Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานสรุปผลการดำเนินงาน

รายงานสรุปผลการดำเนินงาน

Published by นูรีซัน ลากอ, 2021-08-31 03:48:52

Description: รายงานสรุปผลการดำเนินงาน

Keywords: รายงานสรุปผลการดำเนินงาน

Search

Read the Text Version

1 รายงานผลการดาเนนิ งาน โครงการจดั การศกึ ษาตลอดชีวติ ในสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ โดย นายสมศกั ด์ิ นิจนารถ ตาแหนง่ ผูอ้ านวยการสถานศกึ ษา วทิ ยฐานะ ผู้อานวยการชานาญการ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอกาบงั สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจังหวดั ยะลา สานกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ก คานา รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการจัดการศึกษาตลอดชีวติ ในสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ แผนงาน : บูรณาการขับเคล่ือนการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอาเภอกาบัง จังหวัดยะลา ได้จัดทาข้ึนเพ่ือรายงานผลการดาเนินงานโครงการจัดการศึกษา ตลอดชีวิตในสถาบันศึกษาปอเนาะ ในการจัดการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน การส่งเสริมทักษะอาชีพ การส่งเสริมแหล่ง เรยี นรู้ในสถาบนั ศึกษาปอเนาะ และการจดั โครงการ 1 ปอเนาะ 1 โครงการพัฒนา ศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอกาบัง มบี ทบาทส่งเสริมในสถาบันศกึ ษาปอเนาะด้านจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน การจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะอาชีพ การจัดกิจกรรมทักษะชีวิต รวมทั้งการสร้างและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ซ่ึงเป็นการส่งเสริมสถาบันศึกษาปอเนาะให้เป็นแหล่งเรียนรู้โลกยุคปัจจุบันและทางศาสนาควบคู่กันภายใต้ สงั คมพหุวฒั นธรรม ใ น น า ม ข อ ง ค ณ ะ ผู้ จั ด ท า โ ค ร ง ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ต ล อ ด ชี วิ ต ใ น ส ถ า บั น ศึ ก ษ า ป อ เ น า ะ ขอขอบคุณผู้อานวยการสานักงาน กศน.จังหวัดยะลา ผู้อานวยการ กศน.อาเภอกาบัง และบุคลากร กศน. อาเภอกาบัง ท่ีเก่ียวข้องทุกท่าน ที่ได้มีส่วนร่วมสนับสนุนและให้คาปรึกษาแนะนา ผลที่ได้จากการจัดทา โครงการครั้งนี้ ได้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการและการพัฒนาสถาบันศึกษาปอเนาะต้องพัฒนาอย่าง ตอ่ เนอื่ งและอยา่ งเปน็ ระบบ และปรบั ปรงุ กระบวนการบรหิ ารจัดการ รปู แบบวิธีการให้มปี ระสิทธิภาพ กศน. อาเภอกาบงั สานกั งาน กศน. จงั หวัดยะลา

ข สารบญั หนา้ คานา.......................................................................................................................................... ก สารบญั ....................................................................................................................................... ข โครงการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ.......................................................... 1 วัตถปุ ระสงค์............................................................................................................................... 3 เป้าหมายโครงการ (Output).................................................................................................... 3 กลมุ่ เป้าหมายโครงการ (Target group)................................................................................... 3 ระยะเวลาการดาเนนิ การ........................................................................................................... 3 พื้นท่ดี าเนนิ การ.......................................................................................................................... 3 กจิ กรรมท่ีดาเนนิ การ.................................................................................................................. ๔ รายงานผลการจัดการศกึ ษาตลอดชีวติ ในสถาบันศกึ ษาปอเนาะ............................................... 7 1. การจัดการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน 9 - ภาพการจัดการเรียนการสอนในสถาบันศกึ ษาปอเนาะ 7 2. การจัดการศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง 14 - ตารางสรุปผลความพึงพอใจ 15 - ภาพการจัดกิจกรรม 17 3. การจัดการศึกษาตามอธั ยาศัย 23 - ภาพการจัดกิจกรรม 23 สรุปผลการดาเนินงานโครงการจดั การศกึ ษาตลอดชวี ิตในสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ 26 ปญั หาอุปสรรค / ขอ้ เสนอแนะเพื่อการพัฒนา 27 คณะผู้จัดทา 28

1 1. โครงการการจัดการศกึ ษาตลอดชีวิติในสถาบันศึกษาปอเนาะ 2. ความสอดคล้องกับนโยบาย 2.1 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2560 - 2579) - ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 ดา้ นความมน่ั คงประเดน็ ยุทธศาสตร์ 1 การรกั ษาความสงบภายในประเทศ (พฒั นาและเสรมิ สร้างคนให้เข้มแขง็ ตระหนักถงึ เรือ่ งความม่ันคง และมสี ว่ นร่วมการแก้ปญั หา) - ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ประเด็นยุทธศาสตร์ 2 พฒั นาศักยภาพคนตลอดชว่ งชีวิต (ให้มีศักยภาพ มีทักษะความรู้ เป็นคนดี มีวินัย มีความรอบรู้ทางการเงิน มีความสามารถในการวางแผนชีวิตทเ่ี หมาะสมในแต่ละช่วงวยั ) 2.2 แผนการปฏิรปู ประเทศ 11 ดา้ น ข้อ 9 สงั คม (คนไทยมีหลักประกันทางรายได้ท่ีพอเพียง ต่อ การดารงชีวิตอย่างมีคุณภาพชีวิตอย่างมีคุณภาพ ปรับเปล่ียนพฤติกรรมไปสู่การมีจิตสาธารณะ เพ่ิมขึน้ สงั คมแห่งโอกาสและไม่แบ่งแยก ภาครัฐมีข้อมูลและสารสนเทศด้านสังคมท่ีบูรณาการ และใช้ชุมชน ทอ้ งถนิ่ มคี วามเขม้ แข็งสามารถบรหิ ารจัดการชุมชนได้ดว้ ยตนเอง 2.3 แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560 - 2564) - ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์แนวทางพัฒนา ข้อ 3.2 พฒั นาทกั ษะคนใหม้ ที ักษะความรู้ และความสามารถในการดารงชีวติ อยา่ งมีคณุ ค่า 2.4 แผนยุทธศาสตร์การศึกษา เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) - ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 การพัฒนาศกั ยภาพคนทุกช่วงวัยและการสรา้ งสังคมแหง่ การเรียนรู้ 3. ความเปน็ มาและแนวคดิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยมีบทบาทสาคัญต่อวิถีชีวิตมนุษย์และเป็นกลไก ท่สี าคัญในการพฒั นาคุณภาพของทรพั ยากรมนุษย์ในประเทศ กลา่ วคอื การศกึ ษาเป็นกระบวนการเรียนรู้ท่ีเป็น พ้ืนฐานต่อการพัฒนาตนเองให้เป็นสมาชิกที่ดีของสังคม ทาให้สามารถเผชิญกับความเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึน โดยเฉพาะในปัจจุบันท่ีความเปลย่ี นแปลงเกดิ ขน้ึ อยา่ งรวดเร็วและมากมายอนั เป็นผลสบื เนื่องมาจากความก้าวหน้าของ องค์ความรู้และวิทยาการสมัยใหม่ การพัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และสังคมยุคโลกาภิวัฒน์ (Globalization) ซงึ่ การเปลย่ี นแปลงเหล่านม้ี ผี ลกระทบต่อสภาพความเป็นอยู่และการดาเนินชีวิต การศึกษาในระบบ เพียงอย่างเดียวไม่เพียงพอ ต่อการเรียนรู้ของคนในสังคม วิถีการเรียนรู้ของคนจึงขยายขอบเขตจากการศึกษาใน ระบบ ไปสู่การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ซ่ึงทาให้เกิดกิจกรรมการศึกษาท่ีหลากหลายไม่ จากัด เพ่ือให้เกิดการการเรยี นรู้อย่างต่อเนอ่ื งตลอดชีวิต ตอบสนองความต้องการ การเรียนรู้ตามความสนใจ ความถนดั ให้ความเสมอภาคทางการศกึ ษาโดยเปิดโอกาสให้แก่ผู้ด้อยโอกาสหรือขาดโอกาสทางการศึกษาได้ มีโอกาสศึกษาหาความรู้ ฝึกทักษะ ปลูกฝังเจตคติท่ีจาเป็นในการดารงชีวิต และการประกอบสัมมาชีพ อีกท้ังสามารถปรับตัวให้ทันกับความเปลี่ยนแปลงของวิทยาการต่างๆ ท่ีเจริญก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว ได้อย่างมีความสุขตามควรแก่อัตภาพ (หน่วยศึกษานิเทศก์ สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย. 2551 : 22) การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจึงเป็นการจัด การศึกษาทพี่ ฒั นาคณุ ภาพชวี ิตได้ตามศักยภาพ เป็นสังคมแหง่ การเรียนรแู้ ละภูมปิ ญั ญา ซึ่งส่งผลต่อการพัฒนา ประเทศชาตใิ ห้เจรญิ กา้ วหน้าต่อไป

2 สถาบันศึกษาปอเนาะ เป็นสถาบันการศึกษาศาสนาอิสลามท่ีมีประวัติความเป็นมาช้านานหลาย ร้อยปีนับตั้งแต่มีชุมชนมุสลิมเกิดขึ้น และเป็นสถาบันการศึกษาที่สอดคล้องกับวิถีการดารงชีวิตของชาวไทย มุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ระบบและรูปแบบการศึกษาปอเนาะเป็นกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิต ไม่จากัดอายุผู้เรียน ไม่มีหลักสูตรการเรียน ไม่มีตารางเรียน ไม่มีการประเมินผล ผู้เรียนสามารถเรียนได้ เร่ือยๆ การจัดการเรียนการสอนขึ้นอยู่กับความสามารถของโต๊ะครู ตามหลักศาสนาอิสลามผู้ท่ีมีความรู้ มีหน้าที่ต้องสอนศาสนาให้กับผู้ไม่รู้ ดังน้ันผู้ท่ีมีความรู้ในชุมชนและสามารถถ่ายทอดความรู้ให้แก่ผู้อ่ืนได้ มักจะเปิดสอนท่ีบ้านของตนเอง ผู้ปกครองท่ีส่งบุตรหลานมาเรียนก็ปลูกที่พักอาศัยเป็นกระท่อม ซึ่งเรียกว่า ปอเนาะ มาจากภาษาอาหรับท่ีแปลว่าท่ีพัก หรือโรงแรม การเรียนเป็นไปตามอัธยาศัยและความรู้ ความสามารถของผู้สอน ความมุ่งหมายของการเรียนในปอเนาะคือ การปลูกฝังคุณธรรม ตามหลักศาสนา อิสลาม เพือ่ ใหผ้ ู้เรยี นเปน็ คนดขี องสงั คม ปอเนาะจงึ เป็นแหล่งเรยี นรูต้ ลอดชวี ติ ทอ่ี ยคู่ ู่กับชุมชนและเป็นแหล่ง เผยแผ่ศาสนาในคราวเดียวกัน (สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. 2559 : 2) สถาบันศึกษาปอเนาะจึงมีบทบาทสาคัญทผ่ี ลติ ผูร้ อู้ อกไปเปน็ ผู้นาชมุ ชนและสังคมโดยเน้นด้านศาสนาเป็นหลัก ดารงอยู่ด้วยความช่วยเหลือและใกล้ชิดกับชุมชน สามารถที่จะดาเนินการสอนได้ด้วยความช่วยเหลือจาก ชุมชนและสังคมจากภายนอก สถาบันศึกษาปอเนาะจึงมีความจาเป็นต่อคนในพ้ืนท่ีในการให้ความรู้ท่ี สอดคลอ้ งกับการดารงชีวิตในวถิ ขี องอสิ ลาม การจัดการศึกษาในสถาบันศึกษาปอเนาะเป็นการเรียนรู้ตลอดชีวิต กระทรวงศึกษาธิการจึงได้ กาหนดให้สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเป็นผู้รับผิดชอบในการจัด การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน โดยการส่งครูอาสาสมัครประจาปอเนาะแห่งละ 1 คนเข้าไปจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนและเป็นผู้ช่วยของโต๊ะครูในการติดต่อราชการ (สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. 2559 : 3) และมีหน่วยงานอ่ืนที่เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาในสถาบันศึกษาปอเนาะ กล่าวคือ การมีส่วน ร่วมจากหน่วยงานภาคีเครือข่าย และชุมชนท่ีอยู่บริเวณรอบๆ ซึ่งประกอบด้วย ผู้นาชุมชน ผู้นาศาสนา เครือข่ายองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เครือข่ายหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนเข้าไปให้ความช่วยเหลือ สถาบันศึกษาปอเนาะในรูปแบบต่างๆ ตามหลักของการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพที่ต้อง อาศยั การมีสว่ นรว่ มของสังคมทุกภาคส่วนเน่ืองจากรัฐต้องใช้ทรัพยากรจานวนมากในการจัดการศึกษาที่ต้อง ครอบคลุมทกุ ช่วงวัย ทุกระดับการศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมายด้วยรูปแบบ วิธีการท่ีหลากหลาย สนองความ ตอ้ งการและความจาเป็นของแต่ละบุคคล และสนองยุทธศาสตร์ชาติและความจาเป็นในการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ (ศูนยป์ ระสานงานและบรหิ ารการศึกษาจังหวดั ชายแดนภาคใต้. 2560 : 38 ) ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยสถาบันศึกษาปอเนาะ พ.ศ. 2547 ได้เปิดโอกาสให้ ปอเนาะต่างๆ จดทะเบียนข้ึนเป็น สถาบันศึกษาปอเนาะ ท่ีถูกต้องตามกฎหมาย ทาให้ผู้นาศาสนา ตอ้ งมบี ทบาทเป็นทงั้ ผู้บรหิ ารและผู้สอน โดยมีโต๊ะครูเจ้าของสถาบันศึกษาปอเนาะเป็นผู้บริหาร ผู้จัดการหรือ ผู้สอนหลักศาสนาอิสลามในสถาบันศึกษาปอเนาะ เป็นบุคคลสาคัญในการแก้ปัญหา โดยเฉพาะปัญหา ท่เี ก่ียวกบั การศึกษาศาสนาและสังคม (มหู ามดั รูยานี บากา. 2548 : 30) ผนู้ าศาสนาจึงมบี ทบาทสาคัญย่ิง สาหรับการอบรมบ่มเพาะคุณธรรมให้เด็กและเยาวชนมีพฤติกรรมเรียบร้อยและปฏิบัติในสิ่งที่ดีงาม ละเว้น การกระทาในส่ิงท่ีไม่ดีทั้งปวง ประพฤติตนตามวิถีชีวิตมุสลิมท่ีดี พัฒนาคนให้มีวัฒนธรรมในการดารงชีวิต ร่วมกับคนอื่น โดยเฉพาะการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม ซึ่งเป็นการอยู่ร่วมกันของบุคคลท่ีมีความ แตกต่างทางด้านเชื้อชาติ ศาสนา ภาษา วัฒนธรรม จาเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องเรียนรู้ เพื่อการอยู่ร่วมกันอย่าง สนั ติ ผูน้ าศาสนาจึงเป็นผู้มบี ทบาทสาคัญต่อการจดั การศึกษาในสถาบันศึกษาปอเนาะท้งั ในด้านการมีส่วนร่วม ในการวางแผนจดั การศกึ ษา จดั กิจกรรมการสอนต่างๆ และการอบรมคุณธรรมใหก้ ับนักเรยี นในสถาบันศกึ ษาปอเนาะ

3 4. วตั ถุประสงค์ 4.๑ เพอ่ื ให้ผูเ้ รยี นมพี ้ืนฐานความรู้และทกั ษะในการดาเนนิ ชวี ิตได้ 4.๒ เพื่อให้ผู้รับบริการมีประสบการณ์ มองเห็นช่องทางในการประกอบอาชีพบนพ้ืนฐานการ พงึ่ พาตนเอง 4.3 เพ่ือให้ผู้รับบริการได้มีทักษะการเรียนรู้เทคโนโลยีนวัตกรรมในการสื่อสารก้าวทันกับการ เปลย่ี นแปลงของสังคมโลกปัจจุบัน 5. เปา้ หมาย ๕.๑ เชงิ ปริมาณ 5.1.1 สถาบนั ศึกษาปอเนาะร่วมจดั กบั กศน.อาเภอกาบงั จานวน ๓ แห่ง 5.1.2 นักศึกษาในสถาบันศึกษาปอเนาะ จานวน 266 คน ๕.๒ เชิงคุณภาพ 5.๒.๑ นกั ศึกษาในสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะทีเ่ ขา้ ร่วมโครงการได้รับการส่งเสริมทักษะอาชีพ และมี ทักษะด้านอาชพี 5.๒.๒ นักศึกษาในสถาบันศึกษาปอเนาะท่ีเข้าร่วมโครงการนาความรู้ที่ได้จากการฝึกทักษะ อาชพี มาพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตใหด้ ีข้ึน 5.๒.๓ นกั ศกึ ษาในสถาบันศึกษาปอเนาะท่เี ข้าร่วมโครงการมองเหน็ ช่องทางในการประกอบอาชพี 5.๒.๔ สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะมกี ารจัดกิจกรรม 1 ปอเนาะ 1 โครงการพฒั นา 5.๒.๕ สถาบันศกึ ษาปอเนาะที่รว่ มจดั กศน. ได้รบั การส่งเสรมิ แหล่งเรยี นรู้ 6. วธิ ีดาเนินการ กจิ กรรมหลกั วัตถปุ ระสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เปา้ หมาย พนื้ ท่ดี าเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ (บาท) 1. จัดการศึกษาข้ัน เพอื่ ใหผ้ ้เู รียนมีพืน้ นกั ศึกษาใน ๑. สถาบนั ศึกษา 1 ตุลาคม พน้ื ฐาน ฐานความร้แู ละทักษะ สถาบนั ศึกษา 116,790 ๑.๑ จดั การเรยี นการ ในการดาเนนิ ชวี ิตได้ ปอเนาะ ปอเนาะอันซอ 2561 – 30 สอนสายสามญั ๓ ระดบั ดงั น้ี รลุ ซุนนะห์ กนั ยายน ๑.๑.๑ ประถมศึกษา ๒. สถาบันศกึ ษา 2562 ๑.๑.๒ มัธยมศกึ ษา ตอนตน้ ปอเนาะมะหัด ๑.๑.๓ มธั ยมศึกษา ตอนปลาย ดารลุ กรุอาน 1.2 การจดั กิจกรรม ตามโครงการพัฒนา ๓. สถาบันศกึ ษา คุณภาพผู้เรียน ปอเนาะอลั ฟา แตฮฺ (ปา่ พรา้ ว) 266

4 กจิ กรรมหลกั วัตถุประสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย เป้าหมาย พ้ืนที่ดาเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ (บาท) 2. การจัดการศึกษา เพ่ือให้ผรู้ บั บริการมี นักศกึ ษาใน ๑. สถาบนั ศกึ ษา 1 ตุลาคม ต่อเน่อื ง ในลักษณะชน้ั ประสบการณ์ สถาบนั ศกึ ษา ปอเนาะอันซอ 2561 – 30 เรียน กลุ่มสนใจและ มองเหน็ ช่องทางในการ ปอเนาะ รลุ ซุนนะห์ กันยายน การฝึกอบบรม ประกอบอาชพี บน ๒. สถาบนั ศกึ ษา 2562 - กจิ กรรมเสริมทักษะ พ้นื ฐานการพ่งึ พาตนเอง อาชีพ ปอเนาะมะหดั - จดั อบรมโครงการ ดารุลกรอุ าน ภาษาเพื่อการเรียนรู้ ๓. สถาบนั ศึกษา ปอเนาะอัลฟา และการส่อื สาร แตฮฺ (ปา่ พรา้ ว) - อบรมเรอื่ ง ประวัตศิ าสตรช์ าตไิ ทย ประวัติศาสตร์ทอ้ งถ่นิ และสถาบันหลักของ ประเทศ เพ่อื ใหผ้ ูร้ ับบรกิ ารได้มี นกั ศกึ ษาใน ๑. สถาบันศึกษา 1 ตุลาคม 3.การจัดการศึกษา ทักษะการเรยี นรู้ สถาบนั ศกึ ษา ปอเนาะอนั ซอ 2561 – 30 ตามอธั ยาศัย เทคโนโลยนี วตั กรรมใน ปอเนาะ รุลซุนนะห์ กันยายน - มุมเรียนรู้สถาบัน การส่อื สารก้าวทนั กับการ ๒. สถาบนั ศกึ ษา 2562 ปอเนาะ เปลยี่ นแปลงของสงั คมโลก - มุมสง่ เสรมิ การอ่าน ปัจจุบัน ปอเนาะมะหดั - มุมสง่ เสริมการเรียนรู้ ดารุลกรอุ าน ภาษาไทย ๓. สถาบนั ศึกษา ปอเนาะอลั ฟา แตฮฺ (ปา่ พร้าว)

5 7. แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ 2562 - 2563 กิจกรรมหลกั ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสท่ี 4 1. จดั การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน ๑.๑ จดั การเรยี นการสอนสาย สามัญ ๓ ระดบั ดังน้ี ๑.๑.๑ ประถมศกึ ษา ๑.๑.๒ มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ๑.๑.๓ มธั ยมศึกษาตอนปลาย 1.2 การจัดกิจกรรมตาม โครงการพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน 2. การจัดการศึกษาตอ่ เนือ่ ง ใน ลักษณะช้ันเรยี น กลุ่มสนใจ และการฝึกอบบรม - กจิ กรรมเสรมิ ทักษะอาชีพ - จดั อบรมโครงการภาษาเพ่ือ การเรยี นรู้และการสอื่ สาร - อบรมเรอ่ื งประวัติศาสตร์ชาติ ไทยประวัติศาสตรท์ ้องถน่ิ และ สถาบันหลักของประเทศ 3 . ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ต า ม อัธยาศยั - มุมเรยี นรสู้ ถาบันปอเนาะ - มุมส่งเสริมการอา่ น - มุ ม ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร เ รี ย น รู้ ภาษาไทย วงเงินงบประมาณทัง้ โครงการปีงบประมาณ 2562 งานการจดั การศกึ ษาต่อเน่ือง และงานการศึกษาตามอัธยาศัย เป็นเงิน 93,195 บาท วงเงินงบประมาณท้ังโครงการปีงบประมาณ 2563 งานการจัดการศกึ ษาต่อเน่อื ง และงานการศกึ ษาตามอัธยาศยั เป็นเงนิ 23,595 บาท 8. ผู้รบั ผิดชอบโครงการ ตาแหนง่ ครอู าสาสมัครประจาสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ นางกลั ยานี มะสูยู

6 9. เครือขา่ ย 10.๑ ศูนยป์ ระสานและบริหารงานการศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ 10.๒ วิทยาลยั อาชวี ะยะลา 10.3 สานักงานการศกึ ษาเอกชนจังหวัดยะลา 10. โครงการทเี่ กยี่ วข้อง - โครงการจัดการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกจิ จังหวัดชายแดนภาคใต้ 11. ผลลัพธ์ (Outcome) นักศึกษาในสถาบันศึกษาปอเนาะที่เข้าร่วมโครงการมีทักษะด้านอาชีพ มองเห็นช่องทางในการ ประกอบอาชีพ และนาความรู้ที่ได้จากการฝึกทักษะอาชีพมาพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้นอีกท้ังสถาบันศึกษา ปอเนาะมีการพัฒนา และมีแหลง่ เรยี นทเ่ี หมาะสมกบั บริบท 12. ดชั นีช้ีวดั ความสาเรจ็ ของโครงการ 12.1 ตวั ชว้ี ดั ผลผลิต (Output) 12.1.1 นกั ศึกษาในสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ ไดร้ ับการส่งเสริมอาชพี และมองเหน็ ช่องทาง การประกอบอาชีพ จานวน ๗๕ คน 12.1.2 สถาบันศึกษาปอเนาะท่ีร่วมจัด กศน. ได้รับการส่งเสริมแหล่งเรียนรู้ และมีการจัด โครงการ 1 ปอเนาะ 1 โครงการพฒั นา จานวน ๓ แห่ง 12.2 ตวั ชว้ี ดั ผลผลิต (Output) 12.2.1 นักศึกษาในสถาบันศึกษาปอเนาะท่ีเข้าร่วมโครงการมีทักษะด้านอาชีพ มองเห็น ชอ่ งทางในการประกอบอาชีพ และนาความรู้ทไี่ ดจ้ ากการฝกึ ทักษะอาชพี มาพฒั นาคุณภาพชีวติ ให้ดีขึ้น 12.2.2 สถาบนั ศึกษาปอเนาะมกี ารพัฒนาและมีแหลง่ เรยี นรู้มากขึ้น 13. การติดตามผลและระเมินผลโครงการ ๑3.๑ แบบสอบถามประเมนิ ความพงึ พอใจ 13.2 แบบประเมินทักษะ 13.3 การนิเทศตดิ ตามผล

7 รายงานผลการจดั การศกึ ษาตลอดชวี ติ ิในสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ กิจกรรมทด่ี าเนนิ การ ประจาปงี บประมาณ 2562 1. การจัดการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน ๑.๑ จัดการเรยี นการสอนสายสามัญ ๓ ระดบั ดังนี้ ๑.๑.๑ ประถมศึกษา ๑.๑.๒ มัธยมศึกษาตอนต้น ๑.๑.๓ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 1.2 การจดั กจิ กรรมตามโครงการพัฒนาคุณภาพผเู้ รียน จานวนนักศึกษาในสถาบันศึกษาปอเนาะ ลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 และ ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2562 ท่ี ระดบั การศึกษา จานวนนกั ศึกษาภาคเรียนท่ี จานวนนกั ศกึ ษาภาคเรยี นที่ 1/2562 2/2562 1. ประถมศกึ ษา 1 มัธยมศึกษาตอนต้น 2 2 2 มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 52 78 รวม 70 46 124 126 จานวนนักศึกษาในสถาบันศึกษาปอเนาะ ลงทะเบียนเรยี น 140 124 126 120 100 80 78 70 60 52 46 40 20 2 2 รวม 0 ประถมศึกษา มธั ยมศึกษาตอนต้น มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จานวนนกั ศกึ ษาภาคเรียนท่ี 1/2562 จานวนนักศกึ ษาภาคเรียนที่ 2/2562

นกั ศึกษาเขา้ สอบปลายภาคเรียน 1 ปีการศึกษา 2562 8 จานวนนกั ศึกษา จานวน นักศึกษา รอ้ ยละ ขาดสอบ 100 ท่ี ระดบั การศึกษา ภาคเรยี นที่ นกั ศกึ ษาเขา้ 98.07 1/2562 สอบปลายภาค - 71.42 1 83.06 1. ประถมศกึ ษา 22 20 1 มัธยมศึกษาตอนต้น 52 51 21 2 มัธยมศกึ ษาตอน 70 50 ปลาย รวม 124 103 จานวนนกั ศกึ ษาเขา้ สอบปลายภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2562 140 124 120 98.07 103 100 70 71.42 83.06 100 80 60 52 51 50 40 20 มัธยมศกึ ษาตอนตน้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รวม 22 0 ประถมศึกษา จานวนนกั ศกึ ษาภาคเรียนที่ 1/2562 จานวนนักศกึ ษาเข้าสอบปลายภาค ร้อยละ

นักศึกษาเข้าสอบปลายภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2562 9 จานวนนักศึกษา จานวน นักศึกษา รอ้ ยละ ขาดสอบ 100 ท่ี ระดับการศึกษา ภาคเรยี นที่ นกั ศึกษาเข้า 97.43 2/2562 สอบปลายภาค - 67.39 1 87.90 1. ประถมศกึ ษา 22 15 1 มธั ยมศึกษาตอนต้น 78 76 16 2 มัธยมศกึ ษาตอน 46 31 ปลาย รวม 124 109 จานวนนกั ศกึ ษาเขา้ สอบปลายภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2562 140 124 120 109 100 100 97.43 87.90 80 78 76 67.39 60 46 40 31 20 มธั ยมศกึ ษาตอนต้น มัธยมศกึ ษาตอนปลาย รวม 22 0 ประถมศกึ ษา จานวนนักศกึ ษาภาคเรียนที่ 2/2562 จานวนนักศึกษาเข้าสอบปลายภาค รอ้ ยละ

10 จานวนนกั ศึกษาเข้าทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ (N – Net)ภาคเรยี นที่ 1 /2562 ท่ี ระดบั การศึกษา จานวนนกั ศกึ ษามี จานวน จานวนนักศกึ ษา ร้อยละ สิทธสิ์ อบ นักศึกษา ขาดสอบ เข้าสอบ n-net - 1. ประถมศกึ ษา - n-net 100 3 - 100 1 มัธยมศกึ ษาตอนตน้ - - 100 1 3 2 มัธยมศึกษาตอน - ปลาย 4 1 - รวม 4 จานวนนักศกึ ษาเข้าทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ (N – Net) 120 100 100 100 100 80 60 40 20 330 110 440 0000 มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย รวม 0 ประถมศึกษา จานวนนักศกึ ษามีสิทธส์ิ อบ จานวนนกั ศึกษา จานวนนกั ศกึ ษาขาดสอบ รอ้ ยละ n-net เขา้ สอบ n-net

11 จานวนนักศึกษาเข้าทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ (N – Net)ภาคเรียนท่ี 2 /2562 ท่ี ระดบั การศึกษา จานวนนกั ศกึ ษามี จานวน จานวนนักศึกษา รอ้ ยละ สทิ ธิส์ อบ นกั ศึกษา ขาดสอบ เข้าสอบ n-net - 1. ประถมศกึ ษา - n-net 100 1 - 1 มัธยมศึกษาตอนตน้ - - - - 1 2 มัธยมศกึ ษาตอน - 100 ปลาย 1 - - รวม 1 จานวนนักศึกษาเข้าทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ (N – Net) 120 100 100 100 80 60 40 20 110 0000 110 0000 มัธยมศกึ ษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย รวม 0 ประถมศกึ ษา จานวนนกั ศกึ ษามสี ิทธ์ิสอบ จานวนนกั ศกึ ษา จานวนนกั ศกึ ษาขาดสอบ รอ้ ยละ n-net เขา้ สอบ n-net

12  สรปุ จานวนผจู้ บหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 และ ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2562 ระดบั การศึกษา จานวน จานวน ผ้จู บหลกั สตู ร 1/2562 ผ้จู บหลักสตู ร 2/2562 1. ประถมศึกษา 2. มัธยมศกึ ษาตอนต้น 1 - 3. มธั ยมศึกษาตอนปลาย 2 26 รวม 17 7 20 33 จานวนผจู้ บหลกั สตู รการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน 140 120 100 80 60 33 20 40 26 17 7 20 1 0 2 0 ประถมศกึ ษา มัธยมศกึ ษาตอนต้น มัธยมศกึ ษาตอนปลาย รวม จานวน จานวน ผู้จบหลักสตู ร 1/2562 ผ้จู บหลกั สูตร 2/2562

13 ภาพการจัดการเรียนการสอนในสถาบนั ศึกษาปอเนาะ สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะอลั ฟาแตฮ (ป่าพร้าว) ภาพการจดั การเรยี นการสอนในสถาบันศึกษาปอเนาะ สถาบันศึกษาปอเนาะอนั ซอรุลซนุ นะห์ ภาพการจัดการเรยี นการสอนในสถาบันศึกษาปอเนาะ สถาบันศกึ ษาปอเนาะมะหดั ดารลุ กรุอาน

14 2. การจัดการศกึ ษาต่อเน่ือง - กิจกรรมส่งเสริมทักษะอาชีพใหน้ ักศกึ ษาในสถาบันศึกษาปอเนาะ จานวน ๕ กลมุ่ /๗๕ คน ดงั นี้ ๑) สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะอนั ซอรุลซนุ นะห์ จานวน ๑ กลมุ่ - วชิ าการทาอาหาร-ขนม (การทาโรต)ี หลกั สตู ร ๔๐ ชว่ั โมง จานวน ๑๕ คน ๒) สถาบันศกึ ษาปอเนาะมะหดั ดารุลกรุอาน จานวน ๒ กล่มุ - วชิ าการเลย้ี งเปด็ หลกั สตู ร ๔๐ ชวั่ โมง จานวน ๑๕ คน - วชิ าการทาอาหาร-ขนม (การทานา้ พรกิ ) หลกั สตู ร ๔๐ ชวั่ โมง จานวน ๑๕ คน ๓) สถาบันศึกษาปอเนาะอลั ฟาแตฮฺ (ปา่ พร้าว) จานวน ๒ กล่มุ - วิชาการทาอาหาร-ขนม (การทาขนมพื้นบ้าน) หลกั สตู ร ๔๐ ชว่ั โมง จานวน ๑๕ คน - วิชาตัดผมชาย หลักสูตร ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑๕ คน - กจิ กรรม 1 ปอเนาะ 1 โครงการพฒั นา - พัฒนาแหลง่ เรยี นรดู้ ้านเกษตรพอเพียงในสถาบันศกึ ษาปอเนาะ - กิจกรรมจดั อบรมโครงการภาษาเพอื่ การเรยี นรู้และการสือ่ สาร - กิจกรรมอบรมเรอ่ื งประวัติศาสตร์ชาตไิ ทย ประวัติศาสตรท์ อ้ งถิ่น และสถาบันหลกั ของประเทศ

15 ตารางแสดงรายงานสรุปผลความพึงพอใจของ การจดั โครงการจดั การศกึ ษาตลอดชวี ติ ในสถาบันศึกษาปอเนาะ ประจาปงี บประมาณ 2562 ผลการวดั (ร้อยละ) ท่ี รายการประเมนิ มากที่สดุ มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย ความหมาย กลาง ทสี่ ุด ๑ สถานทีแ่ ละบรรยากาศในการจดั กิจกรรม มาก ๒ ระยะเวลาทใี่ ช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสม ๑๘.๓0 ๘๑.00 ๐.๗ - - มากที่สดุ ๓ วทิ ยากรมีความรอบร้ใู นดา้ นเนือ้ หา มาก ๔ เน้ือหาครอบคลุมครบถว้ น ๕๒.๗0 ๔๕.๓0 ๒.00 - - มาก ๕ รปู แบบวิธกี ารจดั กจิ กรรม มาก ๖ มีส่วนรว่ มในการจดั กจิ กรรม ๓๓.๔0 ๖๖.๖0 - - - มากที่สดุ ๗ การนาความรไู้ ปใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ มากที่สดุ ๓๘.00 ๖๒.00 - - - ในชีวิตประจาวนั ๓๑.๖0 ๔๐.๔0 ๒๘.00 - - ๕๗.๓0 ๒๘.๑0 ๑๔.๖0 - - ๕๓.00 ๔๗.00 - - - ตารางแสดงรายงานสรุปผลความพึงพอใจของ การจดั โครงการจัดการศึกษาตลอดชวี ิตในสถาบันศกึ ษาปอเนาะ ประจาปีงบประมาณ 2563 ผลการวดั (รอ้ ยละ) ท่ี รายการประเมิน มากท่สี ดุ มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย ความหมาย กลาง ที่สุด ๑ สถานท่แี ละบรรยากาศในการจดั กิจกรรม มาก ๒ ระยะเวลาทใ่ี ชใ้ นการจดั กิจกรรมเหมาะสม ๑8.77 ๘0.23 1 - - มากทีส่ ุด ๓ วทิ ยากรมคี วามรอบรู้ในดา้ นเนอื้ หา ๔ เนือ้ หาครอบคลุมครบถ้วน 49.65 ๔7.35 3 - - มาก ๕ รูปแบบวิธีการจดั กิจกรรม มาก ๖ มสี ว่ นรว่ มในการจัดกจิ กรรม 33.58 66.42 - - - มาก ๗ การนาความรูไ้ ปใช้ให้เกิดประโยชน์ มากท่ีสุด ๓6.54 63.46 - - - มากทส่ี ุด ในชวี ติ ประจาวนั 31.78 41.22 27 - - ๕8.68 30.32 11 - - 54.52 ๔5.48 - - -

16 จากตารางแสดงรายงานสรปุ ผลความพงึ พอใจของการจัดโครงการจัดการศกึ ษาตลอดชีวิตในสถาบัน ศึกษาปอเนาะ ประจาปีงบประมาณ 2562 และรายงานสรปุ ผลความพึงพอใจของการจัดโครงการจดั การศกึ ษาตลอดชวี ติ ในสถาบันศกึ ษาปอเนาะ ประจาปงี บประมาณ 2563 พบวา่ ระดบั ความพึงพอใจจากการ ประเมินบริบทของโครงการจัดการศกึ ษาตลอดชีวิตในสถาบันศกึ ษาปอเนาะ ทง้ั 2 ปีงบประมาณ มีคา่ เฉลี่ยอยู่ ในระดบั มาก เม่อื พิจารณาเปรยี บเทียบ 2 ปีงบประมาณ ผลการวัดระดับมากทีส่ ุด พบว่า ประเด็นเร่ืองสถานท่ีและบรรยากาศในการจัดกิจกรรม ปีงบประมาณ 2562 มีค่าร้อยละ ๑๘.๓ ปีงบประมาณ 2563 มีค่าร้อยละ ๑8.77 ประเด็นเรื่องระยะเวลาท่ีใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสม ปงี บประมาณ 2562 มีค่าร้อยละ ๕๒.๗ ปงี บประมาณ 2563 มีค่าร้อยละ 49.65 ประเด็นเรื่องวิทยากร มีความรอบรู้ในด้านเน้ือหา ปีงบประมาณ 2562 มีค่าร้อยละ ๓๓.๔0 ปีงบประมาณ 2563 มีค่าร้อยละ 33.58 ประเด็นเน้ือหาครอบคลุมครบถ้วน ปีงบประมาณ 2562 มีค่าร้อยละ ๓๘.00 ปีงบประมาณ 2563 มีคา่ ร้อยละ ๓6.54 ประเดน็ รปู แบบวิธีการจัดกิจกรรม ปีงบประมาณ 2562 มีค่าร้อยละ ๓๑.๖0 ปีงบประมาณ 2563 มีคา่ รอ้ ยละ 31.78 ประเดน็ เรือ่ งมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม ปีงบประมาณ 2562 มีค่าร้อยละ ๕๗.๓0ปีงบประมาณ 2563 มีค่าร้อยละ ๕8.68 ประเด็นเรื่องการนาความรู้ไปใช้ให้เกิด ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน ปีงบประมาณ 2562 มีค่าร้อยละ ๕๓.00 ปีงบประมาณ 2563 มีค่าร้อยละ 54.52

17 ภาพการสง่ เสรมิ ทกั ษะอาชีพระยะสน้ั (ภาคทฤษฎีและภาคปฏบิ ตั ิ) 1.วชิ าการทาอาหาร-ขนม (การทาขนมพ้ืนบา้ น) หลกั สูตร ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑๕ คน ณ สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะอัลฟาแตฮฺ (ปา่ พร้าว) บา้ นสี่สิบ หมู่ที่ ๕ ตาบลบาละ อาเภอกาบัง จังหวัดยะลา ภาพการสง่ เสรมิ ทกั ษะอาชีพใหน้ กั ศึกษาในสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ ฝึกวิชาชีพระยะสัน้ วิชาการทาอาหาร-ขนม (การทาโดนทั ) หลักสูตร ๔๐ ช่ัวโมง จานวน ๑๕ คน ณ สถาบนั ศึกษาอนั ซอรลุ ซุนนะห์ บ้านบันนังดามา หมูท่ ี่ ๑ ตาบลกาบงั อาเภอกาบัง จงั หวัดยะลา

18 ภาพการส่งเสรมิ ทกั ษะอาชีพให้นกั ศกึ ษาในสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ ฝึกวิชาชีพระยะสัน้ วิชาการทาอาหาร-ขนม (การทานา้ พริก) หลกั สูตร ๔๐ ชัว่ โมง จานวน ๑๕ คน ณ สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะมะหดั ดารลุ กรอุ าน บา้ นบนั นงั ดามา หมทู่ ี่ ๑ ตาบลกาบัง อาเภอกาบงั จังหวัดยะลา ภาพการสง่ เสรมิ ทกั ษะอาชีพให้นกั ศกึ ษาในสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ ฝกึ วิชาชพี ระยะสัน้ วชิ าการทาอาหาร-ขนม (การทาขนมพนื้ บา้ น) หลกั สตู ร ๔๐ ชวั่ โมง จานวน ๑๕ คน ณ สถาบนั ศึกษาปอเนาะอัลฟาแตฮฺ (ปา่ พรา้ ว) บ้านสส่ี บิ หมู่ท่ี ๕ ตาบลบาละ อาเภอกาบัง จงั หวัดยะลา

19 ภาพการสง่ เสรมิ ทกั ษะอาชพี ให้นักศึกษาในสถาบนั ศึกษาปอเนาะ ฝึกวชิ าชพี ระยะสั้น วิชาตดั ผมชาย หลักสตู ร ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑๕ คน ณ สถาบันศึกษาปอเนาะอลั ฟาแตฮฺ (ป่าพรา้ ว) บ้านส่ีสิบ หมทู่ ่ี ๕ ตาบลบาละ อาเภอกาบัง จงั หวัดยะลา ภาพ 1 ปอเนาะ 1 โครงการพัฒนา การปรบั ปรุงทางเดินภายในสถาบนั ศึกษาปอเนาะ ณ สถาบนั ศึกษาปอเนาะอัลฟาแตฮฺ (ปา่ พร้าว) บ้านสี่สิบ หมู่ที่ ๕ ตาบลบาละ อาเภอกาบัง จงั หวัดยะลา

20 ภาพการปรับปรงุ ซ่อมแซมหอ้ งนา้ ภายในสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ ณ สถาบนั ศึกษาปอเนาะอนั ซอรุลซนุ นะห์ บ้านบันนงั ดามา หมูท่ ี่ ๑ ตาบลกาบัง อาเภอกาบัง จังหวัดยะลา ภาพการสร้างรัว้ ล้อมรอบแหล่งเรียนรดู้ า้ นเกษตรพอเพยี งในสถาบนั ศึกษาปอเนาะ ณ สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะมะหัดดารลุ กรุ อาน บ้านบนั นังดามา หมทู่ ี่ ๑ ตาบลกาบงั อาเภอกาบงั จงั หวัดยะลา 2. วิชาเพาะปลกู พืชผักปลอดสารพษิ ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง หลกั สตู ร ๔๐ ช่ัวโมง จานวน ๑๕ คน ณ สถาบันศกึ ษาปอเนาะอัลฟาแตฮฺ (ป่าพรา้ ว) บา้ นป่าพร้าว หม่ทู ่ี 1 ตาบลบาละ อาเภอกาบัง จงั หวัดยะลา

21 ภาพวชิ าการเลี้ยงเป็ดไข่ หลักสตู ร ๔๐ ช่ัวโมง จานวน ๑๕ คน ณ สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะมะหดั ดารลุ กรอุ าน บ้านบันนงั ดามา หมู่ท่ี ๑ ตาบลกาบงั อาเภอกาบัง จงั หวดั ยะลา 2. วชิ าการทาขนม (ขนมโดนัท) หลกั สตู ร ๔๐ ช่ัวโมง จานวน ๑๕ คน ณ สถาบันศกึ ษาปอเนาะมะหัดดารลุ กรุอาน บา้ นบนั นงั ดามา หมู่ท่ี ๑ ตาบลกาบัง อาเภอกาบัง จังหวดั ยะลา - วชิ าการทาอาหาร-ขนม (ขนมโรตี) หลกั สูตร ๔๐ ช่ัวโมง จานวน ๑๕ คน ณ สถาบันศึกษาอัน-ซอรลุ ซนุ นะห์ บา้ นบนั นังดามา หม่ทู ่ี ๑ ตาบลกาบงั อาเภอกาบงั จงั หวัดยะลา

22 ภาพกจิ กรรม 1 ปอเนาะ 1 โครงการพัฒนา ปรับปรุงภูมิทศั นแ์ ละพัฒนาสถาบนั ศึกษาปอเนาะให้เปน็ แหลง่ เรยี นรู้ด้านการเกษตร ณ สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะอลั ฟาแตฮฺ (ป่าพรา้ ว) บา้ นปา่ พร้าว หม่ทู ่ี 1 ตาบลบาละ อาเภอกาบัง จังหวัดยะลา ปรบั ปรุงภูมิทศั นแ์ ละพฒั นาสถาบนั ศึกษาปอเนาะใหเ้ ป็นแหลง่ เรียนรู้ด้านการเกษตร ณ สถาบันศึกษาปอเนาะมะหัดดารุลกุรอาน บ้านบันนังดามา หม่ทู ี่ ๑ ตาบลกาบัง อาเภอกาบงั จงั หวดั ยะลา ปรับปรุงภูมทิ ัศน์และพัฒนาสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะให้เปน็ แหลง่ เรยี นรู้ด้านการเกษตร ณ สถาบนั ศึกษาอนั -ซอรุลซุนนะห์ บา้ นเจาะปอื ยอ หมทู่ ี่ ๑ ตาบลกาบัง อาเภอกาบัง จงั หวัดยะลา

23 3. การจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศยั กิจกรรมส่งเสริมแหล่งเรยี นรู้ในสถาบนั ศึกษาปอเนาะ ประกอบด้วย ค่าสือ่ ส่งิ พิมพ์ท่วั ไป หนงั สอื สง่ เสริมการอา่ นด้านศาสนา และหนังสือพิมพ์รายวนั ดงั น้ี ๑) จัดซอ้ื หนังสือส่งเสริมการอา่ นดา้ นศาสนา และการประกอบอาชพี ๒) จัดซ้ือหนงั สอื พิมพร์ ายวนั ภาพการสง่ เสริมแหล่งเรียนรูใ้ นสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ จดั ซอ้ื หนังสือ/ส่อื ส่งเสริมการอา่ นด้านศาสนาและการประกอบอาชีพ สง่ เสริมแหลง่ เรยี นรู้ในสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ ภาพการส่งเสริมแหลง่ เรยี นรู้ในสถาบนั ศึกษาปอเนาะ จัดซอ้ื หนงั สอื พมิ พร์ ายวนั

24 ภาพการจัดซอ้ื หนงั สอื พิมพร์ ายวนั (วันละ 2 ฉบับ ไม่เว้นวันหยุดราชการ) ณ สถาบันศกึ ษาปอเนาะมะหัดดารุลกรุ อาน บ้านบนั นังดามา หมทู่ ี่ ๑ ตาบลกาบัง อาเภอกาบงั จังหวัดยะลา ภาพการจัดซื้อหนงั สอื ส่งเสริมการอา่ นดา้ นศาสนาและอาชพี ณ สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะมะหัดดารุลกุรอาน บ้านบันนังดามา หม่ทู ี่ ๑ ตาบลกาบงั อาเภอกาบัง จงั หวดั ยะลา

25 ภาพการจดั ซือ้ หนังสอื พิมพร์ ายวนั (วันละ 2 ฉบบั ไม่เว้นวันหยุดราชการ) ณ สถาบันศกึ ษาอัน-ซอรลุ ซนุ นะห์ บา้ นเจาะปอื ยอ หมู่ท่ี ๑ ตาบลกาบัง อาเภอกาบัง จังหวัดยะลา ภาพการจดั ซ้อื หนงั สือส่งเสรมิ การอา่ นดา้ นศาสนาและอาชพี ณ สถาบันศกึ ษาอนั -ซอรลุ ซนุ นะห์ บ้านเจาะปอื ยอ หมทู่ ี่ ๑ ตาบลกาบัง อาเภอกาบงั จงั หวัดยะลา

26 สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการการจัดการศกึ ษาตลอดชวี ติ ใิ นสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ สภาพการดาเนนิ งานในสถาบนั ศึกษาปอเนาะ อดตี การจดั การศึกษาในสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ ม่งุ เนน้ การเรยี นการสอนตามหลกั คาสอนของศาสนา อิสลาม แนวคิดในผู้ปกครองมองว่า ศาสนามีความเกี่ยวข้องเป็นที่สาคัญและเป็นแนวทางปฏิบัติตามหลัก ศาสนาท่นี ามาใช้กบั ชวี ติ โลกมุสลมิ ผ้ทู ่เี ข้ามาเรียนตามท่ผี ู้ปกครองเหน็ ควร สภาพของสถาบันศึกษาปอเนาะ เป็นอาคารปูน อาคารไม้ และเป็นอาคารที่พักของนักศึกษา ลักษณะเหมอื นกระทอ่ มเลก็ อยู่อาศยั อยา่ งพอเพียง จากแนวคิดสังคมโลกปัจจุบัน ที่มีการกระจายวัฒนธรรมผ่านส่ือต่าง ๆ มีความรวดเร็ว การใช้วิถี ชีวติ และสงั คมแบบเดิม ๆ คอ่ นขา้ งที่จะยากลาบากถ้าขาดการปรับตัว แนวคิดความเชื่อสถาบันศึกษาปอเนาะ ต่าง ๆ ต้องปรับตัว เพื่อให้สอดคล้องกับสังคมในชีวิต ผู้บริหารของสถาบันศึกษาปอเนาะมีความต้องการให้ นักศึกษาได้เรียนวชิ าสามญั ควบคู่ไปกับวิชาศาสนา ตามหลกั สตู รการจดั การศึกษาข้ันฐานของ กศน. ซึ่งเป็นส่ิง ทนี่ า่ ยินดที ่ผี ้บู ริหารสถานศึกษาปอเนาะไดใ้ ห้ความสาคญั ตอ่ อนาคตของเยาวชน จากมมุ มองสถาบนั ศึกษาปอเนาะ ถูกมองว่าเปน็ แหลง่ ทใี หค้ วามรูท้ ส่ี ร้างความแตกแยก อาศัยข้อมูล ในอดีตเป็นแรงผลักดัน ต่อมาเม่ือครู กศน.ที่รับผิดชอบร่วมจัดกิจกรรมในสถาบันศึกษาปอเนาะ เข้ามาเป็น ผู้สอน ผู้ประสานงาน ทาให้ผู้รับบริการสถานศึกษาเร่ิมมองเห็นความสาคัญมากยิ่งข้ึน มีการดาเนินการ จัด กิจกรรมท่ีเติมเต็ม ด้านความรู้ ทักษะอาชีพ ส่งเสริมอาชีพ ที่การศึกษาเรื่องพัฒนาทักษะชีวิต เสริมสร้าง คุณธรรม จรยิ ธรรม อบรมความรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทย ตลอดจนการน้อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งหน่วยงานที่สนับสนุนมีความหวังว่าเม่ือจบไปนักศึกษาได้ใช้ชีวิตบนหลักการมีอาชีพ มีงานทา มีคุณธรรม จริยธรรม พลเมอื งทด่ี ขี องสังคม รักและหวนแหนในความเปน็ ไทย วตั ถุประสงค์ 1. ผเู้ รียนได้นาความรูพ้ ้นื ฐานไปตอ่ ยอดพัฒนาตนเองตามศกั ยภาพ 2. ผรู้ ับบริการสามารถนารูปแบบการดาเนินชวี ติ ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจ 3. ผูร้ ับบริการมีความสามารถคิดวเิ คราะห์ขอ้ มลู ไดอ้ ย่างสมเหตสุ มผล ผลการดาเนนิ งาน เชิงปรมิ าณ 1. สถาบันศึกษาปอเนาะ จานวน 3 แห่ง ของ กศน.อาเภอกาบงั 2. นักศกึ ษาในสถาบันศึกษาปอเนาะ จานวน 266 คน เชิงคุณภาพ 1. นักศกึ ษาของสถาบันศกึ ษาปอเนาะนาความร้พู ้นื ฐานไปใช้ในการดาเนินชีวิต 2. นกั ศกึ ษาในสถาบันศกึ ษาปอเนาะไดร้ บั ทกั ษะอาชีพ และทกั ษะชวี ติ บนพ้ืนฐานด้านเศรษฐกิจ พอเพียง 3. สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะเปน็ แหลง่ เรยี นรู้แลกเปลย่ี นข้อมูลข่าวสาร

27 ตวั ชีว้ ัดความสาเร็จ 1. ผรู้ บั บรกิ ารสถาบันศึกษาปอเนาะทม่ี ีบทบาทสาคญั ในการบริหารจดั การด้านศึกษา มีความ ตระหนกั และแนวทางในการพัฒนาคณุ ภาพของผู้เรียน 2. ความตอ้ งการของกล่มุ เป้าหมาย หมายถงึ การจดั กจิ กรรมดา้ นการพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น การ จดั การศึกษาด้านทักษะอาชีพ ตลอดจนการจดั การศกึ ษาตามอัธยาศัย มีความสอดคล้องตอ่ ความต้องการ 3. ครู กศน.มบี ทบาทและกลไกท่ีสาคัญตอ่ การขบั เคล่ือน การประสานงานในการจัดกิจกรรมกบั ภาคเี ครือข่ายที่มีส่วนรว่ มตอ่ การจดั ภายในสถาบนั ศึกษาปอเนาะ และองคก์ ารตา่ งๆ ทั้งภายในและภายนอก พืน้ ท่ี ร่วมทั้งตดิ ตามเรง่ รดั ในการจดั กิจกรรมตามแผนงานโครงการกจิ กรรมเพ่อื ใหป้ ระสบผลสาเร็จ ปญั หาอุปสรรค / ข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนา ปัญหาอปุ สรรค 1. กลมุ่ เป้าหมายในสถาบนั ศึกษาปอเนาะมีปริมาณมาก ครผู ูร้ ับผิดชอบไม่สามารถดแู ล ไดท้ ว่ั ถึง 2. งบประมาณที่ไดร้ ับจัดสรรไมเ่ พียงพอตอ่ การจดั กิจกรรมต่าง ๆ ตามความตอ้ งการ ของกลุม่ เป้าหมาย ในสถาบันศกึ ษาปอเนาะ 3. การจบหลกั สตู รการศกึ ษาข้นั พื้นฐานของนกั ศกึ ษาไมเ่ ปน็ ไปตามเกณฑ์ทก่ี าหนด เน่อื งจากนักศึกษาบางคนหยุดเรียนกลางคนั และบางคนยา้ ยสถานท่ีเรยี น 4. ไม่มีครุภัณฑค์ อมพิวเตอร์สาหรับจัดการเรยี นการสอนและให้บริการด้าน ICT สาหรับนักศกึ ษา กศน. ในสถาบันศกึ ษาปอเนาะ 5. ไม่มีวทิ ยากรผู้สอนด้านภาษาอังกฤษ ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื การพฒั นา 1. ควรเพ่มิ จานวนครู โดยเฉพาะครูชาย เนอ่ื งจากมีนักศกึ ษาท้งั ชายและหญงิ 2. ควรจัดสรรงบประมาณให้เพยี งพอกับการจดั กจิ กรรม ๆ ตามความต้องการของ กลมุ่ เป้าหมายในสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ 3. ควรพฒั นาหลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้นื ฐานให้เหมาะสมกบั กลุ่มเป้าหมายในสถาบัน ศึกษาปอเนาะ 4. ควรสรา้ งแรงจูงใจใหก้ บั นกั ศกึ ษา เชน่ การสนับสนนุ ทุนการศึกษา ครูผู้สอนและ ผเู้ รยี นควรวางแผนการเรียนร่วมกนั 5. ควรจดั หาครุภัณฑ์คอมพวิ เตอรส์ าหรับจัดการเรยี นการสอนและใหบ้ รกิ ารด้าน ICT 6. ควรจัดให้มีครูผู้สอนดา้ นภาษาอังกฤษจากท้ังในและต่างประเทศ 7. ควรสง่ เสริมการจดั กิจกรรมการเรียนรโู้ ดยการศกึ ษาดงู านนอกสถานท่ี เพื่อเปิด โลกทศั น์แหง่ การเรียนรู้ใหก้ บั กลุม่ เป้าหมายในสถาบันศึกษาปอเนาะ 8. ควรพจิ ารณาให้มีการแนะแนวด้านการศกึ ษาต่อทง้ั ในและนอกประเทศ

28 คณะผู้จัดทา คณะทป่ี รึกษา : ผู้อานวยการสานกั งาน กศน.จังหวดั ยะลา ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษา นางขนิษฐา มะลิสุวรรณ ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอกรงปนิ งั นายอับดลุ อาซิ ดอื ราแม ผ้อู านวยการ กศน.อาเภอกาบัง นายบุญยง ภาชโน นายสมศักด์ิ นจิ นารถ คณะทางาน/ใหข้ ้อมลู : ครูผูช้ ่วย พนักงานราชการ (ครอู าสาฯปอเนาะ) นางกัลยานี มานะวงศ์ไพบูลย์ นางสาวสลุ ยานี แวดือราโอะ พนักงานราชการ (ครอู าสาฯปอเนาะ) นายอิมรอง ยิมะตะโละ๊ เรียบเรยี ง/ออกแบบจดั ทารูปเล่ม/ตรวจสอบ : นายอิมรอง ยมิ ะตะโล๊ะ พนกั งานราชการ (ครอู าสาฯปอเนาะ) นางสาวนูรซี ัน ลากอ บรรณารกั ษ์อตั ราจ้าง

29


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook