Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2563)

วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2563)

Description: เรื่อง ผลการจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐานที่มีต่อทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต
โดย ณัชชา อ่อนสัมพันธุ์, สุนีตา โฆษิตชัวัฒน์

Keywords: ทักษะการพูด

Search

Read the Text Version

วารสารการบริหารการศกึ ษา มหาวิทยาลัยศิลปากร ผลการจัดการเรียนรู้แบบปญั หาเป็นฐานที่มีต่อทักษะการพดู ภาษาอังกฤษฯ ปที ี 11 ฉบบั ท่ี 1 (มกราคม – มิถุนายน 2563) ณชั ชา อ่อนสัมพันธ์ุ - สุนีตา โฆษิตชัยวัฒน์ …………………..…………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………… ผลการจัดการเรียนร้แู บบปัญหาเป็นฐานทม่ี ตี อ่ ทกั ษะการพดู ภาษาอังกฤษเพอ่ื การสื่อสาร สาหรับนักศกึ ษาระดบั ปริญญาบัณฑติ EFFECT OF PROBLEM-BASED LEARNING ON THE COMMUNICATIVE ENGLISH SPEAKING SKILLS FOR UNDERGRADUATE STUDENTS ณชั ชา อ่อนสมั พนั ธ์ุ1 NATCHA ONSAMPANT สุนีตา โฆษติ ชยั วฒั น2์ SUNEETA KOSITCHAIVAT บทคดั ย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสาหรับ นักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต ก่อนและหลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน และ 2) เพื่อ ศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน กลุ่ม ตัวอยา่ งท่ใี ชใ้ นการวิจัยคร้งั น้ี ได้แก่ นักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร วทิ ยาเขตพระราชวัง สนามจันทร์ ที่ลงทะเบียนเรียนวิชา 081 102 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจาวัน (English for Everyday Use) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 ซึ่งใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย โดยใช้กลุ่มเรียนเป็นหน่วยสุ่ม จานวน 35 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน 2) แบบทดสอบวัดทักษะการ พูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็นฐาน ทาการทดลองโดยผู้วิจัยจัดการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่แบ่งออกเป็น 4 ขั้นตอน ได้แก่ นาเสนอปัญหา ศึกษาและวิเคราะห์ปัญหา เสนอแนวทางแก้ไขปัญหา และ สรุปความรู้ สถิติที่ ใช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ไดแ้ ก่ ค่าเฉลยี่ ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน สถติ ทิ ดสอบ t แบบไมเ่ ปน็ อสิ ระตอ่ กนั ผลการวจิ ัยพบวา่ 1. ทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของนักศึกษาหลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ ปัญหาเปน็ ฐานสูงกวา่ ก่อนเรียนอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .05 2. ความพงึ พอใจของนักศกึ ษาตอ่ การจัดการเรยี นรู้แบบใช้ปัญหาเปน็ ฐานอยู่ในระดบั มาก คาสาคญั : ทกั ษะการพดู , ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร, การจัดการเรยี นรู้แบบปัญหาเป็นฐาน 1 นักศึกษาปริญญาศึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการสอนภาษาองั กฤษ คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร 2 อาจารยท์ ปี่ รกึ ษา ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ภาควชิ าการสอนภาษานานาชาติ คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร 34

วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศลิ ปากร ผลการจัดการเรียนรูแ้ บบปญั หาเปน็ ฐานทีม่ ตี ่อทักษะการพูดภาษาอังกฤษฯ ปีที 11 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2563) ณัชชา อ่อนสัมพันธุ์ - สุนีตา โฆษติ ชยั วัฒน์ …………………..…………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………… Abstract The purposes of this research were: 1) to compare the students’ Communicative English Speaking Skills of undergraduate students, before and after using a Problem-based learning; 2) to survey the student’s satisfaction toward Problem-based Learning. The sample, selected by a simple random sampling technique, comprised the 35 undergraduate students who attended 081 102 English For Everyday Use course, during the first semester of academic year 2019. The research instruments were: 1) Problem-based Learning lesson plans; 2) direct test of Communicative English Speaking Skills; 3) a satisfaction assessment of students toward Problem-based Learning questionnaire. The experiment was conducted by the researcher managing the learning according to the Problem-based Learning lesson plans which is divided into 4 steps: 1) presenting the problem; 2) analyzing the problem; 3) suggesting the solutions and 4) summarizing. The statistics used in data analysis were mean, standard deviations and t-test dependent paired sample group. The findings were as follows: 1. The student’s Communicative English Speaking Skills after studying Problem-based learning was significantly higher than before at the .05 level. 2. The students’ satisfaction toward Problem-based learning were at a good level. Keywords: Communicative English, speaking skills, Problem-based Learning บทนา ทักษะความเป็นนานาชาติ (Internationalization ปัจจุบันเกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมโลก Skills) อนั เปน็ ความรู้ความสามารถในการดารงชีวิต อยู่ในสังคมโลกที่เชื่อมโยงถึงกันได้ มีการใช้ อย่างรวดเร็วเป็นสังคมของศตวรรษที่ 21 มีความ ภาษาสากล โดยเฉพาะภาษาอังกฤษติดต่อสื่อสาร เจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการ กันอย่างกว้างขวาง ภาษาองั กฤษ (English) จัดเป็น สื่อสารเป็นแบบก้าวกระโดด ก่อให้เกิดการติดต่อ ภาษาที่คนนิยมใช้มากที่สุดในโลก (ECC Language สื่อสารถึงกันแบบไร้พรมแดนเป็นยุคโลกาภิวัตน์ Institute: Online) เป็นภาษาสากลที่เข้ามามี (Globalization) (สาเริง อ่อนสัมพันธุ์, 2561: 256) บทบาทในชีวิตประจาวันในการเป็นสื่อกลางการ การจัดการศึกษาในปัจจุบัน มุ่งเน้นการสร้าง ติดต่อสื่อสารและเข้าถึงแหล่งข้อมูลการเรียนรู้เพื่อ ทรัพยากรบุคคลให้มีความรู้ ทักษะ และความ เตรียมความพร้อมในการเรียนรู้โดยใช้ทักษะทาง สามารถที่จาเป็นต่อการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills) คนไทยในยุคนี้จาเป็นต้องมี 35

วารสารการบรหิ ารการศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร ผลการจดั การเรยี นรูแ้ บบปัญหาเป็นฐานท่ีมตี อ่ ทักษะการพูดภาษาอังกฤษฯ ปีที 11 ฉบบั ท่ี 1 (มกราคม – มิถุนายน 2563) ณัชชา อ่อนสัมพันธ์ุ - สุนตี า โฆษติ ชยั วัฒน์ …………………..…………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………… ภาษาเพื่อการสื่อสารได้แก่ การฟัง พูด อ่าน เขียน ในกระบวนการเรยี นรู้ เปน็ การเรียนเพือ่ สอบให้ผ่าน ควบคู่ไปกับการใช้ทักษะที่จาเป็นในการดารงชีวิต ผู้สอนเน้นการใช้ไวยากรณ์มากเกินไป ไม่คานึงถึง (ไพฑูรย์ สินลารัตน์, 2557; ทิศนา แขมมณี, 2557) การนาไปใช้จริงในการทางานในอนาคต ทาให้ไม่ ให้ความสาคัญเกี่ยวกับสมรรถนะทางการสื่อสาร เอื้อต่อผู้เรียนในการฝึกพูดภาษาอังกฤษใน ( Communicative Competency) ก า ร จ ั ด ก า ร ชีวิตประจาวัน (Wall, 2005:34) ดังจะเห็นได้จาก เรียนการสอนจะมุ่งเน้นให้ผู้เรียนภาษาสามารถใช้ การจัดอันดับทักษะการใช้ภาษาอังกฤษในปี ค.ศ. ภาษาส่อื สารในสงั คมโลกไดจ้ ริง พฒั นาผูเ้ รยี นภาษา 2018 โดยสถาบัน Education First (EF) สถาบัน ให้มีความรู้หลักภาษา (Form) ควบคู่กับการใช้ การสอนภาษาอังกฤษระดับโลก ทาการวิเคราะห์ ภาษาสื่อสาร (Use) ได้อย่างเหมาะสมกับบริบท ข้อมลู ทกั ษะการใชภ้ าษาอังกฤษของประเทศท่ีไม่ได้ ต่าง ๆ ผ่านกิจกรรม การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลักจานวน 88 ประเทศ สาคัญ สนับสนุนให้ผู้เรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ ทั่วโลก พบว่าประเทศไทยถูกจัดอยู่ในอันดับที่ 64 การคิดวิเคราะห์ (Analytical Thinking) การคิด ได้ 48.54 จากคะแนนเต็ม 100 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ต่า สร้างสรรค์ (Creative Thinking) ทกั ษะการแก้ปัญหา (EF Education First, 2018) สะท้อนให้เห็นว่า (Problem Solving) และการทางานร่วมกันเป็นทีม ความสามารถในการใช้ทักษะภาษาอังกฤษของ (Collaboration and Team Work) เพอื่ ทากิจกรรม นักเรียนไทยทั้งในระดับมัธยมศึกษาและอุดมศึกษา หรือชิ้นงานให้สาเร็จ ช่วยให้ผู้เรียนมีองค์ความรู้และ ศึกษาควรไดร้ ับการพัฒนาอยา่ งจริงจงั ท ั ก ษ ะ ภ า ษ า ท ี ่ ใ ช ้ ใ น ส ถ า น ก า ร ณ ์ ส ื ่ อ ส า ร จ ร ิ ง ท ่ี สอดคล้องกับความจ าเป็นในสังคมปัจจุบัน ในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษตามแนว (สมบัติ คชสิทธิ์, จันทนี อินทรสูต และธนกร สุวรรณ การสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร ทักษะการพูด พฤฒิ, 2560) การพัฒนาประเทศให้มีความ ภาษาอังกฤษมีความสาคัญที่สุด เพราะการพูดเป็น เจริญก้าวหน้าและทัดเทียมกับนานาประเทศ จาเป็น วิธีการติดต่อที่สะดวกและง่ายกว่าวิธีอื่น ๆ ไม่ว่าจะ อย่างยิ่ง ที่ต้องพัฒนาศักยภาพของประชากรให้มี เป็นการสื่อสารเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นต่าง ๆ ความรู้ ความสามารถในการสื่อสารดว้ ยภาษาอังกฤษ ระหว่างบุคคล (ศิรินันท์ เอื้อนไธสงค์, 2560) แสดง ซง่ึ จะส่งผลให้ประเทศนั้น ๆ สามารถสร้างศักยภาพที่ ให้เห็นว่าผู้พูดมีความรู้ทางภาษามากพอที่จะ จะพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้าทัดเทียมนานา ถ่ายทอดความคิด ความเข้าใจ รวมถึงแสดง ประเทศได้ (Wannapok, 2004) ความรู้สึกต่อกันได้ (ธุวพร ตันตระกูล, 2555) การ เรียนภาษาอังกฤษจงึ มีการเปล่ียนแปลงรูปแบบการ ในทางกลับกันการจัดการเรียนรู้ วิชา จัดการเรียนรู้ไปจากเดิม เน้นการใช้ภาษาใน ภาษาอังกฤษในประเทศไทย ยังมีข้อจากัดหลาย สถานการณ์ที่เป็นจริงมากขึ้น ผู้เรียนจะต้องสื่อ ประการเนื่องจากบริบทของคนไทยที่มีพื้นฐานการ ความหมายให้ผู้อื่นเข้าใจ ส่วนผู้สอนทาหน้าที่ เรียนแบบท่องจามากกว่าการฟัง พูด มีครูเป็นผู้ เสริมแรงให้ผู้เรียนมีความมั่นใจในการแสดงออก ถ่ายทอดความรู้และนักเรียนนั่งฟังโดยไม่มีส่วนร่วม ทางภาษาให้เหมาะสมตามสถานการณ์ ซึ่งต้องสื่อ 36

วารสารการบริหารการศึกษา มหาวทิ ยาลัยศิลปากร ผลการจดั การเรยี นรู้แบบปัญหาเป็นฐานทม่ี ตี ่อทักษะการพดู ภาษาอังกฤษฯ ปีที 11 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2563) ณชั ชา ออ่ นสัมพันธ์ุ - สุนตี า โฆษิตชยั วัฒน์ …………………..…………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………… ความหมายให้ชัดเจน ถูกต้องเหมาะสม และเป็นท่ี ใช้ภาษาอังกฤษขั้นพื้นฐานน้อยจึงยังไม่เพียงพอที่จะ ยอมรับของสังคม การใช้กิจกรรมภาษาเพื่อการ สามารถพูดภาษาอังกฤษได้อย่างอัตโนมัติ สื่อสารเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ในห้องเรียน ทาให้ (Automated Basic Skill) (ธุวพร ตันตระกูล, 2555) ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นมากขึ้น การเรียนรู้ นักศึกษาส่วนใหญ่ออกเสียงคาศัพท์ไม่ถูกต้อง รู้ เป็นไปอย่างมีความหมายและสามารถนาไปใช้ใน คาศัพท์น้อย ไม่สามารถเลือกใช้คาศัพท์ที่เหมาะสม สถานการณ์จรงิ ได้ (Grant, 1988) พูดไม่ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ และไม่สามารถพูด โต้ตอบได้อย่างเป็นธรรมชาติ (ธีราภรณ์ กิจจารักษ์, การจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน 2553; ศิรินันท์ เอื้อนไธสงค์, 2560) หรือพูดได้เพียง (Problem-based Learning) เป็นวิธีการหนึ่งที่ เล็กน้อย ไม่กล้าพูด และไม่รู้จะพูดอย่างไร ซึ่งล้วนมี ช่วยกระตุ้นความอยากรู้อยากเห็นของผู้เรียนโดยใช้ สาเหตุมาจากการขาดทักษะการพูดภาษาอังกฤษ ปัญหาเป็นตัวดึงดูด ทาให้ผู้เรียนสนุกกับการ ทั้งสน้ิ แก้ปัญหาที่ผู้สอนกาหนดให้และปัญหานั้นต้องเปิด กว้าง คลุมเครือ หรือมีลักษณะทางโครงสร้างไม่ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวัง ชัดเจน เพื่อให้ผู้เรียนคิด ค้นหา ค าตอบได้ สนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม ได้ให้ความสาคัญใน หลากหลายแบบ (Barrows, 2000; Torp and การสอนและพัฒนาทักษะทางภาษาอังกฤษของ Sage, 2002) ต้องอาศัยประสบการณ์ การทางาน ผู้เรยี นควบคู่ไปกับการพัฒนาความสามารถในการคิด ร่วมกันเป็นทีมหรือกลุ่มเล็กเพื่อช่วยกันแก้ปัญหา วิเคราะห์ โดยวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐานเป็นรายวิชา ทกุ คนจงึ มสี ่วนรว่ มในกระบวนการเรียนรู้ ทาให้การ บังคับทนี่ ักศึกษาทุกคนต้องเรียน โดยมีเนื้อหาในการ จัดการเรียนรู้เป็นไปอย่างน่าสนใจและสามารถ พัฒนาทักษะทางภาษาอังกฤษทั้ง 4 ทักษะ สาหรับ แก้ปัญหาจากสถานการณ์ได้จริง (Barrell. 2007) ทักษะด้านการฟัง-พูดนั้น ผู้เรียนสามารถฝึกทักษะ เป็นกระบวนการในการเรียนรู้ที่สามารถนาไป การฟังและการพูดในชีวติ ประจาวันเลือกใช้ให้ตรงกับ ประยุกต์ใช้สาหรับการแก้ปัญหาในอนา.คต การ สถานการณ์ และนาความรู้ที่ได้ไปเป็นเครื่องมือใน เรียนแบบปัญหาเป็นฐานทาให้ผู้เรียนได้รับความรู้ การเรียนรู้ด้วยตนเอง อย่างไรก็ตามจากการที่ผู้วิจัย เนื้อหาวิชา ช่วยพัฒนาความสามารถในการคิด ได้ปฏิบัติการสอนวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐานนักศึกษา ตัดสินใจแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล พัฒนาทักษะการ ระดับปริญญาบัณฑิต พบว่า นักศึกษาส่วนใหญ่ออก เรียนรู้ด้วยตนเอง ทักษะการทางานเป็นทีม เพิ่ม เสียงได้ไม่ถูกต้อง รู้คาศัพท์น้อย ต้องร่างบทก่อนพูด แรงจูงใจในการเรยี น (ทิศนา แขมมณี, 2557) และยังไม่สามารถพูดโต้ตอบได้อย่างเป็นธรรมชาติ ทาให้มีปัญหาในการพูดสื่อความ และไม่สามารถ ปัญหาสาคัญในการเรียนภาษาอังกฤษอีก เรียบเรียงคาพูดเพื่อสร้างประโยคได้ และเนื้อหาที่ ประการหนึ่ง คือวิธีการจัดการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้ เรียนส่วนใหญ่ห่างไกลกับชีวิตจริง ประกอบกับการ ฝึกทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารใน ไมไ่ ดฝ้ ึกปฏบิ ตั จิ ริงทาใหน้ ักศึกษาไม่สามารถเช่ือมโยง ห้องเรียนและนาไปใช้นอกห้องเรียนยังไม่ประสบ การใช้ภาษาให้เข้ากับชีวิตประจาวันได้ ขาดแรงจูงใจ ความสาเร็จตามเป้าหมาย นักศึกษาไทยมีทักษะการ 37

วารสารการบรหิ ารการศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร ผลการจัดการเรียนรแู้ บบปญั หาเปน็ ฐานท่ีมตี ่อทักษะการพดู ภาษาอังกฤษฯ ปีที 11 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม – มถิ ุนายน 2563) ณัชชา ออ่ นสัมพันธุ์ - สุนีตา โฆษติ ชยั วัฒน์ …………………..…………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………… และไม่อยากเรียน ส่งผลให้ขาดความคุ้นเคยในการ (Problem based Learning) กับนักศึกษาสาขาวิชา พ ู ด ภ า ษ า อ ั ง ก ฤ ษ ( Kirkpatrick, 2012) จ ึ ง มี ภาษาอังกฤษ ชั้นปีที่ 2 คณะศิลปศาสตร์ ผู้ทาการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาการพูดภาษาอังกฤษเพื่อ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี พบว่า นักศึกษามี การสื่อสารโดยใช้วิธีสอนแบบปัญหาเป็นฐาน โดยใช้ ความสามารถในการฟัง-พูดภาษาอังกฤษที่อยู่ใน ปัญหาในชีวิตประจาวันเปน็ ตัวกระตนุ้ สรา้ งแรงจูงใจ ระดับค่อนข้างดีสูงขึ้น ด้วยเหตุนี้ผู้วิจัยจึงสนใจนา ในการเรียน ให้เกิดความอยากเรียนรู้ และหาวิธี การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน ในการ แก้ปัญหาอย่างอิสระ และมุ่งเน้นการเรียนรู้ด้วย พัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ตนเอง ปาริชาต จันทร์งาม (2556) ศึกษาเกี่ยวกับ สาหรับนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต มหาวิทยาลัย การพัฒนาความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษของ ศิลปากร นักศึกษาชั้นปีที่ 2 คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี ที่เรียนรายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร โดยการ วัตถุประสงค์ จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน พบว่า 1. เพื่อเปรียบเทียบทักษะการพูดภาษา ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 60 มีความสามารถในการพูด ภาษาอังกฤษผ่านเกณฑ์ระดับค่อนข้างดีขึ้นไป อังกฤษเพื่อการสื่อสารของนักศึกษาระดับปริญญา ซึ่งก่อนหน้านี้ กานต์สิรี เผ่านาคธรรมรัตน์ และคณะ บัณฑิต ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้แบบปัญหา (2552: 31) ทาการศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะ เปน็ ฐาน ความสามารถทางด้านการฟัง-พูด ภาษาอังกฤษ โดย ใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน 2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษา ระดับปริญญาบัณฑิต ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบ ปัญหาเปน็ ฐาน กรอบแนวคิดการวจิ ยั การจัดการเรียนรูแ้ บบปัญหาเปน็ ฐาน ทักษะการพดู โดยผวู้ จิ ัยสังเคราะห์ได้ 4 ขั้นตอนดงั น้ี ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1. นาเสนอปญั หา (Presenting the problem) 2. ศกึ ษาและวิเคราะห์ปัญหา (Analyzing the problem) ความพงึ พอใจของนกั ศกึ ษาระดับ 3. เสนอแนวทางแกไ้ ขปัญหา (Suggesting the solutions) ปรญิ ญาบณั ฑิตทม่ี ตี ่อการจัดการเรยี นรู้ 4. สรุปความรู้ (Summarizing) (Kreger, 1998; Ommundsen, 2001; Hmelo-Silver, 2004; แบบปญั หาเป็นฐาน Aydinli, 2007; ทองจนั ทร์ หงส์ลดารมภ์, 2538; ปาริชาต จันทรง์ าม , 2556; รงษ์ เรืองวงษ์, 2556; จฑุ ามาศ สคุ นธา, 2560; ศิรวิ รรณ ชัยศิริวงษ์, 2560) แผนภูมทิ ่ี 1 กรอบแนวคดิ 38

วารสารการบรหิ ารการศกึ ษา มหาวิทยาลัยศลิ ปากร ผลการจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐานทมี่ ีต่อทักษะการพดู ภาษาอังกฤษฯ ปที ี 11 ฉบับท่ี 1 (มกราคม – มิถุนายน 2563) ณชั ชา อ่อนสัมพันธ์ุ - สุนตี า โฆษิตชัยวัฒน์ …………………..…………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………… วิธีการวิจยั เครื่องมือที่ใช้ในการวจิ ัย ผู้วิจัยดาเนินการตามระเบียบวิธวี จิ ัย ดังนี้ 1. แผนการจัดการเรียนรู้การพูด ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโดยการจัดการเรียนรู้ 1. ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ แบบปัญหาเป็นฐาน ทั้งหมด 3 แผน จานวน 3 บทเรียน ประกอบด้วย 1) Cheating in school 2) นักศกึ ษาระดับปริญญาบัณฑิตมหาวิทยาลัยศลิ ปากร Social Issues และ 3) Money Problems วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ที่ลงทะเบียนเรียน วิชา 081 102 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจาวัน 2. แบบทดสอบวัดทักษะการพูด (English For Everyday Use) ภาคเรียนที่ 1 ปี ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารของนกั ศึกษาก่อนเรียน การศึกษา 2562 จานวนทั้งสิ้น 54 กลุ่มเรียน มี ( Pre-test) แ ล ะ ห ล ั ง เ ร ี ย น ( Post-test) เ ป ็ น นกั ศกึ ษาจานวน 1,804 คน แบบทดสอบพูดแบบปากเปล่า (Oral test) จานวน 6 ส ถ า น ก า ร ณ ์ ป ั ญ ห า ( Problem Scenario) 2. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ซึ่งจัดรูปแบบการทดสอบเป็นคู่ ด้วยการจับสลาก นักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร เลือกสถานการณ์ปัญหาคู่ละ 1 สถานการณ์ โดยให้ วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ ที่ลงทะเบียนเรียน คะแนนเป็นรายบคุ คล วิชา 081 102 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจาวัน (English For Everyday Use) ภาคเร ี ยนท ี ่ 1 ปี 3. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษา การศึกษา 2562 ซึ่งใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย ได้กลุ่มที่ ระดับปริญญาบัณฑิตที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบ 402 จานวน 1 กลุ่มเรียน มนี ักศึกษาจานวน 35 คน ปัญหาเป็นฐาน (Problem-based Learning :PBL) โดยข้อคาถามแบ่งเป็น 3 ด้าน ได้แก่ ด้านเนื้อหา ตวั แปรท่ีศกึ ษา ด้านการจัดการเรียนรู้ และด้านประโยชน์ที่ได้รับ 1. ตวั แปรต้น (Independent Variable) มีลักษณะเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดบั จานวน 16 ขอ้ ได้แก่ การจดั การเรยี นรู้แบบปญั หาเปน็ ฐาน 2. ตวั แปรตาม(Dependent Variable) วิธกี ารเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล ในการดาเนินการวิจัย ผู้วิจัยดาเนินการ ได้แก่ 2.1 ทักษะการพูดภาษาองั กฤษเพ่ือ ทดลองกับกลุ่มตัวอย่างด้วยตนเองโดยมีล าดับ ขั้นตอน ดงั น้ี การสือ่ สารของนักศกึ ษาระดับปรญิ ญาบณั ฑิต 2.2 ความพึงพอใจของนักศึกษาระดับ 1 ดาเนินการทดสอบก่อนเรียน (Pretest) กับกลุ่มตัวอย่างเพื่อประเมินความรู้ทักษะการพูด ปริญญาบัณฑิตท่ีมีต่อการจดั การเรยี นรแู้ บบปัญหา ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร โดยใช้แบบทดสอบพูด เป็นฐาน ปากเปล่า (Oral test) ประกอบด้วยสถานการณ์ 39

วารสารการบรหิ ารการศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร ผลการจดั การเรยี นรแู้ บบปญั หาเป็นฐานท่มี ตี ่อทักษะการพดู ภาษาอังกฤษฯ ปที ี 11 ฉบบั ท่ี 1 (มกราคม – มิถุนายน 2563) ณชั ชา ออ่ นสัมพันธุ์ - สุนีตา โฆษติ ชัยวัฒน์ …………………..…………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………… 6 สถานการณ์ ซึ่งนักศึกษาจะต้องจับคู่และจับสลาก ทาความเข้าใจปัญหาและใช้เวลาพูด 1 นาที เพื่อ เพื่อสุ่มเลือกสถานการณ์ปัญหา ( Problem กลา่ วถึงปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหา Scenario) คู่ละ 1 สถานการณ์ โดยหลังจากสุ่มจับ สถานการณ์แล้วผู้สอบมเี วลาในการเตรยี มตัว 5 นาที 5. ในการทดสอบ ผู้วิจัยทาการบันทึกวิดีโอ เพื่อตีความและทาความเข้าใจปัญหาและใช้เวลาพูด ภาพและเสยี งการสนทนาเพ่ือประกอบการให้คะแนน 1 นาที เพื่อกล่าวถึงปัญหาและอภิปรายแนว ของผู้ประเมิน (Inter rater) จานวน 3 คน จากนั้น ทางแก้ไขปญั หาให้คะแนนแบบรายบุคคล รวบรวมคะแนนสอบ และนามาหาค่าเฉลี่ยและส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน 2. ในการทดสอบ ผู้วิจัยทาการบันทึกวิดีโอ ภาพและเสียงการสนทนาเพ่ือประกอบการให้คะแนน 6. ดาเนินการสอบถามความพึงพอใจของ จากผู้ประเมิน (Inter-raters) จานวน 3 คน ทาการ นักศกึ ษาที่มตี ่อการจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน ให้คะแนนพร้อมกัน จากนั้นรวบรวมคะแนนสอบ เพื่อศึกษาทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร และนามาหาคา่ เฉลยี่ และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน จากนั้นหาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ แบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการ 3. ดาเนินการจัดการเรียนรู้แก่กลุ่มตัวอย่าง จัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน แล้วนาข้อมูลท่ี ตามแผนการจัดการเรียนรู้การพูดภาษาอังกฤษเพื่อ ได้มาแปลผลความพึงพอใจตามเกณฑ์ของ Best การสอื่ สารแบบปญั หาเป็นฐานซ่ึงแบ่งเป็น 4 ขั้นตอน (1986) คือ 1) นาเสนอปัญหา (Presenting the problem) 2) ศึกษาและวิเคราะห์ปัญหา (Analyzing the 7. นาผลการทดสอบการพูดภาษาอังกฤษ problem) 3 ) เ ส น อ แ น ว ท า ง แ ก ้ ไ ข ป ั ญ ห า เพื่อการสื่อสาร ของนักศึกษา 35 คน มาวิเคราะห์ ( Suggesting the solutions) 4 ) ส ร ุ ป ค ว า ม ร ู ้ ขอ้ มูลทางสถิติเพื่อตรวจสอบสมมตฐิ าน เปรียบเทียบ (Summarizing) โดยผู้วิจัยดาเนินการทดลองในภาค ทักษะทางการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ของ เรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 ใช้เวลาในการจัด นักศึกษากลุ่มตัวอย่างที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบ กจิ กรรมการสอนตามบทเรยี น จานวน 10 ช่วั โมง ปัญหาเป็นฐาน ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน โดย การทดสอบค ่ า t (t-test Dependent Paired 4. ดาเนินการทดสอบหลังเรียน (Posttest) Sample Group) กับกลุ่มตัวอย่าง เพื่อวัดทักษะการพูดวิชา ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ซึ่งเป็นแบบทดสอบพูด ผลการวจิ ัย ปากเปล่า (Oral test) ข้อสอบฉบับเดิม ประกอบไป 1. ทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการ ด้วยสถานการณ์ 6 สถานการณ์ ซึ่งนักศึกษาจะต้อง จับคู่และจับสลากเพื่อสุ่มเลือกสถานการณ์ปัญหา สื่อสารของนักศึกษาหลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้ (Problem Scenario) คู่ละ 1 สถานการณ์ ใหค้ ะแนน แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี เป็นรายบุคคล โดยหลังจากสุ่มจับสถานการณ์แล้ว นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ดังแสดงผลการ ผสู้ อบมีเวลาในการเตรียมตัว 5 นาที เพือ่ ตีความและ วเิ คราะหใ์ นตารางที่ 1 40

วารสารการบรหิ ารการศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ผลการจดั การเรยี นรู้แบบปัญหาเป็นฐานท่มี ตี ่อทักษะการพดู ภาษาอังกฤษฯ ปีที 11 ฉบับท่ี 1 (มกราคม – มถิ ุนายน 2563) ณชั ชา อ่อนสัมพันธ์ุ - สุนีตา โฆษติ ชยั วัฒน์ …………………..…………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………… ตารางที่ 1 ผลการเปรยี บเทยี บทกั ษะการพดู ภาษาองั กฤษของกลมุ่ ตวั อยา่ ง ก่อนและหลังเรยี นดว้ ย การจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเปน็ ฐาน เพอ่ื พัฒนาทักษะการพูดภาษาองั กฤษดว้ ยการทดสอบ t แบบจบั คู่ (n=35) การทดสอบ จานวน คะแนน (̅x ) S.D. (̅D ) t df P-value. เตม็ ก่อนทดลอง 35 20 10.98 1.84 3.51 20.71* 34 0.000 หลงั ทดลอง 35 20 14.49 2.23 * มนี ัยสาคัญทางสถติ ิทรี่ ะดับ .05 จากตารางที่ 1 พบว่า คะแนนเฉลี่ย (x̅) = 4.25, S.D. = 0.32) และด้านการจัดการเรียนรู้มี ก่อนการจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐานเท่ากับ คา่ เฉลีย่ น้อยที่สดุ (x̅= 4.15, S.D. = 0.28) 10.98 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 1.84 สรุปผลการวจิ ยั และคะแนนเฉลี่ย (x̅) หลังการจัดการเรียนรู้แบบ จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยสามารถ ปัญหาเป็นฐานเท่ากับ 14.19 ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 2.23 คะแนนผลต่างเฉลี่ย สรุปผลไดด้ ังนี้ (D) ระหว่างก่อนและ หลังการใช้แผนการจัดการ 1. ทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการ เรียนรู้เท่ากับ 3.51 ค่าสถิติ t เท่ากับ 20.71 แสดง ว่านักศึกษากลุ่มตัวอย่างที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ ส่อื สารของนักศึกษาหลังเรียนดว้ ยการจัดการเรียนรู้ แบบปัญหาเป็นฐานมีคะแนนสอบทักษะการพูด แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารหลังเรียนสูงกว่าก่อน นัยสาคัญทางสถติ ิที่ระดับ .05 เรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่ง เปน็ ไปตามสมมตฐิ านข้อท่ี 1 2. นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการจัดการ เรียนรแู้ บบปัญหาเปน็ ฐานอย่ใู นระดับมาก 2. นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการจัดการ เรียนรู้แบบปัญหาเปน็ ฐาน โดยภาพรวมอยู่ในระดบั อภปิ รายผลการวจิ ัย จากผลการวิจัยเรื่องผลการจัดการเรียนรู้ มาก (x̅= 4.25, S.D.=0.21) และเมื่อพิจารณาราย ดา้ นพบว่า นกั ศกึ ษามคี วามพึงพอใจอย่ใู นระดับมาก แบบปัญหาเป็นฐานที่มีต่อทักษะการพูด ทุกด้าน เรียงตามลาดับจากมากสุดไปหาน้อยสุดไว้ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สาหรบั นักศึกษาระดับ ปริญญาบณั ฑติ สามารถอภปิ รายผลไดด้ งั น้ี ดังนี้ ด้านเนื้อหามีค่าเฉลี่ยมากที่สุด (x̅= 4.35, S.D. จากผลการวิจัยข้อที่ 1 พบว่า นักศึกษา = 0.29) รองลงมาคอื ดา้ นประโยชน์ท่ีไดร้ บั (x̅ กลุ่มตัวอย่างที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปัญหา เป็นฐานมีคะแนนสอบทักษะการพูดภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี 41

วารสารการบริหารการศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร ผลการจดั การเรยี นรู้แบบปัญหาเป็นฐานทม่ี ีตอ่ ทักษะการพูดภาษาอังกฤษฯ ปที ี 11 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2563) ณัชชา อ่อนสัมพันธ์ุ - สุนตี า โฆษิตชัยวัฒน์ …………………..…………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………… นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเป็นไปตาม จานวน 3 - 5 คน ให้ร่วมมือกันในกระบวนการกลุม่ สมมตฐิ านทีต่ ้งั ไว้ ทง้ั น้ีอาจเนอ่ื งมาจากสาเหตุสาคัญ เพื่อร่วมกันทาความเข้าใจปัญหาที่ค้นพบให้มีความ 2 ประการดงั นี้ ชัดเจน และสอดคล้องกับแนวคิดของ ทิศนา แขม มณี (2557) ที่กล่าวว่าการจัดการเรียนรู้โดยใช้ 1. การจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน ปัญหาเป็นฐาน เป็นการจัดสถานการณ์ของการ ที่ใช้ในการพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อ จัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานทาให้นักศึกษา การสื่อสาร เป็นการสอนที่มีความต่อเนื่องกันเป็น เกิดการเรียนรู้ตามเป้าหมาย ซึ่งผู้สอนอาจจัด ระบบและถูกแบ่งขั้นตอนไว้อย่างกระชับรัดกุม เริ่ม สถานการณ์ให้นักศึกษาเผชิญปัญหาเพื่อฝึก จากการแนะนาผูเ้ รียนใหท้ ราบถงึ สถานการณ์ปัญหา กระบวนการวิเคราะห์ปัญหาและหาแนวทางแก้ไข ที่เกิดขึ้น ระดมสมองหาทางเลือกและช่วยกัน ปัญหาร่วมกันเป็นกลุ่ม ซึ่งจะช่วยให้นักศึกษาเกิด วิเคราะห์ข้อมูล นาข้อมูลที่ได้มาอภิปรายและเสนอ ความเข้าใจในปัญหา รวมถึงทาให้นักศึกษาเกิด แนวทางแก้ปัญหาที่ชัดเจน และสรุปข้อมูลให้เป็น ความใฝ่รู้ จนเกิดทักษะกระบวนการคิดและ หลักการเพื่อนาไปใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ แกป้ ัญหาต่าง ๆ ได้ อื่น ๆ ต่อไป ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้สังเคราะห์ ขั้นตอนในการจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐานไว้ ขน้ั ที่ 2 ศึกษาและวิเคราะห์ปัญหา 4 ขั้นตอน ซึ่งแต่ละขั้นตอนอาจมีส่วนช่วยให้ (Analyzing the Problem) เป็นขั้นที่กลุ่มนักศึกษา นกั ศกึ ษาไดพ้ ฒั นาทกั ษะการพดู ภาษาองั กฤษไดด้ ังนี้ จะต้องแบ่งหน้าที่กันค้นหาข้อมูลสาคญั ในด้านตา่ ง ๆ ที่มีความสอดคล้องกับสถานการณ์ปัญหา (Problem ขนั้ ที่ 1 นาเสนอปัญหา (Presenting the Scenario) ที่กาหนดให้ ระดมสมองหาทางเลือกใน Problem) เป็นการเกริ่นนาด้วยสถานการณ์ปัญหา การแก้ปัญหาที่มีความเป็นไปได้ให้มากที่สุด เพื่อ (Problem Scenario) เพอื่ เป็นการแนะนานักศึกษา นามาวิเคราะห์และเลือกใช้ข้อมูลให้ตรงกับประเด็น ให้ทราบถึงเหตุการณ์ หรือปัญหาที่เกิดขึ้น ระหว่าง ปัญหาที่ตั้งไว้ สอดคล้องกับ แนวคิดของ วัชรา เล่า นี้จะต้องมีการแบ่งกลุ่มนักศึกษาโดยสมัครใจเพื่อ เรียนดี (2553) ที่กล่าวถึงขั้นการสอนที่นักศึกษาให้ ร่วมกันกาหนดประเด็นปัญหา กลุ่มละ 3-5 คน โดย ความร่วมมือกันคิดหาวิธีแก้ปัญหา วางแผน เพื่อหา สถานการณ์ทน่ี ามาใช้จะต้องมเี นื้อหาท่ีเก่ียวข้องกับ แ น ว ท า ง ท ี ่ ช ั ด เ จ น โ ด ย ร ะ บ ุ ส ื ่ อ ห ร ื อ อ ุ ป ก ร ณ ์ ท ่ี ตัวนักศึกษา พื้นเพ ภูมิหลัง ประสบการณ์ใกล้ตัว จาเปน็ ต้องนามาใชเ้ พ่ือการแก้ปัญหา หรือเหตุการณ์จริงที่ถูกพูดถึง จึงจะเป็นประเด็น ปัญหาที่สามารถกระตุ้นให้นักศึกษาเกิดแรงจูงใจใน ขน้ั ที่ 3 เสนอแนวทางแก้ไขปัญหา การเรียนรู้ด้วยตนเองได้ สอดคล้องกับแนวคิดของ (Suggesting the solutions) เ ป ็ น ข ั ้ น ท ี ่ ก ล ุ ่ ม วัชรา เล่าเรียนดี (2553) ที่กล่าวถึงขั้นจัดกิจกรรม นักศึกษาจะต้องฝึกพูดเพื่ออภิปรายและเสนอแนว ให้นักเรียนได้เผชิญกับปัญหาด้วยการจัด ทางแก้ไขปัญหาภายในกลุ่ม ผู้สอนมีหน้าที่ผลักดัน สถานการณ์ บทบาทสมมติ เรื่องสั้น หรือชมวิดีโอ ให้นักศึกษาใช้ภาษาอังกฤษในการพูด คอยชี้แนะ และคน้ พบปัญหานนั้ เอง รวมถงึ ข้นั จัดกลมุ่ นักศึกษา และให้การสนับสนุนอย่างมีขอบเขตและส่งเสริมให้ 42

วารสารการบริหารการศกึ ษา มหาวิทยาลัยศิลปากร ผลการจดั การเรยี นรู้แบบปัญหาเป็นฐานท่มี ีตอ่ ทักษะการพดู ภาษาอังกฤษฯ ปที ี 11 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มถิ ุนายน 2563) ณัชชา ออ่ นสัมพันธ์ุ - สุนตี า โฆษติ ชยั วัฒน์ …………………..…………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………… นักศึกษาตัดสินใจเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาด้วย พัฒนาทักษะการแก้ปัญหา และฝึกพูดภาษาอังกฤษ ตัวเอง สอดคล้องกับแนวคิดของ Duch (1995) ด้วยตนเอง สอดคล้องกับงานวิจัยของ พัชรากราณต์ Kreger (1998) Hmelo-Silver (2004) เบญจวรรณ อินทะนาค (2546: 62) ที่กล่าวว่า ปัญหาที่นามาให้ อ่วมมณี (2549) และ Ommundsen (2001, อ้างถึง นักศึกษาแก้ไขถือว่าเป็นปัญหาที่มีแนวโน้มจะ ใน Fazlur et al.,2011) กล่าวถึงขั้นตอนการสอนที่ เกิดขึ้นในบริบทการทางานของนักศึกษาในอนาคต ให้นักศึกษาใช้พื้นความรู้เดิมเชื่อมโยงกับความรู้ใหม่ จึงทาให้นักศึกษามีความกระตือรือร้น และอยาก มาแก้ปัญหา ทาการวิเคราะห์ จัดลาดับความสาคัญ เรียนรวู้ ิธกี ารแก้ปญั หา สง่ ผลให้ผ้วู ิจัยเลือกใช้เน้อื หา นาความรู้ทั้งหมดมาอภิปรายเพื่อแก้ปัญหา และ อันประกอบด้วย 3 หัวข้อ ได้แก่ 1) Cheating in นาเสนอวิธกี ารแกไ้ ข school 2) Social Issues แ ล ะ 3) Money Problems ซึ่งมีความเหมาะสมในการใช้สอนพูด ขั้นที่ 4 สรุปความรู้ (Summarizing) จบ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโดยบูรณาการร่วมกับ กระบวนการแก้ปัญหาโดยแต่ละกลุ่มนาเสนอแนว การสอนแบบปัญหาเป็นฐาน ประกอบด้วย 4 ทางการแก้ไขปัญหาของตนและสรุปรวบยอด ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นนาเสนอปัญหา ผู้สอนนาเข้าสู่ ออกมาเป็นแนวทางที่ชัดเจน สอดคล้องกับแนวทาง บทเรียนด้วยสถานการณ์ปัญหา ( Problem ปฏิบัติในการจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน Scenario) นกั ศึกษาแบง่ กลมุ่ พดู เสนอความคดิ เห็น สอดคล้องกับแนวคิดของ ทองจันทร์ หงส์ลดารมภ์ เพื่อร่วมกันทาความเข้าใจและกาหนดประเด็น (2538) รงษ์ เรืองวงษ์ (2556) และ ปาริชาต จันทร์ ปัญหาจากสถานการณ์ที่ได้รับให้มีความชัดเจน งาม (2556) ท่ีกล่าวถงึ ขั้นตอนการสรุปข้อมูลใหม่ซ่ึง สอดคล้องกับแนวคิดของ Littlewood (1983) ท่ี เป็นหลักการที่ได้มาจากการศึกษาปัญหา กล่าวว่า การสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารใน กระบวนการจะสิ้นสุดเมื่อกลุ่มสามารถหาข้อมูล ขั้นตอนการนาเสนอเนื้อหา (Presentation) เป็น ครบถว้ นตอ่ การพสิ จู น์ ข้อสมมตฐิ านทัง้ หมดได้ และ ขั้นตอนที่สาคัญที่สุดเพราะผู้เรียนจะได้เรียนรู้และ สามารถสรุปถึงหลักการต่าง ๆ ที่ได้จากการศึกษา ทาความเข้าใจกับข้อมูลชุดใหม่ทางภาษาทั้งในด้าน ป ั ญ ห า น ี ้ ร ว ม ท ั ้ ง เ ห ็ น แ น ว ท า ง ใ น ก า ร น า ค ว ามรู้ ของความหมายและวิธีการน าภาษาไปใช้ให้ หลักการนั้นไปใช้ในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ เหมาะสมกับสถานการณ์ ควบคู่ไปกับหลักเกณฑ์ ทัว่ ไป ทางภาษา ในขั้นตอนนี้ครูผู้สอนคอยสังเกตการพูด เสนอความคิดเห็นของผู้เรียนเพื่อเป็นการประเมิน 2 แผนการจัดการเรียนรู้และบทเรียนแบบ ความรู้เดิมของผู้เรยี น และถามคาถามนา (Guiding ปัญหาเป็นฐาน มีการเลือกใช้หลักภาษาที่เหมาะสม questions) เพื่อกระตุ้นให้นักศึกษาสนทนาเป็น ในกระบวนการฝึกพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ภาษาอังกฤษ ขั้นศึกษาและวิเคราะห์ปัญหา และกาหนดสถานการณ์ปัญหา (Problem Scenario) นักศึกษาใช้ประสบการณ์ของตนเองเข้ามาเป็นส่วน โดยพิจารณาจากเรื่องใกล้ตัวที่มีความสอดคล้องกับ หนึ่งในการเชื่อมโยงสนับสนุนข้อมูลที่รวบรวมได้ บริบทของนักศึกษา รวมถึงระดับความรู้และความ สามารถทางภาษา ที่สามารถทาให้นักศึกษาได้ 43

วารสารการบรหิ ารการศกึ ษา มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร ผลการจัดการเรยี นรูแ้ บบปญั หาเป็นฐานท่มี ตี อ่ ทักษะการพูดภาษาอังกฤษฯ ปที ี 11 ฉบับท่ี 1 (มกราคม – มถิ ุนายน 2563) ณัชชา อ่อนสัมพันธุ์ - สุนีตา โฆษติ ชัยวัฒน์ …………………..…………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………… เพื่อนามาวิเคราะห์ให้ตรงกับประเด็นปัญหาที่ตั้งไว้ จากผลการวิจัยข้อที่ 2 พบว่า นักศึกษามี โดยจะคานึงการใช้ภาษาที่ถูกต้องและหาวิธีนาเสนอ ความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็น ครูผู้สอนเป็นเพียงผู้ให้แนวคิดเท่านั้น ขั้นเสนอแนว ฐานอยู่ที่ระดับมาก ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากสาเหตุ ทางแก้ไขปัญหา นักศึกษารวบรวมข้อมูลที่มี สาคญั 3 ประการ ดงั ต่อไปน้ี ความสาคัญ สมาชิกในกลุ่มผลัดกันพูดนาเสนอ ข้อมูลที่ตนรับผิดชอบ และอภิปรายกลุ่มโดยจะต้อง ประการแรก นักศึกษามีความพึงพอใจต่อ ผลัดกันถามตอบตามคาถามในบทเรียนเพื่อให้ได้ เนื้อหาที่ใช้พูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร อยู่ใน ข้อมูลที่มีความสาคัญและเป็นประโยชน์เพียงพอใน การแก้ปัญหาตามสถานการณ์ปัญหาของแต่ละ ระดับมาก ( x=̅ 4.35, S.D. = 0.29) โดยนักศึกษามี บทเรียนและฝึกพูดอภิปราย โดยในขั้นตอนนี้ผู้สอน ความพึงพอใจต่อเนื้อหาที่มีความสอดคล้องกับ จะให้ความรู้เกี่ยวกับหน้าที่ทางภาษา (functional ชีวิตประจาวันมากที่สุด ทั้งนี้อาจเนื่องมาจาก language) ที่มีความจ าเป็นในการอภ ิ ปราย เนื้อหาในบทเรียนตามแผนการจัดการเรียนรู้การ ตัวอย่างเช่น การเสนอความคิดเห็น การถามความ จัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐานมีความเหมาะสม คิดเห็น การแสดงความเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วย การ กับระดับความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษของ ให้คาแนะนา และการคาดการณ์ จากนั้นนักศึกษานา นักศึกษา ไม่ยากหรือง่ายจนเกินไป ประกอบกับ ข้อมูลทั้งหมดที่วิเคราะห์เรียบร้อยแล้วมาพูด สถานการณ์ปัญหา (Problem Scenario) มีความ อภิปรายเพื่อตัดสินใจเลือกแนวทางที่ดีที่สุดในการ น่าสนใจ เพราะเป็นเรื่องประสบการณ์ใกล้ตัว แก้ไขปัญหา และขั้นสรุป นาแนวทางการแก้ปัญหา เหตุการณ์ในชีวิตประจาวันที่สามารถพบเจอได้ ที่เลือกใช้ มาพูดแบบสรุปความเพื่อเชื่อมโยงกับ ทั่ว ๆ ไป ทาให้นักศึกษาเกิดความเข้าใจและ ข้อมูลจากประสบการณ์เดิมของผู้เรียน กระทั่งเป็น สามารถตระหนักรู้ถึงปัญหาและผลกระทบของ หลักการที่สามารถนามาใช้ในการแก้ปัญหาใน ปัญหาภายใต้บริบทที่เป็นจริง จนสามารถนามา สถานการณ์ทั่วไปได้ ในขั้นตอนนี้ผู้เรยี นนาผลงานที่ เชอ่ื มโยงกบั ชวี ติ ประจาวันได้ ซงึ่ มีความสอคล้องกับ ได้อภิปรายกลุม่ ในบทเรียน ออกมาพูดนาเสนอหนา้ งานวิจัยของจิกามาศ สุขเกษม (2559: 96) พบว่า ชั้นเรียนเพื่อแลกเปลี่ยนแนวคิด และวิธีการ ระดับความคิดเห็นที่นักศึกษาสามารถประยุกต์ แก้ปัญหาของแต่ละกลุ่ม โดยครูผู้สอนเป็นผู้ให้ ความรทู้ ไี่ ด้จากแบบฝึกไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ อยู่ คาแนะนาติชมและเสนอแนวคิดเกี่ยวกับวิธีการ ในระดับดีมาก และและงานวิจัยของจิราภรณ์ แก้ปัญหาและการนาเสนอหน้าชั้นเรียนแก่ผู้เรียน แม็คกลาเดอร์รี่ (2555: 59) ที่ได้สังเกตพฤติกรรม รวมถึงเปดิ โอกาสให้ผูเ้ รียนผู้ให้คาแนะนาติชมเพื่อน ขณะจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐานว่า กลุ่มอื่นเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาการจัดการ นักศึกษามีความกระตือรือร้นในการอภิปรายและ เรียนรใู้ นครงั้ ต่อไป คิดวิธีในการแก้ปัญหาอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ปัญหาที่นักศึกษามีประสบการณ์โดยตรง อาจกล่าว ได้ว่าปัญหาที่ควรพิจารณานามาใช้ในการจัดการ เรียนรู้แบบปญั หาเปน็ ฐานควรเลือกพิจารณาปัญหา 44

วารสารการบริหารการศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ผลการจัดการเรยี นรู้แบบปัญหาเปน็ ฐานทีม่ ตี ่อทักษะการพดู ภาษาอังกฤษฯ ปที ี 11 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มถิ ุนายน 2563) ณชั ชา ออ่ นสัมพันธุ์ - สุนีตา โฆษิตชยั วัฒน์ …………………..…………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………… ที่เกี่ยวข้องกับประสบการณ์ของนักศึกษาเป็นลาดบั พอใจในด้านประโยชน์ที่ได้รับพบว่า นักศึกษากลุ่ม แรกๆ จึงจะสามารถใช้ปัญหาเป็นตัวกระตุ้นความ ตัวอย่างมีความพงึ พอใจเกยี่ วกับการพฒั นาทักษะใน อยากมีส่วนรว่ มในช้ันเรยี นได้ นอกจากนกี้ ารจัดการ การแก้ปัญหาเพิ่มขึ้นอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย เรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐานนั้นยังสามารถนาความรู้ ความพึงพอใจมากที่สุดเท่ากับ 4.43 สอดคล้องกับ และกระบวนการคิดไปประยุกต์ใช้นอกห้องเรียนให้ งานวิจัยของจิกามาศ สุขเกษม (2559: 95) พบว่า เข้ากบั สถานการณจ์ รงิ (Barrows, Howard, et al., ระดับความคิดเห็นที่ใช้ใบงานช่วยให้นักศึกษามี 1980) ฉะนั้นการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐานนี้จึง ทกั ษะในการแก้ปัญหาได้ดีขึ้น มคี า่ เฉลี่ยอยู่ในระดับ ไม่ได้จากัดแค่ในห้องเรียนเท่านั้น แต่การ ดีมาก แสดงให้เห็นว่านักศึกษามีความพึงพอใจใน แลกเปลี่ยนความคิดเห็นจากเหตุการณ์จริงทาให้ การใช้ทักษะในการแก้ปัญหาจากขั้นตอนการเรียนรู้ นกั ศึกษาเกดิ ความพึงพอใจมากขน้ึ แบบปัญหาเป็นฐาน และสามารถพัฒนาทักษะใน การแก้ปญั หาได้จรงิ ประการที่สอง นกั ศกึ ษามีความพึงพอใจต่อ ประการท่ีสาม นักศึกษามคี วามพงึ พอใจต่อ ประโยชนท์ ไี่ ดร้ ับอยู่ในระดบั มาก ( x=̅ 4.25, S.D.= 0.32) โดยนักศึกษามีความพึงพอใจต่อการช่วยให้ การจัดการเรียนรู้ อยู่ในระดับมาก ( x̅= 4.15, S.D. นกั ศกึ ษาพฒั นาทักษะการแกป้ ัญหาเพม่ิ ขึ้นมากท่ีสุด = 0.28) โดยนักศกึ ษามีความพึงพอใจต่อการจัดการ ทั้งนี้อาจเนื่องมาจาก เนื่องจากสถานการณ์ปัญหา เรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐานที่ทาให้นักศึกษามีความ และเนื้อหาให้มีความใกล้เคียงบริบทจริงใน เข้าใจต่อสถานการณ์ปัญหา (Scenario Problem) ชีวิตประจาวันเพื่อให้นักศึกษาสามารถมองเห็น ที่กาหนดได้มากที่สุด ทั้งนี้อาจเนื่องมาจาก ในขั้น ภาพรวมของสถานการณ์ที่นักศึกษาจะต้องร่วมกัน การนาเสนอปัญหา (Presenting the Problem) มี แก้ไขและต้องเป็นสถานการณ์ที่ไม่เกินกาลัง การจัดประสบการณ์ โดยยกสถานการณ์จริงใน กล่าวคือต้องมีทั้งพื้นความรู้เดิมและประสบการณ์ บทเรียน Social issue โดยการเปิดคลิปวิดีโอหา เดมิ ท่ใี ชใ้ นการจดั การปัญหานน้ั ๆ อยบู่ ้าง การเรียน เสียงของประธานาธิบดีท่านหนึ่ง ขึ้นมาเป็น แบบปัญหาเปน็ ฐานเปน็ วิธีการสาหรบั สร้างหลักสูตร สถานการณป์ ัญหาในบทเรียน นกั ศึกษาจึงสามารถทา โดยใช้ปัญหาเป็นตัวกระตุ้นและมุ่งประเด็นที่ ความเข้าใจปัญหาได้ง่าย ซึ่งสอดคล้องกับผลการ กิจกรรมการแก้ปัญหาของนักศึกษา จากการสังเกต สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา ในงานวิจัยของ ในห้องเรียน นักศึกษาจะปรึกษากันในกลุ่มถึง จิราภรณ์ แม็คกลาเดอร์รี่ (2555: 59) ในขณะจัด ประเดน็ ปญั หาตา่ ง ๆ และจะสอบถามจากความถนัด กิจกรรมการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐานซึ่งผู้วิจัย ของแต่ละคนว่าใครสามารถนาปัญหาประเด็นใดไป ยกตัวอย่างการใช้แผนการสอนเรื่อง “Flood in หาข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อหาค าตอบ Bound และ Thailand” ช่วงเวลาที่ผู้วิจัยเก็บข้อมูลเกิดน้าท่วม Feletti (1996, อ้างถึงในศาสตรา สหัสทัศน์ และ ทางภาคเหนือของประเทศไทย โรงเรียนสันทราย คณะ, 2557) (Barrell, 2007) และ (H. Barrows & วิทยาคมซึ่งเป็นกลุ่มประชากรในการวิจัยได้รับ Kelson, 1995) สอดคล้องกับค่าเฉลี่ยความพึง ผลกระทบจากน้าทว่ มทโ่ี รงเรียนด้วย แมว้ ่าระดับน้า 45

วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลยั ศิลปากร ผลการจัดการเรยี นรแู้ บบปัญหาเปน็ ฐานทมี่ ตี ่อทักษะการพดู ภาษาอังกฤษฯ ปีที 11 ฉบับท่ี 1 (มกราคม – มถิ ุนายน 2563) ณัชชา อ่อนสัมพันธ์ุ - สุนตี า โฆษิตชยั วัฒน์ …………………..…………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………… ที่เกิดขึ้นจะไม่ถึงขั้นวิกฤติ แต่ก็มากพอที่สร้าง ขอ้ เสนอแนะในการจดั การเรยี นรู้ ผลกระทบต่อชีวิตปกติของผู้คนทาให้นักศึกษารู้สึก 1. ผู้สอนควรศึกษาทาความเข้าใจวิธีการ สนุกสนานเป็นอยา่ งมากและมีความกระตือรือร้นใน การพูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์เกี่ยวกับความ จัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานให้ชัดเจน และ พยายามในการป้องกันน้าท่วม อุปสรรคในการ เตรียมการสอนไปเป็นอย่างดี เนื่องจากการสอน เดนิ ทาง รวมถึงผลกระทบอ่นื ๆ จงึ ทาให้นักศึกษามี แบบปัญหาเป็นฐานน้ี ครูผู้สอนต้องวางบทบาทของ ความกล้าในการแสดงความคิดเห็น และอยากเข้า ตนเองให้เป็นผู้ให้ความสนับสนุนและช่วยเหลือ ร่วมอภปิ รายเพ่อื ถ่ายทอด แลกเปลีย่ น และรวบรวม (facilitator) รวมถึงกระตุ้นนักศึกษาให้เกิดความ วิธีการแก้ปัญหาจากประสบการณ์ของตนเองกับ กระตือรือร้นในการพูดภาษาอังกฤษ โดยการหยิบ สมาชิกในกลุ่มพร้อมทั้งจัดระบบความรู้ที่ได้ และ ยกประเด็นปัญหาให้สัมพันธ์กับระดับความสามารถ แบ่งหน้าที่เพื่อค้นคว้า หาคาอธิบายอย่างเป็นเหตุ พื้นความรู้เดิม และประสบการณ์ของนักศึกษา โดย เป็นผล อันนาไปสู่กระบวนการวิเคราะห์และ ปัญหาทีผ่ สู้ อนเลือกมานั้นควรจะมีแนวโน้มจะเกิดขึ้น เชื่อมโยงความรู้เพื่อหาแนวทางในการแก้ปัญหา จริงกับนักศึกษามากที่สุด เพื่อให้นักศึกษาเกิดความ และสรุปวิธีการแก้ปัญหา ทั้งนี้การสอนพูดแบบ สนใจและต้องการมีส่วนร่วมในการเรียน จนเกิดการ ปัญหาเป็นฐานนี้มีกระบวนการกลุ่มที่จะส่งผลให้ เรียนรดู้ ้วยตนเองและทางานรว่ มกนั เปน็ ทีม นักศกึ ษาเกดิ ความมัน่ ใจและกล้าพูดหรือเสนอความ คิดเห็นอย่างเป็นธรรมชาติมากที่สุด รวมถึงยัง 2. ในขั้นเสนอแนวทางในการแก้ปัญหา สามารถรับมือกับปัญหาต่าง ๆ ให้เป็นไปในในเชิง นักศึกษามักขอความช่วยเหลือจากผู้สอนจนเกิน บวกโดยปราศจากความวิตกกังวล (สมโภชน์ เอี่ยม ความจาเป็น ผู้สอนควรมีขอบเขตในการให้ความ สุภาษิต, 2541: 133) ดังแสดงผลในการวัด ช่วยเหลือ และเสริมแรงให้นักศึกษามีความั่นใจใน พฤติกรรมกล้าแสดงออกในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อ การพูดอภิปราย รวมถึงการพูดนาเสนอหน้าชั้น การสื่อสาร (ขนิษฐา นาคน้อย, 2550: 53) กล่าวถึง เรยี นหลังจากจบกระบวนการจดั การเรยี นรแู้ ล้ว นักเรียนที่มีคะแนนพฤติกรรมกล้าแสดงออกสูงจะมี ความสามารถในการใชภ้ าษาอังกฤษ 3. ผู้สอนควรควบคุมเวลาการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ให้เหมาะสมในแต่ละขั้นตอนเนื่องจาก ขอ้ เสนอแนะ การสอนแบบปัญหาเป็นฐานเป็นการเรียนรู้ด้วย จากผลการวิจัยเรื่อง การศึกษาทักษะการ ตนเอง นักศึกษาต้องการเวลาในการค้นคว้า วิเคราะห์ อภปิ ราย และสรุปขอ้ มูล ฉะนนั้ ผสู้ อนต้อง พูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร โดยใช้การจัดการ มีความยืดหยุ่นในการบริหารเวลาและจัดกิจกรรม เรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน สาหรับนักศึกษาระดับ การเรียนรู้ในแต่ละขั้น แต่ยังสามารถใช้เวลาใส่วน ปรญิ ญาบณั ฑติ ผวู้ จิ ยั มีขอ้ เสนอแนะดังนี้ ของการอภิปรายและเสนอแนะแนวทางการ แก้ปัญหาเพื่อให้นักศึกษาได้มีโอกาสฝึกพูดเสนอ ประสบการณแ์ ละความคดิ เห็นในการแก้ปญั หา 46

วารสารการบรหิ ารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร ผลการจดั การเรียนรแู้ บบปญั หาเปน็ ฐานที่มีตอ่ ทักษะการพูดภาษาอังกฤษฯ ปีที 11 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม – มถิ ุนายน 2563) ณชั ชา อ่อนสัมพันธุ์ - สุนตี า โฆษิตชัยวัฒน์ …………………..…………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………… ข้อเสนอแนะในการทาวิจัยครง้ั ต่อไป 2. ควรท าการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการ 1. ควรท าการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการ จัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน ไปใช้ในการ ออกแบบและพัฒนาเป็นหลักสูตรการจัดการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน จัดเป็นหลักสูตร ของมหาวิทยาลัย เพื่อบรรจุเป็นวิชาการพูด อบรมสมั มนาเพอ่ื พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการ ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร มุง่ เน้นกระบวนการคิด สื่อสารในสภาพแวดล้อมดิจิทัล ควบคู่ไปกับทักษะ วิเคราะห์ และแก้ปัญหา จากสถานการณ์ต่าง ๆ ที่ การแกป้ ญั หาเก่ียวกบั ภยั จากสื่อสังคมออนไลน์ เกดิ ขึน้ รอบตัว เอกสารอา้ งองิ กานต์สิรี เผ่านาคธรรมรัตน์ และคณะ.(2552). การพัฒนาทักษะการฟัง-พูด ของนักศึกษาสาขาวิชา ภาษาองั กฤษ ชน้ั ปที ่ี 2 คณะศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลยั กรงุ เทพธนบุรี โดยการใช้วิธีการสอนแบบ การเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning). (งานวิจัยคณะศิลปศาสตร์ สาขาวิชาภาษาองั กฤษ, มหาวทิ ยาลยั กรุงเทพธนบุรี). ขนิษฐา นาคน้อย.(2550). การศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานที่มีต่อความสามารถในการใช้ ภาษาองั กฤษเพอื่ การส่ือสารของนกั เรียนชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเฉลิมพระเกยี รติสมเด็จพระ ศรีนครินทร์ กาแพงเพชร. (วทิ ยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑติ , มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ). จิกามาศ สุขเกษม. (2559). การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ โดยการจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน สาหรับนักศกึ ษาชนั้ ปีที่ 1 คณะวิศวกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร. (วทิ ยานพิ นธ์ปรญิ ญามหาบณั ฑติ , มหาวิทยาลัยศลิ ปากร). จิราภรณ์ แม็คกลาเดอร์รี่. (2555). การใช้การเรียนรู้ที่เน้นปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะการเขียน ภาษาอังกฤษและการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. (วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบณั ฑติ , มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่). จุฑามาศ สุคนธา, (2560). การศึกษาเปรียบเทียบผลการสอนแบบปัญหาเป็นฐานกับการสอนตาม แนว ธรรมชาติเพื่อการพัฒนาความสามารถในการใช้ Linking Ideas ของนักศึกษา รายวิชา EBC332 สาขาวิชาภาษาอังกฤษสือ่ สารธรุ กิจ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม. (รายงานผลการวิจัย) กรุงเทพฯ: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรปี ทุม. ธวุ พร ตนั ตระกูล. (2555). การพฒั นาทักษะการพูดภาษาอังกฤษในชวี ิตประจาวนั โดยใช้บทฝกึ การสนทนา ภาษาอังกฤษ. (รายงานผลการวจิ ยั ) กรุงเทพฯ: คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรีปทมุ . ธีราภรณ์ กิจจารักษ.์ (2553). ปจั จยั ทมี่ ผี ลต่อการพดู ภาษาอังกฤษของนักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎในเขตกรุงเทพมหานคร (รายงานผลการวิจัย)กรุงเทพฯ: คณะ ครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสนุ ันทา. 47

วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร ผลการจดั การเรียนร้แู บบปัญหาเปน็ ฐานทม่ี ีตอ่ ทักษะการพูดภาษาอังกฤษฯ ปีที 11 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2563) ณัชชา อ่อนสัมพันธุ์ - สุนีตา โฆษติ ชยั วัฒน์ …………………..…………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………… ทศิ นา แขมมณี. (2557, พฤษภาคม.). ปลกุ โลกการสอนให้มชี ีวิตส่หู ้องเรยี นแหง่ ศตวรรตใหม.่ อภวิ ัฒน์ การเรยี นร้สู จู่ ุดเปล่ียนประเทศไทย. เอกสารประกอบการประชุมของสานักงานสง่ เสริมสังคมแห่งการ เรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.). ทองจันทร์ หงส์ลดารมภ์. (2538). การเรียนการสอนแบบติวเตอรเ์ รยี นกลุ่มย่อย. กรุงเทพฯ:คณะแพทย์ศาสตร์. เบญจวรรณ อว่ มมณ.ี (2549). การพัฒนาผลการเรยี นรู้และความสามารถในการคดิ แก้ปญั หาเร่ืองการอนรุ ักษ์แม่ น้าท่าจีน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย ศิลปากร). ปาริชาต จันทร์งาม. (2556). การพัฒนาความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาชั้นปีที่ 2 คณะ อุตสาหกรรมและเทคโนโลยีที่เรียนรายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโดยการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน. (รายงานผลการวิจัย). นครปฐม: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล รัตนโกสนิ ทร.์ พชั รากราณต์ อินทะนาค. (2546). กิจกรรมการเรยี นรู้โดยใช้ปญั หาเปน็ ฐานสาหรบั รายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการ ทอ่ งเท่ยี ว. (วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่). ไพฑรู ย์ สินลารัตน.์ (2557). ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ต้องก้าวใหพ้ น้ กบั ดักของตะวนั ตก. กรุงเทพฯ: วทิ ยาลัยครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรุ กิจบัณฑิต. รงษ์ เรืองวงษ์. (2556). การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อพัฒนาสามัตถิยะทางการสื่อสาร ภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 1. (วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบณั ฑติ , มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง). วัชรา เล่าเรียนด.ี (2553). รูปแบบกลยุทธการจัดการเรียนรู้เพือ่ พัฒนาทักษะการคิด. (พิมพ์ครั้งที่ 5). นครปฐม: มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร. ศาสตรา สหัสทศั น์, และคณะ. (2557). การพัฒนารปู แบบการสอนภาษาอังกฤษใชใ้ นการอบรมภาษาอังกฤษโดย ใช้รูปแบบการสอนแบบปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning) สาหรับใช้ในการอบรม ภาษาอังกฤษให้แก่ยุวมัคคุเทศก์เพื่อการเตรียมพร้อมเข้าสู่การเป็นสมาชิกประชาคมอาเซียน (ASEAN Community). (วิทยานิพนธป์ รญิ ญามหาบณั ฑิต, มหาวิทยาเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน). ศิรินันท์ เอื้อนไธสงค์. (2560). การจัดการเรียนรู้แบบเน้นงานปฏิบัติ เพื่อเสริมสร้างทักษะการพูดภาษาอังกฤษ สาหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยศิลปากร. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย ศิลปากร). ศิริวรรณ ชัยศิริวงษ์. (2560). การพัฒนาความสามารถด้านการพูดเพื่อการสื่อสารภาษาอังกฤษในชีวิตประจาวัน ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. (วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏมหาสารคาม). 48

วารสารการบรหิ ารการศึกษา มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ผลการจดั การเรียนรู้แบบปญั หาเปน็ ฐานที่มีต่อทักษะการพูดภาษาอังกฤษฯ ปที ี 11 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2563) ณชั ชา อ่อนสัมพันธุ์ - สุนีตา โฆษิตชัยวัฒน์ …………………..…………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………… สาเรงิ อ่อนสัมพนั ธ์ุ. (2561). การสร้างองค์การนวตั กรรมสาหรับสถานศึกษาข้นั พน้ื ฐานในประเทศไทย. วารสารบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร, 8(2), 257-270 สมบัติ คชสทิ ธิ์, จนั ทนี อินทรสูต และ ธนกร สุวรรณพฤฒิ.(2560). การจดั การเรียนรู้ภาษาอังกฤษให้กบั ผเู้ รียนยุค THAILAND 4.0. วารสารวไลยอลงกรณป์ ริทศั น์ (มนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร)์ , 7(2), 175-186. สมโภชน์ เอย่ี มสภุ าษติ . (2541). ทฤษฎแี ละเทคนิคการปรับพฤติกรรม. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. Aydinli, J. M. (2007). Problem-based learning and Adult English language Learners. CAELA Brief, 1-8. Retrieved from http://www.cal.org/adultesl/pdfs/Problem-based-learning-and- adult-english-language-learners.pdf Barrell. (2007). Problem-based Learning: An Inquiry Approach. California, US. Corwin Press. Barrows, H.S. and Tamblyn, Roblyn M. (1980). Problem Based Learning: An Apprpach to Medical Education. New York: Spinger. Barrows, H., & Kelson, A. C. (1995). Problem-based learning in secondary education, Problem- based Learning Institute. Springfield, IL. Barrows, H. S. (2000). Problem-based Learning Applied to Medical Education, Sprinfield, Southern Illinois University Press. Best, J. W. (1986) Research in Education, 5 ed. Englewood Cliffs, NJ: Prentice – Hall, Inc. Duch, Barbara J. (1995). What is Problem-based Learning?. Retrieved from http://www.udel.edu/pbl/cte/jan95-What.html. EF Education First. (2018). The world's largest ranking of countries and regions by English skills. Retrived from https://www.ef.co.th/epi/ Fazlur Rahman. et al. (2011). Problem Based Learning in English Language Classes at secondary Level. International Journal of Academic Research, 3(1) ,932-939. Grant, N. (1988). Making the Most of Your Textbook. London : Longman. Hmelo-Silver, C. E. (2004). Problem-based Learning: What and how do students learn? ducational Psychology Review, 16. Kirkpatrick, R. (2012). English education in Thailand: 2012. Asian EFL Journal, 61, 24-40. Kreger, C. (1998). Problem-based Learning. Retrieved from http://www.cotf.edu/ete/teacher/tprob/trob.html. 49

วารสารการบริหารการศึกษา มหาวทิ ยาลัยศิลปากร ผลการจัดการเรยี นรแู้ บบปัญหาเป็นฐานที่มีตอ่ ทักษะการพดู ภาษาอังกฤษฯ ปีที 11 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2563) ณชั ชา อ่อนสัมพันธ์ุ - สุนตี า โฆษติ ชัยวัฒน์ …………………..…………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………… Littlewood, William T. (1983). Communicative approach to language teaching methodology (CLCS Occasional Paper No. 7). Dublin: Dublin University, Trinity College, Centre for Language and Communication Studies. (EDRS No. ED 235 690, 23). Ommundsen, Peter. (2001). Problem-based learning in biology with 20 case examples. Retrieved from http://capewest.Ca / pbl.html Torp and Sage. (2002). Problems as Problem-based Learning for K-12Education, 2nd ed. ASCD, Alexandria, VA. Wall, U. (2005). The preferred learning style and strategies of adults Thai EFL students in a Bangkok business setting. Retrieved from http://www.besig.org/link.htm Wannapok, S. (2004). A Study English for Business and Technology Students’ Attitudes towards the English for Business and Technology Program at the University of the Thai Chamber of Commerce. (Independent Study, University of the Thai Chamber of Commerce, Bangkok, Thailand. 50