Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Best Practice ภาษาจีน.docx ครั้งที่ 2

Best Practice ภาษาจีน.docx ครั้งที่ 2

Published by Niphol Toraksa, 2021-08-16 07:24:11

Description: Best Practice ภาษาจีน.docx ครั้งที่ 2

Search

Read the Text Version

Best Practice \"การจดั การเรยี นการสอนผ่านส่ือออนไลน์ด้วยเวบ็ ไซต์Student Learning ความเป็นมา สถานการณ์โรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019 : COVID-19) มกี ารระบาดในวง กวา้ งองคก์ ารอนามยั โลก ไดป้ ระเมนิ สถานการณ์และประกาศให้โรค COVID-19 เปน็ ภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสุข ระหวา่ งประเทศ โดยแนะนาํ ให้ทกุ ประเทศเร่งรดั การเฝ้าระวังและ ป้องกันความเสี่ยงจากเชอื้ COVID-19 ซง่ึ สถานศกึ ษาเป็นสถานท่ีทม่ี ีนักเรยี นอยูร่ วมกันจาํ นวนมาก มักจะมีความเส่ียงสูงหากมีระบบการจดั การทไ่ี ม่ดอี าจจะ มกี ารแพร่ระบาดของเชอื้ COVID-19 ได้ในกลมุ่ เดก็ เนอ่ื งจากพบว่าการตดิ เชอ้ื COVID-19 ส่วนใหญจ่ ะไม่ค่อยมีอาการ หรือมอี าการแสดง ค่อนข้างน้อย ความรุนแรงจะน้อยมาก อาจทาํ ให้การแพรร่ ะบาดเกดิ ขน้ึ ได้อยา่ งรวดเร็ว(Super spread) ไปยงั บุคคลในบ้านหากมีการระบาดในกลุ่มนักเรยี นข้นึ จะมีผลกระทบในสังคมหรอื ผใู้ กลช้ ดิ เชน่ ครพู ่อแม่ ผู้สงู อายทุ ต่ี ดิ เชื้อจากเด็กดงั น้ันหากมีการเปิดเรียน มโี อกาสสงู ทีจ่ ะเกิดการตดิ เช้ือ ในกล่มุ เดก็ เพ่ิมมากข้ึนซ่ึงเด็กเปน็ กลมุ่ ทตี่ ้องไดร้ บั การดูแลและระมดั ระวงั ในการกระจายเช้ือเป็น อยา่ งมาก มาตรการในการเปดิ เทอม จึงมี ความสาํ คัญมากในการควบคุมการระบาด การวางแผนเปดิ เทอมจงึ ต้องมั่นใจว่าสามารถควบคมุ ไม่ให้เกิดการ ระบาดของโรคได้สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการตระหนกั ถึงความสาํ คัญ ในการ ดแู ลนกั เรียน ผ้ปู กครอง ครูและบุคลากรทางการศกึ ษา จงึ ได้จัดทําแนวทางการจดั การเรียน การสอนของโรงเรยี น สงั กดั สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ในสถานการณ์การระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ปกี ารศึกษา 2563 เพื่อใหโ้ รงเรยี นใชเ้ ป็นแนวทาง ในการจดั การเรียนการสอนของโรงเรียนในสงั กดั อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพซึ่งการระบาดของ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา ส่งผลตอ่ ระบบการศึกษาเปน็ อย่างมาก สถานการณ์การ ระบาดเกิดขนึ้ ในช่วง สถานศึกษาขน้ั พน้ื ฐานปิดภาคเรียน โดยในช่วงต้นเดอื นเมษายน คณะรฐั มนตรีมีมตเิ หน็ ชอบ ให้เลื่อน วนั เปิดเทอมภาคเรยี นท่ี1ไปเปน็ วันท่ี1กรกฎาคม 2564 โรงเรยี นจงึ ได้เตรยี มตัวให้พร้อมในการจัดการเรียน การสอนรูปแบบใหมท่ ี่สอดรบั กับมาตรการป้องกนั การระบาด พร้อมกับเตรยี มมาตรการ ต่าง ๆ เพื่อป้องกนั ไมใ่ ห้ ผเู้ รยี นไดร้ ับผลกระทบจากรปู แบบการเรยี นท่เี ปลี่ยนไป การจดั การเรียนการสอนในศตวรรษที่21 เนน้ การเรียนการ สอนทก่ี ระตนุ้ การเรยี นร้ขู อง ผ้เู รยี น ซ่ึงในชว่ งเดอื นกมุ ภาพันธ์2564 ทส่ี ถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโควดิ -19 เริม่ ควบคุมยาก และเข้าสูภ่ าวะโรคระบาดใหญ่ทัว่ โลก การจัดการเรียนการสอนต้องเลือ่ นเปิดภาคเรยี น ฯลฯ จึงเปน็ ทมี่ าของ การจัดการเรียนการสอนผ่านสือ่ ออนไลน์ด้วยเวบ็ ไซต์Student Learning น้จี ดั ทําขนึ้ เพื่อให้ผ้เู รยี นเข้ามา มีสว่ นร่วมในการจัดกจิ กรรมในชัน้ เรยี นเปน็ สิ่งสําคัญในการยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ ทางการศึกษา สําหรับในกลุ่ม รายวชิ าภาษาจีนเพ่ือการส่อื สาร เป็นรายวชิ าทเี่ น้นความรูค้ วามเขา้ ใจในบทเรียน เนือ่ งจากผเู้ รยี นในยคุ ปจั จุบนั มี ความรู้ความสนใจเกี่ยวกับสื่อสังคมออนไลน์เป็นอย่างมาก

๑.๒ แนวคดิ หลักการสาคญั ท่ีเก่ียวข้องกบั ผลงานหรือนวัตกรรม 1.2.1 เว็บไซต์บริการ google site google Site เปน็ แอปพลิเคชั่นออนไลน์ที่ทาํ ให้การสรา้ งเว็บไซตข์ องทีมกลายเปน็ เร่ืองง่าย เหมอื นแกไ้ ขเอกสารเม่ือใช้google Site ผคู้ นสามารถรวบรวมขอ้ มูลที่หลากหลายไว้ในท่เี ดยี วได้ อย่างรวดเรว็ ไดแ้ ก่วีดโี อปฏิทินงานนาํ เสนอ ไฟลแ์ นบ และข้อความและสามารถใชง้ านรว่ มกับ กลุ่มเล็ก ๆทั้งองกรหรือท้ังโลก เพือ่ ดูหรือแกไ้ ขได้อยา่ งง่ายดายไปทแี่ ผงควบคมุ ของคณุ ลกั ษณะท่ี สาํ คญั ของผลติ ภณั ฑไ์ ด้แก่ 1. กําหนดส่วนตดิ ตอ่ ของเว็บไซต์ด้วยตนเอง เพื่อทําใหร้ ูปลักษณ์ของกลมุ่ หรือโครงการมี ความ คล้ายคลงึ กนั 2. สร้างหน้าย่อยใหม่ดว้ ยการพมิ พ์ 3. เลอื กประเภทหน้าเวบ็ จากรายการท่ีเพิ่มข้ึนเร่ือย ๆ ได้แก่หนา้ เว็บประกาศ ตู้เอกสาร กระดานขอ้ มูลและรายชื่อ 4. รวมศนู ยข์ ้อมลู ที่ใช้งานร่วมกนั ฝงั เนื้อหาทม่ี ขี ้อมูลมาก ลงในหนา้ เวบ็ ใด ๆ และอัปโหลด ไฟล์แนบต่าง ๆ 5. จดั การต้งั ค่าการอนุญาต เพื่อใหเ้ วบ็ ไซต์ของคณุ เปน็ สว่ นตวั หรอื สามารถแกไ้ ขและดูได้ อย่างกว้างขวางตามทค่ี ุณตอ้ งการ 6. คน้ หาในเนือ้ หาของ Google Site ดว้ ยเทคโนโลยีการคน้ หาของ Google การใช้Google Sites เพ่อื การเรยี น การจดั การเรียนรแู้ บบบูรณาการโดยใช้กเู กลิ้ ไซต์ (Google site) ชว่ ยในการเรียนการสอนของครทู าํ ให้เช่ือมโยงเนอ้ื หาสาระของศาสตร์ตา่ ง ๆ ได้ง่าย ย่งิ ข้ึนโดย สามารถเชือ่ มโยงเนื้อหา แหล่งความรูต้ า่ ง ๆไม่วา่ จะเป็นรปู แบบไฟลเ์ อกสาร วดี ีโอหรือไฟล์ เสยี งเขา้ สู่ ระบบอนิ เทอร์เนต็ (Internet) และผเู้ รยี นสามารถเขา้ ถึงแหลง่ ข้อมูลได้ง่ายย่งิ ขน้ึ จะชว่ ยให้ กระบวนการจดั ประสบการณ์การเรียนรตู้ ามความสนใจ ความสามารถ ท่เี กี่ยวข้องสัมพนั ธ์กนั ใหผูเ้ รยี นเปลีย่ นแปลง พฤติกรรม สามารถนําความรู้ทกั ษะ และเจตคติไปสร้างงาน แกป้ ัญหาและใชใ้ น ชวี ิตประจาํ วนั ไดง้ ่ายย่ิงขน้ึ Google site สามารถใช้เป็นช่องทางในจัดการเรียนการสอนของครู โดยเฉพาะครผู ู้สอนที่ไมเ่ ชย่ี วชาญใน ดา้ นเทคโนโลยีการสือ่ สาร โดยเว็บไซตท์ ่สี รา้ งดว้ ยGoogle site เปน็ เวบ็ ไซต์อยา่ งงา่ ยไม่สลับซับซอ้ น ครูผสู้ อนสามารถเรียนรู้ใชง้ าน ไดไ้ มย่ าก อีกทั้งครูยังสามารถ ตรวจผลงานของนกั เรยี นได้อย่างรวดเร็ว ทันใจ การนาํ เสนอเน้อื หาในรายวิชาตา่ ง ๆ เปน็ ไปได้ง่าย ซึ่งเทคโนโลยคี อมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตได้ พฒั นาไปอย่างรวดเรว็ จากกระแสทมี่ าแรงทาํ ใหห้ ลาย ประเทศทัว่ โลกต่างเข้าสู่การเปลยี่ นแปลงท่มี ีการ นําเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมารว่ มพฒั นากจิ กรรม ต่าง ๆ ของประเทศ ณ วันน้เี ครอื ข่ายอินเทอร์เน็ต โดยเฉพาะบริการ WWW (World Wide Web) ได้ ก้าวมาเปน็ เคร่อื งมอื ชนิ้ สาํ คัญในการเปลยี่ นแปลง รูปแบบการเรยี นการสอนการฝึกอบรม รวมถึงการ ถา่ ยทอดวชิ าความร้นู ับเปน็ การเพ่มิ ช่องทางในการ ตดิ ต่อสอื่ สารระหว่างผ้สู อนและผู้เรยี นมากยง่ิ ข้ึน โปรแกรม Google Site เปน็ หนง่ึ ใน Google Apps for Education ท่ถี กู พัฒนาขนึ้ มาเพือ่ สนบั สนบั สนนุ การเรียนการสอน โดยอาศัยคุณสมบตั ิและทรัพยากรของ เวลิ ดไ์ วดเ์ ว็บมาเปน็ ส่อื กลางใน การถ่ายทอดในลักษณะของบทเรยี นออนไลน์สามารถเชื่อมโยงเน้ือหา และ แหล่งความรู้ตา่ ง ๆ ให้ ผเู้ รียนสามารถเข้าถึงแหล่งขอ้ มลู ได้ง่ายย่ิงขึน้ มบี ริการรูปแบบต่าง ๆ มากมายท่ี สามารถเอื้อประโยชน์ ในการนํามาใชใ้ นการจัดการเรียนการสอน

1.2.2 วงจรคุณภาพ PDCA วงจรคณุ ภาพ PDCA วงจรบริหารส่ขี น้ั ตอนทีป่ ระกอบไปด้วย Plan (การวางแผน) Do (ปฏิบตั )ิ Check (ตรวจสอบ) และ Action (การดําเนนิ การ) วงจรการบริหารงานคณุ ภาพใชใ้ นการ ควบคุมและ พัฒนากระบวนการ PDCA ทั้งสข่ี น้ั ตอนเป็นกระบวนการท่ีสามารถทาํ ซํ้าได้เพื่อให้ สถานศกึ ษาสามารถบริหารความ เปลี่ยนแปลงได้อยา่ งประสบความสาํ เรจ็ วงจรการควบคมุ คุณภาพมี รายละเอียดดังน้ี Plan (วางแผน) หมายถึงการวางแผนการดําเนินงานอยา่ งรอบคอบ ครอบคลุมถงึ การ กําหนดหวั ขอ้ ท่ี ตอ้ งการปรบั ปรุงเปล่ียนแปลง ซึง่ รวมถึงการพัฒนาสิ่งใหม่ๆการแก้ปัญหาทเี่ กิดขน้ึ จากการปฏิบตั ิงาน อาจประกอบด้วยการกําหนดเป้าหมาย หรอื วตั ถุประสงคข์ องการดําเนนิ งาน Plan การจดั อันดบั ความสาํ คญั ของ เปา้ หมาย กําหนดการดาํ เนินงาน กําหนดระยะเวลาการ ดาํ เนนิ งาน กําหนดผู้รบั ผดิ ชอบ หรือผดู้ าํ เนนิ การและกําหนดงบประมาณทีจ่ ะใชก้ ารเขยี นแผน ดังกลา่ วอาจปรบั เปล่ียนได้ตามความเหมาะสม ของลักษณะ การดาํ เนนิ งาน การวางแผนยังชว่ ยให้เรา สามารถคาดการณ์สง่ิ ทีเ่ กิดขนึ้ ในอนาคต และชว่ ยลดความ สูญเสียตา่ ง ๆ ท่ีอาจเกิดขึ้นได้ Do (ปฏิบัตติ ามแผน) หมายถึงการดาํ เนินการตามแผน อาจประกอบดว้ ยการมโี ครงสร้าง รองรบั การ ดาํ เนินการ มวี ิธกี ารดําเนินการและมผี ลของการดําเนนิ การ Check (ตรวจสอบการปฏิบตั ิตามแผน) หมายถึงการประเมินแผน อาจประกอบดว้ ยการ ประเมินโครงสร้าง ทร่ี องรบั การดาํ เนนิ การ การประเมินขัน้ ตอนการดาํ เนินงาน และการประเมินผล ของ การดาํ เนินงานตามแผนทไี่ ด้ต้งั ไวโ้ ดยในการประเมินดังกล่าวสามารถทาํ ไดเ้ อง โดยคณะกรรมการทีร่ ับผดิ ชอบแผนการดาํ เนนิ งานนน้ั ๆ ซ่ึงเปน็ ลักษณะของการประเมินตนเอง โดยไมจ่ ําเปน็ ต้องตง้ั คณะกรรมการ อกี ชุดมาประเมินแผนหรือไมจ่ าํ เปน็ ต้องคิด เครอื่ งมอื หรือแบบประเมิน ที่ยุง่ ยากซับซ้อน Act (ปรบั ปรงุ แก้ไข) หมายถงึ การนําผลการประเมนิ มาพฒั นาแผน อาจประกอบดว้ ยการนํา ผลการ ประเมินมาวิเคราะห์ว่ามีโครงสร้างหรอื ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิงานใดทคี่ วร ปรับปรงุ หรอื พัฒนาสง่ิ ท่ดี ีอยู่แล้วให้ ดยี ิ่งข้ึนไปอีกและสงั เคราะห์รูปแบบ การดาํ เนินการใหม่ทเ่ี หมาะสม สําหรบั การ ดาํ เนินการ ในปีตอ่ ไป ดงั น้ันในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา2019 การจดั การเรียนการสอนต้องเปน็ ไป อย่างต่อเน่อื งเพื่อเป็นการกระตนุ้ การเรยี นรู้ของผูเ้ รยี นทงั้ ในห้องเรยี นและนอกห้องเรยี น ครผู ู้สอนจงึ ใช้วธิ กี าร จัดการเรยี นการสอนผ่านสอื่ ออนไลนเ์ วบ็ ไซต์Student Learning ด้วยGoogle Site ที่สามารถบูรณาการการใช้ เทคโนโลยีมาสนบั สนนุ การจัดการเรยี นการสอน ซงึ่ แนวคิดนี้จึงเกดิ เปน็ นวัตกรรมนี้ขึ้นมา และใช้วงจรตรวจสอบ คุณภาพ PDCA มาพัฒนาคุณภาพของ งานให้มีประสทิ ธภิ าพและเกิดประสิทธผิ ล ซึง่ จะช่วยใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การ พัฒนาการเรียนให้มี ประสทิ ธภิ าพมากข้ึนอีกทงั้ เหมาะสมกบั การจดั การเรียนการสอนในศตวรรษที่21 และการจัด การศกึ ษาทางไกลในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019

กรอบแนวคดิ การวจิ ัย ตวั แปรต้น ตวั แปรตาม การจัดการเรียนการสอนผ่านสอ่ื ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรยี น ออนไลน์ เว็บไซต์Student ในรายวชิ าวิทยาการคาํ นวณ สาํ หรับ Learning ด้วยGoogle Site นักเรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่6 ในช่วง รายวชิ าภาษษจีนเพอ่ื การสอ่ื สาร สถานการณโ์ รคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา สาํ หรบั นักเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี6 - ความพึงพอใจในการจดั การเรียน ในชว่ ง สถานการณ์โรคตดิ เชื้อไวรัส โคโรนา การสอนผ่านสอ่ื ออนไลน์ เว็บไซต์Student Learning ด้วย Google Site 2. วตั ถปุ ระสงคแ์ ละเป้าหมายของการดาเนินงาน 2.1 จุดประสงค์ 2.1.1 เพ่ือสรา้ งและใชว้ ิธีการจัดการเรยี นการสอนผ่านสื่อออนไลนเ์ ว็บไซต์ Student Learning ดว้ ย Google Site รายวิชาภาษาจนี เพ่ือการสื่อสาร สําหรบั นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที ี่ 6 ในชว่ ง สถานการณ์โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2.1.2 เพ่อื ศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรยี นในรายวชิ าภาษาจนี เพื่อการสื่อสาร สําหรบั นกั เรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ในชว่ งสถานการณ์โรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2.1.3 เพ่ือประเมินความพงึ พอใจในการจดั การเรียนการสอนผ่านสื่อออนไลน์ เวบ็ ไซต์Student Learning ดว้ ยGoogle Site 2.2 เปา้ หมาย 2.2.1 การจัดการเรียนการสอนผ่านสื่อออนไลน์เวบ็ ไซต์Student Learning ดว้ ย Google Site รายวิชาภาษาจีนเพือ่ การสอ่ื สาร สําหรับนักเรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 ในช่วงสถานการณ์โรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา ทส่ี ามารถบูรณาการการใชเ้ ทคโนโลยมี าสนับสนุนการ จัดการเรยี นการสอน ซ่ึงจะชว่ ย ให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาการเรยี นให้มปี ระสิทธภิ าพทงั้ ใน ห้องเรียนและนอกหอ้ งเรียน

2.2.2 นกั เรยี นกลุ่มตวั อยา่ งในระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 จํานวน 15 คน โรงเรียน ราชประชานเุ คราะห์ 24 จงั หวดั พะเยา ปีการศกึ ษา 2564 มีผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นรายวชิ าภาษาจีนเพ่อื การส่ือสาร 1 สูงขนึ้ 2.2.3 นักเรียนและผูป้ กครองมคี วามพึงพอใจในการจัดการเรยี นการสอนผา่ นสอ่ื ออนไลน์เว็บไซต์ Student Learning ด้วยGoogle Site รอ้ ยละ 80 3. ขัน้ ตอนการดาเนนิ งาน โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 24 จงั หวดั พะเยาเป็นโรงเรยี นการศกึ ษาสงเคราะห์ มนี ักเรียนพักอยู่ ประจํา ขนาดใหญ่ นักเรยี นมีระดับผลการเรยี นค่อนขา้ งต่ําและปานกลาง บริบทสภาพครอบครวั ยากจน ขาดแคลน นักเรยี นส่วนใหญ่สามารถ อา่ นออกเขยี นไดต้ ามวยั และพฒั นาการ นักเรียนบางส่วนที่มีปญั หาใน การด้านการเรยี นหรือมีความ บกพร่องทางการเรยี นรู้ทางโรงเรยี นจะให้การช่วยเหลอื เพ่ือใหม้ ีพัฒนาการ ตามวัยอย่างใกลช้ ดิ ตาม หลักการของระบบดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นและในช่วงสถานการณ์โรคตดิ เชื้อไวรัส โคโรนาน้ันนอกจาก จะไดเ้ รียนรู้ทางไกลผา่ นดาวเทียมแล้วนักเรียนยังได้เรียนร้ผู า่ นการจัดการเรยี นการ สอนผ่านสื่อออนไลน์เว็บไซต์Student Learning ดว้ ย Google Site ซึ่งไดท้ ้งั ความรู้และไดท้ บทวนความรู้ นกั เรียนทุกคนตอ้ งได้เรียนรู้อยา่ งทั่วถึงและนักเรยี นสามารถเขา้ เรียนผ่านส่อื ออนไลน์เว็บไซต์ Student Learning ดว้ ยGoogle Site ได้ตลอดเวลาอีกด้วยโดยมกี ระบวนการผลิตนวตั กรรมในช่วงสถานการณ์โรค ติดเช้ือไวรสั โคโรนาดงั น้ี 3.1 กลุ่มตวั อย่าง นกั เรยี นกลุ่มตัวอยา่ งคือนกั เรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 24 จังหวัดพะเยา ภาคเรียนท1ี่ ปีการศึกษา 2564 จํานวนนกั เรยี น 15 คน 3.2 เครอ่ื งมือท่ีใช้ในการสร้างผลงานนวตั กรรม เครอ่ื งมอื ที่ใชใ้ นการสร้างผลงานนวัตกรรม คร้งั นี้ใช้เครื่องมือท่ีครผู ้สู อนสร้างขึน้ ประกอบด้วย 1. สือ่ ออนไลนเ์ วบ็ ไซต์Student Learning ดว้ ยGoogle Site 2. ใบความรกู้ ารจัดการเรียนการสอนในแตล่ ะชวั่ โมง 3. แบบประเมินความพงึ พอใจของนักเรยี นและผ้ปู กครองในการใชน้ วตั กรรม 4. ใบงานการจัดการเรียนการสอนในแต่ละชั่วโมง ดงั รายละเอียดดงั ต่อไปน้ี

ตารางท1่ี การจดั การเรียนการสอนออนไลน์ในแต่ละชัว่ โมงครงั้ การจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ในแต่ละช่วั โมง ครั้ง เรื่อง กิจกรรม จานวนชว่ั โมง 1 สัทอักษร ศกึ ษาบทเรยี นวีดีโอ ทําแบบฝึก 4 2 การทักทาย ศึกษาบทเรียนวีดีโอ ทําแบบฝกึ 4 3 วันนค้ี ณุ ยุง่ ไหม ศึกษาบทเรียนวีดโี อ ทําแบบฝกึ 4 4 นคี่ ืออะไร ศึกษาบทเรยี นวดี ีโอ ทาํ แบบฝกึ 4 5 คุณไปท่ไี หน ศึกษาบทเรียนวีดโี อ ทาํ แบบฝกึ 4 6 ครอบครวั ศกึ ษาบทเรียนวีดีโอ ทําแบบฝึก 4 7 ภาษาจีนยากไหม ศกึ ษาบทเรียนวดี ีโอ ทาํ แบบฝกึ 4 8 คุณทานอะไร ศกึ ษาบทเรยี นวีดโี อ ทําแบบฝกึ 4 9 คุณแซ่อะไร ศกึ ษาบทเรยี นวดี ีโอ ทาํ แบบฝึก 4

3.3 ขน้ั ตอนและกระบวนการสรา้ งผลงานนวัตกรรม แนวคิดและกระบวนการออกแบบนวัตกรรมการศึกษาแนวคดิ และกระบวนการออกแบบ นวตั กรรมการศึกษา PDCA คือ ภาพที่1กระบวนการออกแบบนวตั กรรมการศกึ ษา PDCA 3.3.1 ข้ันวางแผนปฏบิ ัติงาน (Plan : P) เปน็ ข้ันตอนการจัดทําแผนในการดําเนินการสรา้ ง การจดั การ เรียนการสอนผา่ นสื่อออนไลน์เวบ็ ไซต์Student Learning ดว้ ยGoogle Site รายวิชา ภาษาจนี เพื่อการส่ือสาร สาํ หรับนักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 6 ดังนี้ 1. ศกึ ษาหลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 24 จงั หวดั พะเยา รายวิชาภาษาจีน เพ่ือการส่อื สาร 1 ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ในดา้ นสาระการเรียนรู้มาตรฐานการเรยี นรูต้ ัวชว้ี ดั สาระการเรียนรู้ แกนกลางคําอธิบายรายวชิ าโครงสรา้ งรายวิชาและหนว่ ยการเรียนรู้ 2. ศกึ ษาแนวคิดทฤษฎีและวธิ ีการเขยี นเวบ็ ของ Google Site อยา่ งละเอยี ดเพื่อ สร้างสื่อออนไลน์เวบ็ ไซต์Student Learning ดว้ ยGoogle Site 3. เลอื กรายวชิ าภาษาจีนเพื่อการสอ่ื สาร 1 ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่1-5 เรื่องสัทอักษร การทักทาย ประมวลผลขอ้ มลู ตอนที่1 การประมวลผลข้อมูลตอนท่ี2ข้อมลู และการรวบรวม ข้อมลู ตอนที่1และข้อมูลและการ รวบรวมขอ้ มลู ตอนท่ี2 เพราะเป็นเร่ืองพนื้ ฐานทตี่ ่อยอดไปยังหนว่ ยการ เรยี นรเู้ รอ่ื งอน่ื ๆ

1. หลังจากทีเ่ ราสมัครGmail แล้วเราก็เข้าไปทเ่ี ว็บwww.googlesite.com เพือ่ สมัครเขา้ ใชง้ าน Google site 2. ให้login ด้วยaccount บญั ชขี อง gmail ที่สมัครไว้ 3. เม่ือlog in เข้ามาแลว้ จะพบกับหน้าตา่ งดงั รูปใหค้ ลิกท่ีปุ่ม“สรา้ งเว็บไซต์” 3.3.2.2 การจดั การเรียนการสอนออนไลน์ ก่อนการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ผ้สู อนควรบอกวธิ ีการใชง้ านเวบ็ ไซต์อย่างละเอยี ด เพือ่ ใหน้ กั เรยี นไดใ้ ชง้ านเว็บไซต์ได้อย่างถูกต้องและเป็นการอาํ นวยความสะดวกให้แก่นักเรยี นก่อน ได้รบั การใช้งานซึ่งลง้ิ ในการเขา้ ใช้งานของเว็บไซต์Student Learning ของ Google Site จะส่งให้ นักเรยี น คือ https://sites.google.com/view/niphol-toraksa การเขา้ ใชง้ าน เวบ็ ไซต์Student Learning ครูผูสอนควร จัดลาํ ดับขน้ั ตอนและให้รายละเอียดทีช่ ัดเจนดงั น้ี 1. การเข้าส่เู ว็บไซต์Student Learning โดยพมิ พว์ ่า https://sites.google.com/view/ niphol-toraksa 3.3.2.3 การอภปิ รายหลังการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ การสรา้ งเว็บไซต์บทเรียนคอมพิวเตอรผ์ ่านเวบ็ ด้วยGoogle Site รายวชิ าภาษาจนี เพ่อื การสื่อสาร 1 สําหรบั นักเรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 6 อภปิ รายได้ดงั นผ้ี ลการเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น พบว่าผลสมั ฤทธิ์ ทางการเรียนในรายวิชาวิทยาการคาํ นวณก่อนเรียนและหลังเรียนซึ่งผลสมั ฤทธิ์ ทางการเรยี น หลังได้รบั การจัดการ เรียนรสู้ ูงกว่าก่อนได้รับการจดั การเรียนรซู้ ึ่งการได้ใช้นวตั กรรม google Apps for Education มาเปน็ ตวั ชว่ ยใชใ้ น การเรียนการสอนคะแนนเฉล่ียจากการสอนหลัง เรียนสงู กว่าคะแนนเฉลีย่ จากการสอนก่อนเรยี น คือจัดการเรยี นรู้ โดยใช้เวบ็ ไซต์Student Learning ด้วยGoogle Site รายวชิ าภาษาจนี เพอื่ การสือ่ สาร 1 ทาํ ให้คะแนนเฉลย่ี จากการ สอนหลังเรยี นสูงกวา่ คะแนน เฉลี่ยจากการสอนก่อนเรยี น ซึง่ จะเห็นได้วา่ เม่ือนําบทเรยี นท่ผี า่ นสื่อออนไลน์ เวบ็ ไซต์Student Learning ดว้ ย Google Site มาใช้จะทําให้มผี ลการเรียนทเ่ี พ่ิมสงู ขึน้ อย่างเห็นได้ชดั และผลการ ประเมนิ ความพึงพอใจ พบวา่ ความพงึ พอใจของผูเ้ รยี นทม่ี ีต่อการจัดการเรยี นรูโ้ ดยใชเ้ วบ็ ไซต์ Student Learning ด้วยGoogle Site รายวชิ าภาษาจีนเพื่อการส่ือสาร 1 ในภาพรวมอยใู่ นระดับมาก เม่ือ พิจารณาเป็นรายข้อพบว่า การจัดการเรยี นรู้โดยใช้เว็บไซต์Student Learning เวบ็ ไซต์มคี วาม น่าสนใจและน่าเรียนร้อู ยู่ในระดับมากท่ีสดุ (������̅������̅ =4.60) รองลงมา คือสอื่ เสรมิ สร้างความเขา้ ใจใน บทเรียนอยใู่ นระดับมาก (������̅������̅ =4.40) และมีความ สนุกสนานระหวา่ งในการชมเวบ็ ไซตอ์ ยูใ่ นระดับ มาก (������̅������̅ =4.30) เนอ่ื งจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บดว้ ย Google Site ทําใหน้ กั เรียนเรยี นรู้ เนื้อหาได้อย่างมีความสุขสนกุ สนาน น่าสนใจศึกษาเรียนรู้เบ้อื งตน้ สําหรับ นักเรียนระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 6 พบวา่ บทเรียนคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอนท่ีมรี ูปแบบนา่ สนใจ มีความชัดเจน มี รปู แบบดงึ ดดู ใจผู้เรียนจะสามารถดึงดดู ผ้เู รียนใหเ้ กดิ ความ สนใจทีจ่ ะศึกษาและทําความเข้าใจในเน้ือหาได้ดยี ง่ิ ข้นึ สง่ ผลทําใหผ้ เู้ รียนเกิดความพึงพอใจใน บทเรยี นคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอนอยใู่ นระดบั มาก ซึ่งจะเห็นไดว้ า่ เมอ่ื มกี ารนํา

ส่ือทม่ี ีรูปแบบทส่ี ามารถ ดึงดูดความสนใจผเู้ รียนมาใช้ประกอบการจดั การเรยี นการสอนจะทําใหผ้ ้เู รยี นมีความสุขและสนุกกับ การเรียนรู้ อย่างไมเ่ บื่อหน่ายซูง่ก็เพื่อให้ผู้เรยี นเกิดการเรยี นรู้ตามวัตถุประสงค์ 3.3.3 ขั้นตรวจสอบและประเมินผล (Check : C) 3.3.1 ประเมินผลนกั เรียน 3.3.2 ประเมินความพงึ พอใจ 3.3.3 เก็บขอ้ มลู วิเคราะห์ข้อมูลแปลความหมาย 3.3.4 จดั ทาํ รายงายผลการจัดการเรยี นรู้ 3.3.4 ขัน้ นาผลการประเมนิ มาปรับปรุง(Action : A ) การนําผลการประเมนิ มาพัฒนาแผน อาจประกอบดว้ ยการนาํ ผลการ ประเมินมา วเิ คราะหว์ า่ มโี ครงสร้างหรือขั้นตอนการปฏิบัติงานใดที่ควร ปรบั ปรงุ หรือพัฒนาสิ่งทด่ี ีอยู่ แลว้ ให้ดียิง่ ข้ึนไป อีกและสังเคราะหร์ ูปแบบ การดาํ เนินการใหม่ทเี่ หมาะสม สาํ หรบั การ ดําเนนิ การ 3.4.1 ปรับปรุงเว็บไซต์Student Learning ดว้ ยGoogle Site รายวชิ าภาษาจนี เพ่ือการส่ือสาร 1 โดยเพ่มิ เติมเอกสารใหค้ วามรู้เกย่ี วกบั ทักษะกระบวนการขั้นพ้ืนฐาน ให้สอดคล้องกับบทเรียน และแยก ขอ้ แนะนําการนํา เว็บไซต์Student Learning ด้วยGoogle Site รายวชิ าภาษาจนี เพอื่ การสอ่ื สาร 1ไปใช้ ในการเรยี นการสอน จดั ทาํ เป็นคูม่ ือการใช้ 3.4.2 ปรบั ปรุงเวบ็ ไซต์Student Learning ดว้ ยGoogle Site รายวิชาภาษาจีนเพ่ือการส่อื สาร 1 ให้ สอดคล้องกบั มาตรฐานตัวช้วี ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศตาม หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง2560) 3.4.3 นาํ ข้อเสนอแนะในการนาํ ไปใช้และการศึกษาคน้ ควา้ ครั้งตอ่ ไปจากเว็บไซต์ Student Learning ดว้ ย Google Site รายวชิ าภาษาจนี เพ่ือการสอ่ื สาร 1 เดิมไป พัฒนาสรา้ งการ จัดการเรยี นการสอนเพิม่ เติมมัลติฟงั ชั่น การใช้งานเพ่ิมข้นึ และบรบิ ทการจัดการเรยี นรู้ของ โรงเรยี นในช่วงสถานการณ์โรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 3.4.4 ปรับปรุงพัฒนาแผนการจัดการเรียนรโู้ ดยนาํ ข้อเสนอแนะและข้อควร ปรับปรุงพัฒนาใหส้ อดคล้อง กบั เวบ็ ไซตS์ tudent Learning ดว้ ยGoogle Site รายวชิ าภาษาจนี เพ่ือการสื่อสาร 1ท่ปี รบั ปรงุ 3.4.5 ขยายเครอื ข่ายการใชเ้ วบ็ ไซต์Student Learning ด้วย Google Site รายวิชาภาษาจีนเพ่อื การสอื่ สาร 1ใช้กบั นกั เรียนทุกระดับชน้ั

โมเดลเสนอผลงานนวตั กรรม เรื่องการจัดการเรียนการสอนผา่ นสอ่ื ออนไลน์ ด้วยเว็บไซต์Student Learning 4. ผลการดาเนนิ งานและประโยชน์ที่ได้รับจากผลงานหรือนวัตกรรม 4.1 สาหรับครู 4.1.1 เป็นสือ่ ออนไลน์เว็บไซต์Student Learning ด้วย Google Site ในการ จดั การเรยี นรู้ที่ ต้องการพัฒนาผูเ้ รียนให้มที กั ษะความรู้ความสามารถในการใช้งานเทคโนโลยี รายวชิ าวิทยาการคาํ นวณ ครูสามารถนําไปประยุกตใ์ ชใ้ นชั้นเรยี นของตนได้หรือพัฒนาเป็น นวตั กรรมการ

เรียนรู้ 4.1.2 เป็นสือ่ ทใี ช้ในการจดั การเรียนรูท้ ่ีสอดคล้องกบั ทฤษฎีไดพ้ ัฒนาบทเรียน อิเล็กทรอนิกส์การ ใช้นวตั กรรม Google Apps for Education มาเปน็ ตวั ชว่ ยใชใ้ นการ เรียนการสอน คือบทเรยี น อเิ ล็กทรอนิกสม์ ผี ลทําให้คะแนนเฉลีย่ จากการสอนหลงั เรียนสงู กวา่ คะแนนเฉลยี่ จากการสอนกอ่ นเรียน ซงึ่ จะเห็นไดว้ า่ เมือ่ นาํ บทเรียนทผี่ า่ นส่อื ออนไลน์ เว็บไซต์Student Learning ด้วยGoogle Site มาใชจ้ ะทาํ ใหม้ ผี ลการเรยี นท่ีเพิ่มสูงข้ึน อยา่ งเห็นไดช้ ัดซึง่ เป็นนวตั กรรมสื่อ การเรียนรู้รปู แบบใหม่ท่ีออกแบบและสอดแทรกเน้ือหา บทเรยี นลงไป ให้ผ้เู รียนมสี ว่ นร่วมในการเรียนรฝู้ ึก ปฏบิ ตั ิในการเรียนรดู้ ้วยตนเอง จนผเู้ รียนเกดิ การเรยี นรู้ได้ในท่ีสุด 4.1.3 เปน็ สือ่ ท่ใี ชใ้ นการจดั กิจกรรมทสี่ อดคลอ้ งกับวสิ ัยทศั นแ์ ละจุดหมายของ หลกั สตู ร แกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ท่ีเน้นสมรรถนะผูเ้ รยี น มาตรฐาน และตัวชีว้ ดั ที่นําไปสู่ การปฏิบัติโดยเฉพาะสมรรถนะสําคญั ของผู้เรียนทมี่ ่งุ ให้เกดิ ความสามารถในการสื่อสารและความสามารถในการคิด 4.1.4 เป็นหลักฐานหรือร่องรอยในการพฒั นาผ้เู รียนให้มีกระบวนการคิดในช่วง สถานการณโ์ รคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา และนวัตกรรมนี้สามารถนํามาใช้เพ่ือใหน้ ักเรียนใชเ้ วลา ว่างในการศึกษาได้ตลอดเวลาซงึ่ ได้ทงั้ ความรู้ และและการได้ใชเ้ ทคโนโลยอี ีกทั้งสําหรับ เตรียมความพร้อมในการประเมินภายนอกของ สมศ. ด้านผู้เรยี น มาตรฐานท4ี่ ผูเ้ รยี นควรมี ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์สังเคราะหค์ ิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ คิดไตร่ตรอง คิด สร้างสรรคอ์ ย่างมวี สิ ยั ทัศน์ 4.1.5 เป็นสื่อท่ีมีการนาํ กลวิธีการสอนรปู แบบการจัดการเรยี นรโู้ ดยใช้เทคโนโลยี การจัดการเรยี นรู้โดยใช้ เทคโนโลยีเปน็ การเรยี นรทู้ ี่มงุ่ เนน้ ใหผ้ ู้เรียนได้เรยี นรวู้ ่าขณะนีม้ ี เทคโนโลยมี ีความกว้าหนา้ กา้ วไกลไปในลักษณะ รูปแบบใดบ้างทง้ั ทางดา้ นวสั ดอุ ุปกรณ์และวธิ ใี หมๆ่ ใหผ้ เู้ รยี นมีความรู้ความเข้าใจ และทักษะในการใชเ้ ทคโนโลยมี า เป็นเครอื่ งมือใน การเรยี นรู้ของตนเองและงานมาใชค้ วบคู่กบั การจดั การเรยี นรเู้ ชน่ การศกึ ษาคน้ คว้าดว้ ย ตนเอง การสงั เกตและอธิบาย (Predict - Observe - Explain) กลวิธรี ู้แล้วอยากรแู้ ละ ต้องการเรียนรู้(Knowledge - Want to know – Learning : KWL) เป็นตน้ ซึง่ กลวิธเี หล่านจะช่วยให้ผเู้ รียนได้เรียนรู้อย่างมีประสทิ ธิภาพและ ประสิทธผิ ลในด้านการสรา้ งองคค์ วามรู้ ทักษะกระบวนการคิดกระบวนการ เรียนร้แู ละทักษะทางสงั คมมากขึ้น 4.1.6 เป็นสื่อที่ใชใ้ นการจัดกระบวนการเรียนรูใ้ ห้ผเู้ รยี นจากกิจกรรมง่ายๆและ เหมาะสมกบั เนื้อหาตรง ตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลกั สูตรวทิ ยาการคํานวณ สําหรับนกั เรียนระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี1ในช่วง สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 4.1.7 เป็นการกระตุน้ ครผู ู้สอนใหส้ นใจใฝร่ ู้สืบเสาะหาความรู้เพม่ิ เติมเพ่ือพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเนื่องและนํา สงิ่ ใหม่ๆมาใชเ้ พื่อพฒั นาการเรยี นการสอนวทิ ยาการคาํ นวณให้มี ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล 4.2 สาหรบั นักเรียน 4.2.1 เป็นสอ่ื ที่นกั เรียนสามารถเรยี นร้ดู ้วยการลงมือปฏิบัติด้วยตนเองหรือเป็นกลุ่ม ไดต้ ลอดเวลาเพ่ือสร้างทกั ษะชวี ติ และทกั ษะทางสงั คม 4.2.2 เปน็ สอื่ ทส่ี ามารถใช้กระบวนการคิดได้อยา่ งหลากหลายโดยเฉพาะการคิด วเิ คราะห์และ การคดิ สร้างสรรค์ซึ่งเปน็ การคดิ ขั้นสูงสดุ

4.2.3 นกั เรยี นรู้จักใชเ้ วลาว่างให้เป็นประโยชนส์ ําหรับฝึกทักษะการอา่ นและการคิด 4.2.4 การจัดการเรยี นการสอนผา่ นสอ่ื ออนไลน์ด้วยเว็บไซต์Student Learning สาํ หรับนักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที 1่ี พบวา่ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นในรายวชิ าวิทยาการ คํานวณก่อนเรียนและหลงั เรยี นซึ่ง ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนหลังไดร้ บั การจดั การเรยี นรูส้ ูงกวา่ กอ่ นไดร้ บั การจัดการเรียนรู้ 4.2.5 ผลการประเมินความพึงพอใจ พบวา่ ผเู้ รยี นมีความพึงพอใจตอ่ การจดั การเรียนการสอนผ่านส่ืออน ไลนด์ ้วยเว็บไซต์Student Learning ดว้ ยGoogle Site รายวิชาภาษาจีนเพ่ือการสื่อสาร 1 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากความพงึ พอใจของผูเ้ รยี นท่ีต่อการจัดการเรียนการสอนผ่านสือ่ ออนไลนด์ ้วยเว็บไซต์Student Learning ปรากฏผลดงั ตารางท่ี2 5. ปัจจยั ความสาเรจ็ ในการดาเนินงานผลงานหรอื นวตั กรรม 5.1 บุคลากรทม่ี สี ่วนในการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนประสบผลสําเร็จคอื ผู้บริหารโรงเรยี นราชประชานุ เคราะห์ 24 จังหวัดพะเยาทีม่ ีการ สนับสนุนและสง่ เสริมให้จัดกจิ กรรมการเรยี นรูท้ ีห่ ลากหลายตาม ศักยภาพ ของผเู้ รยี นสง่ เสรมิ สนับสนุนใหค้ รูผจู้ ัดทาํ สอ่ื /นวัตกรรมเพ่ือพัฒนาการจดั การเรยี นรูใ้ นช่วง สถานการณ์โรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 5.2 ใช้หลกั การจดั กิจกรรมแบบมสี ว่ นรว่ มโดยอาศยั ความรว่ มมือของผู้บริหาร ครูนักเรียน โรงเรียนราช ประชานุเคราะห์24 จังหวดั พะเยา ผปู้ กครอง และ ชุมชนหรอื หน่วยงานทีเ่ ก่ยี วข้องร่วมกนั วางแผนเตรยี ม ความพร้อม การเรยี นในชว่ งสถานการณโ์ รคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 5.3 ผบู้ ริหารโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 24 จังหวัดพะเยา ใหก้ ารนเิ ทศ ติดตาม และเยีย่ มชัน้ เรยี นอยา่ ง กัลยาณมิตร ส่งเสรมิ สนบั สนุนการจัดกจิ กรรม อยา่ งตอ่ เนื่องลงพื้นทีเ่ ย่ียมบ้านนักเรยี นทวั่ ถงึ ทกุ คน 5.4 การดาํ เนินการพฒั นานวัตกรรมใหส้ าํ เรจ็ ลลุ ว่ งเกดิ สัมฤทธ์ิผลอยา่ งมปี ระสิทธิภาพและ เกิดประสิทธิผล น้นั จะตอ้ งอาศยั ความร่วมมือที่ดีจากทุกภาคส่วนท่ีเกี่ยวข้องตอ้ งเข้ามามีสว่ นร่วมใน การจัดการศึกษา ในช่วงสถานการณโ์ รคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา อีกทัง้ ผู้บริหาร ครูผ้สู อนและผู้ปกครองมี สว่ นสําคัญท่ีจะตอ้ ง คอ่ ยๆ ปลกู ฝังให้นักเรียนเกดิ การเรียนร้อู ย่างตอ่ เน่ือง

6. บทเรยี นทไ่ี ด้รบั 6.1 ผู้เรียนไดศ้ ึกษาเทคโนโลยีโดยใชค้ วามร้ดู า้ นICT มาประยุกต์ใช้ในการเรยี นวชิ าภาษาจีนเพ่อื การส่ือสาร 1 และสามารถศกึ ษาเรยี นร้เู พ่ิมเตมิ ได้ดว้ ยตนเองได้ตลอดเวลา โดยใช้การจดั การเรียนการสอน ผ่านสอื่ ออนไลน์ เวบ็ ไซต์Student Learning ด้วยGoogle Site ให้เปน็ ประโยชนใ์ นการแลกเปล่ียน เรียนรู้ด้านการจัดกิจกรรม การเรียนการสอน และสามารถเผยแพร่ใหผ้ ู้อน่ื ได้ศึกษา 6.2 นวตั กรรมการจดั การเรยี นการสอนผา่ นส่ือออนไลนเ์ ว็บไซต์Student Learning ดว้ ย Google Site รายวชิ าภาษาจนี เพื่อการสอื่ สาร 1 ทําใหน้ ักเรียนมสี ว่ นร่วมใน กระบวนการเรยี นรูเ้ ชงิ ปฏิบัติ อย่างมีระบบสง่ ผลใหพ้ ฒั นาคุณภาพนกั เรยี นพฒั นาทักษะกระบวนการคิดผสมผสาน วิทยาการใหม่ ในการศึกษาหา ความรแู้ ละพฒั นาเป็นความรทู้ ่คี งทนตลอดไป ในช่วงสถานการณโ์ รคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 6.3 นวตั กรรมการจดั การเรยี นการสอนผ่านส่อื ออนไลน์เว็บไซต์Student Learning ดว้ ย Google Site รายวิชาภาษาจีนเพ่อื การสื่อสาร 1 เป็นสื่อในการจัดกิจกรรม การเรียนรูก้ ารปลูกฝงั ใหผ้ เู้ รยี นรจู้ ัก การอ่านฟังและการเขียนความรู้เน้ือหาลงบทเรียนใบงานที่ครผู ู้สอนได้ให้ในแตล่ ะสัปดาห์ 6.4 ในการนํานวตั กรรมไปใช้นั้นครตู ้องจดั การเรยี นร้แู บบให้นักเรยี นปฏิบัตจิ รงิ นกั เรียนเปน็ ศูนย์กลางการ เรยี นรโู้ ดยวิธีการทห่ี ลากหลาย เน้นวิธีสอนแบบศนู ย์การเรียน (Learning Center) คือการสอนทเ่ี น้น ความสาํ คญั ของนักเรียนหรือยดึ นักเรียนเป็นศนู ย์กลางและใช้เทคนคิ การจดั การ เรยี นการสอนทใี่ ช้ส่อื ประสม และกระบวนการกลุ่มเป็นสิ่งสําคญั เพื่อสง่ เสรมิ ให้การเรียนการสอนมีชวี ติ ชวี าชว่ ยให้ผ้เู รียนได้ศึกษาค้นคว้าและ เรยี นรู้ดว้ ยตนเอง เพื่อส่งเสรมิ ให้ผเู้ รียนแสวงหาความรู้ดว้ ย ตนเอง เชน่ การสอน การลงมือปฏบิ ตั ิจรงิ จะชว่ ยให้ นักเรียนเกิดความรู้(K) ทกั ษะการทํางาน(P) และ เกิดเจตคติทดี่ ี(A) ในการทํางานต่างๆ ทคี่ รูมอบหมาย 7. การเผยแพร่ การจัดการเรียนการสอนผ่านสื่อออนไลนด์ ว้ ยเวบ็ ไซต์Student Learning ในรายวิชาภาษาจีนเพ่ือการสื่อสาร 1 ในระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 24 จังหวดั พะเยา สามารถนํามาบูรณา การ รว่ มกับกลมุ่ สาระอืน่ ๆ ในการจดั การเรียนการสอนผ่านสือ่ ออนไลน์ดว้ ยเวบ็ ไซต์Student Learning ของ นกั เรยี นได้

ภาพกจิ กรรมการดาเนนิ งาน กจิ กรรม






Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook