพื่อทำให้เกิดความสวยงามทั้งภายใน บริเวณบ้าน เช่น ในบริเวณสนามรอบ ๆ ตัวบ้าน แขวนไว้ตามชายคาบ้าน และตั้งประดับไว้ตามส่วน ตา่ ง ๆ ภายนอกตัวบา้ นหรืออาคาร เป็นตน้ วิธีสอนวชิ าเกษตรและการถา่ ยทอดความรูส้ เู่ กษตรกร วิธีสอนวิชาเกษตรมีมากมายหลายวิธี แต่ยังไม่มีวิธีใดที่จะเหมาะสมกับทุก ๆ บทเรียน บทเรียนเรื่องหนึ่งอาจจะใช้วิธีสอนมากกว่าหนึ่งวิธีก็ได้ดังนั้นครูจะต้องเลือกวิธีสอนให้เหมาะสมกับ วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมของบทเรียนนั้น ๆ เช่นถ้ากำหนดว่าให้นักเรียนสามารถติดตาต้นไม้ได้ ผู้สอนอาจต้องใช้วิธีการบรรยาย สาธิตและการฝึกปฏิบัติจริงควบกู่กันไป เทคนิคและวิธีสอนวิชา เกษตรและวิชาอื่น ๆ สามารถจะกล่าวย่อ ๆ ไดด้ ังต่อไปนี้ 1. การสอนทักษะหรือการสอนงาน (skill Training) เป็นวิธีที่ดีที่สุดในการสอนคนให้ทำงาน เป็น เหมาะกบั การสอนภาคปฏบิ ัติและงานต่าง ๆ เช่นการกรีดยาง การกลงึ โลหะ การเชื่อมโลหะ ฯลฯ โดยที่ผู้สอนจะต้องบรรยายหลักการแล้วทำให้ดูทีละขั้นตอนแล้วให้ผู้เรียนทำตามผู้สอนอย่างช้า ๆ และในที่สดุ ผ้เู รียนจะต้องทำเองพรอ้ มกบั อธบิ ายปากเปลา่ ด้วย 2. วิธีปฏิบัติทดลอง (Laboratory Method) เหมาะกับการสอนภาคปฏิบัติของทุกวิชา เช่น เคมี ชวี วทิ ยา ฟิสิกส์ การหาไขมันในนม การหากรดด่างในดนิ ฯลฯ โดยผสู้ อนจะตอ้ งเตรียมเครื่องมือ และอุปกรณ์ต่าง ๆ ตลอดจนคู่มอื บทปฏบิ ัตกิ ารไว้ดว้ ย 3. การเรียนโดยการกระทำ (Learning-by-Doing Method) เหมาะกับการเรียนรู้และการ คนหาความจรงิ โดยตนเองในทุกวชิ า เชน่ การเล้ยี งไก่ การตดิ ตาตอ่ ก่ิง การเพาะเหด็ ฯลฯ การเรียนอีก แบบหนึ่งคอื การเปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรียนไดท้ ดลองทำเอง แบบลองผิดลองถกู (Trial and Error Method) 4. การฝึกปฏิบัติจริง (practices) ผู้สอนบรรยายหลักการหรือภาคทฤษฎีเสร็จ ก็เปิดโอกาส ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติกับของจริง เพื่อสร้างทักษะและความชำนาญ เช่น การตอนไก่ การติดตา ตน้ ไม้ การหัดขับรถแทรคเตอร์ ฯลฯ 5. การสาธติ วิธี (Method Demonstration) เหมาะกบั การสอนวิชาที่ต้องการให้ผู้ เรียนเห็น จริงเห็นจัง ในขั้นตอนต่าง ๆ อย่างละเอียด เหมาะกับการสอนเทคนิคและวิธีการใหม่ๆ เช่นการทำ ขนมเค้ก การติดตาต่อกิ่ง การพ่นยาปราบวัชพืช การผสมเทียม ฯลฯ โดยที่ครูหรือผู้สอนจะต้อง

อธิบายและแสดงวิธีทำงานน้นั เปน็ ขั้น ๆ ตง้ั แต่ตน้ จนจบ เม่ือผู้สอนสาธิตวธิ จี บแล้ว ก็อาจจะให้ผู้เรียน ทดลองทำดดู ว้ ยก็ได้ 6. การสอนโดยฟาร์มโรงเรียน (School Farm) ฟาร์มโรงเรียนเปรียบเสมือนศูนย์การเรียน (Learning Center) แห่งหน่งึ หากวา่ เราได้จัดแตล่ ะหน่วยให้เป็นศนู ย์ ๆ เชน่ ศูนยไ์ ก่ ศนู ยส์ กุ ร ศูนย์วัว นม ศูนย์ไม้ผล ศูนย์ยางพารา ศูนย์ไม้ประดับ ที่เพียบพร้อมสมบูรณ์และมีอะไร ๆ ครบทุกขั้นตอนใน แต่ละศูนย์ ก็จะทำให้ผู้เรียนได้รับประโยชน์มาก กล่าวคือเมื่อผู้เรียนผ่านเข้าไปในศูนย์ไก่ก็ควรจะได้ ศึกษาทุกอยา่ งเกย่ี วกับไก่ครบหมด 7. การศึกษานอกสถานที่ (Field Trip) ทำให้ผู้เรียนได้เปลี่ยนบรรยากาศไปพบเห็นของจริง โดยเฉพาะอุปกรณ์ใหญ่ ๆ ที่ไม่อาจจะนำมาโชว์ในชั้นได้เช่น ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ การพังทลายของดิน การผลติ อาหารสัตว์ ฯลฯ 8. การสอนเปน็ รายบุคคล (Individualized Teaching Method) 9. การสอนแบบโครงการ (project Method) คือการที่ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันวางแผนทำ โครงการตา่ ง ๆ เช่นโครงการปลูกผัก โครงการเล้ียงสกุ ร ฯลฯ 10. การสอนเป็นคณะ (Team Teaching) คือการที่ผู้สอนวางแผนและจัดหัวข้อการสอน ร่วมกัน แล้วมอบหมายให้แต่ละคนรับผิดชอบคนละบทหรือคนละหัวข้อ แล้วสอนตามกำหนดการที่ วางไว้ 11. การสอนแบบใหง้ านทำ (Assignment Method) 12. การเรยี นภายใต้การนเิ ทศ (Supervised Study) 13. การสอนแบบแก้ปัญหา หรือการสอนแบบวิทยาศาสตร์ (problem Solving or Scientific Method) โดยขั้นแรกต้องตั้งปัญหา แล้วตั้งสมมุติฐาน ทดลองแก้ปัญหา และเก็บข้อมูล แลว้ จึงสรุปและประเมนิ ผล 14. การสอนโดยวิธีการประชุม (conference) การอภิปรายกลุ่ม (Group Discussion) การ สมั มนา (seminar) และการแบง่ กล่มุ ไปวเิ คราะหป์ ญั หา (syndicate) 15. การระดมกำลังสมอง (Brainstorming) คือการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดง (บอก) ความ คดิ เห็น วิธกี ารทำสิง่ หนง่ึ สิง่ ใด หรือวธิ ีการแก้ปญั หาในเรอ่ื งตา่ ง ๆ แล้วครูผสู้ อนกจ็ ดบันทึกขึ้นกระดาน ดำไว้

16. การสอนโดยการบรรยายหรือปาฐกถา (Lecture Method) มักจะใช้กับกลุ่มคนมาก ๆ และผู้สอนมีเวลาจำกดั ในการบรรยายผ้สู อนอาจจะมีภาพและอปุ กรณ์การสอนมาประกอบดว้ ยก็ได้ 17. การบรรยายคู่กับการสาธติ และปฏิบตั ิ (Lecture and Demonstration) 18. การสอนแบบอธิบาย (Expository Method) เหมาะกับเรื่องที่เป็นพื้นฐาน ซึ่งต้องการ อธิบายให้ผูเ้ รยี นเข้าใจอย่างแจ่มแจ้งก่อนทีจ่ ะเรียนเรือ่ งอื่นตอ่ ไป เช่นการอธิบาย เรื่องวัฏจักรของนำ้ หลักพันธกุ รรมของเมนเดล เปน็ ตน้ 19. วิธีสอนแบบอนมุ านและอปุ มาน (Deductive and Inductive Method) การอนุมานเป็นการสอนจากกฎเกณฑ์ไปหาของจริงและตัวอย่าง แต่การอุปมานเป็นการศึกษาจาก ของจริง/ตวั อยา่ ง แลว้ โยงไปหากฎเกณฑ์ 20. การสอนแบบนาฏการ (Dramatization) เช่นการแสดงบทบาทสมบัติ การแสดงละคร การจำลองฉากเหตกุ ารณ์ การใช้ห่นุ ฯลฯ (สุพจน์ วรรคลยั 2556) ความหมายของไมด้ อกไมป้ ระดบั ไม้ดอก หมายถึง พันธุ์ไม้ทุกชนิดที่ปลูกเพื่อใช้ประโยชน์จากความสวยงามของดอก มีดอก สวยงาม ดอกดก บานทน นิยมปลูกไว้ให้บานสวยงามอยู่กับต้นหรือตัดออกไปใช้ประโยชน์หรือ จำหน่าย ซึ่งสามารถแบ่งกลมุ่ ได้ 2 กลุม่ คอื ไมด้ อกประดบั และไมต้ ัดดอก ไม้ดอกประดับ คือ พันธุ์ไม้ดอกทุกชนิดที่ปลูกไว้เพื่อประดับบ้านเรือนอาคารสถานที่โดยให้ ดอกบานตดิ อยู่กบั ตน้ เพื่อเพม่ิ บรรยากาศใหส้ ถานที่นน้ั นา่ อยูอ่ าศยั หรอื น่าทำงาน ไดแ้ ก่ เขม็ ญี่ป่นุ พทิ เู นยี แพงพวย พทุ ธรกั ษา บานชนื่ ปทุมมา บัวสาย ฯลฯ ซ่ึงหลายชนดิ สามารถนำไปปลูกเป็นไม้ตัด ดอกได้ การจำแนกประเภทและแบ่งพันธไ์ุ ม้ มีหลักพิจารณาและจำแนกต่างกัน แล้วแต่ความมุ่งหมายและความประสงค์ ซึ่งอาจแบ่ง จำพวกพันธ์ไุ มด้ อกไม้ประดับเปน็ 3 พวกใหญ่ ๆ คือ 1. การแบ่งพันธุ์ไมด้ อกไม้ประดับตามความมุ่งหมายที่ใช้ หมายถึง การแบ่งพันธุ์ไม้ตามความ ต้องการและมงุ่ หมายทจ่ี ะนำมาใช้เพ่ือประโยชน์ ดงั น้ี

1) ไม้ตัดดอก (Cut flower plant) หมายถงึ ไมด้ อกทปี่ ลกู ณ สถานทท่ี ่ีมภี มู ปิ ระเทศ ภมู ิอากาศ สภาพแวดลอ้ ม เช่น สายลม แสงแดด อุณหภูมิ ดิน น้ำ ความชื้นสัมพัทธ์ การคมนาคม และระยะทางที่เหมาะสม เพื่อตัดเฉพาะ ส่วนดอกหรือช่อดอก ไปใช้ประโยชน์ หรือจำหน่าย เช่น แกลดิโอลัส เบญจมาศ เยอร์บีรา หน้าวัว กุหลาบ ดาวเรือง คาร์เนชัน และบัวหลวง ไม้ดอกดังกล่าวนี้ จะถูกตัดออกจากต้นไปใช้ประโยช น์ พรอ้ มทั้งก้านดอกด้วย ทงั้ นี้เพราะก้านดอกเปน็ แหล่งสะสมอาหาร เม่ือดอกถูกตัดจากต้นเพื่อนำไปปัก แจกัน หรือจัดกระเช้า อาหารที่เก็บสะสมไว้ที่ก้านดอกจะถูกนำมาใช้ ช่วยให้ดอกไม้มีอายุการใช้งาน ยาวนานขึ้น ดังนั้นคุณลักษณะสำคัญของไม้ตัดดอก นอกจากดอกจะต้องสวยสดแล้ว ก้านดอกก็ต้อง ใหญ่ ยาว และแข็งแรง แตไ่ มเ่ กะกะเก้งก้าง บรรจุหีบหอ่ ได้งา่ ย ขนส่งสะดวก มนี ้ำหนกั ไมม่ ากนกั และ เกบ็ รกั ษาไดน้ าน ยังมีไม้ดอกอีกหลายชนิดที่มีก้านดอกสั้น กลวงและเปราะหักง่ายแต่ดอกสวยหรือมีกลิ่นหอม อายุการใช้งานทนนาน สามารถใช้ประโยชน์ได้ดีในวิถีชีวิตของคนไทย โดยการนำเฉพาะส่วนดอกไป รอ้ ยมาลยั ทำอบุ ะ จดั พานพมุ่ หรอื นำไปจดั แจกนั โดยใช้กา้ นเทยี มแทน เชน่ รัก มะลิ พดุ จำปี จำปา แวนดาโจคมิ บานไม่รูโ้ รย 2) ไม้ดอกกระถาง (Flowering pot plant) หมายถึง ไม้ดอกที่ปลูกเลี้ยงในกระถางตั้งแต่เริ่มเพาะเมล็ดหรือย้ายต้นกล้า โดยการ เปลี่ยนกระถางให้มีขนาดใหญ่ขึ้นเป็นลำดับให้เหมาะสมกับความสูงและการเจริญเติบโตของต้น เม่ือ ออกดอก จะนำไปใช้ประโยชน์ในการประดับท้ังต้นทั้งดอก พร้อมทั้งกระถาง ทำให้อายุการใชง้ านทน นานกวา่ ไมต้ ดั ดอก เช่น บโี กเนีย แพนซี แอฟรกิ นั ไวโอเลต กล็อกซเิ นยี อมิ เพเชียนพทิ ูเนยี ไม้ดอกที่นำมาปลูกเป็นไม้กระถางจึงต้องมีทรงพุ่มต้นกะทัดรัด ไม่เกะกะเก้งก้าง หรือมี ต้นสงู ใหญ่ เกินกวา่ ที่จะนำมาปลูกเลีย้ งได้ในกระถางขนาดเล็กพอประมาณเพ่ือความสะดวกในการขน ย้าย ที่สำคัญคือควรจะออกดอกบานพร้อมเพรียงกันเกือบท้ังต้น เพื่อความสวยงามในการใช้ประดับ ปัจจุบันวิทยาการเจริญก้าวหน้าอย่างมาก มนุษย์สามารถปลูกเลี้ยงไม้ดอกหลายๆ ชนิดในกระถาง ขนาดเล็ก แม้จะมีขนาดต้นสูงใหญ่ โดยการใช้สารเคมีที่เรียกว่า สารชะลอการเจริญเติบโต ราดหรือ พ่น เพื่อทำให้ไม้ดอกเหลา่ นั้น มีขนาดต้นเตี้ยลงตามความต้องการ ตลอดจนใชเ้ ทคนิคบางประการใน ระหว่างการปลูกเลี้ยง เพื่อบังคับให้ไม้ดอกออกดอกพร้อมเพรียงกันทั้งต้นได้ โดยคงจำนวน ขนาด และสี ตลอดจนความสวยงามของดอก ให้ใกล้เคยี งกับของเดิมทุกประการ

3) ไม้ดอกประดับแปลง (Bedding plant) หมายถึง ไม้ดอกที่ปลูกลงแปลง ณ บริเวณที่ต้องการปลูกตกแต่ง เพื่อประดับบ้านเรือน อาคารสถานท่ี ตลอดจนสวนสาธารณะ โดยไมต่ ดั ดอกหรอื ส่วนใดสว่ นหนงึ่ ไปใช้ประโยชน์ แต่ปลอ่ ยให้ ออกดอกบานสะพรั่งสวยงาม ติดอยู่กับต้นภายในแปลงปลูก เพื่อประโยชน์ในการประดับ จนกว่าจะ รว่ งโรยไป 2. การแบ่งพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับตามลักษณะนิสัยของพันธุ์ไม้ เช่น การแบ่งตามถิ่นกำเนิด แบ่งตามอายุความเจริญเติบโตของพันธุ์ไม้ ตามลักษณะเน้ือไม้ ตามส่ิงแวดล้อม และตามลักษณะของ ลำตน้ 3. การแบง่ พันธ์ุไม้ดอกไม้ประดบั ตามหลักพฤกษศาสตร์ มีความมุ่งหมายเพ่ือจำแนกพันธุ์ไม้ ทั่ว ๆ ไปให้แน่ชัดในรูปร่าง ลักษณะนิสัยการดำรงชีพ และการสืบพันธุ์ ของพันธุ์ไม้ให้อยู่เป็นกลุ่มท่ี แน่นอน ไม่ปะปนกัน คณุ ภาพของไม้ดอกไมป้ ระดับ ไม้ดอกและไม้ประดับเป็นอวัยวะของพืชที่ค่อนข้างซับซ้อน ซึ่งเมื่อมีการสูญเสียคุณภาพของ ก้าน ใบ หรือดอก จะไม่สามารถจำหน่ายได้ เพราะตลาดไม่ยอมรับ การสูญเสียคุณภาพมีสาเหตุมา จากหลายประการ เช่น การเหย่ี ว การร่วงของใบหรือกลีบดอก การโคง้ งอ เปน็ ต้น ในการคัดคุณภาพ หรือจัดมาตรฐานไม้ดอกไม้ประดับนั้น ต้องเข้าใจสาเหตุที่ทำให้คุณภาพของไม้ดอกไม้ประดับเสียไป ด้วย ได้แก่ 1. การเจริญเติบโตจนแก่ ทำให้คุณภาพเสื่อมลง และอาจทำให้เกิดการโค้งงอของก้านดอก ได้ 2. การเส่อื มสภาพเป็นช่วงเวลาท่ีดอกไม้กำลงั จะหมดอายุซงึ่ คณุ ภาพจะต่ำลง 3. การเห่ยี ว อายุการปกั แจกันของดอกไม้และใบไม้ข้นึ อยู่กบั การได้รบั น้ำอยา่ งต่อเนื่องและ พอเพียง 4. การเหลอื งของใบและอวัยวะอน่ื ๆ ทำใหด้ อกหมดอายุการใช้งาน 5. การร่วงของกลีบดอกและใบหรืออวยั วะอ่ืน ๆ จากสาเหตุต่าง ๆ ปัจจัยท่มี ีผลตอ่ การเจริญเตบิ โตของไม้ดอกไมป้ ระดบั

1. ดิน เป็นปัจจัยที่สำคัญอันดับแรกเพราะดินจะช่วยพยุงลำต้น เป็นแหล่งให้น้ำให้อากาศ ตลอดจนแร่ธาตุตา่ ง ๆ ดนิ ทีอ่ ดุ มสมบูรณพ์ ชื กจ็ ะเจรญิ เตบิ โตไดด้ ี 2. ความชุ่มชื้นหรือน้ำ หมายถึง ความชุ่มชื้นทีอ่ ยูใ่ นดนิ และความชุ่มชื้นที่อยูใ่ นอากาศ ดิน ที่อุดมสมบูรณ์มีธาตุอากาศ หากขาดน้ำในดินรากก็ไม่สามารถดูดไปใช้ได้ ความชุ่มชื้นในอากาศมี ความจำเป็นตอ่ ตน้ ไมเ้ พราะจะชว่ ยให้ตน้ ไม้สดชน่ื อยู่เสมอ 3. แสงสวา่ ง มีบทบาทสำคัญต่อการเจริญเตบิ โตของต้นพชื นับต้ังแตเ่ มลด็ เริ่มงอก การสร้าง ฮอร์โมนในพืช การสร้างเม็ดสี ตลอดจนการออกดอกผลและอื่น ๆ พืชบางชนิดจะออกดอกเมื่อได้รับ แสงสว่างเพียงพอ 4. อุณหภูมิ เป็นปัจจัยสำคัญอีกอย่างหนึ่งที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโต คุณภาพของดอก และปริมาณดอก 5. ปุ๋ย การเจริญเติบโตของพืชต้องการอาหารธาตุ ในการเจริญเติบโตจะได้รับอาหารธาตุ เหล่านั้นจากดิน น้ำและอากาศ ในปัจจุบันธาตุในดินไม่เพียงพอต่อการเจริญเติบโต จำเป็นต้องใส่ปุ๋ย เพือ่ ปรุงดนิ ใหม้ ธี าตุตามทพี่ ชื ต้องการ 6. โรคและแมลง โรคที่เกิดกับพืชมีทั้งโรคที่เกิดจากเชื้อรา และแบคทีเรีย ส่วนแมลงนั้นมี มากมายหลายชนิด เช่น เพล้ีย หนอนต่าง ๆ เปน็ ต้น การฉีดยาปอ้ งกนั โรคและแมลงกอ่ นจะช่วยให้พืช สามารถเจริญเติบโตได้ดี 7. การตัดแต่ง จะมีผลต่อการเจริญเติบโต แตกกิ่งก้านสาขาของต้นไม้ ซึ่งจะช่วยในการ กำหนดรูปร่างรูปทรงของพืชนน้ั รวมทง้ั การตดั กงิ่ ทีไ่ มต่ อ้ งการออกด้วย 8. ตำแหน่งท่ปี ลูก มีผลต่อการเจริญเตบิ โตอกี ประการหนงึ่ การเรียนรลู้ ักษณะนิสัยของพืช นัน้ ๆ จะทำให้สามารถเลอื กสถานท่ที ีจ่ ะปลกู พืชได้เหมาะสมเพื่อให้มีการเจริญเติบโตได้ดี อ้างอิง (เอกสารวชิ าการงานราชพฤกษ์ 2549:กรมวชิ าการ “ไม้ประดบั ”) ไม้ประดับ หมายถึง พันธุ์ไม้ที่ปลูกเพื่อประโยชน์ในด้านความสวยงาม ด้วยการอาศัยความ โดดเดน่ ของผล ดอก ใบ และลำตน้ ทัง้ ลกั ษณะความสวยงาม หายาก ความเป็นสริ มิ งคล รวมถงึ การมี เอกลักษณ์ไม่เหมือนพันธุ์ไม้อื่นในสมัย ก่อนการปลูกพันธุ์ไม้เพื่อความสวยงามมักเน้น และให้ ความหมายของไม้ประดับท่ีพันธ์ุไม้ใหด้ อก แตป่ จั จบุ นั การปลูกไม้ประดับเริ่มนิยมปลูกไม้ชนิดอื่นๆท่ีมี ลักษณะโดดเด่นใน ส่วนของใบ ลำต้น ความหายาก ความเชื่อในสิริมงคล และการมีเอกลักษณ์ของ สายพนั ธ์จุ ึงมักเรียกพันธ์ุไม้ประดับวา่ ไม้ดอกไม้ประดบั

ไม้ดอก ไม้ประดับแบ่งออกเปน็ 2 ประเภท คอื 1. ไม้ดอก หมายถึง พันธุ์ไมท้ ีป่ ลูกเพื่อประโยชน์ในด้านความสวยงามหรือความเปน็ สริ ื มงคลโดยมี ลักษณะของดอกที่โดดเด่น สวยงาม และมีเอกลักษณ์ แบ่งเป็นไม้ตัดดอก หมายถึง ไม้ท่ี เจริญเติบโตแล้วให้ดอกเพื่อการตดั ดอกมาใช้ประโยชน์ ไม้ดอก หมายถึง ไม้ที่เจริญเติบโตแล้วให้ดอก สวยงามเพื่อใช้ชมความงามของดอกที่ติดอยู่กับต้น โดยไม่มีการตัดดอก ไม้พวกนี้มักมีลักษณะก้าน ดอกสั้น ก้านดอกตดิ กับส่วนต้น ดอกมลี กั ษณะบอบบาง เชน่ พุทธรักษา ผกากรอง เป็นต้น รปู ท่ี 1 ตน้ ดอกพุทธรักษา ไม้ดอกบางชนิดจะมีกลิ่นหอมเพื่อล่อแมลงมาจับตอมสำหรับการผสมเกสร โดยส่วนมากไม้ ดอกจะเป็นพืชลม้ ลุก และมีการเจรญิ เติบโตในบางช่วงฤดกู าลท่ีมอี ุณหภมู ิเหมาะสม เช่น ฤดูหนาวจะ มไี ม้ดอกที่ออกดอกสวยงาม ได้แก่ ทิวลปิ ลลิ ลี่ เปน็ ต้น รปู ที่ 2 ต้นดอกลลิ ล่ี

2. ไม้ประดับ หมายถงึ พนั ธไุ์ ม้ทป่ี ลูกเพอื่ ประโยชน์ในการประดบั สถานที่ต่างๆด้วยความ สวยงามหรอื ความเป็นสิรมิ งคล โดยมลี กั ษณะเดน่ ทง้ั ใบ ดอกหรือลำต้น แบ่งเปน็ ไม้ใบประดับ หมายถึง พันธุ์ไม้ที่ปลูกเพื่อประโยชน์ในด้านความสวยงามหรือความเป็นสิริ มงคล โดยมีลักษณะของใบทโี่ ดดเดน่ สวยงาม และมีเอกลกั ษณ์ ไม้ต้นประดับ หมายถึง พันธุ์ไม้ที่ปลูกเพื่อประโยชน์ในด้านความสวยงามหรือความเป็นสิริ มงคล โดยมลี ักษณะของลำตน้ ทีโ่ ดดเดน่ สวยงาม และมีเอกลักษณ์ การเพาะขยายพนั ธุ์ พันธ์ุไม้ประเภทไม้ดอก ไมป้ ระดับนยิ มเพาะขยายพันธดุ์ ้วยวธิ ีตา่ งๆ ดังน้ี 1. การเพาะเมลด็ เปน็ วิธที ี่เหมาะสำหรับการขยายพันธ์ุสำหรับพรรณไม้ล้มลุก อายุไม่กี่ เดือน 2. มักเปน็ ไม้มดี อก เช่น ดาวเรือง ทานตะวนั เป็นตน้ การแยกหนอ่ แยกเหงา้ เป็นวิธีท่ี ใช้มากสำหรับพืชใบเลี้ยงเดี่ยวจำพวกพรรณไม้ประเภทใบประดับหรือต้นประดับ เช่น พลูด่าง แก้ว กาญจนา เป็นต้น 3. การปักชำ เป็นวิธีที่ใช้มากสำหรับพืชใบเลี้ยงเดี่ยวหรือใบเลี้ยงคู่ ที่มีอายุหลายปี มักเป็น พรรณไมป้ ระเภทใบประดับ ตน้ ประดับเช่นกัน 4. การตอน เป็นวิธีที่ใช้สำหรับพรรณไม้ยืนต้น มีกิ่ง มักเป็นไม้ประดับต้นหรือไม้มีดอก สวยงาม เช่น กุหลาบ เฟ่ืองฟา้ เปน็ ตน้ การปลกู ไม้ดอก และไม้ประดบั สามารถจำแนกเปน็ 2 ลักษณะ คอื 1. การปลกู ในกระถาง เปน็ วธิ กี ารปลกู ไม้ดอก ไมป้ ระดบั ดว้ ยการปลูกในกระถาง ซง่ึ อาจเป็นกระถางพลาสตกิ กระถางดินเผา กระถางไม้ หรือกระถางทที่ ำจากวัสดอุ ่นื ๆ เหมาะสมหรับไมด้ อก ไมป้ ระดับท่ีมลี ำตน้ ขนาดเลก็ ไมส่ ูงมาก ทรงพมุ่ ไม่กว้าง ตอ้ งการแสงน้อย เชน่ กุหลาบ พลูดา่ ง ดาวเรือง แก้วกาญจนา เป็นต้น ข้อดี – สามารถเคลอื่ นย้ายงา่ ย – ตั้งประดบั ได้เกือบทุกสถานที่ แม้ในห้องพักหรอื อาคารสูง

ข้อเสยี – ต้องทำการผสมดิน และเคล่ือนย้ายดนิ ใส่กระถาง ซง่ึ อาจตอ้ งเสยี ค่าใช้จ่ายในค่าวัสดุ อปุ กรณ์ และวสั ดดุ ิน รวมถึงส่วนผสมของดิน – การเคล่อื นย้ายทีไ่ ม่ระมัด ระวัง หรอื การใช้กระถางที่เปราะอาจทำให้กระถางแตกง่าย – ปลกู ไม้ไดเ้ พยี งไม่ก่ชี นิด 2. การปลูกลงแปลงจัดสวน เปน็ วิธีการปลูกไม้ดอก ไม้ประดบั ลงในแปลงปลูกหรอื เรียกทวั่ ไปวา่ การจดั สวน ซงึ่ จำเปน็ ตอ้ งมีที่ดนิ หรือที่ว่างเปล่า เชน่ พื้นทีห่ น้าบา้ น ขา้ งบ้านหรือหลังบ้าน เหมาะสำหรับการปลกู ไม้ ดอก ไม้ประดบั ทุกขนาดชนดิ ต้ังแต่เลก็ จนถึงเปน็ ไม้ยนื ตน้ ขนาดใหญ่ ขอ้ ดี – สามารถปลกู ไม้ไดห้ ลายชนิดผสมกัน – เป็นระบบนิเวศท่ีเอ้อื ต่อกันของต้นไม้ ดิน น้ำ และจุลนิ ทรีย์ ข้อเสีย – ต้องใชพ้ ื้นท่ีดินบางสว่ น เหมาะสำหรบั บ้านทีม่ พี ้ืนที่ว่าง – หากไม่มกี ารจดั การดแู ล อาจเป็นท่อี ยู่อาศัยของสัตวม์ ีพิษ เชน่ ตะขาบ งู เปน็ ตน้ พันธไุ์ มด้ อก ไมป้ ระดับ พนั ธุไ์ มด้ อก ไมป้ ระดับบางชนิดสามารถจำแนกลักษณะ และประโยชนท์ ีเดน่ ชัดได้ แต่บาง ชนิดอาจจำแนกลักษณะเดน่ และประโยชน์ได้มากกว่า 2 ชนดิ เช่น ลัน่ ทมหรอื ลีลาวดี อาจจัดเป็นไม้ ตน้ ประดับหรอื ไมด้ อกประดบั กไ็ ด้ 1. ไม้ดอกประดบั ไม้ยนื ตน้ ขนาดใหญ่-เลก็ – ราชพฤกษ์ – เฟ่ืองฟ้า – แคแสด – ทองหลาง – หางนกยงู – หมนั แดง – สายหยดุ – พุดนำ้ บศุ ย์

2. ไม้ล้มลุก – ดาวเรอื ง – บานไม่รโู้ รย – บานเย็น 3. ไมใ้ บประดบั – พลูด่าง – เขยี วหม่นื ปี – แก้วกาญจนา 4. ไมต้ น้ ประดับ – แคปา่ – ต้นตีนเปด็ /พญาสัตบรรณ/สตั บรรณ – กะดังงา การเขียนอา้ งองิ บทความ (วรภัตร ศรีสุวรรณ 2557) การขยายพันธุไ์ ม้ดอกไม้ประดบั การขยายพนั ธุ์พชื หมายถงึ การเพิม่ จำนวน ต้นพชื ให้มีปรมิ าณมากขึ้น การขยายพนั ธ์ุไม้ ดอกไม้ประดับแบ่งเป็น 2 ประเภท คอื 1. การขยายพนั ธ์แุ บบใช้เพศ 2. การขยายพนั ธ์ุแบบไมใ่ ช้เพศ การขยายพันธุ์แบบใช้เพศ หมายถึง การขยายพันธ์โุ ดยการใชเ้ มล็ด การขยายพันธ์ุวธิ นี ี้เกย่ี วข้องกบั การผสมพันธรุ์ ะหว่าง เกสรตัวผู้กับเกสรตัวเมีย ผลที่ได้รบั จากการผสมพันธุ์ คือ เมล็ด ได้แก่ ดาวเรือง บานไม่รู้โรย บานชืน่ ดอกรัก ทานตะวัน อัญชนั พวงชมพู กระดุมทอง ผีเสื้อ หงอนไก่ ฯลฯ

รูปที่ 3 ดอกหงอนไก่ การขยายพันธุ์แบบไมใ่ ช้เพศ หมายถึง การขยายพนั ธ์ทนี่ ำเอาส่วนอ่นื ๆ นอกเหนือจากเมลด็ มาขยายพันธุ์ เช่น ลำตน้ ใบ ราก เป็นต้น รปู ที่ 4 ดอกเฟ่ืองฟ้า การขยายพันธุ์มีหลายวธิ ี ไดแ้ ก่ 1. การเพาะเมลด็ พืชท่ีนยิ มทำ ไดแ้ ก่ ทานตะวัน ดาวเรือง บานช่ืน บานไม่รโู้ รย ฯลฯ 2. การปักชำกง่ิ ไม้ดอกไมป้ ระดับทน่ี ิยมทำ ได้แก่ กุหลาบ เข็ม ดอกพุด เฟ่ืองฟ้า เทียนทอง ผกากรอง ลีลาวดี ชบา ฤาษีผสม โป๊ยเซียน โกสน ฯลฯ 3. การติดตา ไม้ดอกไม้ประดับทนี่ ยิ มทำ ได้แก่ กุหลาบ ชบา

4. การตอนกิ่ง ไม้ดอกไม้ประดับที่นิยมทำ ได้แก่ กุหลาบ เข็ม พุด มะลิ โกสน แก้ว ฯลฯ 5. การโน้มกิ่ง ไม้ดอกไม้ประดับที่นิยมทำ ได้แก่ มะลิ เสาวรส พวงทองเครือฯลฯ ความสำคัญของไมด้ อกไมป้ ระดบั ไมด้ อกไม้ประดบั มคี วามสำคัญ ดงั น้ี 1. สามารถทำเป็นอาชีพหลักและอาชีพเสริม การปลูกไม้ดอกไม้ประดับ สามารถทำเป็น อาชพี ของเกษตรกรไดเ้ ป็นอย่างดี สร้างรายได้ใหแ้ กผ่ ูผ้ ลิตปลี ะจำนวนมาก ๆ 2. ทำให้สภาพแวดลอ้ มเกิดความร่มรื่นสวยงาม การปลกู ไมด้ อกไมป้ ระดับ ช่วยสรา้ งความร่ม ร่นื สวยงามใหแ้ กส่ ถานทต่ี ่าง ๆ ใหน้ า่ อยู่น่าอาศยั สรา้ งความเพลอดเพลิน 3. เป็นแหล่งวัตถุดิบทำให้เกิดอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น อุตสาหกรรมผลิตน้ำหอม เครื่องสำอาง อตุ สาหกรรมดา้ นยารักษาโรค ตลอดจนอุตสาหกรรมผลิตอาหารสัตว์ต่าง ๆ เป็นตน้ 4. ก่อให้เกิดอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว เมื่อมีการรวมตัวกันผลิตไม้ดอกไม้ประดับ จำนวน มาก ทำให้กลายเป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตร เกิดอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว สามารถสร้าง รายได้ให้แก่ชุมชนและสว่ นรวมอีกทางหนึง่ ด้วย 5. ไม้ประดับสามารถส่งเป็นสินค้าออกไปจำหน่ายยังต่างประเทศ สร้างรายได้เป็นมูลค่านับ พันลา้ นบาทต่อปี เช่น การส่งออกกล้วยไมท้ ั้งตน้ และดอกไปขายยังตา่ งประเทศ เปน็ ต้น 6. ใช้เป็นแหล่งทดลองทางวิทยาศาสตร์การเกษตร ทำให้เกิดความเจริญด้าน เทคโนโลยีการเกษตรมากย่งิ ขึน้ ความหมายของไมด้ อกไม้ประดับ ไม้ดอก หมายถึง พืชที่ปลูกขึ้นเพื่อใช้ประโยชน์จากดอก พืชชนิดนี้มีลักษณะดอกสวยงาม มที ัง้ ไมย้ ืนต้นขนาดใหญ่ ไม้พมุ่ และไมล้ ม้ ลุก บางชนิดมดี อกสวยงามติดตน้ นิยมปลกู ประดับตกแต่ง อาคารสถานที่ เรียกวา่ ไม้ดอก เช่น ลั่นทม ยี่โถ ยี่เข่ง เข็ม ชวนชม ดาวกระจาย บานชื่น พุทธรักษา โป๊ยเซียน เป็นต้น บางชนิดปลูกเพื่อตัดดอกนำไปใช้ประโยชน์โดยตรง เรียกว่า ไม้ตัดดอก เช่น กุหลาบ ดาวเรอื ง หน้าวัว เบญจมาศ ซ่อนกลิ่น ขิงแดง กลว้ ยไม้ เป็นต้น ไม้ประดับ หมายถึง พืชท่ปี ลกู ขนึ้ เพื่อใชป้ ระโยชน์จากรปู ร่าง รูปทรง สสี นั ของลำต้นและใบ พืชชนิดนี้จะมีรูปทรง รูปร่าง สีสีนของลำต้นและใบสวยงามแตกต่างกันไป นิยมปลูกประดับตกแต่ง

อาคารสถานที่ทั้งในพื้นดินและในกระถาง มีทั้งไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ไม้พุ่ม และไม้ล้มลุก เช่น ปาล์ม ต่าง ๆ ข่อย สนชนิดต่าง ๆ ไทรยอดด่าง ฤาษีผสม เฟิร์นชนิดต่าง ๆ สาวน้อยประแป้ง ว่านกาบหอย เป็นต้น ประเภทของไม้ดอกไม้ประดับ 1. แบ่งตามความต้องการแสงในการเจริญเตบิ โตสามารถแบง่ ได้ 2 ประเภทคอื 1.1 พืชในร่ม (indoor plants) เปน็ พืชท่ีต้องการความเข้มของแสงต่ำ ควรปลูกในท่ี ร่ม มีแสงรำไร จะทำให้พืชมีการสังเคราะห์แสงดี อย่าให้ถูกแดดจัด เพราะจะทำให้ใบไหม้ และตายได้ เชน่ เฟิร์นต่าง ๆ สาวนอ้ ยประแป้ง บอนสี เปน็ ต้น 1.2 พืชกลางแจ้ง (Outdoor plants) เป็นพืชที่ต้องการความเข้มของแสงสูง จึงจะ ทำให้ขบวนการสังเคราะห์แสงของพืชทำได้ดี พืชประเภทนี้จึงต้องปลกู กลางแจ้ง ถูกแดดจัด ตลอดท้งั วนั เชน่ กุหลาบ เข็ม ยี่โถ ดาวเรอื ง ดาวกระจาย ชวนชม เฟ่ืองฟา้ เป็นต้น 2. แบ่งตามลักษณะรูปทรงของลำต้น ใบ ได้แก่พรรณไม้ที่มุ่งเน้นความสวยงามที่รูปทรงของ ลำตน้ พมุ่ ใบ แบ่งได้ดังน้ี 2.1. ไม้ยืนต้น (Tree) ส่วนมากเป็นพรรณไม้ที่ต้องขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด มีอายุยืน นานหลายปี มดี ังน้ี (1) ไม้ยนื ต้นใบเลี้ยงคู่ ได้แก่ ไมใ้ ห้รม่ เงา เช่น ประดแู่ ดง ประดูบ่ า้ น จามจรุ ี ทองกวาว คณู นนทรีย์ ตะแบก เสลา พกิ ุล ลนั่ ทม ไทร ชงโค ฯลฯ และไม้ยืนต้นที่มี ลักษณะพิเศษของลำต้น ใบ หรือทรงพุ่มสวยงาม เช่น เฟื่องฟ้าตอ โมกตอ ไม้ดัดไม้ แคระ ซองออฟอนิ เดีย ฯลฯ (2) ไม้ยืนต้นใบเลี้ยงเด่ียว เช่น จันทน์ผา ปาล์มชนิดต่าง ๆ (จั๋ง อินทผลัม ปาล์มน้ำมนั ตาล หมากเขยี ว หมกเหลอื ง หมากนวล ฯลฯ) 2. 2 ไม้พุ่ม (Shrub) เป็นพรรณไม้ที่ส่วนมากจะขยายพันธุ์โดยวิธีการตอน หรือ ตดั ชำ ปลกู แล้ สามารถบังคับพมุ่ ได้ มี 2 กลุม่ ดงั นี้ (1) ชนิดตัดแต่งบังคับทรงพุ่มได้ เช่น หูปลาช่อน ชบาด่าง นีออน ล้ิน กระบอื เขม็ เชยี งใหม่ เขม็ พษิ ณโุ ลก บานบุรพี ุม่ ฯลฯ

(2) ชนิดซอยบังคับทรงพุ่ม จะใช้กับพรรณไม้ที่ต้องการให้ออกดอก และ ต้องการควบคุมความสูงของทรงพุ่ม เช่น เฟ่ืองฟ้า เขม็ ปัตตาเวยี เข็มมาเลเซีย เลบ็ ครฑุ โกสน ฯลฯ 2.3 ไม้กอ เป็นพรรณไม้ที่ขยายพันธุ์โดยวธิ ีการแยกหวั หน่อหรือเหง้า ได้แก่ ขิงแดง ข่าด่าง รางทอง เขียวหมื่นปี กล้วยกำมะหยี่ เสน่ห์ขุนแผน กาเหว่าลาย หนวดปลาดุก ม้า เวยี น เศรษฐีไซ่งอ่ น กำแพงเงิน กาบหอย สปั ปะรดสี ฯลฯ 2.4 ไมค้ ลุมดิน เป็นพชื ท่ีมีลำต้นสัน้ หรือลำต้นมีลักษณะเลื้อยยาวแผ่คลุมดินไดด้ ี เช่น มันเทศดา่ ง ผกากรองเล้อื ย 3. แบง่ ตามความสวยงามหรอื การใชป้ ระโยชน์จากส่วนตา่ ง ๆ ของพรรณไม้ 3.1 พืชพรรณที่มีโคนต้นหรือรากสวยงาม เช่น ไทร โพธิ์ ชวนขม หมากเล็กหมาก นอ้ ย สนเลื้อย ฯลฯ 3.2 พืชพรรณที่มีลำต้นแปลกสวยงาม เช่น ไม้ดัดไม้แคระ ปาล์มชนิดต่าง ๆฯลฯ อา้ งถงึ : การขยายพนั ธุ์ไมด้ อกไมป้ ระดับ (สุพจน์ วรรควิลัย 2559)

บทที่ 3 วิธดี ำเนินการศึกษา การศึกษาเรื่อง “การพัฒนาผลการจัดการเรียนรู้โดยเน้นทักษะกระบวนการทำงาน เรื่อง วิธีการขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี(งานเกษตร) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์31 ตำบลช่างเคิ่ง อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่” กำหนดวิธีการ ศกึ ษาเรื่องตา่ ง ๆ ดังต่อไปน้ี สถานที่ดำเนนิ การศกึ ษา การศึกษาครั้งนี้ ดำเนินการศึกษาในโรงเรียนราชประชานุเคราะห์31 ตำบลช่างเค่ิง อำเภอแม่แจ่ม จงั หวดั เชยี งใหม่ ซึง่ โรงเรยี นดงั กล่าวไดเ้ ปิดสอนกล่มุ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยี (เกษตร) ในระดบั มธั ยมศกึ ษา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 1. ประชากรทใี่ ช้ในการศึกษาครั้งน้ีไดแ้ ก่นักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1-3 โรงเรียนราชประชา นุเคราะห์31 ตำบลช่างเคิ่ง อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชยี งใหม่ จำนวนทั้งหมด 50 คน แบง่ กลุ่มประชากร ออกเปน็ ดงั น้ี ระดับชั้น จำนวน มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 19 มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 15 มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 16 50 รวม 1) เพื่อศึกษาสถานภาพทั่วไปของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 โรงเรียนราชประชานุ เคราะห์31 ตำบลช่างเค่งิ อำเภอแม่แจม่ จังหวัดเชยี งใหม่ 2) เพ่ือศกึ ษาการพฒั นาผลการจัดการเรียนรโู้ ดยเน้นทกั ษะกระบวนการทำงาน เรื่อง วิธีการ

ขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี(งานเกษตร) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์31 ตำบลชา่ งเคง่ิ อำเภอแมแ่ จม่ จงั หวัดเชียงใหม่ 3) เพื่อนำมาเป็นแนวทางแก้ไขปัญหาในการจัดการเรียนการสอนการพัฒนาผลการจัดการ เรียนรู้โดยเน้นทักษะกระบวนการทำงาน ของกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (เกษตร) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์31 ตำบลช่างเคิ่ง อำเภอแม่แจ่ม จงั หวัดเชียงใหม่ ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง ประชากร คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 โรงเรียนราชประชานุ เคราะห3์ 1 ตำบลชา่ งเค่งิ อำเภอแมแ่ จม่ จงั หวัดเชียงใหม่ ภาคเรียนท่ี 2ปกี ารศึกษา 2561 กลุ่มตัวอย่าง คือ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์31 ตำบลช่างเค่ิง อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชยี งใหม่ ภาคเรียนที่ 2ปกี ารศกึ ษา 2561 ท้งั หมด 50 คน ไดม้ าด้วยวิธีการสุ่ม แบบกำหนดโควตา (Quota Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ วิเคราะหข์ อ้ มูลไดแ้ ก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยแบ่งออกเป็นดงั นี้ ระดับชน้ั จำนวน มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 19 มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 15 มัธยมศึกษาปที ่ี 3 16 50 รวม วธิ ีการดำเนินการศึกษา การพัฒนาผลการจัดการเรียนรูโ้ ดยเนน้ ทักษะกระบวนการทำงาน เรื่อง วิธีการขยายพันธุ์ไม้ ดอกไม้ประดับ วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี(งานเกษตร) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 โรงเรียนราช ประชานุเคราะห์31 ตำบลช่างเคิ่ง อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ กำหนดวิธีการศึกษาเรื่องต่าง ๆ ดงั ต่อไปน้ี 1. ขนั้ วางแผน

2. ขัน้ เตรียมการ 3. ขน้ั ดำเนินการ 4. ขน้ั สรปุ ผล ปฏทิ นิ ปฏิบัติงาน : ระยะเวลาศกึ ษา วนั ที่ 1 พฤศจิกายน 2561 ถึง วนั ท่ี 28 กุมภาพันธุ์ 2562 ระยะเวลาการดำเนนิ งาน ข้นั ตอนการดำเนินงาน พ.ย. 63 ธ.ค. 63 ม.ค. 64 ก.พ. 64 1. ขัน้ วางแผน 1234123412341234 - เลอื กหัวข้อปัญหาพิเศษและ ปรกึ ษาหวั ข้อปัญหาพเิ ศษกบั อาจารย์ทปี่ รึกษา - ศึกษาเอกสารและงานวจิ ยั ที่ เก่ยี วข้อง - เขยี นโครงร่างปัญหาพิเศษ - เลอื กโรงเรยี นท่จี ะเกบ็ ข้อมลู - ออกแบบเคร่ืองมือการเก็บ ข้อมลู 2. ขน้ั เตรยี มการ - ทำใบขออนุญาตโรงเรียนที่ ศึกษาและเกบ็ ข้อมลู 3. ขัน้ ดำเนนิ การ - เกบ็ ข้อมลู - รวบรวมขอ้ มลู 4. ขน้ั ประเมนิ ผล - วเิ คราะห์ข้อมลู สรปุ ผล

เคร่อื งมอื ท่ใี ช้ในการศกึ ษา เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เปน็ เครือ่ งมือที่ผูศ้ ึกษาสร้างข้ึนเอง โดยใช้แบบสอบถามแบง่ ออกเปน็ 3 ตอน คอื ตอนที่ 1เปน็ แบบสอบถามข้อมูลเกย่ี วกับสถานภาพทวั่ ไปของนักเรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1-3 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห3์ 1 ตำบลชา่ งเคง่ิ อำเภอแม่แจ่ม จังหวดั เชยี งใหม่ ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามที่ศึกษาการพัฒนาผลการจัดการเรียนรู้โดยเน้นทักษะ กระบวนการทำงาน เรื่อง วิธีการขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี(งาน เกษตร) ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1-3 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์31 ตำบลชา่ งเคิ่ง อำเภอแม่แจ่ม จังหวัด เชยี งใหม่ ตอนท่ี 3เป็นแบบสอบถามที่นำมาเป็นแนวทางแก้ไขปัญหาในการจัดการเรียนการ สอน การพัฒนาผลการจัดการเรียนรู้โดยเน้นทักษะกระบวนการทำงาน ของกลุ่มสาระการเรียนรู้การ งานอาชพี และเทคโนโลยี (เกษตร) ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1-3 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์31 ตำบลช่าง เค่ิง อำเภอแมแ่ จม่ จงั หวัดเชียงใหม่ การทดสอบแบบสอบถาม ก่อนการนำแบบสอบถามไปใช้ผู้ศึกษาได้นำแบบสอบถามเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาวิชา ปญั หาพิเศษ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลยั ราชภัฏเชียงใหม่ เพ่ือตรวจสอบเน้ือหาและเพื่อ ความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างของเนื้อหาแบบสอบถาม และนำไปทดสอบกับนักเรียน โรงเรียนราช ประชานุเคราะห์31 ตำบลชา่ งเค่งิ อำเภอแมแ่ จม่ จงั หวัดเชยี งใหม่ จำนวน 50 คน ระดบั ชนั้ จำนวน มัธยมศึกษาปีท่ี 1 19 มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 15 มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 16 50 รวม

การรวบรวมข้อมูล ผู้ศึกษาได้ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ด้วยตัวเอง โดยคณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ได้ทำหนังสือขอความร่วมมือในการศึกษาครั้งนี้ต่อผู้อำนวยการ สถานศกึ ษา โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์31 ตำบลชา่ งเคิ่ง อำเภอแม่แจ่ม จงั หวดั เชียงใหม่ เพื่อท่ีจะ ได้แจ้งให้ทางโรงเรยี นท่ผี ศู้ กึ ษาจะได้ไปเก็บข้อมูลได้ทราบ การวิเคราะห์ข้อมูล เมื่อรวบรวมแบบสอบถามในการศึกษาเรยี บร้อยแลว้ ได้ดำเนนิ การดังตอ่ ไปน้ี ตอนท่ี 1วเิ คราะหข์ ้อมูลท่วั ไปสำหรบั ผู้ตอบ 1. ทำตารางความถข่ี องคำตอบแตล่ ะขอ้ 2. ความถขี่ องแต่ละข้อแสดงในรปู ร้อยละ ตอนที่ 2วิเคราะห์ข้อมูลศึกษาการพัฒนาผลการจัดการเรียนรู้โดยเน้นทักษะกระบวน การ ทำงาน เรื่อง วิธีการขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี (งาน - เกษตร) 1. ทำตารางความถข่ี องคำตอบแต่ละขอ้ 2. ความถ่ีของแต่ละขอ้ แสดงในรปู x̅และ S.D. 3. แปลผลของระดับความพึงพอใจ ตอนที่ 3วิเคราะห์ข้อมูลที่นำมาเป็นแนวทางแก้ไขปัญหาในการจัดการเรียนการสอน การ พัฒนาผลการจัดการเรียนรู้โดยเน้นทักษะกระบวนการทำงาน ของกลุ่มสาระการเรียนรู้การ งานอาชพี และเทคโนโลยี (เกษตร) 1. ทำตารางความถีข่ องคำตอบแตล่ ะขอ้ 2. ความถ่ีของแตล่ ะข้อแสดงในรปู x̅ และ S.D. 3. แปลผลของระดับความพงึ พอใจ

สถติ ิท่ใี ชใ้ นการศึกษา โดยใช้การหาคา่ ร้อยละ มีสูตรดงั นี้ เมื่อ คอื ค่ารอ้ ยละ คือความถ่ีท่ตี อ้ งการแปลงให้เป็นคา่ รอ้ ยละ คอื จำนวนความถ่ีท้ังหมด

บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การพัฒนาผลการจัดการเรียนรูโ้ ดยเนน้ ทักษะกระบวนการทำงาน เรื่อง วิธีการขยายพันธุ์ไม้ ดอกไม้ประดับ วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี(งานเกษตร) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 โรงเรียนราช ประชานุเคราะห์31 ตำบลช่างเคิ่ง อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งการศึกษาในครั้งนี้ผู้ศึกษาใช้ วธิ กี ารสำรวจโดยใช้แบบสอบถามเป็นเคร่ืองมือในการเก็บรวบรวม จากนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1- 3จำนวน 50 คน ซง่ึ ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลได้นำเสนอ เปน็ 3 ตอนดงั น้ี ตอนที่ 1 ข้อมูลพ้ืนฐานท่วั ไปสำหรับผูต้ อบ ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามที่ศึกษาการพัฒนาผลการจัดการเรียนรู้โดยเน้นทักษะกระบวน การทำงาน เรอ่ื ง วิธกี ารขยายพันธไ์ุ ม้ดอกไมป้ ระดับ วชิ าการงานอาชีพและเทคโนโลย(ี งานเกษตร) ตอนท่ี 3 เปน็ แบบสอบถามท่ีนำมาเป็นแนวทางแก้ไขปัญหาในการจดั การเรยี นการสอน การ พัฒนาผลการจดั การเรียนรโู้ ดยเน้นทักษะกระบวนการทำงาน ของกล่มุ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี (เกษตร) ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู นำเสนอในรูปตาราง ดงั ตอ่ ไปน้ี รอ้ ยละ ตอนที่ 1 ข้อมลู พน้ื ฐานสำหรบั ผูต้ อบ 74 ตารางที่ 1 จำนวนและค่ารอ้ ยละของนักเรียนผใู้ หข้ อ้ มูลแยกตามเพศ 26 100 เพศ จำนวน ชาย 37 หญงิ 13 รวม 50 จากตารางที่ 1 พบว่าผู้ให้ข้อมูลแยกตามเพศทั้งหมด 50 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จำนวน 37 คน คดิ เป็นร้อยละ 74 รองลงมาเป็นเพศหญงิ จำนวน 13 คน คิดเปน็ ร้อยละ 26

ตารางท่ี 2 จำนวนและคา่ รอ้ ยละของนักเรียนผูใ้ ห้ขอ้ มลู แยกตามอายุ อายุ จำนวน รอ้ ยละ 12 ปี 7 14 13 ปี 13 26 14 ปี ขนึ้ ไป 30 60 รวม 50 100 จากตารางที่ 2 พบว่าผู้ให้ข้อมูลแยกตามอายุทั้งหมด 50 คน ส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 14 ปี ขึ้นไป จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 60 ปานกลางมีอายุระหว่าง 13 ปี จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อย ละ 26 และส่วนนอ้ ยทส่ี ดุ มีอายรุ ะหว่าง 12 ปี จำนวน 7 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 14 ตารางที่ 3จำนวนและคา่ ร้อยละของนกั เรยี นผู้ใหข้ อ้ มลู แยกตามวชิ าที่ชอบเรียน วชิ าทช่ี อบเรยี น จำนวน ร้อยละ วิทยาศาสตร์ 4 8 คณิตศาสตร์ 6 12 ภาษาไทย 9 18 2 4 องั กฤษ 5 10 ศิลปะ 24 48 การงานอาชีพและเทคโนโลยี (งานเกษตร) - - อนื่ ๆ (ระบ)ุ 50 100 รวม จากตารางท่ี 3 พบวา่ ผ้ใู ห้ขอ้ มลู ตามการเรียนรู้ในแต่ละสายทั้งหมด 50 คนผู้ให้ข้อมูลที่วิชาท่ี ชอบเรียน การงานอาชีพและเทคโนโลยี (งานเกษตร) มีจำนวน 24 คนคิดเป็นร้อยละ 48 ต่อมาผู้ให้ ข้อมูลที่วิชาที่ชอบเรียนภาษาไทย มีจำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 18 ต่อมาผู้ให้ข้อมูลที่วิชาที่ชอบ เรียนคณิตศาสตร์ จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 12 ต่อมาผู้ให้ข้อมูลที่วิชาที่ชอบเรียนศิลปะ จำนวน

5 คน คิดเป็นร้อยละ 10 ต่อมาผู้ให้ข้อมูลท่ีวิชาที่ชอบเรียนวิทยาศาสตร์ จำนวน 4 คนคิดเป็นร้อยละ 8 และผใู้ ห้ขอ้ มลู ทวี่ ชิ าท่ชี อบเรียนภาษาอังกฤษ จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 4 ตารางท่ี 4จำนวนและค่าร้อยละของนกั เรยี นผู้ให้ขอ้ มูลแยกตามระดบั ช้นั ในปัจจบุ ันท่กี ำลังศึกษาอยู่ ระดับช้นั จำนวน ร้อยละ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 19 38 มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 15 30 มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 16 32 50 100 รวม จากตารางที่ 4 พบว่าผู้ให้ข้อมูลตามระดับชั้นที่กำลังศึกษาอยู่ทั้งหมด 50 คนผู้ให้ข้อมูลท่ี เรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1มีจำนวน 19 คนคิดเป็นร้อยละ 38 ตอ่ มาผ้ใู ห้ข้อมลู ท่ีเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปี ท่ี 2 มจี ำนวน 15 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 30 และผ้ใู ห้ข้อมูลท่ีเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 มีจำนวน 16 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 32 ตารางที่ 5 จำนวนและค่าร้อยละของนักเรียนผู้ให้ข้อมูลแยกตามผู้เรียนที่มีการเรียนเสริมหลังเลิก เรียน การเรียนเสริม จำนวน ร้อยละ มี 5 10 ไมม่ ี 45 90 รวม 50 100 จากตารางที่ 5 พบว่าผู้ให้ข้อมูลตามผู้เรียนที่มีการเรียนเสริมหลังเลิกเรียนทั้งหมด 50 คน ส่วนใหญ่ไม่มีการเรียนเสริมหลังเลิกเรียนจำนวน 45 คน คิดเป็นร้อยละ 90 รองลงมาเป็นผู้ที่มีการ เรียนเสรมิ หลังเลกิ เรยี นจำนวน 5 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 10

39 ตารางท่ี 6 จำนวนและคา่ ร้อยละของนักเรยี นผู้ให้ขอ้ มลู แยกตามวธิ ีการเดนิ ทางมาโรงเรียนด้วยวิธใี ด วธิ ีการเดินทางมาโรงเรียน จำนวน รอ้ ยละ ผู้ปกครองมารับ-ส่ง 20 40 รถรบั สง่ ประจำทาง 18 36 เดนิ ทางมาดว้ ยตนเอง 12 24 อ่นื ๆ (ระบ)ุ - รวม 50 100 จากตารางที่ 6 พบว่าผู้ใหข้ ้อมูลตามวิธีการเดินทางมาโรงเรยี นทั้งหมด 50 คน ส่วนใหญ่ผู้ปกครองมา รับ-ส่งจำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 40 ปานกลางรถรับส่งประจำทางจำนวน18 คน คิดเป็นร้อยละ 36 สว่ นนอ้ ยท่สี ดุ เดินทางมาด้วยตนเองจำนวน12คน คดิ เป็นร้อยละ 24 ตารางที่ 7 จำนวนและคา่ ร้อยละของนักเรยี นผใู้ หข้ อ้ มูลแยกตามพี่น้องร่วมบดิ ามารดา พนี่ อ้ งร่วมบิดามารดา จำนวน ร้อยละ 1 คน 18 36 2 คน 20 40 3 คน 12 24 4 คน - - - - 4 คน ขน้ึ ไป 50 100 รวม จากตารางท่ี 7 พบว่าผู้ให้ขอ้ มลู ตามพ่ีน้องรว่ มบิดามารดาทง้ั หมด 50 คน สว่ นใหญม่ พี ่นี อ้ ง 2 คนจำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 40 ปานกลางมีพี่น้อง 1 คนจำนวน18คนคิดเป็นร้อยละ 36 และ ส่วนนอ้ ยทสี่ ดุ มีพี่นอ้ ง 3 คนจำนวน 12 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 24

40 ตารางท่ี 8 จำนวนและคา่ ร้อยละของนกั เรียนผใู้ หข้ ้อมลู แยกตามความชอบการเรยี นวิชาเกษตร ความชอบการเรียนเกษตร จำนวน รอ้ ยละ มากท่ีสุด 21 42 มาก 13 26 ปานกลาง 10 20 นอ้ ย 4 8 นอ้ ยท่สี ุด 2 4 50 100 รวม จากตารางที่ 8พบว่าผู้ให้ข้อมูลตามความชอบเรียนวิชาเกษตรทั้งหมด 50 คน ส่วนใหญ่มี ความชอบเกษตรมากที่สุด จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 42 ปานกลางมีความชอบเรียนเกษตรน้อย จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 26 ส่วนน้อยมีความชอบเรียนเกษตรมากและปานกลาง จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 20 และจำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 8 ตามลำดับ ส่วนน้อยที่สุดมีความชอบ เกษตรนอ้ ยทีส่ ุด จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 4 ตารางที่ 9 จำนวนและค่ารอ้ ยละของนกั เรียนผ้ใู ห้ข้อมูลแยกตามความสนใจไมด้ อกไมป้ ระดบั ความชอบการเรียนเกษตร จำนวน ร้อยละ มากทสี่ ุด 44 88 มาก 4 8 ปานกลาง 2 4 นอ้ ย - - น้อยท่ีสดุ - - 50 100 รวม จากตารางที่ 9 พบว่าผู้ให้ข้อมูลตามตามความสนใจไม้ดอกไม้ประดับทั้งหมด 50 คน ส่วน ใหญม่ ีความสนใจไม้ดอกไม้ประดบั มากทสี่ ดุ จำนวน 44 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 88 ปานกลางมีความสนใจ

41 ไม้ดอกไม้ประดับมาก จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 8 และส่วนน้อยที่สุดมีความสนใจไม้ดอกไม้ ประดบั ปานกลาง จำนวน 2 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 4 ตารางท่ี 10 จำนวนและคา่ ร้อยละของนักเรยี นผู้ใหข้ ้อมลู แยกตามความต้องการเพศของครเู กษตร เพศของครูเกษตร จำนวน รอ้ ยละ ชาย 27 54 หญิง 14 28 9 18 เพศใดก็ได้ 50 100 รวม จากตารางที่ 10 พบว่าผู้ให้ข้อมูลตามความต้องการเพศของครูเกษตรทั้งหมด 50 คน ส่วน ใหญ่มีความต้องการครูเกษตรเพศชาย จำนวน 27 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 54 ปานกลางมคี วามตอ้ งการครู เกษตรเพศหญิงจำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 28 และส่วนนอ้ ยท่ีสุดมคี วามต้องการครูเกษตรเพศใด กไ็ ด้ จำนวน 9 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 18 ตารางที่ 11 จำนวนและคา่ รอ้ ยละของนกั เรียนผใู้ หข้ ้อมูลแยกตามความสำคญั ทม่ี ีต่อไมด้ อกไมป้ ระดับ ความตอ้ งการ จำนวน รอ้ ยละ มากท่ีสดุ 36 72 มาก 12 24 ปานกลาง 2 4 น้อย - - นอ้ ยทสี่ ดุ - - รวม 50 100 จากตารางที่ 11 พบว่าผู้ให้ข้อมูลตามความสำคัญที่มีต่อไม้ดอกไม้ประดับทั้งหมด 50 คน สว่ นใหญเ่ หน็ ความสำคัญของไม้ดอกไมป้ ระดบั มากที่สุด จำนวน 36 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 72 ปานกลาง

42 เห็นความสำคัญของไม้ดอกไม้ประดับมาก จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 24 ส่วนน้อยที่สุดมีเห็น ความสำคัญของไมด้ อกไมป้ ระดบั ปานกลาง จำนวน 2 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 4 ตารางที่ 12 จำนวนและค่าร้อยละของนักเรียนผูใ้ ห้ข้อมูลแยกตามความต้องการให้จัดการไปศึกษาดู งานนอกสถานที่ จัดการไปศึกษาดูงานนอสถานที่ จำนวน รอ้ ยละ มี 43 86 ไมม่ ี - - 7 14 มหี รือไมม่ ีก็ได้ 126 100 รวม จากตารางที่ 12 พบว่าผู้ให้ข้อมูลตามความต้องการให้จัดการไปศึกษาดูงานนอกสถานท่ี ทั้งหมด 50 คน ส่วนใหญ่ต้องการให้มีการจัดการไปศึกษาดูงานนอกสถานที่ จำนวน 43 คน คิดเป็น ร้อยละ 86 และส่วนนอ้ ยท่ีสุดมีหรือไมม่ ีก็ได้ในการใหม้ ีการจดั การไปศึกษาดูงานนอกสถานที่ จำนวน 7 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 14 ตารางที่ 13 จำนวนและคา่ ร้อยละของนักเรียนผู้ใหข้ ้อมูลแยกตามความต้องการให้จัดกจิ กรรม การ ลงมอื ปฏิบตั ิในการขยายพนั ธ์ุ ไม้ดอกไมป้ ระดบั จดั กิจกรรมการลงมือปฏิบัติ จำนวน รอ้ ยละ มากทส่ี ดุ 36 72 มาก 11 22 ปานกลาง 3 6 น้อย - - น้อยที่สุด - - รวม 50 100 จากตารางที่ 13 พบว่าผู้ให้ข้อมูลตามความต้องการให้จัดกิจกรรม การลงมือปฏิบัติใน การขยายพันธุ์ ไมด้ อกไมป้ ระดับ ทัง้ หมด 50 คน สว่ นใหญต่ ้องการใหจ้ ัดกิจกรรมการลงมือปฏิบัติมาก

43 ที่สุดจำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 72 ส่วนปานกลางต้องการให้จัดกิจกรรมการลงมือปฏิบัติมาก จำนวน 11 คน คดิ เป็นร้อยละ 22 และสว่ นน้อยที่สดุ ตอ้ งการให้จัดกิจกรรมการลงมือปฏบิ ตั ิปานกลาง จำนวน 3 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 6 ตารางท่ี 14 จำนวนและค่าร้อยละของนกั เรยี นผู้ใหข้ อ้ มูลแยกตามความชอบชนดิ ของดอกไม้ ชือ่ ไมด้ อกไมร้ ะดับ จำนวน รอ้ ยละ ดอกดาวเรือง 2 4 ดอกแกว้ 4 8 ดอกมะลิ 8 16 10 20 ดอกล่ันทม (ลลี าวด)ี - - ดอกรัก 7 14 1 2 ดอกทานตะวัน 13 26 ดอกชบา 5 10 ดอกกหุ ลาบ 50 100 ดอกอน่ื ๆ (ระบ)ุ รวม จากตารางที่ 14 พบว่าผู้ให้ข้อมูลตามความตามความชอบชนิดของดอกไม้ทั้งหมด 50 คน ส่วนมากทีส่ ดุ ชอบดอกกหุ ลาบ จำนวน 13 คน คดิ เป็นร้อยละ 26 สว่ นมากชอบดอกดอกลั่นทม (ลีลา วดี) จำนวน 10 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 20 ปานกลางชอบ ดอกมะลิ ดอกทานตะวัน และดอกอนื่ ๆ จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 16 จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 14 จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 10 เรียง ตามลำดับ ส่วนน้อยชอบดอกแก้ว และดอกดาวเรือง จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 8 จำนวน 2 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 4 และสว่ นน้อยที่สุดชอบดอกชบา จำนวน 1 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 2 ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามที่ศึกษาการพัฒนาผลการจัดการเรียนรู้โดยเน้นทักษะกระบวนการ ทำงาน

44 โดยแต่ละส่วนแบ่งระดับความคิดเห็นออกเป็น 5 ระดับ คือ มากที่สุด = 5, มาก = 4, ปาน กลาง = 3, น้อย = 2 และน้อยที่สุด = 1 จากนั้นนำข้อมูลที่ได้วิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย (Mean) และการ กระจายของข้อมูล (Standard deviation, S.D.) นำไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์วิเคราะห์ข้อมูลจาก มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ซึ่งกำหนดเกณฑ์ดังนี้ คา่ เฉลย่ี ความหมาย 1.00 – 1.50 แสดงวา่ มีความคดิ เหน็ ท่ีน้อยสุด 1.51 – 2.50 แสดงวา่ มีความคิดเห็นที่น้อย 2.51 – 3.50 แสดงว่ามีความคดิ เหน็ ทป่ี านกลาง 3.51 – 4.50 แสดงว่ามคี วามคิดเห็นทดี่ ี 4.51 – 5.00 แสดงวา่ มคี วามคดิ เห็นทีด่ ีมากที่สุด ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามที่ศึกษาการพัฒนาผลการจัดการเรียนรู้โดยเน้นทักษะกระบวนการ ทำงานในการเรียน เรื่อง วิธีการขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี (งานเกษตร) ตารางที่ 15 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการศึกษาการพัฒนาผลการจัดการเรียนรู้โดยเน้นทักษะ กระบวนการทำงาน ในการเรียน เรื่อง วิธีการขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ วิชาการงานอาชีพและ เทคโนโลยี (งานเกษตร) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์31 ตำบลช่างเคิ่ง อำเภอแมแ่ จม่ จงั หวดั เชียงใหม่ รายการ ความพึงพอใจ ระดบั ความพึง (จำนวน 43 คน) พอใจ x̅ S.D.

45 1. นักเรียนคดิ ว่าวิธีการขยายพนั ธุไ์ มด้ อกไม้ประดับมี 3.60 0.83 ดี ความสำคัญต่อการใช้ชวี ติ ประจำวันมากน้อยเพยี งใด 4.21 0.61 ดี 2. นกั เรียนมคี วามสนใจเก่ยี วกับวิธีการขยายพนั ธุ์ไม้ 4.43 0.59 ดี ดอกไม้ประดบั มากน้อยเพียงใด 4.40 0.54 ดี 3. นักเรียนมคี วามรคู้ วามเข้าใจวิธกี ารขยายพนั ธ์ไุ ม้ดอกไม้ ประดับมากนอ้ ยเพยี งใด 4.51 0.51 ดีมาก 4. นกั เรยี นตอ้ งการศึกษาวิธกี ารขยายพันธไ์ุ ม้ดอกไม้ 4.57 0.50 ดีมาก ประดบั มากนอ้ ยเพยี งใด 3.49 0.51 5. นกั เรยี นตอ้ งการให้มีการจัดกิจกรรมในการลงมือ 3.27 0.45 ดี ปฏบิ ัติเกี่ยวกับวธิ ีการขยายพันธ์ไุ มด้ อกไม้ประดบั มากน้อย ดี เพียงใด 4.46 0.50 6. นกั เรยี นต้องการใหม้ เี น้ือหาวธิ กี ารขยายพันธุไ์ ม้ดอกไม้ 4.74 0.45 ดี ประดับที่ครอบคลมุ มากนอ้ ยเพยี งใด ดมี าก 7. นกั เรยี นต้องการให้เนื้อหาวธิ กี ารขยายพันธ์ุไมด้ อกไม้ ประดับ มีเน้ือหาท่ยี าก-ง่าย มากนอ้ ยเพียงใด 8. นกั เรยี นต้องการเวลาในการศึกษาวธิ กี ารขยายพนั ธุ์ไม้ ดอกไม้ประดบั มากนอ้ ยเพยี งใด 9. นักเรียนต้องการใหม้ ีการจัดสถานท่ีใหเ้ หมาะสมกับการ เรยี นการสอน วิธกี ารขยายพันธไุ์ มด้ อกไม้ประดบั มากน้อย เพียงใด 10. นกั เรยี นตอ้ งการสือ่ ในการเรียนการสอน วธิ ีการ ขยายพนั ธ์ุไมด้ อกไมป้ ระดบั มากนอ้ ยเพยี งใด ตารางที่ 15 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการศึกษาการพัฒนาผลการจัดการเรียนรู้โดยเน้น ทักษะกระบวนการทำงาน ในการเรียน เรื่อง วิธีการขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ วิชาการงานอาชีพ และเทคโนโลยี(งานเกษตร) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์31 ตำบลช่างเค่ิง อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ที่มีต่อความต้องการในการเรียน เรื่องวิธีการขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ ประดบั ของกลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (เกษตร) ขอ้ มูลการศกึ ษาการพฒั นาผล การจัดการเรียนรู้โดยเน้นทักษะกระบวนการทำงานอยูใ่ นระดับดี มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.51 ระดับความ พงึ พอใจสงู ทสี่ ดุ คือ นกั เรยี นต้องการสือ่ ในการเรียนการสอน วิธีการขยายพนั ธุ์ไมด้ อกไมป้ ระดับ มคี า่ เฉล่ีย

46 เท่ากับ 4.74 รองลงมา คอื นกั เรยี นต้องการใหม้ ีเน้ือหาวิธีการขยายพันธ์ุไมด้ อกไม้ประดับท่ีครอบคลุม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.57 และน้อยที่สุด คือ นักเรียนต้องการเวลาในการศึกษาวิธีการขยายพันธุ์ไม้ ดอกไมป้ ระดับ มคี า่ เฉลี่ยเท่ากับ 3.27 ตอนที่ 3เป็นแบบสอบถามท่นี ำมาเป็นแนวทางแก้ไขปัญหาในการจดั การเรยี นการสอน การพฒั นา ผลการจัดการเรยี นร้โู ดยเน้นทักษะกระบวนการทำงาน โดยแต่ละส่วนแบ่งระดับความคิดเห็นออกเป็น 5 ระดับ คือ มากที่สุด = 5, มาก = 4, ปาน กลาง = 3, น้อย = 2 และน้อยที่สุด = 1 จากนั้นนำข้อมูลที่ได้วิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย (Mean) และการ กระจายของข้อมูล (Standard deviation, S.D.) นำไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์วิเคราะห์ข้อมูลจาก มาตราสว่ นประมาณค่า 5 ระดบั ซึง่ กำหนดเกณฑด์ ังนี้ คา่ เฉล่ีย ความหมาย 1.00 – 1.50 แสดงวา่ มีความคิดเห็นที่น้อยสดุ 1.51 – 2.50 แสดงวา่ มคี วามคดิ เหน็ ที่น้อย 2.51 – 3.50 แสดงวา่ มคี วามคิดเห็นที่ปานกลาง 3.51 – 4.50 แสดงว่ามีความคิดเหน็ ทีด่ ี 4.51 – 5.00 แสดงวา่ มีความคดิ เห็นท่ดี ีมากที่สดุ ตอนที่ 3 เป็นแบบสอบถามที่นำมาเป็นแนวทางแก้ไขปัญหาในการจัดการเรียนการสอน การ พัฒนาผลการจัดการเรยี นรู้โดยเน้นทักษะกระบวนการทำงาน ตารางที่ 16 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการศึกษาเกี่ยวกับแนวทางแก้ไขปัญหาในการจัดการเรียนการ สอนเร่ืองวิธีการขยายพนั ธุ์ไมด้ อกไมป้ ระดบั มาประยกุ ต์ใช้ในการเรียนการสอน โรงเรียนราชประชานุ เคราะห์31 ตำบลชา่ งเค่งิ อำเภอแม่แจม่ จังหวดั เชยี งใหม่

47 รายการ ความพึงพอใจ ระดบั ความ (จำนวน 72 คน) พึงพอใจ 1. นกั เรยี นเหน็ ดว้ ยกับการนำวธิ กี ารขยายพันธไ์ุ มด้ อกไม้ประดบั มาใช้ในการ x̅ S.D. สอนวชิ าการงานอาชพี และเทคโนโลยี (เกษตร) มากนอ้ ยเพียงใด 4.12 0.54 ดี ดีมาก 2. ครผู สู้ อนของนกั เรียนได้นำวธิ ีการขยายพนั ธไ์ุ ม้ดอกไม้ประดบั มาใช้ในการ 4.63 0.49 ดีมาก เรียนการสอนมากนอ้ ยเพียงใด 4.84 0.37 ดี 3. ถา้ นกั เรียนเปน็ เกษตรกร นกั เรียนจะใชว้ ิธีการขยายพนั ธไ์ุ มด้ อกไม้ประดบั ดี มาเสรมิ ในการทำการเกษตรมากนอ้ ยเพียงใด 3.56 0.50 ดี ดี 4. นกั เรียนตอ้ งการให้ทางโรงเรยี นจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกบั วิธกี าร 3.95 0.58 ดี ขยายพนั ธไ์ุ มด้ อกไมป้ ระดบั มากนอ้ ยเพยี งใด ปานกลาง 4.02 0.60 ดี 5.นกั เรยี นตอ้ งการใหท้ างโรงเรียนจัดกจิ กรรมเกี่ยวกบั วธิ กี ารขยายพนั ธไุ์ ม้ ดอกไม้ประดบั มากน้อยเพียงใด 4.14 0.35 6. นกั เรยี นคดิ ว่าสามารถนำความรทู้ เี่ รยี นมาไปเผยแพรแ่ ก่ชุมชนของ 4.21 0.41 นักเรียนมากน้อยเพียงใด 3.09 0.61 7. นกั เรียนสามารถนำความรู้ทไ่ี ด้รับจากวธิ ีการขยายพนั ธไุ์ ม้ดอกไมป้ ระดับ ไปใชใ้ นชวี ิตจรงิ มากน้อยเพียงใด 4.07 0.5 8. นกั เรียนคิดวา่ การใช้วิธีการขยายพนั ธไุ์ มด้ อกไม้ประดับมาใชใ้ นการ ดำรงชวี ติ ทำใหค้ ณุ ภาพชวี ิตดขี น้ึ มากน้อยเพยี งใด 9. ทางโรงเรยี นได้มีการจัดกจิ กรรมในการออกไปศึกษาวธิ ีการขยายพันธไุ์ ม้ ดอกไมป้ ระดบั นอกสถานศึกษามากนอ้ ยเพียงใด 10. นักเรยี นคิดวา่ การเรยี นการสอนวธิ ีการขยายพนั ธไ์ุ มด้ อกไมป้ ระดบั มี เนอ้ื หาทีค่ รอบคลมุ มากนอ้ ยเพยี งใด

48 ตารางที่ 16 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการศึกษาความคิดเห็นเก่ียวกบั แนวทางแก้ไขปัญหาในการจัดการ เรยี นการสอนเรอื่ งวิธกี ารขยายพนั ธุ์ไมด้ อกไม้ประดับ มาประยุกตใ์ ช้ในการเรยี นการสอน โรงเรียนราช ประชานุเคราะห์31 ตำบลช่างเคิ่ง อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ที่มีต่อความต้องการในการเรียน เรื่องวิธีการขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ ของกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (เกษตร) การศึกษาเกี่ยวกับแนวทางแก้ไขปัญหาในการจัดการเรียนการสอน อยู่ในระดับดีมาก มี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.63 ระดับความพึงพอใจสูงที่สุด คือ ถ้านักเรียนเป็นเกษตรกร นักเรียนจะใช้วิธีการ ขยายพนั ธ์ไุ ม้ดอกไม้ประดบั มาเสริมในการทำการเกษตร มคี า่ เฉลยี่ เท่ากับ 4.84 รองลงมา คอื ครผู ้สู อน ของนักเรยี นได้นำวธิ กี ารขยายพันธไ์ุ มด้ อกไมป้ ระดับมาใช้ในการเรยี นการสอน มีค่าเฉลย่ี เทา่ กับ 4.63 และ น้อยที่สุด คือ ทางโรงเรียนได้มกี ารจัดกิจกรรมในการออกไปศึกษาวธิ ีการขยายพันธ์ุไมด้ อกไม้ประดับ นอกสถานศกึ ษา มีคา่ เฉลย่ี เทา่ กบั 3.09

49 บทท่ี 5 สรุปผลการศึกษา อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ การศึกษาในครั้งนี้ เป็นการพัฒนาผลการจัดการเรียนรู้โดยเน้นทักษะกระบวนการทำงาน เรื่อง วิธีการขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี (งานเกษตร) ช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 1-3 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์31 ตำบลช่างเคิ่ง อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาสถานภาพทั่วไปของนักเรียน ศึกษาการพัฒนาผลการจัดการเรียนรู้โดย เน้นทักษะกระบวนการทำงาน เรื่อง วิธีการขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับและเพื่อนำมาเป็นแนว ทางแก้ไขปัญหาในการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาผลการจัดการเรียนรู้โดยเน้นทักษะ กระบวนการทำงานของโรงเรยี นชุมชนเทศบาลวัดศรีดอนไชยอำเภอเมอื งจงั หวัดเชียงใหมจ่ ำนวน 50 คน ซึง่ เป็นเพศชาย 37 คน เพศหญิง 13 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา เป็นแบบสอบถาม จำนวน 3 ตอน คือ แบบสอบถามตอนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกบั สถานภาพท่ัวไปของนักเรียนต่อมาแบบสอบถาม ตอนที่ 2 ข้อมูลที่ศึกษาการพัฒนาผล การจัดการเรียนรู้โดยเน้นทักษะกระบวน การทำงาน เรื่อง วิธีการขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ และ แบบสอบถาม ตอนที่ 3 ขอ้ มูลทีน่ ำมาเปน็ แนวทางแก้ไขปัญหาในการจดั การเรียนการสอน การพัฒนา ผลการจัดการเรียนรู้โดยเน้นทักษะกระบวนการทำงานข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามผู้ศึกษานำมาหา ความถี่ ค่ารอ้ ยละ คา่ เฉลย่ี แต่ละรายการ จากน้นั ประมวลเสนอตารางประกอบการบรรยาย สรปุ ผลการศกึ ษา ผลการศึกษาเรื่อง การพัฒนาผลการจัดการเรียนรู้โดยเน้นทักษะกระบวนการทำงาน เรื่อง วิธีการขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ วิชาการงานอาชพี และเทคโนโลยี (งานเกษตร) ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1-3 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห3์ 1 ตำบลช่างเค่ิง อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชยี งใหม่ ผศู้ ึกษาสรุปผลไว้ เป็น 3 ตอน คือ

50 ตอนท่ี 1ข้อมลู เกี่ยวกับสถานภาพทัว่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 50 คน พบว่า ผตู้ อบแบบสอบถามสว่ นใหญเ่ ป็นเพศหญงิ มีอายรุ ะหวา่ ง 12 - 14 ปี นกั เรยี นส่วนใหญ่มีความชอบใน การเรยี นวิชา การงานอาชพี และเทคโนโลย(ี งานเกษตร) ซงึ่ มกี ารศึกษาอยใู่ นระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีที่1 มัธยมศึกษาปีที่ 2 และมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังเลิกเรียนนักเรียนที่ไม่มีการเรียนเสริม จำนวน 45 คน และนกั เรยี นที่มีการเรียนเสริม จำนวน 5 คนโดยการเดินทางมาโรงเรียนสว่ นมากผปู้ กครองมารับ-ส่ง สถานภาพครอบครัวส่วนมากมีพี่น้องร่วมบิดามารดา 20 คน ซึ่งนักเรียนชอบการเรียนเกษตรอยู่ใน ระดับมากที่สุดผู้ให้ข้อมูลมีความสนใจไม้ดอกไม้ประดับมากที่สุด ความต้องการครูเกษตรเพศชาย ผู้ให้ข้อมูลให้ความสำคัญที่มีต่อไม้ดอกไม้ประดับในระดับมากที่สุดมีความความต้องการให้จัดการไป ศึกษาดูงานนอกสถานที่มาก มีความต้องการให้จัดกิจกรรมการลงมือปฏิบัติในการขยายพันธุ์ ไม้ ดอกไมป้ ระดบั มากที่สดุ ผู้ใหข้ ้อมลู ชอบดอกกุหลาบมากทส่ี ุด ตอนท่ี 2 ข้อมลู ศกึ ษาการพัฒนาผลการจดั การเรยี นรู้โดยเน้นทกั ษะกระบวนการทำงานใน การเรียน เรอื่ ง วิธีการขยายพนั ธ์ุไมด้ อกไมป้ ระดับ วชิ าการงานอาชีพและเทคโนโลยี (งานเกษตร) ขอ้ มูลการศึกษาการพัฒนาผลการจัดการเรียนรโู้ ดยเนน้ ทกั ษะกระบวนการทำงานอยใู่ นระดับ ดีมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.51 ระดบั ความพงึ พอใจอยู่ในระดับดีมาก จำนวน 3 ข้อ คอื นกั เรียนต้องการ ใหม้ ีการจัดกจิ กรรมในการลงมือปฏบิ ัติเก่ยี วกบั วิธีการขยายพันธไ์ุ ม้ดอกไม้ประดบั นักเรยี นต้องการให้ มเี นอื้ หา วธิ ีการขยายพนั ธุ์ไมด้ อกไม้ประดบั และนกั เรยี นตอ้ งการสอื่ ในการเรียนการสอน วิธกี ารขยาย พันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับและระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับดี จำนวน 7 ข้อ คือนักเรียน ต้องการให้มี การจดั สถานทใ่ี หเ้ หมาะสมกบั การเรยี นการสอน วธิ ีการขยายพนั ธุไ์ มด้ อกไม้ประดับ นักเรียนมคี วามรู้ ความเข้าใจ วิธีการขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ นักเรียนต้องการศึกษา วิธีการขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ ประดับ นักเรียนมีความสนใจเกี่ยวกับ วิธีการขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ นักเรียนคิดว่า วิธีการ ขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับมีความสำคัญต่อการใช้ชีวิตประจำวัน นักเรียนต้องการให้เนื้อหา วิธีการ ขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ มีเนื้อหาที่ยาก-ง่าย นักเรียนต้องการเวลาในการศกึ ษา วิธีการขยายพันธุ์ ไม้ดอกไมป้ ระดบั

51 ตอนที่ 3 ข้อมูลที่นำมาเป็นแนวทางแก้ไขปัญหาในการจัดการเรียนการสอน การพัฒนา ผลการจดั การเรียนรโู้ ดยเน้นทกั ษะกระบวนการทำงาน ขอ้ มูลการศึกษาเก่ยี วกบั แนวทางแก้ไขปัญหาในการจัดการเรยี นการสอน อยใู่ นระดบั ดีมาก มี ค่าเฉลีย่ เทา่ กบั 4.63 ระดับความพึงพอใจสูงท่สี ดุ ระดบั ความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมาก จำนวน 2 ข้อ คือ ถ้านักเรียนเป็นเกษตรกร นักเรียนจะใช้วิธีการขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับมาเสริมในการทำ การเกษตร ครผู ้สู อนของท่านได้นำวิธีการขยายพนั ธุ์ไม้ดอกไม้ประดับมาใช้ในการเรียนการสอน ความ พึงพอใจอยู่ในระดับดี จำนวน 7 ข้อ คือนักเรียนคิดว่าการใช้วิธีการขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับมาใช้ ในการดำรงชีวิตทำให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น นักเรียนนักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับจากวิธีการ ขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับไปใช้ในชีวิตจริง นักเรียนเห็นด้วยกับการนำวิธีการขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ ประดับมาใช้ในการสอนวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี (เกษตร) นักเรียนคิดว่า การเรียนการสอน วิธีการขยายพันธ์ุไม้ดอกไม้ประดับมเี นื้อหาทีค่ รอบคลุม นักเรียนคิดว่าสามารถนำความรู้ท่ีเรียนมาไป เผยแพร่แก่ชุมชนของนักเรียน นักเรียนต้องการให้ทางโรงเรียนจัดกิจกรรมเกี่ยวกับวิธีการขยายพันธุ์ ไมด้ อกไม้ประดับระดบั นกั เรยี นตอ้ งการใหท้ างโรงเรียนจัดการเรยี นการสอนเก่ียวกบั วิธกี ารขยายพันธ์ุ ไมด้ อกไมป้ ระดับ และระดับปานกลาง คอื ทางโรงเรียนได้มกี ารจัดกิจกรรมในการออกไปศึกษาวิธีการ ขยายพันธ์ไุ ม้ดอกไมป้ ระดบั นอกสถานศึกษา อภิปรายผล จากการศึกษาเรื่องการพัฒนาผลการจัดการเรียนรู้โดยเน้นทักษะกระบวนการทำงาน เรื่อง วิธีการขยายพันธุไ์ ม้ดอกไม้ประดับ วิชาการงานอาชพี และเทคโนโลยี (งานเกษตร) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์31 ตำบลช่างเคงิ่ อำเภอแมแ่ จ่ม จังหวัดเชยี งใหม่ สามารถอภิปราย ไดด้ ังน้ี ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลเกี่ยวกับสถานภาพทวั่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม ขอ้ มูลเกีย่ วกบั สถานภาพส่วนบคุ คลของผูต้ อบแบบสอบถามทง้ั หมด 50 คน พบวา่ ผู้ตอบ แบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 12-14 ปี นักเรียนส่วนใหญ่มีความชอบในการ เรียนวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี(งานเกษตร) ซึ่งมีการศึกษาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 มัธยมศึกษาปีที่ 2 และมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังเลิกเรียนนักเรียนที่ไม่มีการเรียนเสริม จำนวน 45 คน และนักเรียนท่มี ีการเรียนเสริม จำนวน 5 คน โดยการเดนิ ทางมาโรงเรยี นส่วนมากผปู้ กครองมารับ-ส่ง

52 สถานภาพครอบครัวส่วนมากมีพี่น้องร่วมบิดามารดา 2 คน ซึ่งนักเรียนชอบการเรียนเกษตรอยู่ใน ระดับมากที่สุด ผู้ให้ข้อมูลมีความสนใจไม้ดอกไม้ประดับมากที่สุด ความต้องการครูเกษตรเพศชาย ผู้ให้ข้อมูลให้ความสำคัญที่มีต่อไม้ดอกไม้ประดับในระดับมากที่สุดมีความความต้องการให้จัดการไป ศึกษาดูงานนอกสถานที่มาก มีความต้องการให้จัดกิจกรรม การลงมือปฏิบัติในการขยายพันธุ์ ไม้ ดอกไมป้ ระดบั มากท่ีสดุ ผใู้ หข้ ้อมลู ชอบดอกกุหลาบมากท่สี ุด ตอนที่ 2 ข้อมูลศึกษาการพัฒนาผลการจัดการเรียนรู้โดยเน้นทักษะกระบวนการทำงานใน การเรียน เรือ่ ง วิธีการขยายพันธไ์ุ ม้ดอกไม้ประดับ เมื่อพิจารณามีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.17 อยู่ในระดับดีเนื่องจากนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ วิธีการขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับนักเรียนต้องการสื่อในการเรียนการสอน วิธีการขยาย พันธุ์ไม้ ดอกไมป้ ระดบั และระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับดี วธิ กี ารขยายพันธ์ุไม้ดอกไมป้ ระดับมีความสำคัญ ต่อการใช้ชีวิตประจำวันมีความสนใจเกี่ยวกับ วิธีการขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ นักเรียนต้องการ ศกึ ษา วธิ กี ารขยายพันธไุ์ ม้ดอกไมป้ ระดับ นกั เรยี นตอ้ งการใหม้ กี ารจัด กจิ กรรมในการลงมือปฏิบัติ ให้ มีเนอ้ื หา วิธีการ ขยายพันธไ์ุ ม้ดอกไม้ประดับที่ครอบคลุม นกั เรียนต้องการให้เนอ้ื หา วธิ กี ารขยายพันธุ์ ไม้ดอกไม้ประดับ มี เนื้อหาที่ยาก-ง่าย ในเวลาการศึกษา วิธีการขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ และมี การจดั สถานทีใ่ หเ้ หมาะสมกบั การเรยี นการสอน วธิ ีการขยายพนั ธไุ์ มด้ อกไมป้ ระดบั ตอนที่ 3 ข้อมูลที่นำมาเป็นแนวทางแก้ไขปัญหาในการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาผล การจดั การเรียนรู้โดยเน้นทกั ษะกระบวนการทำงาน เมื่อพิจารณามีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.06 อยู่ในระดับดีนักเรียนมีความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อมูล การศกึ ษาเกี่ยวกบั แนวทางแก้ไขปัญหาในการจัดการเรียนการสอน ถ้านักเรียนเปน็ เกษตรกร นักเรียน จะใช้วิธีการขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับมาเสริมในการทำการเกษตร จึงต้องการให้ทางโรงเรียนจัด กิจกรรมเกี่ยวกับวธิ กี ารขยายพันธุ์ไม้ดอกไมป้ ระดับและนำวิธีการขยายพันธ์ุไมด้ อกไม้ประดับมาใช้ใน การสอนวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี (เกษตร) ครูผู้สอนของนักเรียนได้นำวิธีการขยายพันธุ์ไม้ ดอกไม้ประดับมาใช้ในการเรียนการสอนสามารถนำความรู้ทเี่ รียนมาไปเผยแพร่แก่ชมุ ชน และไปใช้ใน ชีวิตจริง เพราะคิดวา่ การใช้วธิ ีการขยายพันธ์ไุ มด้ อกไม้ประดับมาใช้ในการดำรงชีวติ ทำให้คุณภาพชีวิต ดีขึ้น ดังนั้นการเรียนการสอนวิธีการขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับมีเนื้อหาที่ครอบคลุมรวมถึงทาง โรงเรียนควรจัดไห้มีการจัดกิจกรรมในการออกไปศึกษาวิธีการขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับนอก สถานศึกษา

53 ข้อเสนอแนะ ขอ้ เสนอแนะท่ัวไป 1. ครูควรมีการเสริมแรงจูงใจในการเรียนการสอน ใน รูปแบบการพัฒนาทกั ษะกระบวนการ 9 ขั้นตอน ความหมาย การสอนที่เน้นทักษะกระบวนการ 9 ขั้นเป็นการดำเนินการเพื่อให้ผู้เรียนสา มารปฏบิ ตั งิ าน โดยผใู้ หเ้ ปน็ ไปตามลำดับข้ันตอน หรอื ทเี่ รยี กว่าทำงานเป็น โดยผูเ้ รียนจะต้องรู้จักการ วางแผนการทำงาน การทำงานตามแผน และประเมินผลสรุป ซึ่งเป็นวิธีการทีเป็นรูปธรรมและ ต้องการใหผ้ ู้เรียนมีทักษะเพ่มิ เติมเพ่อื เพมิ่ ประสิทธภิ าพในการสอน 2. ควรมีการ ศึกษาปัญหาในด้านต่างๆ ของครูผู้สอน และนักเรียนที่สนใจในการจัด กระบวนการเรียนการสอนแบบแบบการพัฒนาผลการจัดการเรยี นร้โู ดยเน้นทกั ษะกระบวนการทำงาน เร่ือง วธิ ีการขยายพันธุไ์ มด้ อกไมป้ ระดับ เพือ่ หาแนวทางแกไ้ ขข้อผิดพลาดเพ่ิมเตมิ ใหป้ ระสบผลสำเรจ็ ขอ้ เสนอแนะเพอื่ การทำการศึกษาค้นคว้าครั้งตอ่ ไป 1.ผลการศึกษาพบว่านักเรียนที่มีการจัดการเรียนการสอนแบบ การพัฒนาผลการจัดการ เรียนรู้โดยเน้นทักษะกระบวนการทำงาน เรื่อง วิธีการขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ วิชาการงานอาชพี และเทคโนโลยี (งานเกษตร) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 มีผลทำให้นักเรียนเกิดความสนใจในการเรียน และความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ในรายวิชา เพิ่มมากขึ้น ควรมีการนำการเรียนการสอนแบบ การพัฒนาผลการจดั การเรยี นร้โู ดยเนน้ ทักษะกระบวนการทำงาน ไปพัฒนาเพอ่ื เพม่ิ ประสิทธิภาพให้ดี ยงิ่ ขนึ้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook