Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประวัติฟุตบอล

ประวัติฟุตบอล

Published by benjawan_ked17, 2022-01-05 05:24:59

Description: ประวัติ กติกา ประโยชน์ มารยาทกีฬาฟุตบอล

Keywords: 002

Search

Read the Text Version

1

2 ประวตั ิฟุตบอล ฟุตบอล (Football) หรือซอคเกอร์ (Soccer) เป็นกีฬาท่ีมีผู้สนใจที่จะชมการ แขง่ ขนั และเข้าร่วมเล่นมากทสี่ ุดในโลก ชนชาตใิ ดเป็นผู้กาเนิดกีฬาชนิดน้ีอย่างแท้จริง นั้นไม่อาจจะยืนยันได้แน่นอน เพราะแต่ละชนชาติต่างยืนยันว่าเกิดจากประเทศของ ตน แต่ในประเทศฝร่ังเศสและประเทศอิตาลี ได้มีการละเล่นชนิดหน่ึงที่เรียกว่า “ซูเลอ” (Soule) หรือจิโอโค เดล คาซิโอ (Gioco Del Calcio) มีลักษณะการเล่นท่ี คล้ายคลึงกบั กฬี าฟุตบอลในปัจจุบัน ทง้ั สองประเทศอาจจะถกเถียงกันวา่ กฬี าฟุตบอล ถือกาเนิดจากประเทศของตน อันเป็นการหาข้อยุติไม่ได้ เพราะขาดหลักฐานยืนยัน อย่างแท้จรงิ ดังนั้น ประวัติของกีฬาฟุตบอลทม่ี ีหลกั ฐานที่แท้จริงสามารถจะอ้างองิ ได้ เพราะการเล่นท่ีมีกติกาการแข่งขันที่แน่นอน คือประเทศอังกฤษเพราะประเทศ อังกฤษต้ังสมาคมฟุตบอลในปี พ.ศ. 2406 และฟุตบอลอาชีพของอังกฤษเกิดข้ึนในปี พ.ศ. 2431 วิวัฒนาการด้านฟุตบอลจะเป็นไปพร้อมกับความเจริญก้าวหน้าของมนุษย์ ตลอดมา ต้นกาเนิดกีฬาตะวันออกไกลจะได้รับอิทธิพลมาจากสงครามคร้ังสาคัญๆ เชน่ สงครามพระเจ้าอเลก็ ซานเดอรม์ หาราช ไดน้ าเอา “แกลโล-โรมนั ” (Gello-Roman) พร้อมกีฬาต่าง ๆ เข้ามาสู่เมืองกอล (Gaul) อันเป็นรากฐานส่วนหนึ่งของกีฬาฟุตบอล ในอนาคต และการเล่นฮาร์ปาสตมั (Harpastum) ได้ถูกดดั แปลงมาเปน็ กีฬาซูเล ประวตั กิ ฬี าฟุตบอลในประเทศไทย ในอดีต ประเทศไทยเคยจัดแข่งขันฟุตบอลระบบลีกมาก่อน ทว่าไม่ได้รับ ความนิยมจึงต้องยกเลิกไป จนกระท่ังเมื่อปี พ.ศ. 2539 สมาคมฟุตบอลฯ ดาเนินการ จัดแข่งขัน ฟุตบอลอาชีพในระบบลีกขึ้น โดยมีชื่อที่เปล่ียนไปหลายคร้ังคือ ไทยแลนด์ ซอกเกอร์ลีก (Thailand Soccer League), ไทยแลนด์พรีเมียร์ลีก (Thailand Premier League), ไทยลีก (Thai League) และ ไทยพรีเมียร์ลีก (Thai Premier League) แต่ใน

3 ระยะแรกมีปัญหาท่ีสาคัญคือ สโมสรฟุตบอลในลีกนี้ และการแข่งขันส่วนมากอยู่ใน กรุงเทพมหานคร เป็นผลให้ชาวไทยในจังหวัดอื่นทั่วประเทศ ไม่มีโอกาสรับชมการ แข่งขนั เมอ่ื ปี พ.ศ. 2542 การกีฬาแหง่ ประเทศไทย (กกท.) จึงร่วมกบั สมาคมฟตุ บอลฯ เข้าแก้ไขปัญหาน้ี โดยจัดแข่งขันฟุตบอลอาชีพ ระบบลีกในส่วนภูมิภาค โดยให้ช่ือว่า โปรวินเชียลลีก (Provincial League) ต่อมาในปี พ.ศ. 2545 กกท.ย้ายการแข่งขันไป ร่วมกับกระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา แล้วเปลี่ยนช่ือเป็น โปรเฟสชันนัลลีก (Professional League) โดยแบ่งเป็นสองระดับช้ัน (Division) ซึ่งระดับช้ันสูงสุดมี 18 สโมสรเขา้ ร่วม จนกระทั่งเมื่อเรมิ่ ฤดกู าล พ.ศ. 2549 สโมสรฟุตบอลชลบุรี และสโมสร ฟุตบอลสุพรรณบุรี จากโปรเฟสชันนัลลีกสูงสุด เข้ามาร่วมในไทยแลนด์พรีเมียร์ลีก และเม่ือเร่ิมฤดูกาล พ.ศ. 2550 กกท.ทาการยุบ โปรเฟสชันนัลลีกสูงสุด โดยจัดแบ่ง สโมสรในลีกให้ไปเขา้ แข่งขนั กบั ไทยแลนด์พรีเมยี ร์ลีก และไทยลกี ดิวิชนั 1 ในส่วนการแข่งขันรายการเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก ซ่ึงสมาพันธ์ฟุตบอลแห่ง เอเชีย (เอเอฟซี) กาหนดให้สโมสรท่ีเข้าร่วมแข่งขันต้องมีใบรับรองสโมสร (Club licensing) อย่างถูกต้องตามที่เอเอฟซีกาหนด โดยในปัจจุบัน ประเทศไทยมีอยู่ 6 สโมสรคือ บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด, เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด, บางกอกกล๊าส เอฟซี, ชลบุรี เอฟซี, บีอีซี เทโรศาสน และชัยนาท ฮอร์นบิล แต่บีอีซี เทโรศาสน กับ ชัยนาท ฮอร์น บิล ถึงจะได้คลับไลเซนซิ่งแล้ว แต่สนามยังอยู่ในคลาส B ซึ่งในอนาคตทางสมาคม ฟุตบอลฯได้มีการกาหนดให้ทุกทีมในไทยลีกต้องผ่านคลับไลเซนซ่ิง โดยทีมที่ทาไม่ได้ จะถกู หักเงนิ หรอื ถูกตัดแต้ม สมาคมฟตุ บอลแห่งประเทศไทย(THE FOOTBALL ASSOCIATION OF THAILAND) มวี วิ ัฒนาการตามลาดับตอ่ ไปน้ี พ.ศ. 2459 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจ้าอย่หู วั ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ตั้งสมาคมฟุตบอลแห่งสยามข้ึนเม่ือวันที่ 25 เมษายน พุทธศักราช 2459 และตรา

4 ข้อบังคับข้ึนใช้ในสนามฟุตบอลแห่งสยามด้วยซึ่งมีช่ือย่อว่า ส.ฟ.ท. และเขียนเป็น ภาษาอังกฤษว่า “THE FOOTBALL ASSOCIATION OF THAILAND UNDER THE PATRONAGE OF HIS MAJESTY THE KING” ใช้อักษรย่อว่า F.A.T. และสมาคมฯ จัดการแข่งขันถ้วยใหญ่ และถ้วยน้อยเปน็ คร้ังแรกในปนี ้ีดว้ ย พ.ศ. 2468 เป็นภาคีสมาชิกสมาพันธ์ฟุตบอลระหว่างชาติ เม่ือวันที่ 23 มถิ ุนายน พุทธศักราช 2468 ชุดฟุตบอลเสือป่าพรานหลวง ไดร้ บั ถ้วยของพระยาประสทิ ธิ์ศภุ การ (เจา้ พระยา รามราฆพ) ซึ่งเล่นกับชุดฟุตบอลกรมทหารรักษาวัง เมื่อ พ.ศ. 2459-2460 ได้รับไว้ เปน็ กรรมสทิ ธิ์ โดยชนะ 2 ปีติดตอ่ กนั ชุดฟุตบอลสโมสรกรมหรสพ ได้รับพระราชทาน “ถ้วยใหญ่” ของสมาคม ฟตุ บอลแห่งสยาม ในพระบรมราชูปถมั ภ์ เมอื่ วันท่ี 30 กนั ยายน 2459 พ.ศ. 2499 การแก้ไขเพ่ิมเติมข้อบังคับ คร้ังท่ี 3 และเรียกว่าข้อบังคับ ลักษณะ ปกครอง สมาคมฟุตบอลฯ ได้สิทธ์ิส่งทีมฟุตบอลชาติไทยเข้าร่วมการแข่งขัน “กีฬา โอลิมปิก” ครง้ั ที่ 16 นับเป็นครั้งแรกท่ีประเทศไทยมีสิทธิเ์ ขา้ ร่วมการแข่งขนั เมื่อวันที่ 26 พฤศจกิ ายน พุทธศักราช 2499 ณ นครเมลเบริ น์ ประเทศออสเตรเลีย พ.ศ. 2500 เป็นภาคีสมาชิกสมาพันธ์ฟุตบอลแห่งเอเชีย ซ่ึงมีช่ือย่อว่า เอเอฟซี และเขียนเป็นภาษาอังกฤษว่า “ASIAN FOOTBALL CONFEDERATION” ใช้อักษรย่อว่า A.F.C. พ.ศ. 2501 การแกไ้ ขเพิ่มเตมิ ข้อบงั คบั ลักษณะปกครอง ครัง้ ที่ 4 พ.ศ. 2503 การแกไ้ ขเพม่ิ เติมขอ้ บังคับลักษณะปกครอง ครงั้ ท่ี 5 พ.ศ. 2504-ปัจจุบัน สมาคมฟุตบอลฯได้จัดการแข่งขันฟุตบอลถ้วยน้อย และ ถ้วยใหญ่ ซ่ึงภายหลังได้จัดการแข่งขันแบบเดียวกันของสมาคมฟุตบอลอังกฤษคือ จัดเป็นประเภทถ้วยพระราชทาน ก, ข, ค, และ ง และยังจัดการแข่งขันประเภทอ่ืนๆ

5 อีกเช่น ฟุตบอลนักเรียน ฟุตบอลเตรียมอุดม ฟุตบอลอาชีวะ ฟุตบอลเยาวชนและ อนุชน ฟุตบอลอุดมศึกษา ฟุตบอลเอฟเอ คัพ ฟุตบอลควีส์ คัพ ฟุตบอลคิงส์คัพ เป็น ต้น ฯลฯ นอกจากน้ียังได้จัดการแข่งขันและส่งทีมเข้าร่วมกับทีมนานาชาติมากมาย จนถงึ ปัจจบุ นั พ.ศ. 2511 สมาคมฟุตบอลได้สิทธ์ิส่งทีมฟุตบอลชาติไทยเข้าร่วมการแข่งขัน กฬี าโอลิมปิกเป็นคร้งั ท่ี 2 เมอื่ วนั ที่ 13 ตุลาคม พุทธศักราช 2511 ณ ประเทศเมก็ ซโิ ก พ.ศ. 2514 การแกไ้ ขเพิม่ เติมข้อบงั คับลกั ษณะปกครอง ครัง้ ท่ี 6 ชดุ ฟุตบอลทีม ชาติไทย ชุดแรกที่เดินทางไปแข่งขัน “กีฬาโอลิมปิก” ครั้งท่ี 16 ณ นครเมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2499 พ.ศ. 2531 สมาคมฟุตบอลฯ ได้มีโครงการจัดการแข่งขันฟุตบอล ภายในประเทศ รวมท้ังเชิญทีมต่างประเทศเข้าร่วมแข่งขัน และส่งทีมเข้าร่วมการ แขง่ ขันในตา่ งประเทศตลอดปี ฟตุ บอลโลก ฟุตบอลโลก หรือ ฟีฟ่าเวิร์ดคัพ (อังกฤษ: FIFA World Cup) เป็นการแข่งขัน ฟุตบอลระหว่างประเทศ โดยมีชุดทีมชาติชายร่วมเข้าแข่งในกลุ่มสมาชิกสหพันธ์ ฟุตบอลระหว่างประเทศ (ฟีฟ่า) การแข่งขันจัดข้ึนทุกๆ 4 ปี เร่ิมครั้งแรกในปี ค.ศ 1930 ในฟุตบอลโลก 1930 ยกเว้นในปี ค.ศ. 1942 และ 1946 ที่งดเว้นไปในช่วง สงครามโลกครั้งที่สอง ทีมชนะเลิศการแข่งขันคร้ังล่าสุดคือทีมชาติฝรั่งเศส ท่ีชนะใน การแข่งขัน ฟุตบอลโลกรูปแบบการแข่งขันในปัจจุบัน การแข่งขันประกอบด้วย 32 ทมี เพื่อเข้าร่วมแข่งขันในสถานทจี่ ัดงาน ของประเทศเจ้าภาพซึ่งจะจัดข้ึนประมาณ 1 เดือน การแข่งขนั 32 ทมี สดุ ท้ายน้ีเรยี กว่า การแข่งขันฟตุ บอลโลกรอบสุดท้าย ส่วน ในรอบคดั เลือกทแ่ี ข่งขันก่อนหนา้ นั้น ในปัจจบุ นั จะตอ้ งใช้เวลารว่ ม 3 ปี

6 เพื่อตัดสินว่าทีมใดท่ีจะร่วมเข้าแข่งกับทีมประเทศเจ้าภาพ ในการแข่งขัน ฟุตบอลโลก 21 คร้ัง มีชาติท่ีชนะในการแข่งขัน 8 ชาติ ได้แก่ ทีมชาติบราซิล ชนะ 5 คร้ัง และเป็นทมี เดียวท่เี ข้ารว่ มการแข่งขันในทุกครั้ง สว่ นทีมชาตอิ ่นื ทช่ี นะการแข่งขัน คือ ทีมชาตอิตาลีและทีมชาตเยอรมนี ชนะ 4 คร้ัง ทีมชาติอาร์เจนตินา ทีมชาติ อุรุกวัย และทีมชาติฝร่ังเศสชนะ 2 คร้ัง และทีมชาติอังกฤษและทีมชาติสเปน ชนะ 1 ครั้ง การแข่งขันฟุตบอลโลกถือเป็น การแข่งขันกีฬาที่มีผู้ชมมากที่สุดในโลก มีผู้ชม ราว 715.1 ล้านคน ในการแข่งขันนัดตัดสินการแข่งขันฟุตบอลโลก 2006ที่จัดขึ้นที่ ประเทศเยอรมนี สนามแข่งขัน สนามฟุตบอล ไม่ได้มีการกาหนดขนาดไว้แบบตรง ๆ เนื่องจากในพื้นท่ีแต่ละ สนาม อาจมีพื้นทไี่ มเ่ ท่ากนั แต่ได้มกี ารกาหนดด้านยาว กวา้ งประมาณ 100-130 หลา ส่วนด้านกว้าง กว้างประมาณ 50-100 หลา โดยแบ่งเขตแดนออกเป็น 2 ฝ่ัง อย่างละ เทา่ ๆ กนั มี ประตขู นาดกว้าง 8 หลา สูง 8 ฟตุ มีเขตโทษ ซ่ึงนับหา่ งจากโกล หา่ ง 18 หลา ส่วนพนื้ สนามฟุตบอล ใชห้ ญ้าแทห้ รอื หญา้ เทียมกไ็ ด้ ลกู ฟุตบอล ลูกฟุตบอลมีลักษณะเป็นทรงกลม ขนาดเส้นรอบวงไม่เกิน 27-28 น้ิว และ หนัก 400-450 กรมั ผเู้ ลน่ มีจานวนฝั่งละ 11 คน โดยที่เป็นผู้รักษาประตู 1 คน มีหน้าท่ีป้องกันไม่ให้ฝ่ัง ตรงขา้ มยิงประตไู ด้

7 วธิ กี ารเล่น ผู้เล่นจะใช้เท้าเล่นเป็นหลัก โดยสามารถใช้อวัยวะส่วนอ่ืนที่ไม่ใช่แขนและมือ ในการเล่นได้ดว้ ย โดยมีเป้าหมายคือ การทาประตฝู ่ายตรงขา้ มใหไ้ ด้ กตกิ าของฟุตบอลมีจานวนทั้งหมด 17 ข้อ ข้อ 1 สนามฟุตบอลจะต้องเป็นสนามหญ้ารูปท่ีเหลี่ยมผืนผ้า และมีเส้นในสนาม ท้ังหมดเปน็ สขี าว ข้อ 2 ลูกฟุตบอล ต้องเป็นลูกกลม ทามาจากหนัง หรือวัสดุอ่ืนตามความเหมาะสม และต้องไม่เปน็ อนั ตรายต่อผเู้ ล่น ขอ้ 3 ผเู้ ล่นทง้ั สองทมี ต้องมีตวั จรงิ และตัวสารอง โดยตัวจรงิ มี 11 คน และมตี ัวสารอง ไม่เกิน 7 คน ขอ้ 4 ผู้เล่นจะต้องใสเ่ สื้อทมี สตี ัดกันอย่างชดั เจน ยกเวน้ ผูร้ กั ษาประตู ข้อ 5 ผู้คอยควบคุมการแข่งขันคือผู้ตัดสินหรือกรรมการ และมีผู้ช่วยผู้ตัดสินให้ความ ช่วยเหลือ ข้อ 6 ผู้ช่วยผู้ตัดสินมีหน้าที่ในการเป็นผู้คอยชี้แนะหรือให้คาปรึกษาแก่ผู้ตัดสินหรือ กรรมการในสนาม ข้อ 7 ระยะเวลาที่ใช้ในการแข่งขันฟุตบอลมี 2 ช่วงเวลาด้วยกันคือคร่ึงแรก และครึ่ง หลัง แตล่ ะครง่ึ มเี วลา 45 นาทีโดยไมร่ วมการทดเวลาและพักคร่งึ ได้ไมเ่ กนิ 15 นาที ข้อ 8 ลูกบอลจะอยู่ในการเล่นเมื่อกระดอนจากเสาประตู คานประตู ธงมุมสนาม เข้า มาในสนามการแขง่ ขัน ข้อ 9 ลูกบอลจะอยู่นอกการเลน่ เมื่อลกู บอลได้ผ่านเส้นประตูหรือเสน้ ข้างออกไปหมด ทั้งลกู และเม่ือผูต้ ัดสนิ สัง่ หยุดเกม

8 ข้อ 10 การนับคะแนนในการยิงเขา้ 1 ลูกใหน้ บั ได้ว่าคอื 1 แต้มหรือ 1 ประตผู ู้ชนะคือ ทีมท่ีได้แตม้ หรอื ประตูมากกวา่ แต่ถ้าแต้มหรือประตเู ทา่ กันใหถ้ อื ว่าเสมอ ข้อ 11 ตาแหน่งล้าหน้าคือ ผู้เล่นที่อยู่ในตแหน่งล้าหน้าได้สัมผัสกับลูกบอล โดยผู้ ตัดสินเห็นว่ามีส่วนรว่ มในการเล่นอยา่ งชดั เจน แต่จะไม่ถือว่าล้าหน้าในกรณีที่ลูกบอล ถูกเตะออกมาจากประตูหรือเตะมุม หรือจากการทุม่ ข้อ 12 การทาโทษในการแข่งขันฟุตบอลมี 3 แบบคอื ตกั เตือน ใบเหลือง และใบแดง ขอ้ 13 ฟรีคิก จะเกิดขึ้นเมอ่ื มีผู้เลน่ ทาฟาลว์ นอกกรอบเขตโทษ การเตะฟรคี กิ ผเู้ ล่นจะ นาลุกบอลมาตัง้ เตะในจุดทผ่ี เู้ ล่นทาฟาลว์ ข้อ 14 ลูกโทษ จะเกิดข้ึนเมื่อมีการทาฟาล์วในกรอบสีเหล่ียมหน้าประตู ทาให้เสียลูก โทษ ข้อ 15 การทมุ่ คอื การโยนลกู บอลเขา้ ไปในสนามจากเส้นขา้ งบรเิ วณท่อี อก ข้อ 16 โกลคิก คอื ลูกที่ผู้รักษาประตูตง้ั เตะจากเขตประตู ในกรอบเขตประตู ข้อ 17 การเตะมุม เกิดขึ้นเมื่อลูกบอลท้ังลูกได้ผ่านเส้นประตูออกไปยังนอกสนาม ไม่ ว่าจะกลิ้งหรือลอยออกไปนอกสนามก็ตาม โดยผู้รักษาประตูเป็นคนสัมผัสบอลคน สุดท้ายก่อนลูกออก เม่ือได้ลูกเตะมุมผู้เตะต้องต้ังบอลในเขตเตะมุม ใกล้กับธงมุมและ เมื่อเตะลูกออกจะตอ้ งไมท่ าให้ธงเคลื่อนที่ ในการเตะมุมถา้ เตะทเี ดียวแลว้ ลูกเข้าประตู ให้นับว่าเป็นประตู ผู้เล่นฝ่ังตรงข้ามกับผู้เตะมุมจะเข้าใกล้ผู้เตะมุมน้อยกว่า 10 หลา ไมไ่ ดน้ อกจากผเู้ ตะจะเตะลูกไปไกลแล้วอย่างน้อยเทา่ กับระยะรอบวงของลูกจงึ จะเร่ิม เล่นต่อไปได้ และจะเล่นลูกนั้นซ้าไม่ได้จนกว่าลูกนั้นจะถูกตัวของผู้เล่นคนใดคนหนึ่ง ก่อน ประโยชนข์ องการเล่นกฬี าฟตุ บอล ฟุตบอลเป็นกีฬาท่ีหนุ่มๆ หลายคนชอบกันเป็นชีวิตจิตใจ เมื่อมีเวลาว่าง เมื่อไหร่? จะต้องชวนเพ่ือนฝูงมาเตะบอลกันอยู่ตลอด ไม่ว่าจะเป็นฟุตบอล หรือ ฟุต

9 ซอล ต่างก็เป็นกีฬาที่ต้องอาศัยความคล่องตัว และความอดทน หนุ่มๆ ทราบกัน หรือไมว่ า่ การเล่นฟุตบอลนั้นใหป้ ระโยชนต์ ่อเรามากมายนบั ไมถ่ ้วนเลยทีเดียว เรามาดู กันเลยดีกว่าว่าประโยชน์ 10 ข้อของการเล่นฟุตบอลน้ันมีข้อดีกับเรายังไงกันบ้าง? ไป ดกู นั เลย 1. การเล่นฟุตบอลนั้นช่วยสร้างกล้ามเนื้อทุกส่วนของร่างกายให้แกร่ง กล้ามเนื้อส่วนบนต้องแข็งแรงสาหรับใช้ในการบังบอลคู่ตอ่ สู้ ส่วนกลา้ มเนอื้ ช่วงล่างใช้ ในการเตะ กระโดดโหมง่ บอล หรือแมแ้ ตเ่ ขา้ แย่งบอลคู่ต่อสู้ 2. เพิ่มความแข็งแกร่งให้กระดูก การท่ีหนุ่มๆ ต้องว่ิง เตะ กระโดด หลายต่อ หลายคร้ังในเกม ถือเป็นการช่วยเพิ่มความหนาแน่นของกระดูกได้อีกทางหน่ึง และ เปน็ การเสรมิ สรา้ งความแข็งแรงของมวลกระดูก ทาให้ไมเ่ ปราะบางไปตามอายุ 3. เพ่ิมความสามารถในการใช้ออกซิเจนของร่างกาย (Aerobic Capacity) การท่ี นักฟุตบอลต้องวิ่งไล่บอลตลอด 90 นาที และการสปีดไปเอาบอลซ้าแล้วซ้าเล่าในเกม โดยไม่หอบน้นั ตอ้ งอาศยั ความฟิตของรา่ งกายสงู มาก ซึ่งการมคี วามสามารถในการใช้ ออกซิเจนสูง ก็จะส่งผลดีต่อการทางานของหัวใจ และกล้ามเนื้อต่าง ๆ ของร่างกาย เช่นกนั 4. ทาให้ระบบหัวใจและหลอดเลือดแข็งแรง การเดิน วิ่ง หรือแม้กระทั่งว่ิง เหยาะๆ ตลอดทั้งเกม ทาให้มีอัตราการเต้นของหัวใจสูงขึ้น ถือเป็นการสร้างความ แข็งแรงให้กับระบบหัวใจและหลอดเลือด และเป็นการช่วยลดความเสี่ยงของโรค ความดันโลหติ สูง 5. เบิร์นไขมัน ลดอ้วน การเล่นฟุตบอลถือเป็นกีฬาท่ีช่วยเผาผลาญไขมันได้ ดีกว่าการออกกาลังกายชนิดอ่ืน ๆ เลยทีเดียว ทั้งน้ี ก็เพราะการที่นักฟุตบอลต้องวิ่ง ตลอดท้ังเกม ท้ังเตะ ทัง้ กระโดดโหม่งลกู ฟตุ บอล เปน็ อะไรท่ีต้องอาศัยความแขง็ แกร่ง ของกล้ามเน้ือค่อนข้างมาก ร่างกายต้องดึงพลังงานมาใช้มาก เล่นเป็นประจารับรอง วา่ น้าหนักลดแน่ ๆ

10 6. ได้เจอเพ่ือนใหม่ๆ ไม่ว่าหนุ่มๆ จะเล่นกันเป็นแมตช์ใหญ่ๆ หรือจะเตะบอล ชิล ๆ กับเพื่อนในสวนสาธารณะ ก็มันส์ไม่แพ้กัน ได้เจอเพื่อนใหม่แถมยังฟิตร่างกาย ไปในตัว อารมณ์ดี คลายเครียดได้อีก แถมงานน้ีบางคนยังได้แฟนจากการมาเล่น ฟุตบอล อกี ดว้ ย เรามคี ลิปสมั ภาษณ์จากเพ่ือนๆ ท่เี ลน่ ฟตุ บอล มาให้ชม 7. พัฒนาสมอง การเล่นฟุตบอลยังช่วยฝึกฝนทักษะด้านการใช้สมาธิ ในการ อ่านเกมค่ตู อ่ สูใ้ หอ้ อก ไมว่ า่ จะเปน็ การเปดิ บอล ผ่านบอล เพ่อื ให้ทีมได้เปรยี บคู่ต่อสู้ 8. เรียนรู้ถึงการทางานเป็นทีม ฟุตบอลจะทาให้คุณรู้จักการเป็นทีมเวิร์ค การ ผ่านบอลให้เพ่ือนยิงประตูเพื่อชัยชนะของทีม เป็นสิ่งท่ีคุณสามารถนามาปรับใช้ใน ชีวิตการทางานไดเ้ ช่นเดียวกนั 9. สร้างความมัน่ ใจ การท่ีหนุ่มๆ มสี ขุ ภาพรา่ งกายสมบูรณแ์ ขง็ แรง กม็ สี ่วนชว่ ย เสริมสร้างความภาคภูมิใจให้ตัวเองได้มากยิ่งข้ึน ซ่ึงจะนาพาความม่ันใจไปสู่การ ทางาน ความสมั พันธ์ระหว่างครอบครัว และ เพ่ือนฝงู ไดอ้ ีกด้วย 10. ลดเครียด หลังจากเหน็ดเหน่ือยจากการเล่นฟุตบอลเสร็จแล้ว ร่างกาย คนเราก็จะหล่ังฮอร์โมนแห่งความสุข หรือท่ีเรียกว่า \"เอ็นโดรฟิน\" ออกมา ทาให้ รา่ งกายรสู้ ึกผอ่ นคลาย ช่วยลดความตึงเครยี ดลงไปไดม้ ากเลยทเี ดียว มารยาทของผเู้ ล่นฟุตบอลทีด่ ี 1. มีความรกั และความสามัคคใี นหม่คู ณะ เอือ้ เฟอ้ื เผ่อื แผ่ช่วยเหลือกัน 2. มีน้าใจนักกีฬา แสดงการขอโทษเม่ือรู้ว่าตนเองกระทาผิด รู้จักให้อภัยเมื่อ เพอ่ื นผดิ พลาด รู้จกั แพเ้ ม่ือตนเองมีความสามารถและฝีมอื ไมม่ ากนกั 3. มีความรบั ผิดชอบในหน้าท่ขี องตนตามท่ไี ดร้ บั มอบหมาย 4. ปฏบิ ัติตามกฎกตกิ าการเลน่ โดยเครง่ ครัด

11 5. เชื่อฟังการตัดสินของผู้ตัดสิน โดยไม่แสดงกิริยาที่ไม่เหมาะสมแก่ผู้ตัดสินใน การตดั สิน ไม่กระทาการใด ๆ อนั เป็นการยว่ั ยุหรือกล่ันแกล้งผู้เล่นฝ่ายตรงข้าม 6. มีความอดทน เสยี สละ 7. กลา้ ตดั สนิ ใจ แสดงความคิดเห็น และแสดงออกในสิง่ ท่ีถูกตอ้ ง 8. มีความสุภาพเรยี บร้อย ปฏบิ ัติตนอยใู่ นระเบยี บประเพณีท่ีดีงาม มารยาทของผู้ชมท่ดี ี 1. ไม่กลา่ วถอ้ ยคาหรอื แสดงกริ ยิ าเยาะเยย้ ถากถางผู้เลน่ ทีเ่ ล่นผดิ พลาด 2. แสดงความยนิ ดแี กผ่ เู้ ลน่ ทเี่ ล่นดี เชน่ การปรบมอื เป็นต้น 3. ไม่กระทาตัวเป็นผู้ตัดสนิ เสียเอง เชน่ ตะโกนด่าว่ากรรมการ 4. ไมเ่ ชยี รใ์ นสิง่ ท่ีเป็นการสอ่ เสียดในทางไมด่ ีต่อทมี ใดทมี หน่ึง 5. ไม่กระทาสิง่ ใด ๆ ท่ีทาใหผ้ ตู้ ัดสินหรือเจ้าหน้าทีอ่ ่ืน ๆ ปฏิบตั ิงานไมส่ ะดวก 6. ไม่กระทาสิง่ ใด ๆ อันเป็นการกดี ขวางการเลน่ ของผเู้ ลน่ การบารุงรักษาอปุ กรณ์ อปุ กรณแ์ ยกไดเ้ ป็น 2 กล่มุ ใหญ่ คือ 1. อปุ กรณ์ของนกั กฬี าฟตุ บอล ไดแ้ ก่ 1.1 รองเท้า ต้องเลือกท่ีใส่สบาย มีความยืดหยุ่นดี หลังใช้ให้ทาความสะอาด ทกุ ครง้ั ขัดเงาและใชห้ นงั สอื พมิ พห์ รอื น่นุ ยัดไวเ้ พ่อื ใหร้ องเทา้ อยู่ทรงสภาพเดมิ 1.2 สนับแขง้ ปอ้ งกันการกระแทกไม่ให้ถูกของมคี มหรือเปน็ แผลถลอก 1.3 เสื้อ ใหใ้ ช้ผา้ ท่ีวับเหง่อื ไดด้ ี ผรู้ ักษาประตูควรสวมเสื้อแขนยาวปอ้ งกันการ เกิดแผลถลอกเวลาลม้ หรือพงุ่ ตัวตวั รบั ลูกฟตุ บอล 1.4 กางเกง ควรใช้ผา้ ท่ีทาจากฝา้ ยและสวมใสส่ บาย เคลอื่ นไหวไดอ้ ิสระ

12 1.5 ถงุ มอื สาหรบั ผู้รักษาประตู ป้องกนั การลืน่ ในสภาพสนามแฉะและมโี คลน หลงั ใชต้ ้องทาความสะอาดและผง่ึ ให้แหง้ ในที่ร่ม 2. อปุ กรณ์ทีใ่ ช้ในการเล่นฟตุ บอล 2.1 ลูกฟุตบอล ต้องได้รับการยอมรับจาก F.I.F.A. มีน้าหนักได้มาตรฐาน 396- 453 กรมั หากเปยี กนา้ เป้อื นโคลน ต้องทาความสะอาดและเชด็ ใหแ้ ห้ง 2.2 ตาข่ายประตู ต้องไม่ขาด หรือมีช่องโหว่ติดตั้งอย่างม่ันคง ใช้แล้วให้เก็บ ในท่ีห่างจากความรอ้ นและความชน้ื 2.3 ป้ายคะแนน และเลขคะแนน ระวังไม่ให้เปียกน้า เพ่ือป้องกันการผุ เก็บ ในท่ีห่างจากความช้นื เชน่ ในทีร่ ม่ หรือห้องเก็บของ 2.4 เสาประตู ต้องหม่ันตรวจสอบเวลาฝึกซ้อมหรือแข่งขันต้องอยู่ในสภาพ ม่นั คง แข็งแรง 2.5 เข็มปลอ่ ยลมลกู บอล ตอ้ งจดั เตรียมไว้เม่อื เติมลมลกู ฟุตบอลมากเกินไป หรอื ไม่ได้มาตรฐาน 2.6 ธงมุมสนาม ปักไว้ที่มุมสนาม ใช้แล้วนามาเก็บให้เรียบร้อย และนาไปปัก เมือ่ ตอ้ งการใช้

13


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook